หน วยท ีี่ 3•ลําดับความส ําคัญ •ระบุป...

18
หนวยที3 หนวยที3 ระบบการเรียนการสอนอีเลิรนนิง ระบบการเรียนการสอนอีเลิรนนิง เพื่อใหผูเรียนสามารถอธิบายความหมายของระบบการเรียนการ สอน และการออกแบบระบบการเรียนการสอน เพื่อใหผูเรียนสามารถระบุขั้นตอนการออกแบบระบบการเรียนการ สอนทั่วไปได เพื่อใหผูเรียนสามารถอธิบายความหมายและความสําคัญของ แตละขั้นตอนในกระบวนการออกแบบระบบการเรียนการสอนได วัตถุประสงคประจําสัปดาหที3

Upload: others

Post on 09-Aug-2020

4 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: หน วยท ีี่ 3•ลําดับความส ําคัญ •ระบุป ญหา 2. วิเคราะห สภาพแวดล อม •กลุ

1

หนวยท่ี 3หนวยท่ี 3

ระบบการเรียนการสอนอีเลรินนิงระบบการเรียนการสอนอีเลรินนิง

เพื่อใหผูเรียนสามารถอธบิายความหมายของระบบการเรียนการสอน และการออกแบบระบบการเรียนการสอน

เพื่อใหผูเรียนสามารถระบุขั้นตอนการออกแบบระบบการเรียนการสอนทั่วไปได

เพื่อใหผูเรียนสามารถอธบิายความหมายและความสําคัญของแตละขั้นตอนในกระบวนการออกแบบระบบการเรยีนการสอนได

วัตถุประสงคประจําสัปดาหท่ี 3

Page 2: หน วยท ีี่ 3•ลําดับความส ําคัญ •ระบุป ญหา 2. วิเคราะห สภาพแวดล อม •กลุ

2

การเรียนการสอนมีหลากหลายวิธี ซ่ึงแตละวิธีก็เหมาะกับเปาหมายวาจะสอนอะไร ใหกับใคร ในสภาพแวดลอมอยางไร เพราะท้ังผูเรียน และสภาพแวดลอมการเรียนการสอนก็มีความแตกตางกัน นักการศึกษาใหความสําคัญตอการเลือกใชวิธีการเรียนการสอนที่เหมาะสม เพ่ือใหเกิดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนการสอนท่ีดี การเตรียมการสอนจึงตองคํานึงวาการสอนในแตละคร้ังควรจะตองมีการออกแบบระบบการเรียนการสอนอยางไร ?

นําเขาสูเนื้อหา

ระบบการเรียนการสอน (Instructional System)

คือ การจัดองคประกอบ ทรัพยากร และกระบวนการ โดยมีเปาหมายเพื่อสงเสริมใหเกิดการเรียนรูกับผูเรียน

การออกแบบระบบการเรียนการสอน (Instructional System Design)

คือ กระบวนการวางแผนการเรียนการสอนอยางมีระบบ โดยใชทฤษฎีและจิตวิทยาการศึกษาเพ่ือใหไดระบบการเรียนการสอนที่มีคุณภาพ ชวยใหผูเรียนบรรลุเปาหมายการเรียนรูไดอยางมีประสิทธิภาพ หนวยของการเรียนการสอน อาจเปนการออกแบบบทเรียนสั้นๆ สําหรับการเรียนการสอนในชั้นเรียน การออกแบบเพื่อพัฒนาบทเรียนสําหรับการเรียนการสอนท้ังหนวยการเรียนในลักษณะของบทเรียนสําเร็จรูปเชน ชุดการเรียนการสอน หรือเปนการออกแบบสําหรับการเรียนการสอนทั้งกระบวนวิชา โดยสามารถตรวจสอบเพื่อปรับปรุงหรือแกไขใหไดบทเรียนท่ีมีประสิทธิภาพ

Adapted from "Training and Instructional Design",Applied Research Laboratory, Penn State University

Page 3: หน วยท ีี่ 3•ลําดับความส ําคัญ •ระบุป ญหา 2. วิเคราะห สภาพแวดล อม •กลุ

3

แผนผังโครงสรางเนื้อหา

จะกลาวถึงระบบการเรยีนการสอนใน 5 ประเด็น คือ1. การออกแบบระบบการเรยีนการสอน (ISD)2. การจัดการเรียนการสอน3. บทบาทผูเกี่ยวของ (ผูเรียน ผูสอน ผูสนับสนุนการเรียน)4. การสนับสนนุการเรียนการสอน5. ระบบจัดการเรียนรู (LMS)

แผนผังโครงสรางเนื้อหา

ในสัปดาหน้ีจะกลาวถงึ การออกแบบระบบการเรียนการสอนแบบทั่วไปกอน (ISD)

Page 4: หน วยท ีี่ 3•ลําดับความส ําคัญ •ระบุป ญหา 2. วิเคราะห สภาพแวดล อม •กลุ

4

มีนักการศึกษาหลายทานไดเสนอแนะการออกแบบระบบการเรียนการสอนไวตางๆกันมากมาย เราเรียกรูปแบบการออกแบบระบบการเรียนการสอนนี้วา โมเดลการออกแบบระบบการเรียนการสอน (Instructional System Design Model บางท่ีก็เรียกยอๆวา ISD Model) โมเดลการออกแบบระบบการเรียนการสอนก็คือ รูปแบบขั้นตอนของกระบวนการการเรียนการสอน ซ่ึงมักจะเขียนในรูปแบบของ flowchart รูปแบบที่เปนท่ีชอบใชกัน มีหลายรูปแบบ และเรียกชื่อตามผูท่ีคิดรูปแบบนั้น อาทิ เชน

รูปแบบระบบการเรียนการสอนของ Reiser and Dickรูปแบบระบบการเรียนการสอนของ Gerlach and Elyรูปแบบระบบการเรียนการสอนของ Kempรูปแบบระบบการเรียนการสอนของ Seels and Glasgowรูปแบบระบบการเรียนการสอนของ Smith and Ragenรูปแบบระบบการเรียนการสอนของ Lesshin, Pollock, and Reigeluthรูปแบบระบบการเรียนการสอนของ Dick and Careyรูปแบบระบบการเรียนการสอนของ IDI

นาสนใจที่จะลองศึกษาและเปรียบเทียบองคประกอบของรูปแบบระบบการเรียนการสอนแตละระบบ เพ่ือดูความเหมือนและความแตกตาง

กําหนดเปาหมายการสอน

ทบทวน/ปรับปรุงการสอน

กําหนดวัตถุประสงค

วางแผนกิจกรรมการสอน

เลือกสื่อการสอน

พัฒนาเครื่องมือการประเมินผล

ดําเนินการสอน

รูปแบบการออกแบบระบบการเรียนการสอนของ Reiser and Dick

รูปแบบการออกแบบระบบการเรียนการสอนของ ไรเซอรกับดิก นั้น เร่ิมจากการกําหนดเปาหมายของการสอน แลวจึงระบุวัตถุประสงคเฉพาะ ซ่ึงจะบอกถึงเนื้อหา ตอจากนั้นกิจกรรมการเรียนการสอนควรเปนอยางไร จะตองใชส่ืออะไรบาง แลวจึงสรางแบบประเมินการสอนวาจะประเมินอยางไร สุดทายก็ดําเนินการสอน เมื่อสอนและประเมินแลวมีอะไรจะตองแกไขปรับปรุง ก็สามารถทําได

Page 5: หน วยท ีี่ 3•ลําดับความส ําคัญ •ระบุป ญหา 2. วิเคราะห สภาพแวดล อม •กลุ

5

การกําหนดเน้ือหา

การกําหนดวัตถุประสงค

การประเมินพฤติกรรมเบื้องตน

การกําหนดยุทธวิธีสอน

การจัดแบงกลุมผูเรียน

การกําหนดเวลาเรียน

การจัดสถานที่เรียน

การเลือกสรรทรัพยากร

การประเมินสมรรถนะ

การวิเคราะหขอมูลปอนกลับ

รูปแบบการออกแบบระบบการเรียนการสอนของ Gerlach and Ely

รูปแบบการออกแบบระบบการเรียนการสอนของ Gerlach and Ely

เกอรลาคกับอีลี ไดเสนอรูปแบบการออกแบบระบบการเรียนการสอนวาเร่ิมดวยการกําหนดเนื้อหาและกําหนดวัตถุประสงคการเรียนการสอนกอน (จะกําหนดอยางใดกอนก็ได) แลวก็จะพิจารณาถึงพฤติกรรมกอนเรียน ก็คือความรูพ้ืนฐานวาผูเรียนรูอะไรมาแลวในเร่ืองท่ีจะสอน จากนั้นก็กําหนดยุทธวิธีสอน จัดแบงกลุมผูเรียน กําหนดเวลาเรียน จัดสถานที่เรียน การเลือกส่ือการเรียนการสอน แลวจึงประเมินผลการเรียนการสอน ถาผลการประเมินมีปญหาก็ไปปรับปรุงรูปแบบใหมแตตนได

Page 6: หน วยท ีี่ 3•ลําดับความส ําคัญ •ระบุป ญหา 2. วิเคราะห สภาพแวดล อม •กลุ

6

รูปแบบการออกแบบระบบการเรียนการสอนของ Kemp, Morrison และ Ross

การปรบัปรุง

การประเมินขณะสอนการจัดโครงการ

การวางแผน

ความจําเปนและจุดมุงหมายในการเรียนการสอน

หัวขอเรื่อง งานจุดประสงคท่ัวไป

เนื้อหาวิชาและการวิเคราะห

งาน

การทดสอบกอนเรียน

การประเมินผลการเรียน

วัตถุประสงคการเรียนกิจกรรม

การเรียนการสอน

ทรัพยากรในการสอน

บรกิารสนับสนุน

ลักษณะของผูเรียน

การปรับปรุง

การประเมินขณะสอนการบริหารโครงการ

การวางแผน

ความจําเปนและจุดมุงหมายในการเรียนการสอน

หัวขอเร่ือง งานจุดประสงคทั่วไป

เน้ือหาวชิาและการวเิคราะหงาน

การประเมินผลการเรียน

วัตถปุระสงคการเรียน

จัดลําดับการนําเสนอเน้ือหา

กําหนดกลยุทธการสอน

ออกแบบคําพูดในเน้ือหา

ลักษณะของผูเรียน

นําสงความรู

สารสนเทศ

กําหนดวัตถุประสงคและการทดสอบ

วิเคราะหปญหา

การเลือกสื่อการสอน

กําหนดยุทธวธีิ

การเรียนการสอน

วิเคราะหงานและ

การเรียนการสอน

การพัฒนาสื่อการสอน

การประเมินผลขณะเรียน

การนาํไปใช

การประเมินผลรวม

การเผยแพร

รูปแบบการออกแบบระบบการเรียนการสอนของ Seels and Glasgow

Page 7: หน วยท ีี่ 3•ลําดับความส ําคัญ •ระบุป ญหา 2. วิเคราะห สภาพแวดล อม •กลุ

7

สภาพแวดลอมในการเรียนการสอน

ผูเรียน

กิจกรรมการเรียน ออกขอสอบ

การวิเคราะห

กําหนดยุทธวิธีการจัดการการดําเนินการ

ดําเนินการเรียนการสอนยุทธวิธี

ประเมินผลขณะเรียน

ทบทวน/ปรับปรุงการเรียนการสอนการประเมินผล

รูปแบบการออกแบบระบบการเรียนการสอนของ Smith and Ragan

รูปแบบการออกแบบระบบการเรียนการสอนของ Leshin, Pollock, and Reigeluth

3. วเิคราะหและจัดลําดับเนื้อหา/

กิจกรรม

1. วเิคราะหปญหา

5. กาํหนดกิจกรรมการเรียน

7. ประเมินผลการเรียนการ

สอน

2. วเิคราะหพิสัย4. วเิคราะหและจัดลําดับเนื้อหา

เสริม

6. ออกแบบการมีปฎิสัมพนัธ

การวิเคราะหความจาํเปน

การเลือกและจัดลําดับเนื้อหา

การพัฒนาบทเรียน การประเมินผล

Page 8: หน วยท ีี่ 3•ลําดับความส ําคัญ •ระบุป ญหา 2. วิเคราะห สภาพแวดล อม •กลุ

8

ประเมินความจําเปนและกําหนดเปาหมาย

วิเคราะหการสอน

กําหนดวัตถุประสงค

วิเคราะหผูเรียนและเนื้อหา

พัฒนาเคร่ืองมือประเมินผล

พัฒนายุทธวธีิสอน

พัฒนาและเลือกส่ือการสอน

ออกแบบและ

ประเมินผลขณะสอน

ออกแบบและประเมินผลรวม

ทบทวน/ปรับปรุงการสอน

รูปแบบการออกแบบระบบการเรียนการสอนของ Dick and Carey

ความรูพื้นฐานอเีลิรนนิง > การออกแบบระบบการเรียนการสอน > รูปแบบการสอนแบบตางๆ

1. กําหนดปญหา•ประเมินความจําเปน•ลําดับความสําคัญ•ระบุปญหา

2. วิเคราะหสภาพแวดลอม•กลุมเปาหมาย•เง่ือนไข•ทรัพยากรท่ีเก่ียวของ

3. การจัดการ•เนื้อหา/กิจกรรม•ความรับผิดชอบ•กําหนดเวลา

4. กําหนดวัตถุประสงค•วัตถุประสงคปลายทาง•วัตถุประสงคเชิง พฤติกรรม

5. กําหนดวิธีการ•การเรียน•การสอน•สื่อการเรียนการสอน

6. จัดทําตนแบบ•สื่อการเรียนการสอน•การประเมินสื่อการเรียน การสอน

7. ทดสอบตนแบบ•ทดลอง•รวบรวมผลการประเมิน

8. วิเคราะหผล•วัตถุประสงค•วิธีการ•เทคนิคการประเมิน

9. การนําไปใช•ทบทวน/ปรับปรุง•ตัดสินในเลือก•ดําเนินการใช

กําหนดขอบเขต

พัฒนา

ประเมินผล

รูปแบบการออกแบบระบบการเรียนการสอน IDI

ความรูพื้นฐานอเีลิรนนิง > การออกแบบระบบการเรียนการสอน > รูปแบบการสอนแบบตางๆ

Page 9: หน วยท ีี่ 3•ลําดับความส ําคัญ •ระบุป ญหา 2. วิเคราะห สภาพแวดล อม •กลุ

9

องคประกอบของแตละ ISD Model อาจมีความแตกตางหรือคลายคลึงกัน แตหลักการพ้ืนฐานในการออกแบบโดยทั่วๆ ไป (Generic ISD Model) มักจะมี 5 ขั้นตอน คือ การวิเคราะห (Analysis) การออกแบบ (Design) การพัฒนา (Development) การนําไปใช (Implementation)และการประเมินผล (Evaluation) ซ่ึงหลายคนเรียกหลักการพื้นฐานในการออกแบบ 5 ขั้นตอนนี้วา ADDIE Model (อานวา แอดดี้โมเดล)

Michael Molenda สรุปวา ADDIE Model เปนรูปแบบที่ผูเชี่ยวชาญการออกแบบระบบการเรียนการสอนสวนมาใชเปนฐานในการออกแบบโดยไมมีหลักฐานแนชัดวาใครเปนผูคิดคนรูปแบบนี้ขึ้นมา ดังนั้น ADDIE Model จึงเปนเพียงกรอบกวางๆ (Umbrella Term) ของ ISD Model เทานั้น

ใหพิจารณาองคประกอบของ ADDIE Model และลองสรุปสั้นๆ ตามความเขาใจเกี่ยวกับแตละองคประกอบ

การวิเคราะห (Analysis) คือ___________________________

การออกแบบ (Design) คือ____________________________

การพัฒนา (Development)คือ_________________________

การนําไปใช (Implementation) คือ_____________________

การประเมินผล (Evaluation) คือ________________________

ฝากใหคิด

ขอใหลองคดิดวยตัวเองกอนที่จะขามไปยังสไลดถดัไป

Page 10: หน วยท ีี่ 3•ลําดับความส ําคัญ •ระบุป ญหา 2. วิเคราะห สภาพแวดล อม •กลุ

10

ADDIE model

การวิเคราะห (Anglysis)

วิเคราะหความจําเปนวิเคราะหงานวิเคราะหการเรียนการสอนวิเคราะหผูเรียนวิเคราะหวัตถุประสงค

การออกแบบ(Design)

ระบุวัตถปุระสงคระบุวิธีสอนระบสุื่อการสอนระบุวิธีการประเมินผล

การพัฒนา (Development)

พัฒนาแผนการเรียนการสอนพัฒนาสื่อการเรียนการสอนประเมินผลขณะดําเนินการพัฒนา

การนําไปใช (Implementation)

ดําเนินการสอน

การประเมินผล(Evaluation)

ประเมินผลรวม

การวิเคราะห (Analysis) เปนขั้นตอนแรกของกระบวนการออกแบบระบบการเรียนการสอน ในขั้นตอนนี้ ผูออกแบบจะตองกําหนดความจําเปนในการเรียน ทําการวิเคราะหเนื้อหาหรือกิจกรรมการเรียนการสอน คุณลักษณะของผูเรียน และวัตถุประสงคของการเรียนการสอนเพ่ือรวบรวมขอมูล สําหรับใชเปนแนวทางในการกําหนดขอบเขตของบทเรียน

Page 11: หน วยท ีี่ 3•ลําดับความส ําคัญ •ระบุป ญหา 2. วิเคราะห สภาพแวดล อม •กลุ

11

การออกแบบ (Design) เปนกระบวนการกําหนดวาจะดําเนินการเรียนการสอนอยางไร โดยมีการเขียนวัตถุประสงคจัดทําลําดับขั้นตอนของการเรียน กําหนดวิธีสอน เลือกสื่อการเรียนการสอนที่เหมาะสม และกําหนดวิธีการประเมินผลวาผูเรียนบรรลุวัตถุประสงคท่ีกําหนดไวหรือไม

การพัฒนา (Development) เปนกระบวนการดําเนินการพัฒนา หรือ สรางแผนการเรียนการสอน เลือกใชส่ือการเรียนการสอนโดยพิจารณาสื่อท่ีมีอยูวาเหมาะสมที่จะใช ควรปรับปรุงกอนใช หรือควรตองสรางสื่อใหม และทําการประเมินผลขณะดําเนินการพัฒนาหรือสรางเพ่ือปรับปรุง/แกไขใหไดระบบการเรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพ

Page 12: หน วยท ีี่ 3•ลําดับความส ําคัญ •ระบุป ญหา 2. วิเคราะห สภาพแวดล อม •กลุ

12

การนําไปใช (Implementation) เปนขั้นตอนของการดําเนินการเรียนการสอนตามที่ไดทําการออกแบบและพัฒนา

การประเมินผล (Evaluation) เปนขั้นตอนสุดทายของกระบวนการออกแบบระบบการเรียนการสอน เพ่ือประเมินผลขั้นตอนตางๆ วาเปนไปตามที่ไดวางแผนหรือไม และทําการปรับปรุง /แกไขใหไดระบบการสอนที่มีประสิทธิภาพ

Page 13: หน วยท ีี่ 3•ลําดับความส ําคัญ •ระบุป ญหา 2. วิเคราะห สภาพแวดล อม •กลุ

13

1. การกําหนดความจําเปน

2. การวิเคราะหเนื้อหาหรือกิจกรรมการเรียนการสอน

3. การวิเคราะหคุณลักษณะของผูเรียน

4. การวิเคราะหวัตถุประสงค

การวิเคราะหงาน

การกําหนดความจําเปน (Need Analysis) คือการวิเคราะหเพ่ือกําหนดเลือกวาควรจัดการเรียนการสอนเกี่ยวกับอะไร โดยอาจหาขอมูล จากความตองการของผูเรียน หรืออาจหาขอมูลจากปญหาขัดขัอง หรืออุปสรรคท่ีทําใหการเรียนการสอนไมบรรลุผลตามจุดมุงหมายที่กําหนดไว และพิจารณาวามีความจําเปนหรือไมท่ีจะตองจัดการเรียนการสอน หากจําเปนหรือสมควรจัด ควรจัดการอยางไร

Page 14: หน วยท ีี่ 3•ลําดับความส ําคัญ •ระบุป ญหา 2. วิเคราะห สภาพแวดล อม •กลุ

14

การวิเคราะหเนื้อหา หรือ กิจกรรมการเรียนการสอน (Content/Task Analysis) คือ การวิเคราะหเพ่ือจัดการเรียนการสอนใหครอบคลุม หรือสอดคลองกับความตองการ/ ความจําเปนในการเรียนการสอน โดยพิจารณาอยางละเอียดและรอบคอบวา เนื้อหามีอะไรบางอาจจัดแบงเปนหัวขอใหญ และหัวขอยอยๆ เพ่ือใหมีความขัดเจน กําหนดเลือกกิจกรรมการเรียนการสอนที่เหมาะสมที่จะใหผูเรียนเกิดการเรียนรูอยางมีประสิทธิภาพ

การวิเคราะหคุณลักษณะของผูเรียน (Analyze Learner Characteristic) เปนการวิเคราะหเพ่ือสรุปเปนขอมูลสําหรับการจัดการเรียนการสอนใหเหมาะสมกับผูเรียน โดยควรวิเคราะหท้ังลักษณะท่ัวไปเชน อายุ ระดับความรูความสามารถ เพศ สังคม วัฒนธรรม เปนตน และควรวิเคราะหลักษณะเฉพาะของผูเรียนดวย เชน ความรูพ้ืนฐาน ทักษะความชํานาญหรือความถนัด รูปแบบการเรียน ทัศนคติเปนตน

Page 15: หน วยท ีี่ 3•ลําดับความส ําคัญ •ระบุป ญหา 2. วิเคราะห สภาพแวดล อม •กลุ

15

การวิเคราะหวัตถุประสงค (Analyze Objective) วัตถุประสงคของการเรียนการสอน คือ จุดหมายปลายทางที่กําหนดไวเพ่ือใหผูเรียนและผูสอนรูวาเมื่อเรียนบทเรียนนั้นๆแลวจะเกิดการเรียนรูอะไรบาง ดังนั้นการกําหนดวัตถุประสงคจึงตองมีการวิเคราะหอยางละเอียดและรอบคอบ โดยอาจกําหนดจุดมุงหมายหรือเปาหมายหลักของการเรียนการสอนกอน แลวจึงกําหนดเปนวัตถุประสงคเชิงพฤติกรรมท่ีสามารถประเมินผลไดชัดเจนวาผูเรียนบรรลุผลการเรียนตามวัตถุประสงคท่ีกําหนดไวหรือไม

วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรมไดแก การกําหนดวัตถุประสงคทางดานพุทธิพิสัยคือ พฤติกรรมเก่ียวกับความรู ความเขาใจ ดานจิตตพิสัย คือ พฤติกรรมเก่ียวกับความรูสึก คานิยม ทัศนคติ และดานทักษะพิสัย คือ พฤติกรรมเกี่ยวกับการกระทําหรือการปฏิบัติ

การออกแบบระบบการเรียนการสอนในปจจุบันเร่ิมมีคําถามเกี่ยวกับความเหมาะสมในการเลือกใช ISD Model ตางๆ ท่ีผูเชี่ยวชาญดานการออกแบบไดคิดคนรูปแบบ และใชมาเปนเวลานานหลาย 10 ป ท้ังนี้เปนเพราะวาบทเรียนท่ีมีจํานวนมากและมีแนวโนมจะเพ่ิมจํานวนมากขึน้อีกเร่ือยๆ นั้นเปนบทเรียนออนไลนโดยเฉพาะบทเรียน e-learning ซ่ึงใหความสําคัญตอบทบาทของผูเรียน ลักษณะของบทเรียน จึงมักจะเนนการมีปฏิสัมพันธระหวางผูเรียนกับบทเรียน ผูเรียนกับผูเรียน และผูเรียนกับผูสอน

Page 16: หน วยท ีี่ 3•ลําดับความส ําคัญ •ระบุป ญหา 2. วิเคราะห สภาพแวดล อม •กลุ

16

ISD Model ตางๆ มีความเหมาะสมที่จะนํามาใชในการออกแบบบทเรียน e-learning หรือไม ทําไมถึงเหมาะ และทําไมถึงไมเหมาะสม

ฝากใหคิด

ขอใหลองคดิดวยตัวเองกอนที่จะขามไปยังสไลดถดัไป

ผูเชีย่วชาญดานการออกแบบการเรียนการสอนหลายคนมีความคดิเห็นวา ISD Model หลายรูปแบบมีความเหมาะสมสําหรับการออกแบบบทเรียน e-learning โดยผูออกแบบบทเรียนสามารถเพิ่มองคประกอบเกี่ยวกับกระบวนการมีปฏสิัมพันธขณะเรียนระหวางผูเรียนกับผูเรียน ผูเรียนกับเนื้อหาในบทเรียน ผูเรียนกับผูสอน และผูเรียนกับสวนตอประสานตางๆ (Interface)

ผูเรียน

ผูเรียน

ผูสอน

เน้ือหา

สวนตอประสาน

Page 17: หน วยท ีี่ 3•ลําดับความส ําคัญ •ระบุป ญหา 2. วิเคราะห สภาพแวดล อม •กลุ

17

Douglas D. Schneiderheinze ไดเสนอตัวอยางในการพิจารณาปรับปรุง ISD Model ของ Dick and Carey เพ่ือใหเหมาะสมกับการออกแบบบทเรียน e-learningโดยเพ่ิมองคประกอบอีก 4 องคประกอบในรูปแบบ คือ การพิจารณาการมปีฏสิัมพันธระหวางผูเรียนกับสวนตอประสาน การมีปฏสิัมพันธระหวางผูเรียนกับเนื้อหา การมีปฏสิัมพันธระหวางผูเรียนกับผูเรียน และการมีปฏสิัมพันธระหวางผูเรียนกับผูสอน ซึ่งอาจพิจารณาองคประกอบเหลานี้ขณะพัฒนาและเลือกสื่อการสอนเพื่อใหไดสื่อการสอนที่เหมาะสมทีจ่ะใชในบทเรียน e-learning หรืออาจพิจารณาหลังจากการออกแบบและประเมินผลรวมของประสิทธิภาพบทเรียนก็ได

ประเมินความจําเปนและกําหนดเปาหมาย

วิเคราะหการสอน

กําหนดวัตถุ

ประสงควิเคราะหผูเรียนและเนื้อหา

พัฒนาเคร่ืองมือประเมินผล

พัฒนายุทธวธีิสอน

พัฒนาและเลือกส่ือการสอน

ออกแบบและ

ประเมินผลขณะสอน

ออกแบบและประเมินผลรวม

ทบทวน/ปรับปรุงการสอน

ผูเรียน/ผูสอน

ผูเรียน/สวนตอประสาน

ผูเรียน/ผูเรียน

ผูเรียน/เนื้อหา

รูปแบบการออกแบบระบบการเรียนการสอนของ Dick and Carey ท่ีมีการปรับปรุงตามแนวคิด Schneiderheinze

การออกแบบปฏิสัมพันธ

Page 18: หน วยท ีี่ 3•ลําดับความส ําคัญ •ระบุป ญหา 2. วิเคราะห สภาพแวดล อม •กลุ

18

โดยสรุป การออกแบบระบบการเรียนการสอนสําหรับบทเรียน e-learning ก็ไมมีความแตกตางกับการออกแบบระบบการเรียนการสอนสําหรับบทเรียนอ่ืนๆ ผูออกแบบบทเรียนสามารถเลือกใช ISD Model ใดๆก็ได โดยหลักการพื้นฐานในการออกแบบมักจะประกอบไปดวย 5 ขั้นตอนของ ADDIE Model ท้ังนี้ผูออกแบบอาจพิจารณาปรับปรุงรูปแบบที่เลือกใชใหมีความชัดเจนเก่ียวกับการมีปฏิสัมพันธของผูเรียนในขณะเรียนท้ังควรตองทําความเขาใจเกี่ยวกับแนวคิด/ทฤษฎีใหมตางๆ ในการออกแบบระบบการเรียนการสอนเพื่อใหไดบทเรียนท่ีมีประสิทธิภาพ

หลักสูตรประกาศนียบัตร “ผูเชี่ยวชาญอีเลิรนนงิ”

โครงการมหาวิทยาลัยไซเบอรไทยสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษากระทรวงศึกษาธิการสงวนลิขสิทธิ์ © 2549