วิเคราะห สังคมวัฒนธรรม เพลงผี ... · 2015. 3....

107
วิเคราะหสังคมวัฒนธรรม เพลงผี ไทยสมัยนิยม : กรณีศึกษา เพลงละครโทรทัศนโดย มนัส ปติสานต โดย นายนฤภัย อักษรมี วิทยานิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาดุริยางคศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสังคีตวิจัยและพัฒนา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร ปการศึกษา 2556 ลิขสิทธิ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร หอ

Upload: others

Post on 10-Sep-2020

6 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

  • วิเคราะหสังคมวัฒนธรรม เพลงผีไทยสมัยนิยม : กรณีศึกษา เพลงละครโทรทัศนโดย มนัส ปติสานต

    โดย นายนฤภัย อักษรมี

    วิทยานิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาดุริยางคศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสังคีตวิจัยและพัฒนา

    บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร ปการศึกษา 2556

    ลิขสิทธิ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร

    สำนกัหอ

    สมุดกลาง

  • วิเคราะหสังคมวัฒนธรรม เพลงผีไทยสมัยนิยม : กรณีศึกษา เพลงละครโทรทัศนโดย มนัส ปติสานต

    โดย นายนฤภัย อักษรมี

    วิทยานิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาดุริยางคศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสังคีตวิจัยและพัฒนา

    บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร ปการศึกษา 2556

    ลิขสิทธิ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร

    สำนกัหอ

    สมุดกลาง

  • THE SOCIO-CULTURAL ANALYSIS OF THAI GHOST IN POP SONGS : CASE STUDY OF MANAS PITISAN'S TELEVISION SERIES

    By Mr. Narupai Asksonmee

    A Thesis Submitted in Partial Fulfillment of the Requirements for the Degree Master of Music Program in Music Research and Development

    Graduate School, Silpakorn University Academic Year 2013

    Copyright of Graduate School, Silpakorn University

    สำนกัหอ

    สมุดกลาง

  • บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร อนุมัติใหวิทยานิพนธเรื่อง “วิเคราะหสังคมวัฒนธรรมผานเพลงผีไทยสมัยนิยม: กรณีศึกษาเพลงประกอบละครโทรทัศนของมนัส ปติสานต” เสนอโดย นายนฤภัย อักษรมี เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาดุริยางคศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสังคีตวิจัยและพัฒนา

    ………………………………………………………………….. (รองศาสตราจารย ดร.ปานใจ ธารทัศนวงศ)

    คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย วันที่..........เดือน.........................พ.ศ...................

    อาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธZ อาจารย อานันท นาคคง

    คณะกรรมการตรวจสอบวิทยานิพนธ

    ………………………………………………ประธานกรรมการ(อาจารย ดร. Jean-David, Stephane Caillouët)…………./…………….……./……………

    ………………………………………………กรรมการ( อาจารย ดร. ณัฐวุฒิ บริบูรณวิรีย)…………./…………….……./……………

    ………………………………………………กรรมการ(อาจารย อานันท นาคคง)…………./…………….……./……………

    96

    สำนกัหอ

    สมุดกลาง

  • 55701311: สาขาวิชาสังคีตวิจัยและพัฒนา คําสําคัญ: สังคมวัฒนธรรม/เพลงผี/สมัยนิยม/มนัส ปติสานต นฤภัย อักษรมี : วิเคราะหสังคมวัฒนธรรม เพลงไทยสมัยนิยม : กรณีศึกษา เพลงละครโทรทัศนโดยมนัส ปติสานต. อาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธ : อ. อานันท นาคคง. 96 หนา. ความเชื่อเรื่องผีมีความผูกพันกับวัฒนธรรมไทยมายาวนาน เปนความสัมพันธของคน กับชุมชนและอํานาจลี้ลับซึ่งชวยเหลือเกื้อกูลกันกอนที่ศาสนาหลักจะเขามามีอิทธิพล อํานาจของเพศหญิงที่มีบทบาทหนาที่ผูนําชุมชนแตกาลกอนเพราะเปนเพศที่เขาใจในอํานาจลี้ลับมากกวาที่เพศชายจะเขาถึงมีการถูกเปลี่ยนสถานะจากผูที่เขาใจในพลังลี้ลับ กลายเปนผูที่ตอง เกี่ยวของกับเรื่อง“ผ”ีแนวคิดเหลานี้เปนวัตถุดิบทางวัฒนธรรมในสังคมไทยที่ถูกผลิตซ้ําและนําไป สรางเปนละครโทรทัศน มายาคติแหงความเปนผีถูกเปลี่ยนแปลงใหเปนวัฒนธรรมแหงความกลัว และบันเทิง มนัส ปติสานตไดฝากผลงานเพลงไทยสากลและเพลงประกอบละครโทรทัศนไวมาก มาย แตเพลงประกอบละครโทรทัศนสยองขวัญสามเพลง (แมนาค, กระสือ, ปอบผีฟา) ไดถูกนํามาเปนประเด็นหลักในการวิเคราะห เพราะเปนผลงานสําคัญที่ไดรับความนิยมตลอดมา มีการผลิตซ้ําโดยใชทํานองเดิม เนื้อรองเดิม มาสรางใหม แตยังคงไวซึ่งเอกลักษณของมนัส ปติสานต ซึ่งทุกคนสามารถจดจําเนื้อรองไดดวยโครงสรางเพลงที่ไมซับซอน กระชับและคมคาย ในเพลงยังมีองคประกอบยอยตางๆ ที่ผูวิจัยจะนำมาแยกออกเพื่อวิเคราะหใน สัญญะตางๆ ที่สามารถโยงใหเห็นถึงสังคมวัฒนธรรมไทยที่มีแนวคิดทัศนคติและ ความสัมพันธกับความเชื่อเรื่องผีในวิถีชีวิต ทั้งสามเพลงนั้นตางมีจุดรวมในภาพรวมของลักษณะที่เปน “ผีผูหญิง” ที่ถูกเลาผานการตีความของผูประพันธเพลงในการสรางลักษณะเฉพาะใหความเปนผีนั้น เปนที่รูจักมักคุนตอคนไทยอยูแลว ตัวเพลงผีทั้งสามเพลงนั้นยังทําใหภาพลักษณ ของผีและลักษณะเฉพาะสําคัญและเรื่องราวบริบทรอบตัว กลายเปนที่จดจําดวยเพลง และทําใหกลายเปนบทเพลงอมตะมาทุกยุคทุกสมัย สามารถสะทอนใหเห็นถึง สังคมวัฒนธรรมการดํารงชีวิตของคนไทย

    สังคีตวิจัยและพัฒนา บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยศิลปากร ลายมือชื่อนักศึกษา........................................ ปการศึกษา 2556 ลายมือชื่ออาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธ ........................................

    สำนกัหอ

    สมุดกลาง

  • 55701311 : MAJOR : (MUSIC RESEARCH AND DEVELOPMENT) KEY WORD : SOCIO-CULTURAL/THAI GHOSTS/POP SONGS/MANAD PITISARN NARUPAI ASKSONMEE : THE SOCIO-CULTURAL ANALYSIS OF THAI GHOST IN POP SONGS : CASE STUDY OF MANAS PITISAN'S TELEVISION SERIES. THESIS ADVISOR: Anant Nakkong. 96 p. This research attempts to find out the significant of spiritual mythology in Thai popular songs related to modern media. Subject of study has paid to 1980s television drama series which produced for Thai audiences through the existence of three famous female ghosts Maenaak prakanong, Krasue and Pobpheefah whom widely known by Thai people for generations and has been reproduced in many media formats. All series are elaborated with fear-entertainment culture and mysterious narratives which highlight the feminine power in variety form of ghost-status. The common interesting point can be found in successfully title songs which originally composed by Manas Pipisan who created both powerful music and lyrics through his personal understanding of the ghost and portraits his works into different interpretations.

    Analysis of song titles shows that the composer has variety techniques of music-making and has clearly creative ideas of fitting pop culture in the old spiritual domains. In the title song of Maenaak prakanong, Manas has apply traditional Thai melody to be sung in traditional lullaby style and performed by traditional Thai percussion orchestra. In the title song of Krasue, he however uses modern western dance beat to support modern pop singing along with horror sound design asserted. Whereas in the title of Pobpheefah, Manas mixes folklore dance song together with Thai orchestra plus sound design and screaming.

    These songs remain their popularity even the time passed and several successor television media productions have been made for newer consumers but Manas’s works still be reproduced and still effectively connect people to the memory of ghost in Thai culture. Program of Music Research and development Graduate School, Silpakorn University Student's signature ........................................ Academic Year 2013 Thesis Advisor's signature ........................................

    สำนกัหอ

    สมุดกลาง

  • Nl\!,~U~Gt....t1..!,l~I>)1l'IIitG!fIil"ll1l1"t1.~LR.Ui!~~'1P,1!.1>1;U:f't1.Il'G~' [1 t 11!'l 1 I1!'lL.¥1I r1.!t~LUI1£ ....Lltt,!itlO,If~~11.TI r1.1l' [1 tL!,::bll~LrtL"'Pill'1!.;t1.MULIlIAI:, L~~l-I1.I1}~

    r1. te.1lM:\IA::II "fu~L~I>}bO:11~111~'~~LUMIt loftl1.~IIitl1!r1.11 ~f" UII" ~r1.g'I> Gil !& t1.!oI'tt+t1.I1~'~\![1trtU S!I!8lU ::11" JOjSr lIitI1Jfr1.Lr:::II1'1l.JUUIAl.JII'!!\llIt"'~G~ "'1A1::II1'1lllAt~~ '''i I 1:

    II ttI1J!o~~...."I1.!,l ~!lM,!l1R.hLI'tJlr1.i:lIilItI3~I1~ULbP,1!.111::&f't1.g,!&IIttG!f~~I1.11ru1

  • สารบัญ หนา

    บทคัดยอภาษาไทย………………………………….…………………………………….. บทคัดยอภาษาอังกฤษ……………………………………..……………………………... กิตติกรรมประกาศ………………………………………………………………………… สารบัญภาพ………………………………………………………………………....….....

    ง จ ฉ ญ

    บทที่ 1 บทนํา……………………………………………………………………………….. 1

    ความสําคัญและความเปนมา……………………………………….………. เพลงเปดละครโทรทัศน………………………………………………………. หนาที่ดนตรีกับละครโทรทัศน………………………………………………... การวิเคราะหสังคมวัฒนธรรมผานเพลงผีไทยสมัยนิยม…………………….. วัตถุประสงคของการวิจัย……………………………………………………. ขอสันนิษฐานเบื้องตน……………………………………………………….. ขอบเขตของงานวิจัย................................................................................ นิยามศัพทเฉพาะ.................................................................................... ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ.......................................................................

    1 3

    5 7 7

    10 10 11

    2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ…………………………………………………….. 13

    ความรูพื้นฐานสื่อและสังคม ………………………………………………… การอานสื่อและถอดรหัสสื่อ...................................................................... การศึกษาศาสนาดั้งเดิมและความเชื่อเรื่องผี.............................................. บทบาทของผีตอความตายและศาสนาตอมุมมองสังคมไทย……………….. ลักษณะของตํานาน………………………………………………………….. มายาคติแหงความเปนหญิง…………………………………………………. วัฒนธรรมสมัยนิยม………………………………………………………….. เพลงสมัยนิยม……………………………………………………………….. การรับรูดนตรีและความหมายเบื้องตน……………………………………… สัญญวิทยา…………………………………………………………………... งานวิจัยที่เกี่ยวของ…………………………………………………………...

    13 14 15 16 19 20 21 22 24 26 27

    ช ช

    สำนกัหอ

    สมุดกลาง

  • 3 วิธีดําเนินการวิจัย…………………………………………………………………… 30 แหลงขอมูลศึกษาสําหรับงานวิจัย……………………………………………

    เครื่องมือที่ใชในงานวิจัย…………………………………………………….. กระบวนการที่ใชในการเก็บรวบรวมขอมูล…………………………………... การวิเตราะหขอมูล…………………………………………………………… แหลงขอมูลที่ใชคนควา……………………………………………………… งบประมาณที่ใชในการวิจัย…………………………………………………..

    30 30 30 31

    32 32

    4 วิเคราะหขอมูล 33 แนวทางในการวิเคราะห...........................................................................

    เรื่องราวของเพลงปอบผีฟา เพลงแมนาคพระโขนง และเพลงกระสือ………. ขอมูลของละครโทรทัศนสยองขวัญทั้งสามเรื่อง…………………………….. การทํางานของสื่อกับเพลงตอการถายทอดชุดความคิดเรื่องผีตอสังคม วัฒนธรรมไทย……………………………………………………………….. หนาที่ของดนตรีและเสียงตอการตีความอุดมการณของภาพยนตรและละครโทรทัศน………………………………………………………………………. การผลิตเพลงละครโทรทัศน…………………………………………………. วิเคราะหยอยเพลงผี................................................................................. เปรียบเทียบจุดรวมของผีทั้งสาม…………………………………………….. บทบาทของผีกับสังคม……………………………………………………….. มายาคติแหงความเปนผีผูหญิง……………………………………………… ความเปนชนบทในสายตาของคนเมือง……………………………………… ถอดรหัสเพลงผี....................................................................................... เพลงผี: วัฒนธรรมความกลัวและความบันเทิง……………………………… เพลงผีไทยสมัยนิยมกับการผลิตซ้ํา………………………………………….. การสรางสรรคงานของมนัส ปติสานต………………………………………..

    33 34 35

    38

    43 44 45 53 53 53 55 55 55 57 59

    5 สรุปผลการวิจัย หนา บทบาทของผีกับสังคมไทย…………………………………………………...

    สื่อตอการถายทอดแนวคิดเรื่องผีตอสังคมวัฒนธรรมไทย…………………... 64 65

    สำนกัหอ

    สมุดกลาง

  • หนาที่ดนตรีกับละครโทรทัศน………………………………………………... เพลงกระสือเพลงแมนาคพระโขนงและเพลงปอบผีฟา……………………..... จุดรวมของผีทั้งสาม................................................................................. เพลงผี: วัฒนธรรมความกลัวและความบันเทิง……………………………… การผลิตซ้ําเพลงผีไทย……………………………………………………….. การสรางสรรคงานของมนัสปติสานต………………………………………...

    65 66

    67 68 68 69

    อภิปรายผลการวิจัย………………………………………..………………… ขอเสนอแนะ……………………………………..…………………………...

    70 70

    รายการอางอิง………………………………..…….....…………………………………... ภาคผนวก................................................................................................................. ภาคผนวก ก ประวัติของมนัสปติสานต...................................................... ภาคผนวก ข โนตเพลงกระสือ แมนาคพระโขนง และปอบผีฟา.................... ประวัติผูวิจัย............................................................................................

    72 75

    76 79 96

    ฌ ช

    สำนกัหอ

    สมุดกลาง

  • สารบัญภาพ ภาพที่ หนา

    1 2 3 4 5 6 7 8 9

    10

    ภาพจากละครโทรทัศนปอบผีฟาป 2540…………………………………………. ภาพประกอบภาพยนตรเรื่องแมนาคพระโขนงป 2502………………................. ภาพประกอบละครโทรทัศนชุด “กระสือ” ป 2521………………………………… แผนภาพแสดงความสัมพันธตอการถายทอดอุดมการณทางสังคมผานสื่อ……… ปจจัยสําคัญตอการรับสื่อ…………………………………………………………. องคประกอบในการสื่อสารทางตรง……………………………………………….. โนตเพลงทอนสําคัญในเพลงกระสือ ผานโปรแกรม Sibelius 6………………….. โนตเพลงทอนสําคัญในเพลงแมนาคพระโขนง ผานโปรแกรม Sibelius 6……….. โนตเพลงทอนสําคัญในเพลงปอบผีฟา ผานโปรแกรม Sibelius 6……………….. มนัส ปติสานต................................................................................................

    35 36 37 41 41 42 61 61 62 77

    ญ ช

    สำนกัหอ

    สมุดกลาง

  • บทที่ 1

    บทนำ

    ความสำคัญและความเปนมา4 ปฏิเสธไมไดวาในปจจุบัน สื่อโทรทัศนยังมีความจำเปนและเปนเครื่องมือที่ยังทรงอิทธิพลในการใหขาวสารการรับรูแกผูคนโดยทั่วไป แมวาสื่ออินเทอรเน็ตจะเขาครองครองพื้นที่สวนตัวในแตละบานแลวก็ตาม แตผูวิจัยยังยอมรับวาอิทธิพลของโทรทัศน ยังสงผลตอการขับเคลื่อนสังคมแหงการรับรูและจูงใจผูคนจำนวนมากไมวาจะเปนชนชั้นกลางจนถึงรากหญาก็ตาม และบางครั้งก็ยังสามารถใชเปนเครื่องมือในการสรางแรงจูงใจทางการเมืองหรือโฆษณาชวนเชื่อจากพรรคการเมืองตางๆ จนบางครั้งก็กลายเปนสงครามสื่อที่แตละฝายก็ตางลงทุนลงแรงแขงขันกันเพื่อแยงชิงพื้นที่สื่อใหไดมากที่สุด จากจุดนี้เอง ยิ่งเปนเครื่องตอกย้ำถึงอิทธิพลของโทรทัศนในฐานะสื่อที่ทรงอิทธิพลอยางหลีกเลี่ยงไมไดZ นอกจากขาวสารแลว ยังมี “ละครโทรทัศน” ในฐานะของสื่อบันเทิงชนิดหนึ่ง ถาเรามองเพียงผิวเผิน “ละครโทรทัศน” นี้ มีเพียงไวรับชมซึ่งไมไดอะไรมากไปกวาการพักผอนหยอนใจเทานั้น แตทวา หากเราลองมองลึกเขาไปในสาระของละครโทรทัศนแตละเรื่อง เราจะพบภาพสะทอนสังคมหลายๆ อยาง เพราะละครโทรทัศนนั้นก็ถูกสรางขึ้นจากวัตถุดิบทางวัฒนธรรมที่แวดลอมอยูรอบตัวเรานั้นเอง มันจึงเปรียบเสมือนการสรางกระจกเงาสมมุติเพื่อจำลองสถานการของโลกเสมือนใหกับผูชมจนเกิดการคลอยตาม และบวกกับเทคโนโลยียุคโลกาภิวัฒน ทำใหสื่อตางๆ สามารถดัดแปลงและผลิตซ้ำไดในระยะเวลาที่รวดเร็ว ดังนั้นเนื้อหาสาระในละครโทรทัศนตางๆ จึงสงผลจนกลายเปนชุดความเชื่อทปราศจากการสังสัยและตั้งคำถามที่แอบแฝงอยูในสังคม1

    Z และในสื่อละครโทรทัศนหรือภาพยนตรนั้นเองก็มีหลากหลายประเภท (Genre) ตามแตความชอบหรือความถนัดของผูสราง ซึ่งในแตละประเภทที่วานี้ก็มีบางเรื่องเปนที่นิยมจนติดตลาด และบางประเภทนั้นก็ไมไดเปนที่นิยมเทาไหรนัก ขึ้นอยูกับวัฒนธรรมการเสพยของคนหมูมาก หรือที่เรียกอีกอยางหนึ่งวา “วัฒนธรรมมสมัยนิยม” (Pop culture) Z อีกหนึ่งประเภทของภาพยนตรหรือละครโทรทัศนไทยที่เปนที่นิยมไมวากี่ยุคกี่สมัยนั้นคือประเภท ”สยองขวัญ” โดยคนทั่วไปเรียกกันวา “หนังผี” นับเปนประเภทที่ผูคนใหความสนใจ

    1

    Z 1 กำจร หลุยยะพงษ และสมสุข หินวิมาน, ความลึกล้ำของสุนทรียใน หนังน้ำเนา กรณีศึกษาหนังผีไทยยุค 2520 - 2547 (กรุงเทพมหานคร: ภาษาและหนังสือ, 2548), 86.

    1

    สำนกัหอ

    สมุดกลาง

  • เปนอันดับตนๆ ไมวาจะเปนภาพยนตรที่ฉายตามโรงภาพยนตร หรือทางโทรทัศนก็ตาม เปนวัตถุดิบทางวัฒนธรรมที่ผูสรางมักหยิบยกขึ้นมาใชสรางเรื่องราวและมีการผลิตซ้ำอยางตอเนื่อง เนื่องจากเปนสิ่งที่สามารถพบเห็นไดทั่วไปในบริบททางสังคมโดยเกี่ยวของกับความเชื่อโบราณที่มีมานาน และปลูกฝงรากลึกคูสังคมไทยมาโดยตลอด Z กอนที่สังคมไทยจะรับสื่อภาพยนตรมาจากตะวันตกนั้น ในฝงตะวันตกเองภาพยนตรสยองขวัญมีมานานกวาเกือบหนึ่งทศวรรษแลว โดยมาพรอมกับยุคภาพยนตรเงียบ (Silent films) สายเยอรมันเชนเรื่อง “Nosferatu” (1922) เปนการถือกำเนิดมาของภาพยนตรในลักษณะเกินจริง เราจะไดเห็นมนุษยที่อยูในภาพยนตร (ในบทของผี, ปศาจ) แสดงการกระทำใดๆ ก็ตามที่มนุษยทั่วไปไมสามารถทำไดเชน หายตัว วิ่งเร็ว ไมแกไมตาย หรือแมกระทั่งภาพความรุนแรงของการดื่มเลือดมนุษยดวยเทคนิคตางๆ ในการถายทำZ เมื่อลองยอนกลับมาดู “หนังผี” ในประเทศไทย เรียกไดวามีความเปนวัฒนธรรมกระแสนิยม ( Pop culture ) ที่แข็งแรงมากเพราะในอดีดกอนที่จะมีศาสนาพุทธเขามาในประเทศไทยในรากของวัฒนธรรมของอุษาคเนยนั้นตางกราบไหวผีปา และบูชาธรรมชาติมากอน สิ่งเหลานี้เปนวัตถุดิบทางวัฒนธรรมที่กอตัวขึ้นอยางแนบแนนและสืบทอดกันมาในลักษณะปากตอปากจนมาถึงปจจุบัน มันจึงเปนวัตถุดิบทางวัฒนธรรมงายๆ ที่คนทั่วไปจะสามารถเขาใจในหนังผีได ซึ่งประกอบไปดวยหลายประเภท โดยที่ผีนั้นเปนปรากฏการณหนึ่งในวัฒนธรรมดั้งเดิมของไทย ในการที่จะทำความเขาใจเรื่องผีนั้น มีความจำเปนอยางยิ่งที่จะตองมองเขาไปในบริบททางวัฒนธรรมโดยอาศัยกระบวนทรรศน (Paradigm) คือวิธีคิดและการใหคุณคาและวิธีการปฏิบัติโดยตั้งอยูบนพื้นฐานของความจริง ซึ่งผีนั้นคือกฏเกณฑบางอยางเปรียบเทียบดังระเบียบแบนแผนที่คนในวัฒนธรรมนั้นๆ มีความสัมพันธระหวาง คนกับคน คนกับชุมชน และคนกับธรรมชาติ การขัดตอกฏระเบียบบางอยางในสังคมนั้นจึงเรียกกันสั้นๆ วา “ผิดผี” คือผิดกฏเกณฑ ซึ่งผีมีอยูทุกที่ ในมิติตางๆ แหงชีวิต ไมวาจะเปน คน สัตว พืช หรือแมกระทั่งสิ่งของ สัมพันธกันถึงระดับจักรวาล ในการใชชีวิตในสังคมเกษตรกรรมแบบดั้งเดิม ชาวนาตองพึ่งพาอาศัยแนวคิดเหนือธรรมชาติเปนสำคัญ แมธรณีและแมโพสพ ผีซึ่งนำมาดวยอาหารที่บริบูรณ ผีฟานำมาซึ่งฝนหลอเลี้ยงผูคน มีทั้งวิญญาณบรรพบุรุษ (ที่เคยมีชีวิตอยู) ซึ่งไดรับความสำคัญและเปนที่เคารพบูชาในฐานะตัวแบบและตัวแทน โดยคนไทยนับถือผีกอนที่ศาสนาพุทธจะเขามาในเมืองไทย เกิดการผสมผสานกับวัฒนธรรมแบบผีดั้งเดิม โดยจัดให พระพุทธ พระธรรม พระสงฆนั้นอยูเหนือกวาผีทั่วไป การนับถือผีจึงเขาสูกระบวนทรรศนของสังคมใหม โดยมีความรูทางวิทยาศาสตรของสังคมคนเมืองซึ่งไดรับชุดความรูจากตะวันตก จึงจัดใหผีนั้นอยูในหมวด “ไสยศาสตร” ที่มีไวเพื่อตอบสนองความตองการสวนบุคคลมากกวาการเคารพดวยความยำเกรง ความเปนผีถูกเบียดออกจากสารระบบแหงความยำเกรงและถูกยัดคานิยมวาเปนสิ่งชั่วรายเพราะอิทธิพลของ ”เทวดา” ที่มาพรอมกับศาสนาพราหมณและพุทธ แตยังมีความเชื่อดั้งเดิมที่ยังมีอยูในสังคมชนบทในเรื่องของผีฟาและเทพารักษ หรือ ผีแถว ผีแนน ผีกำเนิด กับตำนานผีที่ใหกำเนิดโลก ซึ่งดลบันดาลใหขาว

    2

    สำนกัหอ

    สมุดกลาง

  • ปลาอาหารสมบูรณ รักษาคนปวยไข และยังมีผีดิน น้ำ ปาเขาลำเนาไพร ที่จัดวาเปนผีธรรมชาติ สวนผีรายที่รูจักกัน คือ ผีปอบ มีลักษณะเปนคน มีความเชื่อกันวาชอบเลนของอาคม และละเมิดกฏขอหามจึงกลายเปนปอบ เขาสิงผูคนเพื่อกินตับไตใสพุง ใครที่ถูกเชื่อวาเปนปอบ จะตองกลายเปนคนนอกและถูกขับไลออกจากสังคม ผีรายมีทั้งผูที่ตายไปแลวแตยังไมหมดเวรหมดกรรมเชนตำนานแมนาคพระโขนง ที่เปนผีตามมาหลอกหลอนผูคนเพื่อเงื่อนไขบางอยาง จนกวาผูคนที่มีชีวิตอยูจะบรรลุถึงเงื่อนไขนั้นได ผูตายจึงจะหมดเวรกรรมและไมมาหลอกหลอนคนอีก

    เพลงเปดละครโทรทัศน (Title songs)Z เพลงเปดละครโทรทัศนนั้น อาจจะเปนเพลงชนิดเดียวที่สามารถพบไดในละครที่ฉายทางโทรทัศนตามชวงเวลาตามตารางฉายของแตละสถานีเทานั้น เปนเพลงที่ใชเปดกอนที่จะฉายตัวเรื่อง โดยมีความยาว 1 นาทีครึ่ง ถึง 3 นาที เพื่อเปนการเรียกและรอใหเวลาแกผูชมในการเตรียมตัวที่จะรับชม โดยเพลงเปดละครโทรทัศนจะมีความแตกตางอยางมากกับเพลงประกอบภาพยนตร เพราะเปนเพลงที่ประกอบไปดวยเนื้อรอง ซึ่งสวนใหญจะมีเนื้อรองเกี่ยวกับเนื้อหา (Content) โดยรวมของเรื่อง หรือความรูสึกของตัวละครหลักที่เปนตัวดำเนินเรื่อง โครงสรางของเพลงนั้นก็เหมือนกับเพลงทั่วไปแลวแตประเภทของละครโทรทัศนนั้นๆ และจะเปดพรอมกับแนะนำรายชื่อของนักแสดง ผูกำกับ และทีมงานทั้งหมด กันตั้งแตตนเรื่องZ ในดานความเปนมาของเพลงประกอบละครโทรทัศนนั้น อาจจะตองยอนกลับไปทำความเขาใจของหนาที่ (Function) ในสวนของดนตรี ตอการเปนสวนหนึ่งของละครไทยมาตั้งแตในยุคโบราณซึ่งพัฒนามาจากวงปพาทยที่มีไวเพื่อพิธีกรรมและในสวนของราชสำนัก จนเวลาผานไปจึงออกมานอกรั้ววังสูการเลนเพื่อความบันเทิงของประชาชนทั่วไป เชนหลังการบรรเลงพิธีกรรมในชวงเวลากลางคืน เหลานักดนตรีจะจับกลุมกันเลนเพื่อความบันเทิงเริงรมยกันตอ จึงเกิดการจับกลุมเพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกันในหมูนักดนตรีเพื่อแกไขขอบกพรองซึ่งกันและกัน นำไปสูการพัฒนาของวงปพาทยขึ้นในหลายๆ ดาน เชน จากปพาทยรับเสภาในสมัยรัชกาลที่ 2 สูวงปพาทยเครื่องคูในสมัยรัชกาลที่ 3 เกิดเพลงสามชั้นซึ่งยืดทำนองออกไปใหยาวขึ้นจนเกิดการสอดแทรกลูกเลนที่ตางจากธรรมเนียมเดิม ทำใหเกิดพัฒนาการของ “เพลงเดี่ยว” ซึ่งผูเลนจะตองฝกฝนเครื่องดนตรีประจำตัวจนชำนาญ ซึ่งทำใหเกิดการพัฒนาของวงปพาทยมากขึ้นจนประชาชนทั่วไปใหความสำคัญจากผลพวงความสามารถของตัวศิลปน และแรงจูงใจจากคาตอบแทนที่งามสมราคาจนเกิดการประชันแขงขันกันในที่สุด จนกระทั่งการเขามาของชาติมหาอำนาจจากตะวันตกอยางอเมริกาในชวงหลังสงครามโลกครั้งที่สอง นอกจากประเทศไทยจะทีการเปลี่ยนแปลงทางการเมือง เศรษฐกิจแลวนั้น อเมริกายังนำวัฒนธรรมจากดนตรีตะวันตกเขามาดวย ในชวงเวลานั้นจึงเกิดอาการ “เหออเมริกา” ในฐานะของประเทศชนะสงครามจนรับวัฒนธรรมเพลงประเภท “เพลงไทยสากล” ขึ้น ในระยะแรกนั้นเปนแคการนำเพลงสากลมาใสเนื้อรองใหเต็มจนเกิดพัฒนาการเปนเพลงไทยสากลเต็มรูปแบบ และมีการนำไปประกอบภาพยนตรเรื่องแรกอยาง “เพลงกลวยไม” ซึ่งใชประกอบภาพยนตรเรื่อง “ปูโสมเฝาทรัพย” และไดรับความนิยมอยางแพร

    3

    สำนกัหอ

    สมุดกลาง

  • หลาย ตอมาภาพยนตรที่มีเสียงในฟลมจึงมีการนำเพลงไทยสากลไวใชประกอบเรื่อยมา และแตละเพลงจะโดงดังมาพรอมกับชื่อเสียงของภาพยนตรแตละเรื่อง2 จนเมื่อการเขามาของละครโทรทัศน ก็มีการใชเพลงประกอบในการแสดงอยางละครรำเรื่อง “ขุนชางขุนแผน” (2498) ทางสถานีโทรทัศนชอง 4 บางขุนพรหม ดังที่กลาวมาเห็นวา นักแสดงไมมีความจำเปนอีกตอไปแลวที่จะตองรองกันสดๆ ในขณะที่แสดง3

    หนาที่ดนตรีกับละครโทรทัศน 4 สิ่งที่ทำใหละครโทรทัศนนั้นถูกนำเสนอ เปนการสงขอความสูผูเสพยสื่อซึ่งไมใชแคภาพเพียงอยางเดียว เสียงและดนตรีก็เปนสวนประกอบสำคัญในหลายๆ อยางที่จะชวยในการเลาเรื่องโดยแบงออกไดดังนี้Z 1. บงบอกถึงประเภทละคร นอกจากชื่อเรื่องที่บางครั้งก็ยากที่จะเขาใจวาเรื่องนี้เกี่ยวกับอะไร? ดนตรีนั้นก็เปนสวนที่สำคัญตอการหนุนเสริมองคประกอบของละครโทรทัศนไดเปนอยางดี เพราะในชวงไตเติ้ลของละครนั้นเปนการเวนที่วางสำหรับเสียง เพราะยังไมมีการเริ่มดำเนินเนื้อเรื่องและบทสนทนาใดๆ เปนพื้นที่สำคัญที่จะใชดนตรีในการเลาเรื่อง ดังนั้น องคประกอบของดนตรีตางๆ นั้นยอมสามารถบงบอกถึงประเภทละครได แตทั้งนี้ลวนขึ้นอยูกับปจจัยตางๆ ในแงของการรับรูรวมกันในสังคมวัฒนธรรมนั้นๆ เชนกระบวนการทางภาษาในการสื่อสาร เพราะภาษาในเพลงนั้นเปรียบเสมือนคำพูดอธิบายถึงเนื้อเรื่องของละครโทรทัศนไดเปนอยางดีZ 2. เปนการบอกถึงลักษณะตัวละครหลักและสถานที่ แนวของดนตรีบางชนิดนั้นสามารถบงบอกถึงพื้นเพที่สามารถอางอิงถึงสถานที่ไดเชน เพลงพื้นบานตางๆ ที่มีองคระกอบที่เกี่ยวของกับบริบททางวัฒนธรรมและประวัติศาสตรที่มีความสัมพันธกับพื้นถิ่นเชนเพลงหมอลำที่ผูฟงไดฟงก็รูทันทีวาเปนเพลงของภาคอีสาน (แตทั้งนี้ลวนเกี่ยวของกับขอตกลงรวมกันทางสังคมและกระบวนการทางภาษาอยูดี) ที่เนื้อรื่องของละครนั้นอาจจะอยูในจังหวัดใดจังหวัดหนึ่งในภาคอีสาน หรือตัวละครเอกอาจจะเปนคนจากภาคอีสาน แมแตอาจจะเดาไดวาละครเรื่องนี้นาจะเลาถึงเฉพาะอุดมการณทางสังคมของภาคอีสานก็เปนไดZ 3. เปนชวงเวลาสำคัญในการประชาสัมพันธ ภาพที่ปรากฏบนจอยอมไมใชการเริ่มเนื้อเรื่องตามบทที่สรางไวแนนอน เปนเพียงภาพที่ตัดสลับไปมาหลายๆ ฉากจากในจำนวนตอนทั้งหมด ดังนั้นจึงมีขอความตางๆ ปรากฏขึ้นเพื่อประชาสัมพันธถึงขอมูลของนักแสดงและทีมงาน

    4

    ! 2 ภัทรวดี ภูชฎาภิรมย, วัฒนธรรมบันเทิงในชาติไทย : การเปลี่ยนแปลงของวัฒนธรรมความบันเทิงในสังคมกรุงเทพ พ.ศ. 2491 - 2500 (กรุงเทพมหานคร: ศิลปวัฒนธรรม, 2550), 215.

    ! 3 มณฑกานต ธรนันทวัฒน, หนาที่และอัตลักษณของเพลงละครโทรทัศน, (จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2544), 12.

    สำนกัหอ

    สมุดกลาง

  • รวมถึงโฆษณาเล็กๆ ที่แฝงอยู และเพลงเหลานี้ยังคงตองถูกเปดซ้ำ ทุกครั้งที่ถึงกำหนดเวลาของการฉาย เปนการใหผูฟงไดรับฟงเพลงเหลานี้ทุกครั้งเมื่อถึงกำหนด จนกลายเปนเพลงที่คุน ติดหู นำไปสูธุรกิจการขายเพลงประกอบภาพยนตรโทรทัศนตอไป Z 4. เปนพื้นที่ของเสียงอื่นๆ ที่ไมใชเสียงดนตรี เพื่อหนุนเสริมเสริมแนวคิดดนตรีตอละครโทรทัศน หลายครั้งที่ชองวางบางอยางในตัวดนตรีถูกเติมเต็มดวย ”เสียงประกอบ” (Sound Effect) เพื่อหนุนเสริมแนวคิดของดนตรีประกอบละครโทรทัศนใหแข็งแรงมากขึ้น โดยเสียงประกอบเหลานี้เปนการอางอิงถึงวัตถุ และเหตุการณบางอยางเพื่อสรางชุดความจริง ทำใหผูฟงเกิดความเชื่อรวมกันในสิ่งที่เสนอออกมา และสามารถสรางความรูสึกรวมกันในการกระตุนอารมณบางอยางของเพลงและละครโทรทัศนZ 5. สรางความเปนเอกลักษณใหกับตัวละครโทรทัศน โดยสวนใหญแลว กระบวนการทั้งหมดในเพลงประกอบละครโทรทัศนที่มีเนื้อรองนั้นยอมมีความชัดเจนในการสื่อสารที่สุด แตโดยภาพรวมแลว สวนประกอบอื่นๆ อยางที่กลาวมานั้นยอมประกอบสรางเอกลักษณเฉพาะตัวของบทเพลงจนกลายเปนสิ่งที่อยูคูกับภาพ เชน เมื่อไดยินเพลงละครโทรทัศนเรื่องนี้จากที่ไหนซักแหง ภาพในหัวของผูฟงยอมมีภาพฉากตางๆ ของละครเรื่องนั้นตามมา หรือเมื่อมีการพูดถึงละครโทรทัศนเรื่องใดๆ ขึ้นมา เสียงเพลงไตเติ้ลที่อยูในความทรงจำของผูฟงก็ตามมา เปนตน ทั้งหมดนี้กลายเปนความสัมพันธของภาพและเสียงที่กลายเปนเอกลักษณโดยที่มีการอางอิงความหมายถึงกันอยู

    การวิเคราะหสังคมวัฒนธรรมผานเพลงผีไทยสมัยนิยม4 ดังชื่อหัวขอวิจัยชิ้นนี้ กับสิ่งที่ไดกลาวไวในตอนแรก ผูวิจัยมีความสนใจที่จะคนควาสิ่งที่อยูในเบื้องหลังของเพลงประกอบละครโทรทัศนสยองขวัญเรื่อง ปอบผีฟา กระสือ และแมนาคพระโขนง ซึ่งเปนเพลงประกอบละครโทรทัศนแนวสยองขวัญที่โดงดัง จนเกิดการผลิตซ้ำแลวซ้ำอีกในรูปแบบตางๆ จนเปนที่รูจักของเด็กแทบทุกยุคทุกสมัยรวมทั้งตัวผูวิจัยเอง จึงทำใหเกิดงานวิจัยชิ้นนี้ขึ้น เพื่อใหเห็นบางสิ่งที่เปนวัตถุดิบทางวัฒนธรรมที่อยูคูกับคนไทยมาตลอดโดยไมรูตัว และทั้งสามเพลงที่ไดหยิบยกมาเปนเพลงที่ใชเปนเครื่องมือในงานวิจัย ก็เกิดจากการประพันธขึ้นจากคนๆ เดียวกัน ซึ่งประพันธโดยมนัส ปติสานตZ มนัส ปติสานต (ศิลปนแหงชาติ สาขาศิลปะการแสดง พ.ศ. 2555) เกิดที่จังหวัด นนทบุรี และยายมาเรียนหนังสือที่อำเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ จนกระทั่งสงครามโลกครั้งที่สอง ทำใหมีเหตุจำเปนตองยายไปเรียนที่กองดุริยางคทหารอากาศ และไดเปนลูกศิษยของพระเจนดุริยางคจนมารวมวงดนตรีของกองดุริยางคทหารอากาศจนเกษียณอายุราชการ เคยทำงานใหกับคณะละครเวทีศิวารมณของหมอมหลวงทรงศอางค ฑิฆัมพร จนตอนหลังไดมีวงดนตรีเล็กๆ ของตัวเองชื่อ “วงกระชับมิตร” ในป 2520 และไดฝากชื่อเสียงจากการแตงเพลงละครโทรทัศนจนเปนที่โดงดังเชน พิภพมุจจุราช หุนไลกา ปอบผีฟา กระสือ หองหุนและแมนาคพระโขนง และเพลงไทยสมัยนิยมที่เปนที่รูจักกันดีเชน เสนหหา เพื่อเธอที่รัก รวมไปถึงละคร

    5

    สำนกัหอ

    สมุดกลาง

  • โทรทัศนจักรๆ วงศๆ เรื่อง สี่ยอดกุมารและสิงหไกรภพ ไดรับรางวัลแผนเสียงทองคำพระราชทานครั้งที่ 1 ประเภทนักรองชายชนะเลิศ เพลงไทยสากล ประจำป พ.ศ. 2507Z อีกสิ่งหนึ่งที่ผูวิจัยใหความสำคัญตอการเลือกเพลงละครโทรทัศนสยองขวัญทั้งสามเพลงมานี้คือ ความเปนที่รูจักโดยทั่วไปผานหลายยุคสมัย และไดตั้งประเด็นขึ้นมาวามันเปนปรากฏการของ “วัฒนธรรมกระแสนิยม” (Pop culture) ซึ่งเปนการมองกระบวนการผลิตซ้ำของความเชื่อกับการสรางสรรคงานศิลปะอยางภาพยนตรและละครโทรทัศน ที่ผานการผลิตซ้ำในโลกของทุนนิยมโดยผลิตสินคาออกมาใหไดมากที่สุด เพื่อเขาถึงทุกชนชั้นที่มีฐานะใกลเคียงกัน และดัดแปลงตามกระแสนิยมของแตละยุคสมัย4 แตสิ่งที่นาสนใจคือ ตัวเชื่อมตอระหวางวัตถุดิบทางวัฒนธรรมดั้งเดิมที่แฝงตัวอยูในกรอบความคิดของคนไทย ตอการตอบรับตอสื่อตางๆ เพื่อหาจุดรวมกันของผูสื่อสารและผูรับ แมแตในยุคปจจุบัน เพลงทั้งสามนี้ก็ยังไดรับการเรียบเรียงและผลิตขั้นมาใหมโดยศิลปนอื่น โดยทำใหเปนดนตรีสมัยใหม เพื่อตอบรับกระแสดนตรีที่เคลื่อนที่ไปขางหนาอยางไมหยุดนิ่ง ซึ่งก็ยังอยูในขั้นตอนกระบวนการผลิตซ้ำ (Reproduction) เชนกันZ ในเพลงทั้งสามเพลงนี้จะแบงออกเปนสองประเภทคือ เพลงปอบผีฟาและเพลงแมนากนั้นประเภทหนึ่ง เพลงกระสือก็อีกประเภทหนึ่ง แยกประเภทกันโดยลักษณะของตัวเพลงในรูปแบบตัวแทนของฝง ”ดนตรีไทย” และ “ดนตรีไทยสากล” ในทางดนตรีไทยจะไดเห็นการหยิบเลือกใชวัตถุดิบตางๆ ในการสรางเปนเพลงซึ่งวางอยูบนเงื่อนไขของธรรมเนียมเดิมของเพลงไทยโบราณ และตัวเนื้อรอง เราจะไดเห็นถึงความสามารถของผูประพันธเพลงที่สามารถยอเนื้อเรื่องคราวๆ ทั้งหมดไวในเนื้อหาของเพลงโดยเวลาอันจำกัดของทำนองเพลง มันจึงกลายเปนเนื้อรองกึ่งเนื้อเรื่อง ที่ผูชมจะพอเขาใจเนื้อเรื่องทันทีหลังจากไดฟงเพลงจนจบหนึ่งรอบ อีกทั้งแรงบันดาลใจรอบตัวของผูประพันธที่ใชเวลาเดินทางไปเก็บขอมูลตามสถานที่ตางๆ ในลักษณะของการ “เก็บขอมูลภาคสนาม” (Fieldwork) ตามพื้นที่ตางจังหวัด กับเกร็ดเล็กเกร็ดนอยที่ไดจากการเดินทางZ เรื่องของสังคมและการเมืองที่แอบแฝงอยูในเนื้อเพลงที่เปนเนื้อรองกึ่งเนื้อเรื่อง อาจจะทำใหผูวิจัยไดเห็นถึงแนวคิดแอบแฝงของผูผลิตผานการมองสังคมและวัฒนธรรมไทย ตอการตีความตัวบทของละคร ชวงเวลา บรรยากาศในเรื่อง และกายแตงกาย เพื่อสงชุดความคิดที่ผานการตีความนี้สูผูประพันธเพลงอีกทอดหนึ่ง ดังนั้นในเนื้อเพลงที่เปนกึ่งเนื้อเรื่องนั้นจึงไดชิ้นสวนของการตีความจากผูสรางซึ่งแฝงอยูในเนื้อรองนั่นเอง Z นอกจากตัวของดนตรีและเนื้อหาของเพลงแลว อีกจุดที่นาสนใจในการวิเคราะหคือเรื่องเสียงประกอบ (Sound effect) ตางๆ ที่ไมใชเสียงดนตรีที่ปรากฏอยูในเพลง เชน เสียงหมาหอน, แมวขู, ฟารองฟาผา, ระฆัง ซึ่งหลายครั้งผูรับฟงทั่วไปอาจจะไมไดรูสึกติดใจอะไรเพราะตางก็เขาใจความหมายที่ผูสื่อตองการจะเสนออยูแลว แตผูวิจัยอยากจะหาเหตุผลในความเขาใจของผูรับฟง วาอะไรคือปจจัยในการรับรูโดยปราศจากขอสงสัยตอเสียงประกอบเหลานี้

    6

    ! 4 นฤพนธ ดวงวิเศษ, เหลียวหนาแลหลังวัฒนธรรมปอป, (กรุงเทพมหานคร: ศูนยมนุษยวิทยาสิรินธร, 2549), 11.

    สำนกัหอ

    สมุดกลาง

  • Z ถาจะมองในแงการตั้งขอสงสัยอีกประการ ผูวิจัยตองสืบคนถึงเรื่องยานความถี่ของเสียง (Frequency) ซึ่งสงผลกระทบและตีความผานการรับรูของคนในระดับปจเจก เพื่อทำความเขาใจผูรับสื่อตออาการหวาดกลัวตอเสียงจนสามารถจดจำบางทอนของเพลงไดเปนอยางดีZ “เสียง” ที่ไมใชเสียงดนตรีที่ปรากฏในเพลงผีของมนัส ปติสานต ตัวแปรสำคัญในการหยิบยกขึ้นมาทำวิจัยโดยการวิเคราะหวา เสียงๆ หนึ่งนั้น มาซอนและแอบแฝงวัตถุดิบทางวัฒนธรรมไวหลายอยาง ขึ้นอยูกับการตีความของแตละคน แตการที่คนจำนวนมาก กลับมีความรูสึกรวมกันในการตีความหมายของเสียงๆ หนึ่งไปในทิศทางเดียวกัน ผูวิจัยจำเปนตองวิเคราะหเสียงพวกนี้ดวยการมองวามันคือ “สัญญะ” (Sign) อยางหนึ่งZ ในสัญญะทางเสียงนั้นประกอบไปดวยสิ่งเล็กๆ ของวัตถุดิบทางวัฒนธรรมผานการปลูกฝงดวยระยะเวลาที่ยาวนานพอที่จะทำใหผูคนสมยอมและไมมีการตั้งขอสงสัยใดๆในเสียงอื่นๆ ก็เชนกัน ผูประพันธอาจตีความตัวเพลงและคิดวิธีในการเลือกใชเสียงดวยรหัสทางวัฒนธรรมอยางเดียวกับผูรับสื่อในฐานะของคนที่อยูในบริบทเดียวกัน ดังนั้นผูวิจัยมีความจำเปนอยางยิ่งในการตีความสัญญะของเสียง เพื่อหาชุดความสัมพันธตอไป

    วัตถุประสงคของการวิจัยZ 1. เพื่อศึกษาหนาที่ (Function) ของเพลงละครโทรทัศนZ 2. สามารถตีความขอมูลทางสัญญะเสียงในเพลงตางๆ และอธิบายเหตุผลZ 3.เพื่อเชื่อมโยงผลลัพธจากการตีความทางสัญญะ แลวนำมาโยงเพื่อหาจุดรวมกันZขอสันนิษฐานเบื้องตนZ Z ในขอสันนิษฐานเบื้องตนนี้ ผูเขียนอยากจะนําเสนอดานตัวเพลงโดยภาพรวมกอน โดยยกตัวอยางมาแคสาม บทเพลงคือ ปอบผีฟา กระสือ และ แมนาก ในสามตัวอยางนี้ปฏิเสธไมไดวามากคนจะไมรูจัก เพราะถึงแมวาเพลงนี้ มนัส ปติสานต จะประพันธไวใหกับละครโทรทัศนเมื่อนานมาแลว แตในปจจุบัน ละครโทรทัศน สามเรื่องนี้ยังถูกผลิตซ้ำ (Reproduction) เพื่อนํามาฉายใหม กับนักแสดงรุนใหม ตีความโดยผูกำกับยุคปจจุบัน แตโดยสวนมากยังคงไวซึ่งเพลงเดิมทํานองเดิม แตผานการเรียบเรียงใหมใหทันสมัยขึ้น แตยังคงไวซึ่งเคาโครงเดิมและลายมือของผูประพันธ มีบางเพลงยังถูกดัดแปลงเปนดนตรีเตนรําทันสมัย ซึ่งเกิดการตีความจากศิลปนยุคใหม เปนสิ่งที่นาสนใจตอผูวิจัยเปนอยางมากZ Z ในเพลง “ปอบผีฟา” ผูวิจัยไดนึกถึงสังคมไทยในชนบททางภาคอีสานจากการที่เคยติดตามเนื้อเรื่องทางละครโทรทัศน ที่มีความผูกพันธเกี่ยวกับเรื่องผีสางมาตั้งแตกอนที่พุทธศาสนาจะมารุงเรืองในประเทศไทย และยังคงไวซึ่งความเชื่อที่เหนียวแนนจนเปนโครงสรางหนึ่งทางสังคม ตอความเชื่อเรื่องผีสางและเทวดาซึ่งยังคงอยูกับคนไทย เห็นไดจากพิธีกรรมตางๆ ที่พบเห็นไดทั่วไป ที่มีการผูกโยงกับพิธีกรรมทางพราหมณในราชสำนักโบราณ และสงออกมาสูประชาชน กลายเปนกฏเกณฑที่ผูปกครองสรางขึ้นใหปฏิบัติตามและสงตอกันมา แมจะหลนหายไปบาง

    7

    สำนกัหอ

    สมุดกลาง

  • ในปจจุบันก็ยังหลงเหลืออยูไมนอย ซึ่งหลอหลอมผูคนในบริบททางสังคมจนกลายเปนความเคยชินโดยไมมีการตั้งคําถามใดๆ Z Z เนื้อรองของเพลงปอบผีฟานั้นมีจุดที่นาสนใจในการเลาเรื่อง เพราะเปนการยอละครเรื่อง”ปอบผีฟา” ทั้งหมดมาใหผูฟงสามารถเขาใจเนื้อเรื่องคราวๆ ไดภายในเวลาไมกี่นาที โดยเพลงจะบอกเลาถึงลักษณะของ ผีฟาในภาพตัวแทนของผีผูนําชุมชน ผูปกปกรักษา คนในหมูบาน ทําหนาที่รักษาปวยไขของชาวบาน ชอบของสวยงาม เสื้อผาอาภร แตในเรื่องปอบผีฟานั้น กลับเกิดจุดขัดแยง คนที่เปนตัวแทนหรือรางทรงของ ”ผีฟา” เกิดทําผิดกฏกติกาของเงื่อนไขบางอยาง ทําใหกลายเปนปอบที่จะตองดื่มเลือดสดๆ ของมนุษยZ Z ปจจัยที่สรางความหวาดกลัวในเพลงนั้น ในดาน “เสียงประกอบ” (Sound effect) เชน เสียงหมาหอน, เปดประตู, ลมพัดผานชอง, แมวขู เสียงประกอบเหลานี้เปนจุดสนใจที่จะสามารถนํามาวิเคราะหในเรื่อง “สัญญะศาสตร” ในการสังเกตสัญลักษณตางๆ ที่ปรากฏอยูในเพลง ซึ่งอาจจะมาในรูปแบบเสียงประกอบ ทํานอง คําพูด หรือการรองก็ตาม เพื่อวิเคราะหตอไปถึงหลักโครงสรางสังคม เพื่อไดเห็นบางสิ่งที่ถูกอํานาจปลูกฝงกันมาจนเคยชิน และไมมีการตั้งขอสงสัย วาเหตุใดเสียงหมาหอนจึงเปนสิ่งที่นาเกลียดนากลัวตอผูคนในบริบทสังคมไทย แลวคนตางวัฒนธรรมอื่นนั้นมีอาการเดียวกันหรือไม?Z Z เพลง “กระสือ” เองก็มีการเลาเรื่องในตัวบทเพลงที่จะยอเรื่องทั้งหมดของละครโทรทัศน เรื่อง”กระสือ”เอาไวในเพลงไมกี่นาที บอกเกี่ยวกับลักษณะ ของกระสือวาเปนเพียงผูหญิงธรรมดาๆ ในเวลากลางวันที่ สามารถออกไปไหนมาไหนและพูดคุยกับคนไดตามปกติ แตพอตกกลางคืนจะสามารถถอดหัวออกมาพรอมลําใส หัวใจ ตับ ปอด และลอยอยูกลางอากาศไปไหนมาไหนได ของโปรดปรานที่ชอบคือสิ่งปฏิกูลสกปรก และในเพลงยังมี เนื้อรองกึ่งๆ เตือนใจใหระวังวา อยาใหมีของสกปรกในบาน มิฉะนั้นแลวกระสืออาจจะไปเยือนบานของคุณZ Z จากจุดนี้เราจะไดเห็นการสะทอนสังคมบางอยางเกี่ยวกับเรื่องของสุขอนามัยในการรักษาความสะอาดของบานเรือนในชนนบทของตางจังหวัด สถานที่ๆ เหมาะแกการถายหนังผีในหลายๆ เรื่องโดนสะทอนความคิดตอชนชั้นกลางในเมืองกรุงตอชนชั้นลางในชนบทถึงความลาสมัย กันดาร และสกปรก จึงเปนที่สิงสถิตของผีรายอยางกระสือ ซึ่งมีความหมายถึงสภาพความเปนอยูของชนบทโดยการใชสื่อละครโทรทัศนเปนเครื่องมือครอบงําใหเกิดความกลัว Z Z ในบรรดาเพลงที่ยกตัวอยางมานั้น เพลงกระสือถือวาเปนเพลงที่ไมเขาพวกกับอีกสองเพลงที่หยิบยกมา เพราะบรรเลงทํานองดนตรีดวยเครื่องสากล (แมนากกับปอบผีฟาเปนดนตรีไทย) และบรรเลงเปนเพลงสากล มีจังหวะที่สนุกสนาน เห็นไดชัดจากการรับอิทธิพลจากดนตรีปอป (Pop music) ของตะวันตกและเปนดนตรีกึ่งเตนรํา แตไมไดลดความนากลัวแตอยางใด Z ถามองในแงของสัญญะ มีอยูในเสียงประกอบที่ถูกคัดเลือกจากผูประพันธเพลงโดยการตีความจากประสบการณ การสรางเรื่องราวอาจจะเปนการวิพากษลอเลียนถึงสภาพความเปนอยูของผูคนในชนบทที่ยังขาดในเรื่องสุขอนามัยผานบทเพลง และในตัวเนื้อเรื่องของละคร

    8

    สำนกัหอ

    สมุดกลาง

  • เปนการปลูกฝงภาพของความสกปรกใหคูกับการมาของผีกระสือ แมวาผูรับจะรูอยูแกใจวาผีกระสือเปนแคตํานานที่อาจจะไมไดมีอยูจริงZ Z ในอีกสัญญะหนึ่งที่นาสนใจที่ไมไดเกี่ยวกับตัวเพลงคือลักษณะของผีกระสือ ในรูปลักษณะที่เปนสิ่งมีชีวิต ลอยได มีแคหัวและอวัยวะภายในที่หองรุงริ่ง และสามารถเปลงแสงสวางในตัวเองได แสงไฟที่กระพริบนั้นในปจจุบันยังคงเปนการสรางสัญญะที่ปรากฏอยูในเนื้อเพลงโดยสื่อถึงลักษณะสำคัญของผีกระสือ ซึ่งจะเห็นไดวาการเห็นแสงกระพริบในที่มืดเปนสัญญะอยางหนึ่งซึ่งนําไปสูลักษณะของกระสือที่เปนที่จดจำ ซึ่งในสังคมและวัฒนธรรมนั้นรูจักกระสือผานการหลอมรวมของวัฒนธรรมผานการเลาตอกันมาผานปากตอปาก แสดงใหเห็นถึงความเชื่อเกาแกเรื่องผีสางที่ยังตกทอดมาจนถึงปจจุบันZ Z เพลงผีที่มาคูกับละครโทรทัศนสยองขวัญที่กลายเปนตัวแทน“ผีแหงมหาชน”กับเรื่องราวนาขนลุกและมีเนื้อเรื่องสุดแสนสะเทือนใจ ความรักระหวาง หญิงทองแกที่จะตองพลัดพรากจากชายผูเปนสามี ซึ่งถูกเรียกเขารับราชการทหารในยามเกิดศึกสงคราม ทําใหเกิดจุดพลิกผัน สาวทองแกทอดอาลัยตายอยากจนกระทั่งถึงวันตกลูกและตองตายทั้งกลม กลายเปนผีที่คอยหลอกหลอนผูคนในยานพระโขนงจนเปนตํานานเลาขานจนปจจุบันกับ ตำนาน ”แมนากพระโขนง”Z Z “แมนากพระโขนง” ละครโทรทัศนอีกเรื่องที่มี ความโดงดังมาทุกยุคทุกสมัยและมีการดัดแปลงไปเลนเปนละครเวที ก็นับวาเปนเรื่องราวผีที่สรางความซึ้งและประทับใจผูชมในสังคมทุกเพศทุกวัย ดวยรูปแบบของผีสาวที่อุมลูก สงเสียงรองโหยหวนคิดถึงสามีผูเปนที่รัก และคอยหลอกหลอนผูคนที่บังเอิญพบเห็น ถาถามคนในแตละ ยุคสมัย มีนอยคนนักที่จะไมรูจักแมนาก นางนากหรือยานาก สัญลักษณของผีที่อาศัยในเมืองกรุง โดยทองเรื่องเหตุการณเกิดขึ้นในกรุงเทพฯ และละครโทรทัศนเรื่อง ”แมนาก” ในยุคแรกนั้น ก็ฉายเพียงแคในกรุงเทพฯ เทานั้นZ Z ละครเรื่องแมนากถูกนํามาผานกระบวนการผลิตซ้ำ (Reproduction) อยูบอยครั้ง เปนตัวย้ําไดอยางดีถึงความเปนวัฒนธรรมกระแสนิยมในบรรดาผีไทยทั้งหมด ที่ถูกตีความใหมโดยการเนนไปทาง โศกนาฏกรรมมากกวาการนำเสนอดานความสยองขวัญ ตัวละครแมนากในรูปแบบของหญิงไทยหนาตาสะสวย ถามองจากจุดนี้ อาจสรางสมมุติฐานโดยตีความวาผูสรางกำลังใชภาพลักษณของผูหญิงคนเมืองในยุคปจจุบันมาสวมทับแมนากในฐานะที่เปน “ผีคนเมือง” เพราะเหตุเกิดในกรุงเทพ ซึ่งสถานที่ในเนื้อเรื่องนั้นเปนสถานที่ๆ คนกรุงเทพรูจักดีจึงมีความรูสึกอยูใกลตัว และละครโทรทัศนชุดนี้ในสมัยกอนนั้นออกฉายเพียงแคในกรุงเทพเทานั้น คนตางจังหวัดก็นอยคนนักที่จะรูจักแมนากพระโขนง ความนิยมตอละครโทรทัศนชุดนี้จึงมีขอบเขตจํากัด กลายเปนละครโทรทัศนสยองขวัญสําหรับคนเมืองZ Z จากที่ยกตัวอยางและอธิบายถึงขอสันนิษฐานตางๆ โดยสังเขปแลว อาจจะไมกระจางนักถึงขอสรุปทั้งหมดที่ จะนําเสนอ แตผูวิจัยก็ไดคนพบประตูบานแรกเพื่อนําไปสูการคนควาตอไปโดยอาศัยการศึกษาหลักโครงสรางนิยม ในการคนควาตํานานตางๆ ที่เปนขอมูลเกี่ยวกับผีในละครเรื่องตางๆ เพื่อหาจุดเดนที่สะทอน ภาพสังคมอะไรบางอยางในเนื้อรองของเพลงเพื่อ

    9

    สำนกัหอ

    สมุดกลาง

  • เปรียบเทียบกัน และยังมีขอมูลสวนที่เปนปจจัยภายนอกที่สงผลของดนตรีในเรื่องสังคม และการเขามาของดนตรีตะวันตกที่สงอิทธิพลของเพลง “กระสือ” (ในบรรดา เพลงที่ยกตัวอยางมา มีเพียงเพลงกระสือที่เปนดนตรีสากล) และเรื่องการที่เพลงของครูมนัส ปติสานต ถูกนํามา ดัดแปลงและผลิตซ้ำ (Reproduction) ในแงของตัวเพลงจนกลายเปนเพลงเตนรําหรือเพลงลอเลียนก็ตาม ทั้งหมดนี้ ทางผูเขียนจึงตอง คนควา สอบถาม สัมภาษณเจาของเพลงและผูที่เกี่ยวของ เพื่อหาขอสรุปตอไป

    ขอบเขตของการวิจัย4 4 ในงานวิจัยชิ้นนี้ มีเนื้อหาครอบคลุมในเรื่องอิทธิพลระหวางสื่อกับสังคม โดยใหความสำคัญในการวิเคราะหตัว ”เพลงผี” เปนหลัก ซึ่งเพลงทั้งสามที่ไดรับการเลือกมานั้น ผูวิจัยใชวิธีการเลือกโดยความนิยมของตัวภาพยนตรและเพลงเปดละครโทรทัศน ดวยวิธีการเลือกโดยใหทั้งสามเพลง (กระสือ, ปอบผีฟา, แมนาคพระโขนง) นี้เปนตัวแทนในฐานะของ ”เพลงผี” แหงวัฒนธรรมกระแสนิยม (Pop culture) จากการที่เพลงทั้งสามไดผานกระบวนการผลิตซ้ำ (Reproduction) และเผยแพรออกสูสายตาของผูรับชมทั่วไปตั้งแตอดีตจนถึงปจจุบัน จนแมแตคนอายุที่ไลเลี่ยกับผูวิจัยหรือนอยกวา นั้น เปนที่นาสนใจที่เพลงเหลานี้ยังเปนที่จดจำอยู กลายเปนสิ่งบงชี้ถึงความสำเร็จในกระบวนการผลิตซ้ำ และสรางใหเพลงผีทั้งสามเพลงกลายเปนวัฒนธรรมกระแสนิยมไดดี Z Z โดยการเจาะลึกลงไปในสิ