se asia 1 บทนำ วสันต์ · ไม สามารถคงอยู ได...

37
South East Asia/ วสันต +ยิ่งรัก บทที่ 1 บทนํา 1.1 ประวัติการศึกษาธรณีวิทยาเอเชียตะวันออกเฉียงใต 1.1.1 ประเทศไทย การใชประโยชนจากขอมูลดานธรณีวิทยาครั้งแรกในประเทศไทยนั้น ไดจากการบรรยายขอมูล ธรณีวิทยาของ Hallet (1890) ซึ่งเขาเปนวิศวกรโยธา ไดขอมูลจากการหาเสนทางรถไฟจาก Moulmein ถึงจีนตอนใต และเขาไดเดินทางผานทางตอนเหนือของไทยโดยใชชางเปนพาหนะ และเขาไดบรรยาย ลักษณะทางธรณีวิทยาที่เห็นตลอดเสนทางไว The Royal Department of Mines and Geology เปนหนวยงานทางเหมืองแรและธรณีวิทยา หนวยงานแรกในประเทศไทย จัดตั้งขึ้นในป 1891 แตการทํางานทางดานธรณีวิทยามีนอยมาก มีหนาทีหลักในการทําเหมืองดีบุก อยางไรก็ตาม ผูอํานวยการลําดับที่ 2 ของ The Royal Department of Mines and Geology ไดเดินทางเพื่องานสํารวจหลายครั้งทั่วประเทศ ผลงานของเขาไดอธิบายแหลงแร ไวดวย (Smyth, 1898) Anglo-French ไดมีสนธิสัญญาในป 1896 เพื่อคุมครองชายแดนพมาและกัมพูชา เพื่อเปน หลักประกันในความเปนเอกราชของประเทศไทย ทางชายแดนทางใตของประเทศไทยที่ติดกับประเทศ มาเลเซีย (Malay states) นั้น มีการโตแยงมายาวนานแตก็ไดถูกกําหนดโดยสนธิสัญญากับอังกฤษในป 1899 จากนั้นในป 1909 ประเทศไทยตองยกดินแดนบางสวนทางใตใหกับอังกฤษ ปจจุบันคือ Penninsular Malaysia เหตุการณในการสํารวจธรณีวิทยาอยางจริงจังครั้งแรกมีขึ้นในป 1912 โดยผูเชี่ยวชาญจาก Upsala University (Högbom 1914) ตอมาเจาเมืองกําแพงเพชรขณะนั้นมีหนาที่ในงานของ The Royal State Raiway ไดติดตอกับ Wallace M. Lee นักธรณีวิทยาชาวอเมริกัน เพื่อสํารวจหาแหลงถานหินและน้ํามันของประเทศไทย สําหรับเปนเชื้อเพลิงใชในหัวรถจักร Lee ไดทําการสํารวจในป 1921 และ 1923 โดยกําหนดทิศทางการ สํารวจไว 3 แนวดวยกัน คือ ทางตอนเหนือ ทางตอนใต และพื้นที่โคราช ซึ่งในรายงานมีความกะทัดรัด และมีขอสรุปในการใชประโยชนจากงานดานธรณีวิทยาไวเปนอยางดี (Lee, 1923 a, b, c) ซึ่งรายงาน ฉบับนี้ถือไดวาเปนพื้นฐานสําคัญของธรณีวิทยาประเทศไทย ตอมาภายหลัง Lee ไดทําการสรุป รายงานออกมาโดยเนนหนักในดานศักยภาพของน้ํามันในประเทศไทย (Lee 1927)

Upload: others

Post on 09-Sep-2019

2 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

South East Asia/วสันต+ย่ิงรัก

บทท่ี 1 บทนํา

1.1 ประวัติการศึกษาธรณีวิทยาเอเชียตะวันออกเฉียงใต

1.1.1 ประเทศไทย การใชประโยชนจากขอมูลดานธรณีวิทยาคร้ังแรกในประเทศไทยนั้น ไดจากการบรรยายขอมูลธรณีวิทยาของ Hallet (1890) ซึ่งเขาเปนวิศวกรโยธา ไดขอมูลจากการหาเสนทางรถไฟจาก Moulmein ถึงจีนตอนใต และเขาไดเดินทางผานทางตอนเหนือของไทยโดยใชชางเปนพาหนะ และเขาไดบรรยายลักษณะทางธรณีวิทยาที่เห็นตลอดเสนทางไว The Royal Department of Mines and Geology เปนหนวยงานทางเหมืองแรและธรณีวิทยาหนวยงานแรกในประเทศไทย จัดตั้งข้ึนในป 1891 แตการทํางานทางดานธรณีวิทยามีนอยมาก มีหนาที่หลักในการทําเหมืองดีบุก อยางไรก็ตาม ผูอํานวยการลําดับที่ 2 ของ The Royal Department of Mines and Geology ไดเดินทางเพื่องานสํารวจหลายคร้ังทั่วประเทศ ผลงานของเขาไดอธิบายแหลงแรไวดวย (Smyth, 1898) Anglo-French ไดมีสนธิสัญญาในป 1896 เพื่อคุมครองชายแดนพมาและกัมพูชา เพื่อเปนหลักประกันในความเปนเอกราชของประเทศไทย ทางชายแดนทางใตของประเทศไทยที่ติดกับประเทศมาเลเซีย (Malay states) นั้น มีการโตแยงมายาวนานแตก็ไดถูกกําหนดโดยสนธิสัญญากับอังกฤษในป 1899 จากนั้นในป 1909 ประเทศไทยตองยกดินแดนบางสวนทางใตใหกับอังกฤษ ปจจุบันคือ Penninsular Malaysia เหตุการณในการสํารวจธรณีวิทยาอยางจริงจังคร้ังแรกมีข้ึนในป 1912 โดยผูเชี่ยวชาญจาก Upsala University (Högbom 1914)

ตอมาเจาเมืองกําแพงเพชรขณะนั้นมีหนาที่ในงานของ The Royal State Raiway ไดติดตอกับ Wallace M. Lee นักธรณีวิทยาชาวอเมริกัน เพื่อสํารวจหาแหลงถานหินและน้ํามันของประเทศไทย สําหรับเปนเชื้อเพลิงใชในหัวรถจักร Lee ไดทําการสํารวจในป 1921 และ 1923 โดยกําหนดทิศทางการสํารวจไว 3 แนวดวยกัน คือ ทางตอนเหนือ ทางตอนใต และพื้นที่โคราช ซึ่งในรายงานมีความกะทัดรัดและมีขอสรุปในการใชประโยชนจากงานดานธรณีวิทยาไวเปนอยางดี (Lee, 1923 a, b, c) ซึ่งรายงานฉบับนี้ถือไดวาเปนพื้นฐานสําคัญของธรณีวิทยาประเทศไทย ตอมาภายหลัง Lee ไดทําการสรุปรายงานออกมาโดยเนนหนักในดานศักยภาพของน้ํามันในประเทศไทย (Lee 1927)

South East Asia/วสันต+ย่ิงรัก

1-2

ในป 1927-9 Wilhelm Credner จาก Kiel University ไดเดินทางไปในหลายพื้นที่ในประเทศไทยซึ่งยังไมมีผูใดบรรยายเนื้อหาขอมูลไว และไดเขียนผลงานเผยแพรที่อธิบายครอบคลุมเนื้อหาเกี่ยวกับธรณีวิทยาข้ึน ในป 1935 (Credner1935) ในป 1934 Ministry of Defence ไดติดตอกับนักธรณีวิทยาชาว Swiss 2 คน ไดแก Heim และ Hirschi เพื่อศึกษาความเปนไปไดของ petroleum ในทางตอนเหนือของไทย (จากที่เคยรูกันมานานแลววามีน้ํามันร่ัวออกมาที่ผิวดินที่เมืองฝาง) รวมทั้ง oil shales ที่แมสอด ผลงานที่ไดใหรายละเอียดเกี่ยวกับ petrography และ structure ของพื้นที่นั้นๆ ไดแก Heim และ Hirschi (1939), Hirschi (1938, 1939) และ Hirschi และ Heim (1938) ในป 1941 The Royal Department of Mines ไดจัดตั้ง geological survey division ข้ึน แตก็ไมสามารถคงอยูไดจนถึงส้ินสุดสงครามโลกคร้ังที่ 2 ในป 1946 แตหนวยงานนี้ก็ยังสามารถทํางานไดภายใตชื่อ Geological programme ตอมา The Royal Department of Mines ไดติดตอไปที่ The United States Government เพื่อขอความชวยเหลือในการสํารวจเพื่อหาแหลงแรในประเทศไทย การสํารวจไดเร่ิมในป 1949-1950 และไดผลการสํารวจชิ้นแรกที่สามารถเชื่อถือไดในเร่ืองของธรณีวิทยาและแหลงแรของประเทศไทย โดย Brown และคณะ (1951) นับตั้งแตป 1951 เปนตนมา งานสํารวจ การทําแผนที่ธรณีวิทยา การวิจัย และการเผยแพรผลงานทางธรณีวิทยา ดําเนินงานโดย The Department of Mineral Resources ซึ่งมีความเจริญรุงเรืองมาก นักธรณีวิทยาไทยไดรวมมือกับประเทศเยอรมันและประเทศอังกฤษในการสํารวจธรณีวิทยาภายใตโครงการตางๆ ซึ่งมีผลงานเผยแพรมากมายและครอบคลุมเนื้อหาในรายละเอียดไดดี เชน Workman (1978), Nutalaya และคณะ (1978) และ Sethaput (1956) อยางไรก็ตามแมในปจจุบันนี้ ผลงานการศึกษาธรณีวิทยาในประเทศไทยของ Brown และคณะ(1951) ยังคงมีเนื้อหาที่ครอบคลุมอยางกวางขวาง มีรายละเอียดที่ชัดเจน และเปนที่ยอมรับ นับเปนผลงานดานธรณีวิทยาของไทยชิ้นแรกๆ ที่นาเชื่อถือและมีความสมบูรณ ตอมา Bunopas (1981) ไดใหขอสรุปเพิ่มเติมในเร่ืองที่สามารถประยุกตใชในงานปจจุบัน ซึ่งมีประโยชนมากทีเดียว

1.1.2 สหภาพเมียนมาร ในป ค.ศ.1862 เปกู (Pegu) อาระกัน (Arakan) และเทอเนสเซอริม (Tenasserim) ไดถูกรวมเพื่อ

ตั้งเปนประเทศพมา และประเทศพมาทั้งหมดไดกลายเปนสวนหนึ่งของจักรวรรดิอินเดียอังกฤษในป ค.ศ.1886 กอนการรวมกันของพมากับอินเดีย ไดมีรายงานดานธรณีวิทยาเปนจํานวนมากเกี่ยวกับแหลงแรและบริเวณที่พบซากดึกดําบรรพ โดยรายงานหลายฉบับปรากฏอยูในวารสารของสมาคมภาคพื้นเอเชียของ เบงกอล (Journal of the Asiatic Society of Bengal) อยางไรกต็าม เนื่องจากเปนชวงที่อินเดียอยูระหวางการจัดการดานการสํารวจอยางเปนระบบและมีความรุงเรืองดานการจัดพิมพ

South East Asia/วสันต+ย่ิงรัก

1-3

รายงาน โดยส่ิงเหลานี้สามารถพบไดในบันทึกชีวประวัติประสบการณการทํางานของบุคคลและบันทึกของหนวยงานดานการสํารวจธรณีวิทยาของอินเดีย การบันทึกในชวงเร่ิมแรกนั้นมีมากมายจนเกินกวาที่จะกลาวถึงในที่นี้ ซึ่งสามารถศึกษาไดจากงานของ Goossens (1978a, b) งานในชวงเร่ิมแรกนั้นไดถูกสรุปไวไดอยางยอดเยี่ยมโดย La Touche (1913) และตอมาโดย Pascoe (1950, 1959, 1964) สําหรับงานชิ้นใหญจํานวน 2,130 หนา ของ Sir Edwin Pascoeไดถูกจัดพิมพข้ึน หลังจากการตายของเขาในป 1949 โดยเขาไดเร่ิมตนเขียนในป ค.ศ.1933 และไดจบตนฉบับที่เขียนดวยลายมืออยางสมบูรณ ในป ค.ศ.1939 ซึ่งงานสวนใหญไดมีการพิมพเสร็จเรียบรอยแลว แตพอเร่ิมตนสงครามในป ค.ศ.1959 งานที่พิมพแลว จํานวน 2.5 ตัน ไดถูกทําลายลง แลวนําไปหลอมอีกคร้ังเพื่อทําเปนยุทโธปกรณ ภายหลังการตายของเขา ตนฉบับซึ่งเขียนดวยลายมือเลมที่ 4 (Volume 4) ที่ประกอบดวยดัชนีทั่วไปและลักษณะทางภูมิศาสตร โชคไมดีที่ไมไดมีการลอกเอาไว ทําใหงานชิ้นใหญดังกลาวจึงไมใชดัชนี แตเปนตัวแทนของการแนะนําที่สําคัญตอความรูของพมาเม่ือกอนป ค.ศ.1933

ในป ค.ศ.1923 มหาวิทยาลัยรางกุงไดกอตั้งภาควิชาภูมิศาสตรและธรณีวิทยาข้ึน โดยคณะผูรวมงานที่มีชื่อเสียง เชน L. Dudley Stamp และ H. L. Chhibber ซึ่งทั้งคูเปนผูที่มีความกระตือรือรนและเอาใจใสตอในงานสนามเปนอยางมาก ทําใหผลงานของพวกเขาสามารถนําไปใชประโยชนไดอยางกวางขวาง เชน Stamp (1927) และ Chhibber (1934a, b) ซึ่งเขาไดจัดทําเคร่ืองบงชี้ในผลงานดานธรณีวิทยา ดวยการพิมพเปนหนังสือ 2 เลม เลมหนึ่งเปนงานดานธรณีวิทยา สวนอีกเลมหนึ่งเปนงานทางดานแหลงแรของพมา

พมาไดถูกแยกออกจากอินเดีย ในป ค.ศ.1937 ตอมาในป ค.ศ.1948 ก็ไดรับการปลดปลอยจากการเปนอาณานิคมของอังกฤษ

นับตั้งแตงานของ Chhibber ชาวพมาเปนจํานวนมากและนักธรณีวิทยาอ่ืนๆ ไดรับการสนับสนุนและชวยเหลือที่สําคัญ เพื่อใหเราไดเขาใจในประเทศพมาไดมากข้ึน โดยมีการพิมพและสรุปไวใน Goossens (1978) สําหรับขอสรุปที่นาสังเกตดานธรณีวิทยาและแหลงแรนั้น ไดถูกจัดพิมพไวโดยงานวิจัยของ Robertson (1975, 1977) ในชวงเวลาที่ซึ่งดูเหมือนวา รัฐบาลพมากําลังเปดประเทศเพื่อตอนรับบริษัทเหมืองแรจากตางชาติ แตโชคไมดีที่ส่ิงเหลานี้ไมไดเกิดข้ึนในการสํารวจในปจจุบันหลายอยาง ไมวาการจัดทําแผนที่ และการจัดเตรียมรายงานการสํารวจจากตางประเทศซึ่งไดถูกระงับไว ขอมูลดานธรณีวิทยาของพมาที่ไดมีการจัดพิมพอยูในปจจุบันนี้เปนของ Bender (1983)

1.1.3 อินโดไชนา (ประเทศกัมพูชา ลาว และเวียดนาม) ประกอบฝร่ังเศสไดเขามายึดครองประเทศกัมพูชา ลาว และเวียดนาม ตั้งแตป ค.ศ. 1787 และ

รวมประเทศเหลานี้เปน French Indochina ในป ค.ศ.1887 ผลงานการศึกษาทางดานธรณีวิทยาของ

South East Asia/วสันต+ย่ิงรัก

1-4

อินโดไชนา ในชวงแรกเขียนโดยชาวฝร่ังเศส แตผลงานไมไดมีออกมาอยางสมํ่าเสมอตั้งแตเร่ิมจวบจนถึงศตวรรษที่ 19 อยางไรก็ตามมีผลงานสวนหนึ่งที่ศึกษาเกี่ยวกับดอกไมที่ข้ึนอยูในแองถานหินทางดานเหนือของประเทศเวียดนาม ซึ่งนับเปนผลงานที่สําคัญมากเพราะเปนผลงานชิ้นแรกเกี่ยวกับธรณีวิทยาของพื้นที่นี้ (Petition 1985) ซึ่งไดรับการตีพิมพหลังจากเปนอิสระจากการเปนเมืองข้ึนของประเทศฝร่ังเศสในชวงป ค.ศ. 1880 (Counillon 1914, Zeiiler 1902) ทั้งนี้ประเทศฝร่ังเศสขณะที่ปกครองอินโดไชนาอยูไดใหความสนใจเร่ืองการศึกษาวิจัยทางดานธรณีวิทยาและพัฒนาการทําเหมืองเพียงเล็กนอย

The Service Ge’ologique de L’ Indochina ซึ่งกอตั้งข้ึนในเมืองฮานอย ในป ค.ศ. 1898 ไดทําแผนที่ธรณีวิทยาภาคสนามและศึกษาดานซากดึกดําบรรพ กาวหนาไปอยางกาวหนาไปอยางรวดเร็ว ซึ่งในชวงเวลาหลายปที่ทํางาน The Service Ge’ologique de L’ Indochina ไดกําหนดและเลือกพื้นที่สวนใหญในการศึกษาอยูที่บริเวณตอนกลางของยูนานและทางตอนใตของจีน ตั้งแตป ค.ศ. 1925 เปนตนมา จึงใหความสําคัญกับการรวบรวมแผนที่ธรณีวิทยาของพื้นที่อินโดไชนาทั้งหมด ซึ่งเสร็จสมบูรณในป ค.ศ. 1963 ผลการศึกษาดานธรณีวิทยาตีพิมพออกมามากมายตั้งแตป ค.ศ. 1950 สวนใหญแลวเปนผลงานของ The Service Ge’ologique de L’ Indochina แตการรวบรวมและสรุปผลการศึกษาที่สําคัญทําข้ึนโดย Fromaget (1941) และ Saurin (1935, 1944) รายชื่อผลงานที่นํามารวบรวมในงานชิ้นนี้และในชวงปลายรวบรวมโดย Fontaine (1973) ในป ค.ศ. 1956 French Indochina แยกเปนประเทศใหม ไดแก เวียดนามเหนือ เวียดนามใต (รวมตัวกันในภายหลังเปนประเทศเวียดนาม) ลาว และกัมพูชา (ข่ือเดิม คือ Cambodia) ซึ่งในขณะนั้นประเทศเหลานี้ยังไมไดมีการสํารวจธรณีวิทยาเลย

ธรณีวิทยาของเวียดนามเหนือไดมีการศึกษาใหมอยางกวางขวางดวยความชวยเหลือจาก USSR เม่ือสงครามผานพนไปเวียดนามใตและกัมพูชาเร่ิมทําแผนที่ธรณีวิทยาใหมตอไป แตในลาวมีผลการศึกษาใหมเพียงเล็กนอยและธรณีวิทยาของประเทศลาวเปนที่รูจักกันนอย หนังสือเกี่ยวกับธรณีวิทยาของเวียดนามเหนือ โดย Tran และคณะ (1979) ไดรับการตีพิมพเผยแพร แตเทียบไมไดกับผลงานอ่ืนๆ ในปจจุบันซึ่งรวบรวมผลการศึกษาที่มีของทั้งอินโดไชนา อยาง Fontaine และ Workman (1973) ที่รวบรวมผลงานการศึกษาของประเทศใหมเหลานี้ทั้งหมด และเม่ือไมนานมานี้ไดสรุปผลงานการศึกษาทางดานวิทยาและทรัพยากรแรของประเทศเหลานี้ดวย

1.1.4 คาบสมุทรมาเลเซียและสิงคโปร คาบสมุทรมาเลเซีย หรือเดิมที่รูจักกันในนาม สมาพันธรัฐมาลายา อยูภายใตการปกครองของ

อังกฤษ จนถึงป ค.ศ.1957 เม่ือไดรับอิสรภาพและไดเปล่ียนเปนประเทศมาเลเซีย และทายที่สุดไดรวมซา-ราวัค และซาบาห ซึ่งตั้งอยูบริเวณตอนบนของเกาะบอรเนียว จัดตั้งเปนมาเลเซียตะวันออก ตอมาสิงคโปรไดแยกออกจากประเทศมาเลเซีย และกลายเปนประเทศอิสระจนกระทั่งปจจุบันนี้

South East Asia/วสันต+ย่ิงรัก

1-5

บันทึกดานธรณีวิทยาที่เปนที่เขาใจกันมากที่สุดของคาบสมุทรมาเลเซียและสิงคโปรนั้น เปนของ Logan (1848) ในระหวางป ค.ศ.1870 และ ค.ศ.1903 ชาวยุโรปไดเร่ิมเขามามีสวนรวมในอุตสาหกรรมการทําเหมืองแรของคาบสมุทร และมีนักประพันธหลายคนไดเขียนเกี่ยวกับเหมืองแรดีบุกไว อยางไรก็ตามจนกระทั่งถึงป ค.ศ.1903 งานดานธรณีวิทยาก็ยังเปนงานระยะส้ันและไรจุดหมาย ซึ่งเปนอุปสรรคพื้นฐานที่สําคัญตออุตสาหกรรมการทําเหมืองดีบุก จนรัฐบาลตองเปนผูชี้วาอันดับแรกสุดของการทําเหมืองตองเปนหนาที่ของนักธรณีวิทยา J. B. Scrivenor ซึ่งไดตั้งสํานักงานของเขาใน บาตู กาจาห (Batu Gajah) ตรงสวนที่สําคัญในหุบเหมืองแรดีบุกคินทา (Kinta) โดยเขาไดเดินทางมาถึงเม่ือป ค.ศ.1903 และไดอุทิศการทํางานทั้งหมดในชีวิตของเขาใหกับธรณีวิทยาของชาวมาเลเซีย จนกระทั่งปลดเกษียณในป ค.ศ.1930 ดังนั้นงานตีพิมพดานธรณีวิทยาสวนใหญในมาเลเซียจึงเปนงานของ Scrivenor ซึ่งเปนผูวางรากฐานงานดานธรณีวิทยาใหกับชาวมาเลเซีย ชีวิตและงานของเขาในชวงเร่ิมแรกไดถูกสรุปไวอยางนาสนใจในหนังสือสองเลม คือ Scrivenor (1928, 1931) ในป ค.ศ.1913 W. R. Jones ไดมารวมงานกับ Scrivenor ในฐานะผูชวยดานธรณีวิทยา เขาไดศึกษาพื้นที่แหลงแรดีบุกในหุบเขาคินทา (Kinta) อันยิ่งใหญ และไดสรุปขอมูลดานธรณีวิทยาไวในรายงานของ Jones (1925). งานตีพิมพดานธรณีวิทยาของคาบสมุทรมาเลเซียและสิงคโปร ในชวงเร่ิมแรกไดถูกรวบรวมไวโดย Gobbett (1968)

กรมทรัพยากรธรณีของมาเลเซียไดเติบโตข้ึนอยางตอเนื่อง โดยสํานักงานใหญไดยายไปตั้งที่ อิโปห (Ipoh) ที่ซึ่งมีหองปฏิบัติการสวนใหญตั้งอยูในพื้นที่ และเม่ือไดรับอิสรภาพจากอังกฤษในป ค.ศ.1957 กรมทรัพยากรธรณีของมาเลเซียก็คอยๆ ลดผูรวมงานที่มาจากตางประเทศลง เนื่องจากไดเดินทางกลับประเทศ ตอมาสํานักงานใหญดานการสํารวจไดยายไปอยูที่กัวลาลัมเปอร (Kuala Lumpur) และไดเขาไปควบคุมงานดานการสํารวจธรณีวิทยาทั้งในคาบสมุทรและในมาเลเซียตะวันออกไวทั้งหมด บันทึกชีวประวัติประสบการณการทํางานของบุคคลและประกาศแผนที่จํานวนมาก ทางกรมทรัพยากรธรณีไดมีการดําเนินการจัดทําอยางเปนระบบรวมทั้งในรายละเอียดดานธรณีวิทยาทั้งหมดของมาเลเซีย อยางตอเนื่อง

งานดานธรณีวิทยาในสิงคโปรอยูภายใตการดูแลของกรมโยธาธิการ แตงานมักมีขอจํากัดอยูเสมอๆ ในการสํารวจพื้นที่ และไมมีระบบการจัดทําแผนที่ดานธรณีวิทยาที่มีผูรับผิดชอบ

ในป ค.ศ.1956 มหาวิทยาลัยมาลายาไดกอตั้งภาควิชาธรณีวิทยาข้ึน และเปนเคร่ืองบงชี้ที่สําคัญตอการพัฒนาดานธรณีศาสตรในภูมิภาคนี้ โดยศาสตราจารย C. S. Pichamuthu, T. H. F. Klompe, N. S. Haile, K. F. G. Hosking, C. S. Hutchison และ P. H. Stauffer ซึ่งมีสวนสําคัญเปนอยางมากตอการสนับสนุนและใหความชวยเหลืองานดานธรณีวิทยาของเอเซียน สมาคมธรณีวิทยา

South East Asia/วสันต+ย่ิงรัก

1-6

ของมาเลเซียไดกอตั้งข้ึนในป ค.ศ.1967 โดยทีมงานดานวิชาการจากภาควิชาธรณีวิทยา ที่สําคัญ คือ D. J. Gobbett และไดมีความเจริญรุงเรืองข้ึนอยางตอเนื่อง

คลายกับเปนการสืบทอดตอจาก Scrivenor (1928, 1931) ที่หนังสือไดรับจัดพิมพภายใตตําแหนงบรรณาธิการของ Gobbett และ Hutchison (1973). โดยหนังสือดังกลาวยังคงขอสรุปหลักฐานที่พิสูจนไดทางธรณีวิทยาของคาบสมุทรมาเลเซียและสิงคโปร ในป ค.ศ.1976 รัฐบาลสิงคโปรไดเปนผูจัดพิมพขอสรุปดานธรณีวิทยาในสวนของสิงคโปรดวยตนเอง

1.1.5 ซาราวัค ซาบาห และบรูไน

รายงานการสํารวจดานธรณีวิทยาในบอรเนียว ไดมาจากรายงานของ Hatton (1886), Posewitz (1892), Schmidt (1904) และ Rutter (1922)

การศึกษาดานธรณีวิทยาอยางเปนระบบชวงเร่ิมแรกของซาราวัค บรูไน และซาบาห ถูกจัดทําโดยบริษัทสํารวจน้ํามันและบริษัทสํารวจแหลงแร แตก็ยังไมเปนที่กวางขวางมากนักจนกระทั่งไดมีการจัดตั้งหนวยงานการสํารวจดานธรณีวิทยาข้ึน

กรมทรัพยากรธรณีในบอรเนียวภายใตการปกครองของอังกฤษ ไดถูกตั้งข้ึนในป ค.ศ.1949 มีสํานักงานอยูที่ กุชิง (Kuching) และ โกตาคินาบาลู (Kota Kinabalu) ตอมารูจักกันในชื่อ เจสเสลตัน (Jesselton) เคร่ืองบงชี้ที่สําคัญ คือ ผลงานตีพิมพของ Reinhard และ Wenk ในป ค.ศ.1951 (Reinhard และ Wenk, 1951) โดยบริษัทน้ํามันเชลลไดวาจางนักธรณีวิทยาทั้งสองคน ใหทําการรวบรวมรายงานดานธรณีวิทยาที่มีอยูอยางมากมายของบอรเนียวเหนือ (ซาบาห) โดยกอนป ค.ศ.1942 งานในสนามไดดําเนินการเสร็จอยางสมบูรณ และรายงานผลการดําเนินงานไดรับการตีพิมพโดยกรมทรัพยากรธรณี ในป ค.ศ.1951

บริษัทเชลลไดรวมกับกรมทรัพยากรธรณีในการรวบรวมขอมูลดานธรณีวิทยาของภูมิภาคที่อยูภายใตการปกครองของอังกฤษ ประกอบดวย ซาราวัค บรูไน และซาบาหตะวันออก นับแตนั้นมาบันทึกชีวประวัติประสบการณการทํางานของบุคคลและประกาศเปนจํานวนมากก็ไดรับการผลิตออกมาโดยกรมทรัพยากรธรณีของบอรเนียวและตอมาโดยกรมทรัพยากรธรณีของมาเลเซีย ยกเวนบรูไนซึ่งถูกครอบครองโดยบริษัทน้ํามันเชลล โดยขอมูลดานธรณีวิทยาของบรูไนในปจจุบันไดถูกสรุปไวในหนังสือ ที่เขียนโดย James (1984)

1.1.6 ประเทศอินโดนีเซีย ผลงานการศึกษาดานธรณีวิทยาของประเทศอินโดนีเซียมีมากมาย ไมวาจะเปนแผนที่ งานวิจัย

และส่ิงตีพิมพ มีความกานหนาไปมากภายใตการเปนเมืองข้ึนของประเทศฮอลแลนด ซึ่งทําการสํารวจ

South East Asia/วสันต+ย่ิงรัก

1-7

และศึกษาจนครอบคลุมทั่วทั้งประเทศ พื้นที่ดานเหนือของเกาะสุมาตราเปนดินแดนสุดทายที่ประเทศฮอลแลนดเขาครอบครองในป ค.ศ.1907 การสํารวจและเอกสารส่ิงพิมพมากมายทําข้ึนในชวงหลังศตวรรษที่ 19 สวนผลงานที่สําคัญสวนใหญไดรับการจีพิมพเผยแพรในชวง 20 ปกอนศตวรรษที่ 20 ในชวงตอนปลายของป ค.ศ.1850 ถึงป 1950 หนวยงาน The Geological Survey of the Netherlands Indies ที่มีสํานักงานใหญในเมือง Bandung และ Bureau of Mines ในเมือง Jakarta (ชื่อเดิมคือ Batavia) มีนักธรณีวิทยาที่มีชื่อเสียงหลายคนที่ทํางานหรือเขารวมการสํารวจประเทศอินโดนีเซีย ในชวงเวลานั้นไดมีการตีพิมพข้ึนในเมือง Batavia นอกจากนี้ยังม่ีหนังสือและบทความมากมายที่ตีพิมพเร่ืองธรณีวิทยาของประเทศอินโดนีเซียในยุโรป และหยุดชะงักลงเนื่องจากเกิดสงครามในป ค.ศ.1941

นักธรณีวิทยาชาวฮอลแลนดที่มีชื่อเสียงหลายคนเขียนเกี่ยวกับธรณีวิทยาของประเทศอินโดเชีย แตไมสามารถกลาวถึงไดทั้งหมดในที่นี้ จึงขอกลาวถึงเฉพาะผูเขียนที่รวบรวมผลงานที่มีผูศึกษาในชวงแรกๆ ไว ผลงานในชวงแรกและเปนที่รูจักอยางกวางขวางถูกรวบรวมโดย Brouwer (1925) Rutten (1927, 1932) ซึ่งเขียนบรรยายออกมาเปนตอน และหนังสือของเขานี้เองที่ทําใหโลกสนใจพื้นที่เอเชียตะวันออกเฉียงใต ในเวลาตอมา Umbgrove (1949) ก็เปนอีกผูหนึ่งที่รวบรวมลักษณะสําคัญของประเทศอินโดนีเซียไว อยางไรก็ตาม ธรณีวิทยาของประเทศอินโดนีเซียและเอเชียตะวันออกเฉียงใตเปนที่รูจักกันดีจากผลงานตีพิมพของ van Bemmelen (1970) ผลงานของเขาฉบับแรกตีพิมพในป ค.ศ.1949 เขาเปนสมาชิกของ The Geological Survey of the Netherlands Indies มาตั้งแตป ค.ศ. 1927 และเขียนตนฉบับของหนังสือเลมนี้ที่เมือง Bandung ในป ค.ศ.1941 ซึ่งเปนชวงเวลาที่ประเทศญี่ปุนเขาบุกรุกประเทศอินโดเซีย van Bemmelen โดนกักตัวในระหวางสงคราม จากเหตุการณนี้เองตนฉบับที่เขาเขียนเอาไวจึงไมสามารถกูคืนมาได เขาเร่ิมเขียนหนังสือเลมนี้ใหมอีกคร้ังหลังจากสงครามสงบลง นอกจากนี้แลวยังมีผลงานที่นับวาแปลกใหมที่เขียนโดย Vening Meinesz เร่ือง the Submarine K XIIII ใน ค.ศ.1927 1929 และ 1930 ผลงานทั้งหมดของเขากลาวถึงลักษณะของแนวทะเลลึกที่พบเพียงแหงเดียวในประเทศอินโดนีเซีย ซึ่งนํามาสูความสนใจของโลก (Meinesz, 1954)

ผลงานการศึกษาดานธรณีวิทยาของประเทศอินโดนีเซียมีออกมามากมายและหลากหลาย แตสําหรับคนสวนมากแลวจะรูจัก van Bemmelen (1970) วาเปนผูทํางานรวบรวมและสรุปผลงานการศึกษา ตั้งแตเกิดสงครามข้ึนในอินโดนีเซียจวบจนเปนอิสระ หนวยงาน The Geological Survey of the Indonesia มีความกาวหนาไปมากในการศึกษาและทําความเขาใจในพื้นที่อันกวางใหญและซับซอนของประเทศอินโดนีเซีย หนังสือของ Hamilton (1979) ไดรวบรวมและสรุปผลงานการศึกษาสวนใหญในชวงหลัง เกี่ยวกับการแปลความหมายพื้นที่ธรณีแปลสัณฐานในปจจุบันของประเทศอินโดนีเซีย ซึ่งเปนผลงานที่รูจักกันอยางกวาขวาง

South East Asia/วสันต+ย่ิงรัก

1-8

1.2 ขอมูลพื้นฐานในปจจุบันของเอเชียตะวันออกเฉียงใต

1.2.1 ประเทศไทย

1.2.2 สหภาพเมียนมาร เมืองหลวง เนปดอ ภาษาราชการ ภาษาพมา การปกครอง รัฐบาลทหาร เศรษฐกิจ

GDP (PPP) - รวม - ตอประชากร

2548 คาประมาณ 76.2 พันลานดอลลารสหรัฐ (อันดับที ่59) 1,800 ดอลลารสหรัฐ (อันดับที ่150)

1. เกษตรกรรม เปนอาชีพหลัก เขตเกษตรกรรมคือบริเวณดินดอนสามเหลี่ยมปากแมน้ําอิรวดี และแมน้ําสะโตง ปลูกขาวเจา

ปอกระเจา ออย และพืชเมืองรอนอ่ืนๆ

2. ทําเหมืองแร ภาคกลางตอนบนมีน้ํามันปโตรเลียม ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ขุดแร หิน สังกะสี และภาคตะวันออกเฉียงใต ทําเหมืองดีบุก

3. การทําปาไม มีการทําปาไมสักทางภาคเหนือ สองออกขายและลอมมาตามแมน้ําอิรวดีเขาสูยางกุง

4. อุตสาหกรรม กําลังพัฒนา อยูบริเวณตอนลาง เชน ยางกุง

5. เปนประเทศกําลังพัฒนาขั้นต่ํา หรือมีรายไดเฉลี่ยตอบุคคล อยูในเกณฑต่ํามาก

สกุลเงิน จัต (K) (mmK)

[แก] ภาษา นอกจากภาษาพมา ซึ่งเปนภาษาราชการแลว พมามีภาษาหลักท่ีใชงานในประเทศถึงอีก 18 ภาษา[1] โดยแบงตามตระกูล

ภาษาไดดังนี ้

ประชาชน

6. จํานวนประชากรประมาณ 50.51 ลานคน ความหนาแนนโดยเฉลี่ย 61 คน/ตารางกิโลเมตร พมามีประชากรหลายเช้ือชาติ จึงเกิดเปนปญหาชนกลุมนอย มีชาติพันธุพมา 63% ไทยใหญ 16% มอญ 5% ยะไข 5% กะเหรี่ยง 3.5% คะฉ่ิน 3% ไทย 3% ชิน 1%

South East Asia/วสันต+ย่ิงรัก

1-9

ศาสนา 7. พมาบัญญัติใหศาสนาพุทธเปนศาสนาประจําชาติใน พ.ศ. 2517 เพราะมีผูนับถือศาสนาพุทธ 92.3% ศาสนาคริสต 4%

ศาสนาอิสลาม 3% ศาสนาฮินดู 0.7%

ที่ตั้ง และอาณาเขต สหภาพเมียนมาร หรือ ประเทศพมา ตั้งอยูบนคาบสมุทรอินโดจีน ทางดานตะวันตกสุดของเอเชียตะวันออกเฉียงใต ระหวางละติจูด 10o – 28o 30' เหนือ ลองจิจูด 92o30' – 101o30' ตะวันออก โดยมีระยะทางจากเหนือสุดถึงใตสุด ยาวประมาณ 2,200 กิโลเมตร และระยะทางจากตะวันออกสุดถึงตะวันตก สุด ยาวประมาณ 950 กิโลเมตร (ESCAP, 1996) ครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 678,500 ตารางกิโลเมตร คิดเปนพื้นประมาณ 657,740 ตารางกิโลเมตร และพื้นน้ําประมาณ 20,760 ตารางกิโลเมตร โดยมีอาณาเขต ดังนี้ (รูปที่ 1.1)

- ทิศเหนือ และทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ติดกับประเทศจีน - ทิศตะวันออก ติดกับประเทศลาว - ทิศตะวันออกเฉียงใต ติดกับประเทศไทย - ทิศใต ติดกับอาวมะตะบัน (อาวเมาะตะมะ) และทะเลอันดามัน - ทิศตะวันตกเฉียงใต ติดกับอาวเบงกอล - ทิศตะวันตก ติดกับประเทศบังคลาเทศ - ทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ติดกับประเทศอินเดีย

มีเมืองยางกุง (Yangon) หรือชื่อเดิมคือ รางกุง (Rangoon) เปนเมืองหลวงของประเทศ ตั้งอยูบนที่ราบภาคกลางทางตอนใตในบริเวณดินดอนสามเหล่ียมปากแมน้ําอิระวดี (Irrawaddy) มีประชากรอาศัยอยูประมาณ 4.5 ลานคน สภาพภูมิศาสตร

แบงตามลักษณะทางภูมิประเทศ และลักษณะทางธรณีวิทยา เปน 5 พื้นที่ ไดแก (รูปที่ 3) 1).พื้นที่ชายฝงตะวันตก มีลักษณะพื้นที่เปนแนวยาวระหวางชายฝงของอาวเบงกอล (Bay of Bengal) กับเทือกเขา

อาระกันโยมา (Arakan Yoma) ระดับความสูงของพื้นที่ไมเกิน 1,500 ฟุต หรือประมาณ 450 เมตร จากระดับน้ําทะเลปานกลาง แมน้ําที่ไหลผานบริเวณนี้สวนใหญจะไหลจากทางทิศเหนือลงสูทิศใต เนื่องจากถูกควบคุมดวยรอยเล่ือน (fault) หรือเปนแมน้ําสายส้ันๆ ที่ไหลจากทางดานตะวันตกของ

South East Asia/วสันต+ย่ิงรัก

1-10

เทือกเขาอาระกันโยมา (Arakan Yoma) ลงสูอาวเบงกอล แมน้ําที่สําคัญ ไดแก แมน้ํากะละดัน (Kaladan) และแมน้ํามินเชาน (Min Chaung)

ประชากรในพื้นที่สวนใหญมีอาชีพทําประมง และเผาถานไมโกงกาง เนื่องจากบริเวณชายฝงทะเลเปนปาชายเลน ที่มีตนโกงกางข้ึนเปนจํานวนมาก

Bender (1983) ใน ESCAP (1996) ไดรายงานถึงแหลงแรและบริเวณที่พบ เชน ปโตรเลียม พบที่เกาะรัมรี(Ramree island) เกาะชีดูบา (Cheduba island) และเกาะทางดานตะวันออกเฉียงใตของเมืองซิตทเว (Sittwe) ถานหิน พบบริเวณตะวันตกเฉียงเหนือของเมืองซิตทเว (Sittwe) แรเหล็กและโครเมียม พบบริเวณตะวันออกเฉียงเหนือของเมืองเบะซัน (Bassein)

เมืองที่สําคัญ ไดแก ซิตทเว (Sittwe - คนไทยเรียก ซิตวอย) ชื่อเดิมคือ อัคยับ (Akyab) ตั้งอยูบนปากแมน้ํากะละดัน (Kaladan) เปนเมืองหลวงของรัฐระไคน (Rakhine State -คนไทยเรียก ยะไข ) โดยเปนทั้งเมืองทาที่สําคัญ และศูนยกลางโรงสีขาวของประเทศพมา

2). เทือกเขาสูงทางเหนือและตะวันตก พื้นที่สวนใหญเปนเทือกเขาสูง ระดับความสูงของพื้นที่ตั้งแต 1,500 – 12,000 ฟุต หรือ

ประมาณ 450 - 3,650 เมตร จากระดับน้ําทะเลปานกลาง เทือกเขาที่สําคัญ ไดแก เทือกเขาอาระกันโยมา (Arakan Yoma) ซึ่งมียอดเขาที่มีชื่อเสียงคือ ยอดเขาวิคตอเรีย (Victoria Peak) มีความสูงประมาณ 3,063 เมตร จากระดับน้ําทะเลปานกลาง และเทือกเขานากะ(Naga) ที่อยูทางตะวันตกเฉียงเหนือของประเทศ และกั้นพรมแดนระหวางประเทศพมากับอินเดีย โดยเทือกเขาทั้งสองนี้ไดรับอิทธิพลจากรอยเล่ือนยอนมุมต่ํา (thrust fault) จึงทําใหไดเปนเทือกเขาที่สูงมาก ยอดเขาที่สูงที่สุดในประเทศ คือ ยอดเขาคาคาโบ ราซี (Hkakabo Razi Peak) มีความสูงประมาณ 5,881 เมตร จากระดับน้ําทะเลปานกลาง

พื้นที่ปาสวนใหญเปนปาไมประเภทไมสัก และไมเนื้อแข็งตาง ๆ นอกจากนี้ยังเปนพื้นที่ตนกําเนิดแมน้ําที่สําคัญของพมา คือ แมน้ําอิระวดี (Irrawaddy) ที่มีความยาวประมาณ 1,350 ไมล หรือประมาณ 2,170 กิโลเมตร และแมน้ําชินดวิน (Chinwinn) ที่มีความยาวประมาณ 550 ไมล หรือประมาณ 885 กิโลเมตร โดยแมน้ําชินดวิน (Chinwinn) จะไหลไปบรรจบกับแมน้ําอิระวดี (Irrawaddy) บริเวณตอนกลางของประเทศใกลกับเมืองปะคกกู (Pakokku)

มีประชากรอาศัยอยูนอย เนื่องจากเปนพื้นที่ทุรกันดาร และมีเสนทางคมนาคมที่ไมสะดวก ประชากรสวนใหญจึงประกอบอาชีพทําไม และทําเหมืองแร โดยมีการปลูกขาวในลักษณะเปนข้ันบันไดในบริเวณที่ราบเล็กๆ ระหวางเทือกเขา และการทําไรเล่ือนลอยบริเวณเทือกเขาทางตอนเหนือในเขตรัฐกะฉิน (Kachin State)

Bender (1983 อางใน ESCAP, 1996) ไดรายงานถึงแหลงแรและบริเวณที่พบ ไดแก แหลงหยก พบบริเวณดานตะวันตกของเมืองมิตจินา (Myitkyina) เเหลงอําพัน (amber) พบทางดานตะวันตกเฉียงเหนือของเมืองมิตจินา (Myitkyina) เเหลงทับทิม-แซปไฟร พบที่เมืองนะเมียเซ็ค (Nanyaseik) ซึ่ง

South East Asia/วสันต+ย่ิงรัก

1-11

อยูทางดานตะวันตกเฉียงใตของเมืองมิตจินา (Myitkyina) แหลงถานหิน พบที่เมืองกเลวะ (Kalewa) แหลงปโตรเลียม พบทางดานตะวันออกของเมืองกเลวะ(Kalewa) แหลงทองคํา-เงิน พบทางดานตะวันออกเฉียงเหนือของเมืองปูเตา (Putao) ดานตะวันออกเฉียงเหนือและดานตะวันตกของเมืองมิตจินา(Myitkyina) แหลงแรเหล็ก พบทางดานตะวันตกและดานเหนือของเมืองมิตจินา (Myitkyina) แหลงแรตะกั่ว-สังกะสี พบทางดานตะวันออกเฉียงเหนือของเมืองปูเตา (Putao) และทางดานตะวันตกเฉียงใตของเมืองนะเมียเช็ค (Nanyaseik) แหลงแรทองแดง พบทางดานตะวันตกเฉียงใตของเมืองนะเมียเซ็ค (Nanyaseik) และดานตะวันออกเฉียงใต ของยอดเขาวิคตอเรีย (Victoria Peak)

3). ที่ราบภาคกลาง มีลักษณะพื้นที่เปนที่ราบลุมน้ําของแมน้ําอิระวดี (Irrawaddy) และแมน้ําซิตเตาว (Sittang -

คนไทยเรียก สะโตง) ถูกขนาบดวยรอยเล่ือนขนาดใหญทั้งสองดาน จึงเปนบริเวณที่มักเกิดแผนดินไหวบอยคร้ัง ระดับความสูงของพื้นที่ไมเกิน 1,500 ฟุต หรือประมาณ 450 เมตร จากระดับน้ําทะเลปานกลาง แมน้ําสําคัญที่ไหลผาน ไดแก แมน้ําอิระวดี (Irrawaddy) และแมน้ําซิตเตาว (Sittang) มีความยาวประมาณ 350 ไมล หรือประมาณ 560 กิโลเมตร โดยแมน้ําทั้งสองสายมีทิศทางการไหลจากทิศเหนือลงสูทิศใต และมีเทือกเขาเตี้ยๆ คือ เทือกเขาพีกิวโยมา (Pegu Yoma - คนไทยเรียก พะโคโยมา) กั้นระหวางแมน้ําทั้งสองสายนี้ บริเวณปากแมน้ําทั้งสองจึงกลายเปนดินดอนสามเหล่ียมปากแมนาที่เกิดจากการตกตะกอนทับถมเปนระยะเวลาอันยาวนาน

ประชากรที่อาศัยอยูมีมากกวาคร่ึงหนึ่งของประชากรทั้งประเทศ เนื่องจากเปนบริเวณที่ราบลุมน้ํา จึงทําใหมีความอุดมสมบูรณและเหมาะแกการเพาะปลูกมาก ดังนั้นประชากรสวนใหญจึงประกอบอาชีพทํานา และปลูกพืชไรตางๆ เชน ฝาย ถั่ว งา

แรสําคัญที่พบ คือ ปโตรเลียม และถานหิน เนื่องจากพื้นที่สวนใหญเปนแองสะสมตะกอนยุค เทอรเชียรี (Tertiary basin) โดย Bender (1983 อางใน ESCAP, 1996) ไดรายงานถึงแหลงแรและบริเวณที่พบ ไดเก แหลงปโตรเลียม พบในเขตมะเกว (Magwe Division) และเขตบาโก (Bago Division) ถานหิน พบทางดานตะวันตกเฉียงใตของเมืองโพรม (Prome) หรือเมืองแปรในอดีต และทางดานตะวันตกเฉียงเหนือของเมืองชเวโบ (Shwebo) ทับทิม-แซปไฟร พบที่เมืองซักยิน (Sagyin) ทางตอนเหนือของเมืองมัณฑะเลย (Mandalay) แรทองแดง ตะกั่ว และสังกะสี พบทางดานตะวันตกของเมืองชเวโบ (Shwebo) ทางดานตะวันออกเฉียงใตของเมืองเมคลีลา (Meiktila) และเมืองมัณฑะเลย (Mandalay) แรทังสเตน พบที่เ มืองอินดายนดะ (Indaingtha) และบริเวณบดัดจาวน -เพนเนได (Padatgyaung-Peinnedaik Area)

เมืองที่สําคัญ ไดแก เมืองยางกุง ซึ่งเปนทั้งเมืองหลวงและเมืองทาที่สําคัญของประเทศ เมืองมัณฑะเลย (Mandalay) เปนอดีตเมืองหลวงเกา ปจจุบันเปนเมืองใหญอันดับสองรองจากเมืองยางกุง และเปนแหลงคาขายหยก ฝน เมืองพีกิว (Pegu - คนไทยเรียก พะโค) ชื่อเดิมคือ “หงสาวดี” เปนเมือง

South East Asia/วสันต+ย่ิงรัก

1-12

หลวงเกาในสมัยกรุงศรีอยุธยา มีพระธาตุมุเตาซึ่งเปนเจดียสถานที่สําคัญ และเมืองบะกัน (Pagan - คนไทยเรียก พุกาม) เปนเมืองที่มีชื่อเสียงทางดานศิลปกรรม โดยมีเจดียเกาแกเปนจํานวนมาก

4. ที่ราบสูงฉาน ตั้งอยูทางดานตะวันออกของประเทศ ครอบคลุมพื้นที่ในเขตรัฐฉาน (Shan State) รัฐกะยา

(Kayah State) และบางสวนของรัฐกะยิน (Karen State) มีขอบเขตทางดานทิศใตจรดบริเวณปากแมน้ําสาละวินในเขตเมืองมอลเมียง (Mawlamyaing) ชื่อเดิมคือ “มอลเมน (Moulmein)” คนไทยเรียก “เมาะลําเลิง หรือ มะละแหมง” มีลักษณะพื้นที่เปนที่ราบสูง ที่ประกอบไปดวยเทือกเขาเปนแนวยาว มีระดับความสูงของพื้นที่ตั้งแต 1,500-12,000 ฟุต หรือประมาณ 450-3,650 เมตร จากระดับน้ําทะเลปานกลาง ความสูงโดยเฉล่ียของพื้นที่ทางตอนเหนือของที่ราบสูงนี้ประมาณ 3,000 ฟุต หรือประมาณ 900 เมตร จากระดับน้ําทะเลปานกลาง แมน้ําสําคัญที่ไหลผาน คือ แมน้ําสาละวิน (Salween) ซึ่งมีตนกําเนิดจากเทือกเขาตังลา (Tanglha)ในประเทศจีน โดยจะไหลจากทิศเหนือลงสูทิศใตและออกสูอาวมะตะบัน (Mataban) มีความยาวประมาณ 150 ไมล หรือประมาณ 2,800 กิโลเมตร

ประชากรที่อาศัยอยูมีจํานวนนอย และมีหลายเชื้อชาติ เนื่องจากที่ดินขาดความอุดมสมบูรณจึงใชประโยชนไดไมเต็มที่ มีทุงหญาที่ใชเล้ียงสัตวประเภท วัว แพะ และแกะ ไดบางในบางบริเวณ เปนพื้นที่ปลูกฝนที่สําคัญ ซึ่งคิดเปนรอยละ 8 ของการผลิตฝนดิบทั่วโลก เปนพื้นที่ที่ใชติดตอคาขายกับประเทศจีนและไทย โดยมีการนําเขาสินคาพวกเส้ือผา พรม เบียร และเคร่ืองใช สวนสินคาที่มีการสงออกที่สําคัญ ไดแก ไมสัก แรรัตนชาติ (หยก ทับทิม และแซปไฟร) บุหร่ี สินคาเกษตร และของผิดกฎหมาย

Bender (1983 อางใน ESCAP, 1996) ไดรายงานถึงแหลงแรและบริเวณที่พบ ซึ่งที่สําคัญสวนใหญพบอยูทางขอบดานตะวันตกของที่ราบ ไดแก ตะกั่ว สังกะสี ทองแดง เหล็ก และแบไรต ที่เมืองบอดวิน (Bawdwin) และเมืองทาวนยี (Taunggyi – คนไทยเรียก ตองยี) ทังสเตน ที่เมืองหมอชี (Mawchi) ในเขตรัฐกะยา ทับทิมเเละแซปไฟร ที่เมืองโมโกก (Mogok) เมืองมองซู (Mong Hsu) ซึ่งอยูทางดานตะวันออกเฉียงเหนือของเมืองทาวนยี (Taunggyi) และเมืองมองคัก (Mong Hkak) ซึ่งตั้งอยูใกลเมืองเชียงตุง (Keng Tung)

เมืองที่สําคัญ ไดแก เมืองเชียงตุง (Keng Tung) ซึ่งตั้งอยูใกลกับบริเวณสามเหล่ียมทองคํา จึงเปนที่ ที่มีการปลูกฝนเปนจํานวนมาก และเมืองทาวนยี (Taunggyi) ซึ่งเปนบริเวณที่ตั้งโรงงานผลิตบุหร่ีของพมา

5. พื้นที่ทางใตของประเทศ อยูในรัฐมน (Mon State) เขตทนินถายี (Tanintharyi Division) ชื่อเดิมคือ เทอแนสเซอริม

(Tenasserim) และบางสวนของรัฐกะยิน (Kayin) ครอบคลุมพื้นที่บริเวณแมน้ําเมยจนถึงแหลมวิคตอเรีย (Victoria Point) ซึ่งเปนพื้นที่ทางใตสุดของพมา (ตรงขามจังหวัดระนองของประเทศไทย) มี

South East Asia/วสันต+ย่ิงรัก

1-13

ลักษณะของพื้นที่เปนเทือกเขา และที่ราบชายฝงทะเลแคบ ๆ ทอดยาวระหวางทะเ ลอันดามัน (Andaman Sea) และเทือกเขาเทอแนสเซอริม (Tenasserim - คนไทยเรียก ตะนาวศรี) ซึ่งเปนพรมแดนกั้นระหวางประเทศพมากับไทย บางบริเวณเปนเทือกเขาที่มีหนาผาสูงชันติดฝงทะเล ระดับความสูงของพื้นที่ตั้งแต 0 - 12,000 ฟุต หรือประมาณ 0 - 3,650 เมตร จากระดับน้ําทะเลปานกลาง มีลักษณะเปนชายฝงที่เวาแหวงและมีเกาะแกงมากมาย เชน เกาะทวาย (Tavoy) หมูเกาะมารุย (Mergui) แมน้ําสําคัญที่ไหลผานพื้นที่ ไดแก แมน้ําเมย แมน้ําเทอแนสเซอริม

ประชากรสวนใหญมีอาชีพทําเหมืองแรดีบุก-ทังสเตน ทําประมง สวนยางพารา สวนมะพราว และเล้ียงหอยมุข

แรที่สําคัญ คือ ดีบุก และทังสเตน โดย Bender (1983 อางใน ESCAP, 1996) ไดรายงานถึงแหลงแรและบริเวณที่พบ ไดแก แหลงดีบุก-ทังสเตน พบในเขตเมืองมอลเมียง (Mawlamyaing) เมืองทวาย (Tavoy) เมืองมารุย (Mergui) และบริเวณใกลแหลมวิคตอเรีย (Victoria Point) แรพลวง พบทางดานใตของเมืองมอลเมียง (Mawlamyaing) และทางดานตะวันตกของแมน้ําเมย แรตะกั่ว พบทางดานตะวันออกของเมืองมอลเมียง (Mawlamyaing) ใกลชายแดนประเทศไทย ทางดานเหนือของเมืองทวาย (Tavoy) และทางดานตะวันออกของเมืองมารุย (Mergui) ใกลชายแดนประเทศไทย

เมืองที่สําคัญ ไดแก เมืองมอลเมียง (Mawlamyaing) โดยเปนเมืองใหญอันดับสามของประเทศ มีความสําคัญ คือ เปนเมืองทา ศูนยกลางการคา มีโรงเล่ือยไม และอูตอเรือ

South East Asia/วสันต+ย่ิงรัก

1-14

รูปท่ี 1.2 ที่ตั้ง และอาณาเขตของประเทศพมา (ที่มา http://www.lib.utexas.edu)

South East Asia/วสันต+ย่ิงรัก

1-15

รูปท่ี 2 ลักษณะทางภูมิศาสตร (Geography) ของประเทศพมา (ที่มา http://www.worldatlas.com)

South East Asia/วสันต+ย่ิงรัก

1-16

รูปที่ 3 การแบงลักษณะทางภูมิศาสตรของประเทศพมา (ที่มา ESCAP, 1996)

South East Asia/วสันต+ย่ิงรัก

1-17

1.2.3 สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว

ที่ตั้ง และอาณาเขต สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ตั้งอยูในเอเชียตะวันออกเฉียงใต ใจกลางคาบสมุทรอินโดจีน ระหวางละติจูดที่ 14-23o เหนือ และลองจิจูดที่ 100-1080 ตะวันออก

สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวเปนประเทศที่ไมมีทางออกทางทะเล (Land-locked country) มีพื้นที่ประมาณ 236,800 ตารางกิโลเมตร มีขอบเขตของประเทศทั้งส้ินประมาณ 4,825 กิโลเมตร โดยมีอาณาเขต ดังนี้ (รูปที่ 1)

- ดานทิศตะวันออก ติดตอกับสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม มีเทือกเขาอันนัมกั้นเปนพรมแดน มีอาณาเขตติดตอ 1,957 กิโลเมตร

- ดานทิศตะวันตก ติดตอกับประเทศไทย มีเทือกเขาแดนลาว เทือกเขาหลวงพระบาง และแมน้ําโขงกั้นเปนพรมแดน มีอาณาเขตติดตอ 1,730 กิโลเมตร

- ดานทิศใต ติดตอกับประเทศกัมพูชาประชาธิปไตย มีอาณาเขตติดตอ 492 กิโลเมตร

- ดานทิศเหนือ ติดตอกับประเทศจีน มีเทือกเขากั้นเปนพรมแคน มีอาณาเขตติดตอ 230 กิโลเมตร

- ดานทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ติดตอกับสาธารณรัฐสังคมนิยมแหงสหภาพพมา มีแมน้ําโขงกั้นเปนพรมแดน มีอาณาเขตติดตอ 230 กิโลเมตร

แมน้ําโขง เปนแมน้ําที่สําคัญกับสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวอยางยิ่งในหลายๆ ดาน ทั้งในดานอุปโภค บริโภค เกษตรกรรม การคมนาคม รวมถึงการผลิตพลังงานไฟฟา และอ่ืนๆ แมน้ําสายนี้มีตนกําเนิดอยูที่ประเทศธิเบต ซึ่งอยูสูงจากระดับน้ําทะเลปานกลางประมาณ 5,000 เมตร แมน้ําโขง เปนเเมน้ํานานาชาติที่ไหลผานถึง 7 ประเทศ และมีชื่อเรียกหลายชื่อตามที่แมน้ําไหลผาน อาทิ ลกฉอง (ธิเบต), ลานชาง (จีน) เกาลุงเกียว เชียงรุง (พมา) มีความยาวประมาณ 4,590 กิโลเมตร ซึ่งยาวเปนอับดับ 10 ของโลก ไหลผานสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว โดยเร่ิมที่ไชยบุรี และส้ินสุดที่จําปาศักดิ์ เปนระยะทางทั้งหมดประมาณ 1,500กิโลเมตร ระบายออกสูทะเลจีนใตที่สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม มีปริมาณน้ําที่ระบายออกปละประมาณ 50,000 ลูกบาศกเมตร ซึ่งมากเปนอันดับ 6 ของโลก

สภาพภูมิศาสตร

South East Asia/วสันต+ย่ิงรัก

1-18

การแบงเขตภูมิประเทศของสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว พิจารณาจากลักษณะภูมิประเทศ ลักษณะทางธรณีวิทยา และธรณีโครงสราง สามารถแบงเขตภูมิประเทศออกเปน 3 เขต ดังนี้ (รูปที่ 2)

1). เขตภูเขา และหุบเขาภาคตะวันตกเฉียงเหนือ 2). เขตภูเขา และหุบเขาภาคตะวันออก 3). เขตพื้นที่ราบลุมแมน้ํา และพื้นที่ราบสูงทางใต

กระบวนการเกิดของแผนดินในภูมิภาคนี้ สวนของสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวในอดีตตั้งอยูบนอนุทวีป ไดแกสวนที่เรียกวาผืนแผนดินอินโดจีน หรืออนุทวีปอินโดจีน ซึ่งครอบคลุมพื้นที่ของสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว สวนหนึ่งของภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย รวมไปถึงประเทศกัมพูชาประชาธิปไตย และสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม ไดเคล่ือนที่เขาประกบกับอนุทวีปฉาน-ไทย-มาเลย ซึ่งครอบคลุมพื้นที่ดานตะวันออกของสาธารณรัฐสังคมนิยมแหงสหภาพพมา (แควนฉาน) ดานตะวันตกของประเทศไทย และดานตะวันตกของประเทศมาเลเซีย รวมถึงเกาะสุมาตราของประเทศอินโดนีเซีย ในยุคไตรแอสสิก (Triassic) โดยมีหลักฐานเปนแนวหินโอฟโอไลต (ophiolite) อิทธิพลของการเคล่ือนไหวของเปลือกโลกเหลานี้ไดสงผลใหบางบริเวณชั้นหินถูกทําลายและบิดโคงคดงอ ทําใหเกิดเปนแกนทิวเขาที่ประกอบดวยชั้นหินที่มีโครงสรางทางธรณีวิทยาแบบคดโคง และถูกตัดดวยรอยเล่ือน (fault) แบบตางๆ พรอมกับการเกิดแทรกซอนของหินอัคนีจําพวกหินแกรนิตเขามาบรรจุตามชองวาง ซึ่งแทรกดันข้ึนมาหลายคร้ังหลายหนในชวงเวลาตางๆ กัน สวนในบริเวณที่มีโครงสรางธรณีวิทยาแบบคดโคงนั้น แสดงวาเปนบริเวณที่เคยมีปรากฏการณทางเทคโทนิค (tectonics) สูง และเกี่ยวของกับอุณหภูมิระดับสูงพอที่จะทําใหชั้นหินตาง ๆ เกิดการแปรรูปพลาสติก (plastic deformation) และชั้นหินในพื้นที่คดโคงเหลานี้จะถูกแปรสภาพโดยอํานาจของความรอนและแรงกดดันทําใหหินหั้นบางสวนกลายเปนหินแปร พื้นที่ที่ประกอบดวยโครงสรางคดโคงนี้ เปนทิวเขาอยูในแนวตะวันออกเฉียงเหนือ-ตะวันตกเฉียงใต ในเขตภูเขา และหุบเขาภาคเหนือ และอยูในแนวตะวันตกเฉียงเหนือ-ตะวันออกเฉียงใต ในเขตภูเขา และหุบเขาภาคตะวันออก

1). เขตภูเขา และหุบเขาภาคตะวันตกเฉียงเหนือ ภูมิสัณฐานของเขตภูเขา และหุบเขาภาคตะวันตกเฉียงเหนือ ไดเเก บริเวณที่สูง เเละภูเขาทั้งหมดในภาคเหนือและตะวันตกเฉียงเหนือ ตั้งแตประมาณเสนละติจูดที่ 103o ตะวันออก ไปทางตะวันตกจนสุดชายแดนดานตะวันตก ประกอบดวย พงสาลี หลวงน้ําทา บอแกว อุดมไชย ไชยบุรี บางสวนของเวียงจันทน หลวงพระบาง และเชียงของ

ภูมิประเทศในเขตนี้ มีลักษณะเปนทิวเขาและหุบเขาวางตัวในแนวตะวันออกเฉียงเหนือ - ตะวันตกเฉียงใต โดยมีลักษณะเปนภูเขาสูงชัน มีหุบเขาเปนแมน้ําแคบ ๆ และมีศักยภาพทางการเกษตรต่ํา ทิวเขาที่สําคัญ ไดเเก ทิวเขาแดนลาว และทิวเขาหลวงพระบาง ทิวเขาเหลานี้มีอายุและ

South East Asia/วสันต+ย่ิงรัก

1-19

โครงสรางทางธรณีวิทยาเชนเดียวกับทิวเขาทางขอบดานตะวันตกของที่ราบสูงตะวันออกเฉียงเหนือของไทย เชน ทิวเขาเพชรบูรณ ทิวเขาดงพญาเย็น ลงมาถึงฝงทะเลดานตะวันออกของไทย เชน ทิวเขาสันกําแพง ทิวเขาจันทบุรี ทิวเขาบรรทัด ชั้นหินสวนใหญอยูในชวงอายุไทรเเอสสิก (Triassic)

โครงสรางทางธรณีวิทยาที่พบในบริเวณเขตนี้ พบกลุมโครงสรางโคงงอ (fold belt) และแนวรอยเล่ือน (fault) วางตัวในแนวตะวันออกเฉียงเหนือ-ตะวันตกเฉียงใต มีภูมิประเทศทุรกันดาร เต็มไปดวยภูเขาสูง แมน้ําสวนใหญเปนแมน้ําสาขาของแมน้ําโขง ซึ่งแมน้ําในพื้นที่เขตนี้ทั้งหมดจะไหลลงสูแมน้ําโขงไดแก น้ํามะ น้ําทา น้ําเปง น้ํางา น้ํางึม น้ําฮุง น้ําปุย น้ําพอน น้ําเมือง น้ําลิก

เมืองทีสําคัญในเขตภูมิภาคนี้คือ เมืองหลวงพระบาง ซึ่งเปนเมืองหลวง เปนศูนยกลางอํานาจแหงแรกของคนลาว และเปนที่ประทับของกษัตริย เรียกวารัฐลางชาง ปจจุบันเปนเมืองที่มีการติดตอคาขายที่สําคัญในเขตภูมิภาคนี้ และเปนเมืองที่สวยงามมากสําหรับการทองเที่ยว

2). เขตภูเขา และหุบเขาภาคตะวันออก ภูมิสัณฐานของเขตภูเขาและหุบเขาภาคตะวันออก ไดแก บริเวณที่สูงและภูเขาในภาค

ตะวันออก เฉียงเหนือ และภาคตะวันออก ตั้งแตประมาณเสนละติจูดที่ 103o ตะวันออก จนสุดชายแดนดานตะวันออก ประกอบดวย หัวพัน เชียงของ บอริคาน คํามวน เซกอง อัดทะปู สวนหนึ่งทางดานตะวันตกของเวียงจันทน สะหวันเขต และสาละวัน

ภูมิประเทศในเขตนี้ มีลักษณะเปนทิวเขา และหุบเขา โดยมีลักษณะเปนภูเขาสูงชัน มีหุบเขาเปนแมน้ําแคบๆ และมีศักยภาพทางการเกษตรต่ําคลายกับเขตภูเขาและหุบเขาภาคตะวันตกเฉียงเหนือ ยกเวนบริเวณที่ราบจาร (Plain of Jar) ในเมืองเชียงของ ซึ่งเหมาะสมกับการปลูกขาว และปศุสัตว ภูเขาในเขตนี้แตกตางจากเขตภูเขาและหุบเขาภาคตะวันตกเฉียงเหนือ คือ มีการวางตัวในแนวตะวันตกเฉียงเหนือ-ตะวันออกเฉียงใต แนวเทือกเขาทางดานตะวันออกเปนสวนหนึ่งของเทือกเขาอันนัม ในประเทศเวียดนาม เปนแนวที่ตอเนื่องจาก Yunnan Knot แลวออมไปทางตะวันออกเฉียงใตโคงผานสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว และสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนามจนถึงทะเลจีนใต

ลักษณะโครงสรางทางธรณีวิทยาในบริเวณนี้ ประกอบดวยโครงสรางคดโคงยุคออโดวิเชียนถึงยุคคารบอนิเฟอรัส (Ordovician-Carboniferous) กับหินแกรนิตยุคกอนคารบอนิเฟอรัส (Early Carboniferous) และยุคไตรเเอสสิก (Triassic) ทิศทางของโครงสรางอยูในแนวตะวันตกเฉียงเหนือ-ตะวันออกเฉียงใต (NW-SE) ถึง NNW-SSE ดานตะวันออกเฉียงเหนือของซําเหนือ พบสวนของโครงสรางคดโคงมหายุคพาลีโอโซอิกตอนตน (Early Paleozoic) โดยโครงสรางคดโคงนี้มีความไมตอเนื่องของหิน Basic rocks และ Ultrabasic rocks เกิดข้ึน ซึ่งเปนตําแหนงของ Plate suture

ลักษณะภูมิประเทศ เปนที่ทุรกันดารเต็มไปดวยภูเขาสูง แมน้ําในบริเวณนี้เกือบทั้งหมดลวนมีตนกําเนิดมาจากเทือกเขาอันนัม โดยเเมน้ําทางดานตะวันออกเฉียงเหนือของลาว (จังหวัดหัวพัน) สวนใหญไหลไปทางตะวันออกเขาสูสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม ลงสูทะเลที่อาวตังเกีย ไดแก น้ําเฮ็ด

South East Asia/วสันต+ย่ิงรัก

1-20

น้ํามา น้ําซํา เเละน้ําเนิน แมน้ําในบริเวณอ่ืนในเขตนี้ไหลลงสูแมน้ําโขง ไดเเก น้ํางึม น้ําเงียบ น้ําซัน น้ํามวน นํากระดิง น้ํายอง น้ําเทน เซบั้งไฟ เซจําพอน เซโปม เซละนอง เซบังนอน เซโดน และเซกอง

ดานตะวันออกติดกับประเทศเวียดนาม ซึ่งสวนใหญเปนยอดเขาของ Annamite Chain เเละเปนเทือกเขาที่กั้นระหวางวัฒนธรรมจีนของเวียดนาม และวัฒนธรรมอินเดียของลาวและไทย บนภูเขาเหลานี้มีชนกลุมนอยอาศัยอยูกันหาง ๆ ซึ่งชนกลุมนอยนี้พบไดทั้งในลาวและเวียดนาม การติดตอกันระหวางกลุมตางๆ และชาวลาวในพื้นที่ต่ําจะติดตอกันในทางการคา

South East Asia/วสันต+ย่ิงรัก

1-21

3). เขตพื้นที่ราบลุมแมน้ํา และพื้นที่ราบสูงทางใต เขตพื้นที่ราบลุมแมน้ําและพื้นที่ราบสูงทางใต ประกอบดวย พื้นที่ราบลุมแมน้ําโขง และพื้นที่

ราบของหินตะกอนมหายุคมีโซโซอิก (Mesozoic) บริเวณภาคกลางตอนใต และดานตะวันตกของประเทศ รวมถึงบริเวณที่ราบสูงทางใตของประเทศ ประกอบดวย นครเวียงจันทน จําปาศักดิ์ สวนทางดานตะวันตกของบอริขาน คํามวน สะหวันเขต สาละวัน เซกอง และอัดทะปู บริเวณที่ราบลุมแมน้ําโขง เปนที่ราบแคบๆ ริมฝงแมน้ํา โดยเร่ิมจากนครเวียงจันทรลงมาทางดานตะวันตกของประเทศตามริมฝงแมน้ําโขง พื้นที่นี้ประกอบดวยตะกอนที่มีการสะสมตัวแบบทางน้ําพา (fluvial deposit) ในสวนพื้นที่ต่ําที่แมน้ําโขงไหลผาน ดินในบริเวณนี้ประกอบไปดวยตะกอนของกรวด ทราย และทรายแปง ในลักษณะของที่ราบน้ําทวมถึง (floodplain) และลานตะพักลําน้ํา (fluvial terrace) ทําใหพื้นที่นี้มีความเหมาะสมในทางเกษตรกรรม

สําหรับบริเวณพื้นที่ราบของหินตะกอนมหายุคมีโซโซอีก (Mesozoic) ซึ่งครอบคลุมพื้นที่สวนใหญของสะหวันเขต และจําปาศักดิ์ เกิดในชวงยุคไตรแอสสิกตอนปลาย (Late Triassic) ซึ่งมีสภาพแวดลอมของการสะสมตัวบนแผนดินจนกระทั่งถึงยุคครีเตเชียส (Cretaceous) ในชวงตอนปลายของยุคครีเตเชียส (Late Cretaceous) มีการรุกลํ้าของน้ําทะเลทําใหเกิดหิน evaporite ในบริเวณสะหวันเขต สาละวัน และจําปาศักดิ์ สวนบริเวณที่ราบสูงโบโลเวน ซึ่งอยูทางใตของประเทศ ครอบคลุมพื้นที่บางสวนของสาละวัน เซกอง และจําปาศักดิ์ เปนพื้นที่ราบสูงของหินบะซอลทในยุคควอเทอรนารี (Quaternary basalt)วางทับอยูบนหินทรายมหายุคมีโซโซอิก (Mesozoic) เปนบริเวณที่อุดมสมบูรณที่สุดของประเทศ มีความเหมาะสมในการเกษตร เนื่องจากเปนบริเวณที่ดินไดจากการผุพังของหินบะซอลท ซึ่งมีแรธาตุอยูสูง จึงมีความอุดมสมบูรณมาก เเละมีภูมิอากาศที่ดี มีปริมาณน้ําฝนมากเหมาะสําหรับการปลูกพืช ผัก ผลไม และพืชเศรษฐกิจตางๆ เชน กาแฟ ชา และยาสูบ

พื้นที่เขตนี้เปนที่ตั้งของเมืองหลวง คือ นครเวียงจันทน และเปนพื้นที่อยูอาศัยและทําการเกษตรกรรมที่สําคัญ ดังนั้นจึงมีประชาชนตั้งบานเรือนอยูอยางหนาแนน โดยเฉพาะบริเวณลุมแมน้ํา นอกจากนี้ตามบานเมืองจะมีการหาทองตามแมน้ําโขงในฤดูแลงเพื่อเปนการเพิ่มรายไดใหกับครอบครัว สําหรับในบางบริเวณ เชน บริเวณพื้นที่ของหินทรายมหายุคมีโซโซอิก (Mesozoic) จะไมมีความเหมาะสมในดานการเกษตรมากนัก เนื่องจากลักษณะของดินซึ่งผุพังมาจากหินทรายบริเวณนี้มีความอุดมสบบูรณต่ํา และมีลักษณะรวน น้ําซึมผานไดงาย ไมเก็บน้ํา ดังนั้นแมจะมีฝนตกลงมาก็ไมสามารถใหความชุมชื้นแกดิน และพืชผลได บริเวณชายแดนทิศใตติดเขมร มีซากปรักหักพังสมัยแขมรที่วัดโพธิ์ และตามที่ตางๆ ในภาคใตเปนหลักฐานยืนยันถึงการติดตอระหวางลาวกับเขมรในสมัยโบราณ

South East Asia/วสันต+ย่ิงรัก

1-22

รูปท่ี 1 ที่ตั้ง และอาณาเขตของประเทศลาว (http:// www.infoplease.com)

South East Asia/วสันต+ย่ิงรัก

1-23

รูปท่ี 2 ลักษณะทางภูมิศาสตร (Geography) ของประเทศลาว (http://www.worldatlas.com)

South East Asia/วสันต+ย่ิงรัก

1-24

1.2.4 กัมพูชาประชาธิปไตย

ที่ตั้ง และอาณาเขต ประเทศกัมพูชา หรือเขมร ตั้งอยูบริเวณเอเชียตะวันออกเฉียงใต มีตําแหนงทางภูมิศาสตรอยูระหวางเสนแวงที่ 102 ถึง 108 องศาตะวันออก และเสนรุงที่ 10 ถึง 15 องศาเหนือ แบงการปกครองออกเปน 22 จังหวัด มีพื้นทีรวมทั้งหมดของประเทศเทากับ 181,040 ตารางกิโลเมตร คิดเปนพื้นที่ดิน 176,520 ตารางกิโลเมตร และพื้นที่น้ํา 4,520 ตารางกิโลเมตร โดยมีอาณาเขตติดตอกับประเทศตาง ๆ ดังนี้

- ติดตอกับประเทศไทย ทางทิศตะวันตกและทิศเหนือ 800 กิโลเมตร - ติดตอกับประเทศลาว ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ 541 กิโลเมตร - ติดตอกับประเทศเวียดนาม ทางทิศตะวันออกและทิศตะวันออกเฉียงใต 1,228 กิโลเมตร - มีพื้นที่ชายฝงติดตอกับอาวไทย ทางดานทิศใต 443 กิโลเมตร

สภาพภูมิประเทศ

ลักษณะภูมิประเทศของประเทศกัมพูชา สามารถแบงออกไดเปน 3 สวนไดแก 1). เขตที่ราบสูงและชายฝงทะเลภาคตะวันตกเฉียงใต บริเวณนี้มีลักษณะคลายคลึงกับภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทยมาก กลาวคือ มี

ลักษณะเปนที่ราบสูง เทือกเขาที่สําคัญ ไดแก เทือกเขาคาดามอนด (Cadamon) ซึ่งเปนเทือกเขาที่ตอมาจากเทือกเขาบรรทัดในภาคตะวันออกของประเทศไทย ยอดสูงที่สุดคือ พนมอูราน (Phnom Aural) มีความสูง 813 เมตร และเทือกเขาชาง หรือที่มักเรียกกันวา Elephant Range มีความสูงอยูระหวาง 500-1,000 เมตร ประชากรประกอบอาชีพปาไม ปลูกยางพารา มันสําปะหลัง ยาสูบ และทําอัญมณี

บริเวณที่ติดตอกับอาวไทย มีลักษณะเปนชายฝงตอจากภาคตะวันออกของประเทศไทย ประชากรประกอบอาชีพทําประมงน้ําเค็มเปนหลัก

2). เขตเทือกเขาสูงภาคเหนือ เทือกเขาที่สําคัญในบริเวณนี้ ไดเเก เทือกเขาพนมดงรัก ซึ่งเปนเทือกเขาที่เปนแนวแบง

พรมแดนระหวางประเทศไทยและกัมพูชา มีความสูงเฉล่ีย 500 เมตร มีลักษณะภูมิประเทศที่เปนเทือกเขาทอดยาวไปถึงประเทศลาว และเวียดนาม ประชากรประกอบอาชีพปลูกยางพาราเปนหลัก

3). เขตที่ราบภาคกลาง พื้นที่บริเวณนี้เปนบริเวณที่คลุมพื้นที่มากที่สุดของกัมพูชา มีลักษณะภูมิประเทศเปนที่ราบที่

เกิดจากการทํางานของทางน้ํา ทําใหเกิดเปนดินดอนสามเหล่ียมปากแมน้ําขนาดใหญ เพราะเปนที่

South East Asia/วสันต+ย่ิงรัก

1-25

บรรจบกันของทะเลสาบเขมร และแมน้ําโขง พื้นที่ทั้งหมดในบริเวณนี้อยูต่ํากวา 100 เมตรเหนือระดับน้ําทะเล แหลงน้ําขนาดใหญที่สําคัญ คือ ทะเลสาบเขมร (Tonle Sap or Great Lake) มีพื้นที่ครอบคลุม 2,590 ตารางกิโลเมตรในฤดูแลง และมีพื้นที่ 24,650 ตารางกิโลเมตรในฤดูน้ําหลาก แหลงน้ําอีกแหลงคือ แมน้ําโขงที่ไหลมาจากชายแดนไทย-ลาว เขาสูประเทศกัมพูชา แลวไหลออกทางประเทศเวียดนาม

ดวยลักษณะภูมิประเทศดังกลาว ประชากรที่อาศัยอยู ในบริเวณนี้ จึงประกอบอาชีพเกษตรกรรม คือ ทํานาขาว ปลูกยางพารา ปลูกตาล เพื่อนํามาทําน้ําตาล ปลูกขาวโพด ถั่ว และอาชีพประมงน้ําจืด นอกจากนี้ยังเปนแหลงทองเที่ยวที่สําคัญแหงหนึ่งของเอเชียตะวันออกเฉียงใตอีกดวย

เมืองที่สําคัญของประเทศกัมพูชา มีอยูประมาณ 5-6 เมือง ไดแก 1. พนมเปญ (Phnompenh) เปนเมืองหลวงของประเทศกัมพูชา ดวยเหตุที่เปนบริเวณที่

ทะเลสาบเขมร และแมน้ําโขงไหลมาบรรจบกัน จึงเปนแหลงทรัพยากรธรรมชาติที่อุดมสมบูรณทั้งที่ดิน และแหลงน้ํา

2. พระตะบอง (Battambang) เนื่องจากเปนเมืองที่มีทางรถไฟผานจากประเทศไทย จึงเปนเมืองชุมนุมการคาที่ใหญที่สุดในกัมพูชา

3. กําปงโสม (Kampongsom) เปนเมืองทาสําคัญทางการติดตอคาขายกับตางประเทศ 4. เสียมราฐ (Siemreab) เปนเมืองประวัติศาสตรที่มีโบราณสถานที่สําคัญคือ นครวัด ซึ่งเปน

สถาปตยกรรมลือชื่อ สรางดวยศิลาสลักลวดลายอันวิจิตร เพื่อเฉลิมพระเกียรติพระเจาสูรยวรมันที่ 2 เม่ือพ.ศ. 1655-1695 เปนสุสานฝงศพกษัตริยองคนี้ สวนนครหลวง หรือ นครธน ซึ่งอยูไมไกลนัก เปนเมืองราง ยังมีซากปรักหักพังปรากฏอยูมาก เหลือไวแตรองรอยใหเห็นความยิ่งใหญในศิลปกรรมโบราณของเขมร

5. สะตึงเตรง (Stungtreng) กระเตีย (Krateng) กําปงจาม (Kampongcham) เนื่องจากเมืองทั้ง 3 ตั้งอยูขางแมน้ําโขง จึงเปนแหลงประมงน้ําจืดที่สําคัญอีกแหลงหนึ่ง นอกเหนือจากทะเลสาบเขมร (Tonle Sap)

เม่ือพิจารณาจากแผนทีในสมัยอาณาจักรขอมเทียบกับแผนที่ในปจจุบันแลว พบวามีความแตก ตางกันในดานอาณาเขต กลาวคือน้ําทะเลรุกลํ้าเขาไปถึงทะเลสาบเขมร จึงสันนิษฐานวาบริเวณที่ราบภาคกลางของกัมพูชานาจะมีการกําเนิดมาจากดินดอนสามเหล่ียมปากแมน้ํา โดยบริเวณปากแมน้ําอยูบริเวณชองเม็ก อําเภออรัญประเทศ จังหวัดสระแกว ของประเทศไทย

South East Asia/วสันต+ย่ิงรัก

1-26

รูปท่ี 1 ที่ตั้ง และอาณาเขตของประเทศกัมพูชา (http://www.worldfacts.us

South East Asia/วสันต+ย่ิงรัก

1-27

รูปท่ี 2 ลักษณะทางภูมิศาสตร (Geography) ของประเทศกัมพูชา (http://www.worldatlas.com)

South East Asia/วสันต+ย่ิงรัก

1-28

1.2.5 สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม

ที่ตั้ง และอาณาเขต ประเทศเวียดนามมีพื้นที่ 330,360 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 0.2% ของพื้นที่โลก ใหญเปนอันดับ 4 ของประเทศในแถบเอเชียอาคเนย มีสวนที่ยาวที่สุดประมาณ 1,600 กิโลเมตร ประเทศเวียดนามตั้งอยูระหวางละติจูดที่ 8o 34' กับ 17o เหนือ และระหวางลองจิจูด 104o 27' กับ 109o 28' ตะวันออก มีอาณาเขตติดตอกับประเทศตางๆ ดังนี้ (รูปที่ 1)

- ติดตอกับประเทศจีน ทางทิศเหนือ ยาวประมาณ 1,150 กิโลเมตร - ติดตอกับประเทศลาว ทางทิศเหนือและทางทิศตะวันตก 1,650 กิโลเมตร - ติดตอกับประเทศกัมพูชา ทางทิศตะวันตก 930 กิโลเมตร - และมีชายฝงทะเล ยาวประมาณ 3,260 กิโลเมตร

ประเทศเวียดนามอางกรรมสิทธิ์เหนือไหลทวีปบริเวณทะเลจีนไดอีก ประมาณ 500,000 ตารางกิโลเมตร ซึ่งรวมเอาหมูเกาะพาราเซล (Paracell Islands) และหมูเกาะสแปรตล่ี (Spratly Islands) เอาไวดวย โดยที่ยังตกลงกันไมไดเกี่ยวกับการอางสิทธิ์เหนือหมูเกาะเหลานี้

สภาพภูมิศาสตร ลักษณะรูปรางของประเทศเวียดนามคลายกับตนถั่วงอก โดยสามารถเเบงออกไดเปน 3 สวน

ตามรูปรางและลักษณะของภูมิประเทศไดแก (รูปที่ 2) 1. เขตภูเขา และที่ราบทางตอนเหนือ 2. เขตที่ราบสูง และชายฝงทางตอนกลาง 3. ที่ราบทางตอนใต

1. เขตภูเขา และที่ราบทางตอนเหนือ เทือกเขาที่สูงที่สุดของเวียดนามอยูทางดานทิศตะวันตกของสวนนี้ คือ เทือกเขาฟานซีปาน

(Fansian) 3,143 เมตร สูงที่สุดในอินโดจีน เเละเทือกเขาหวางเลียนเซิน (Hoang Lien Son) ซึ่งใหน้ําในปริมาณมากแกแมน้ําแดง และแมน้ําดํา ที่ราบลุมแมน้ําแดง มีพื้นที่ประมาณ 16,000 ตารางกิโลเมตร มีความสูงจากระดับน้ําทะเลโดยเฉล่ียเพียง 0.3-10 เมตร แตละปน้ําจะพัดพาตะกอนมาสะสมกันที่ปากอาว และจะขยายดินแดนออกไปอีกประมาณ 100 เมตร

2. เขตที่ราบสูง และชายฝงตอนกลาง ที่ราบสูงตอนกลางของประเทศ เปนสวนหนึ่งของเทือกเขาอันนัม (Annam) จากทางทิศเหนือ

ลงมาทางทิศใต ประกอบดวยที่ราบสูงหลายแหง ซึ่งมีเนื้อที่รวมกันประมาณ 37,000 ตารางกิโลเมตร มี

South East Asia/วสันต+ย่ิงรัก

1-29

ความความสูงจากระดับน้ําทะเลโดยเฉล่ียมากกวา 1,500 เมตร ชายฝงทางดานตะวันออกของประเทศเวียดนามติดกับอาวตังเกี๋ย (Gulf of Ton Kin) มีลักษณะยาว และแคบ นอกจากนี้บางแหงมีน้ําตื้นเขินมาก จากฝงออกไป 1,000 ถึง 10,000 เมตร น้ํามีความลึกเพียง 5 เมตรเทานั้น

3. ที่ราบตอนใต ที่ราบตอนใต หรือที่ราบลุมแมน้ําโขง (ที่ราบลุมนามโบะ–Nambo)) มีบริเวณกวางประมาณ

61,000 ตารางกิโลเมตร ในแตละปน้ําจะพัดพาตะกอนมาสะสมตัวกันที่ปากอาวแมน้ําโขง จึงทําใหขยายดินดอนออกไปประมาณ 60-80 เมตร

แมน้ําที่สําคัญของประเทศเวียดนาม ไดแก แมน้ําเเดง (Red River) แมน้ําดํา (Black River) แมน้ํามา แมน้ําคา ซึ่งอยูทางตอนเหนือของประเทศ โดยที่แมน้ําสวนใหญในประเทศเวียดนาม จะไหลจากทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือสูทางทิศตะวันออกเฉียงใต สวนทางตอนใตของประเทศมีแมน้ําที่สําคัญ ไดแก แมน้ําโขง แมน้ําไซงอน (Saigon River)

เมืองที่สําคัญของประเทศเวียดนาม มี 4 เมือง ไดแก 1. ฮานอย (Ha Noi) เปนเมืองหลวงที่ตั้งอยูบนฝงแมน้ําแดง 2. ไฮฟอง (Hai Phong) เปนเมืองทาที่สําคัญ และเปนศูนยกลางอุตสาหกรรมของ

ประเทศ 3. ดานัง (Da Nang) เดิมชื่อ ดูเรน เปนเมืองทาที่สําคัญทางริมฝงทะเลดานตะวันออก 4. นครโฮจิมินห (Ho Chi Minh City) เดิมชื่อ ไซงอน (Saigon) เปนอดีตเมืองหลวงเกา

อยูลึกจากทะเลเขาไป 80 กิโลเมตร เปนเมืองทาบนฝงแมน้ําไซงอน (Saigon)

South East Asia/วสันต+ย่ิงรัก

1-30

รูปท่ี 1 ที่ตั้ง และอาณาเขตของประเทศเวียดนาม (http:// www.infoplease.com)

South East Asia/วสันต+ย่ิงรัก

1-31

รูปท่ี 2 ลักษณะทางภูมิศาสตร (Geography) ของประเทศเวียดนาม (http://www.worldatlas.com)

South East Asia/วสันต+ย่ิงรัก

1-32

1,2,7 ประเทศมาเลเซีย ที่ตั้ง และอาณาเขต ประเทศมาเลเซีย (รูปที่ 1) ตั้งอยูทางดานตะวันออกเฉียงใตของทวีปเอเชีย มีขนาดใหญเปนอันดับ 5 รองลงมาจากประเทศอินโดนิเซีย พมา เวียดนาม และไทย ตั้งอยูที่ละติจูด 2o 30' เหนือ และ ลองจิจูด 112o 30' ตะวันออก ประกอบดวยดินแดน 2 สวนใหญ ๆ คือ มาเลเซียตะวันตก และมาเลเซียตะวันออก ซึ่งอยูหางกันประมาณ 600 กิโลเมตร โดยมีทะเลจีนใตเปนตัวกั้น เดิมเปนดินแดนที่มีการปกครองตางหากแยกจากกัน เนื่องจากเคยเปนอาณานิคมของอังกฤษ แตตอมาไดมารวมเปนประเทศเดียวกัน เม่ือ พ.ศ.2506 มีเนื้อที่ทั้งหมดประมาณ 329,750 ตารางกิโลเมตร ประกอบดวยพื้นดิน 328,550 ตารางกิโลเมตร และพื้นน้ํา 1,200ตารางกิโลเมตร ซึ่งแตละสวนมีรายละเอียดโดยยอ ดังนี้

- มาเลเซียตะวันตก ไดแก ดินแดนที่อยูในคาบสมุทรมลายู หรือมาลายา ติดกับชายแดนทางดานทิศใตของประเทศไทย มีเนื้อที่ประมาณ 132,472 ตารางกิโลเมตร มีชายฝงทะเลทั้งหมด 2,068 กิโลเมตร ประกอบดวยรัฐตางๆ 11 รัฐ คือ รัฐปะลิส (Perlis) รัฐไทรบุรี (เคดาร-Kedah) รัฐเประ (Perak) รัฐกลันตัน (Kelantan) รัฐตรังกานู (Terengganu) รัฐปาหัง (Pahang) รัฐเนกรีเซมบิลัน (Negeri Sembilan) รัฐสลังงอ (Selangor) รัฐยะโฮร (Johor) รัฐปนัง (Penang) และรัฐมะละกา (Malacca)

- มาเลเซียตะวันออก ไดแก ดินแดนทางภาคเหนือของเกาะบอรเนียว (Borneo) ทางตอนกลางดานเหนือ ติดกับประเทศบรูไน สวนทางดานใต ติดกับประเทศอินโดนีเซีย มีเนื้อที่ประมาณ 197,278 ตารางกิโลเมตร มีชายฝงทะเล 2,607 กิโลเมตร ประกอบดวยรัฐ 2 รัฐ คือ รัฐซาราวัก (Sarawak) และรัฐซาบาร (Sabah-บอรเนียวเหนือ)

สภาพภูมิศาสตร แบงตามลักษณะภูมิประเทศ ดังนี้ (รูปที่ 2)

- มาเลเซียตะวันตก แบงออกเปน 3 บริเวณ คือ 1. ที่ราบสูงตอนกลาง ประกอบดวยเทือกเขาใหญหลายเทือก ปกคลุมดวยปาทึบเปน

บริเวณกวาง มีสัตวปาชุกชุม 2. ชายฝงทะเลดานตะวันตก ประกอบดวยปาชายเลนยาวตอเนื่องกัน มีพื้นที่เปน

หลม บึง 3. ชายฝงทะเลดานตะวันออก ประกอบดวยหาดทรายยาว จึงทําใหไมเหมาะแกการ

ใชทําเปนทาเรือ บริเวณแถบริมฝงทะเลทั้ง 2 ดาน เปนพื้นที่ราบที่มีความอุดมสมบูรณมาก และเหมาะ

แกการเพาะปลูก เชน การทําสวนยางพารา การทํานาขาว สวนมะพราว และสวนผลไม สวน

South East Asia/วสันต+ย่ิงรัก

1-33

บริเวณนอกชายฝงทะเลไกลออกไป มีเกาะเล็กๆ เปนจํานวนมาก ที่สําคัญ ไดแก เกาะลังกาวี และเกาะปนัง - มาเลเซียตะวันออก พื้นที่โดยทั่วไปเปนที่สูง ประกอบดวยปาทึบและภูเขาสูงใหญ บางยอดสูงเกินกวา 1,000 เมตร

โดยมีที่ราบขนาดยอมอยูตามริมฝงทะเล และแมน้ํามักเปนสายส้ันๆ ที่ไหลเชี่ยวผานหุบเขาที่แคบและลาดชัน ไปออกสูทะเลทางดานตะวันตกของประเทศ

ภูเขาที่สําคัญ ไดแก ภูเขาที่อยูทางภาคเหนือของรัฐซาบาห (Sabah) โดยยอดเขาที่สูงที่สุดในประเทศมาเลเซีย คือ ยอดเขากินาบูลู ที่มีความสูง 4,095 เมตร จากระดับน้ําทะเลปานกลาง

แมน้ําที่สําคัญ ไดแก แมน้ําปาหัง ในรัฐปาหัง (Pahang) มีความยาวประมาณ 480 กิโลเมตร และเปนแมน้ําที่ยาวที่สุดในประเทศมาเลเซีย

เมืองสําคัญในประเทศมาเลเซีย มี 4 เมือง ไดแก 1. เมืองกัวลาลัมเปอร (Kuala Lampur) เปนเมืองหลวงของประเทศ และเปนเมืองที่

ใหญที่สุด อยูในรัฐสลังงอ (Selangor) โดยเปนเมืองที่มีถนนหนทางที่สวยงาม เปนชุมทางของการเดินทางโดยถนน รถไฟ และทางอากาศ มีทาเรือ “ปอรต สเว็ตเต็นเเฮม” ที่อยูหางออกไปทางดานตะวันตก เปนระยะทาง ประมาณ 48 กิโลเมตร เปนเมืองศูนยกลางทางธุรกิจการคาเเละการเงินของประเทศ มีกรีฑาสถาน ชื่อ “เมอรเดกา” ที่ใหญโตและโออาที่สุด แหงหนึ่งในเอเชียตะวันออกเฉียงใต

2. เมืองยอรชทาวน (George Town) เปนเมืองหลวงของรัฐปนัง (Penang) โดยคนทั่วไปมักเรียกเมืองนี้ตามชื่อของรัฐวา “ปนัง” เปนเมืองทาปลอดภาษีที่สําคัญทางชองแคบมะละกา โดยเรือเดินสมุทรมักจะแวะรับสงสินคาเปนประจํา เกาะปนัง มีเนื้อที่ประมาณ 170 ตารางกิโลเมตร ประกอบดวยพื้นที่ที่เปนเนินเขาเตี้ยๆ มียอดเขา ชื่อ “ปนังฮิลล” สูงประมาณ 823 เมตร มีรถที่แลนไปไดโดยมีสายลวดดึง (cable car) เพื่อข้ึนสูยอดเขาและชมทัศนียภาพที่อยูโดยรอบ มีน้ําตกและสวนพฤกษชาติอันรมร่ืน เปนเมืองที่นาทองเที่ยวเมืองหนึ่งของประเทศมาเลเซีย

3. เมืองมะละกา (Malacca) เปนเมืองที่มีความสําคัญทางดานประวัติศาสตรของประเทศมาเลเซีย ตั้งอยูบริเวณชายฝงทางดานตะวันตกของคาบสมุทรมลายู มีอาคารส่ิงปลูกสรางแบบโบราณ ซึ่งเปนสถาปตยกรรมที่ชาวโปรตุเกส และเนเธอรแลนด ไดสรางไวเม่ือหลายรอยปมาแลว เชน ประตูเมืองเกา โบสถโรมันคาทอลิก มีวัดจีน และสุเหรามุสลิมในสมัยเกา ที่ไดทําการอนุรักษและรักษาไว ใหนักทองเที่ยวไดเยี่ยมชมอีกหลายแหง

4. เมืองอีโปห (Ipoh) ตั้งอยูบนเสนทางรถไฟสายสําคัญกลางรัฐเประ (Perak) เปนเมืองศูนยกลางการคาในบริเวณเหมืองเเรดีบุกขนาดใหญ

South East Asia/วสันต+ย่ิงรัก

1-34

รูปท่ี 1 ที่ตั้ง และอาณาเขตของประเทศมาเลเซีย (ที่มา http:// www.lib.utexas.edu)

South East Asia/วสันต+ย่ิงรัก

1-35

รูปที่

2 ลักษ

ณะทา

งภูมิศ

าสตร

(Geo

graph

y) ขอ

งประเ

ทศมา

เลเซีย

(ที่มา

http

://www

.world

atlas.c

om)

South East Asia/วสันต+ย่ิงรัก

1-36

1.3 ภูมิหลังและคําจํากัดความ ในท่ีนี้เราใหคําจํากัดความของธรณีสัณฐานประเทศไทยไวดังนี้ ธรณีสัณฐานประเทศไทย

(Geotectonic of Thailand) หมายถึง กระบวนการท่ีทําใหเปลือกโลกในสวนประเทศไทยและขางเคียงเกิดการเปล่ียนแปลงลักษณะไปอันเปนผลเนื่องมาจากแรงท่ีมากระทําจากภายในโลก(หรือนอกโลก) ซ่ึงอาจมีตนกําเนิดอยูนอกประเทศไทยหรือในประเทศไทยก็ได และมีการกระทําตอเนื่องเรื่อยมา ตั้งแตอดีตจนถึงปจจุบันและในอนาคต อีกท้ังยังผลใหไดภูมิลักษณประเทศไทยขึ้น 1.1 ประวัติธรณีแปรสัณฐาน

ถาจะวาไปการศึกษาธรณีแปรสัณฐานประเทศไทยมีมาตั้งนานแลว แตในชวงแรกๆ เราไมไดเนนการศึกษาเรื่องนี้เลย เนื่องจากไมเปนท่ียอมรับเทาใดนัก บางก็วาเรามีหลักฐานไมเพียงพอบาง หรือศึกษาโดยไมละเอียดแลวดวนสรุปบาง ทําใหแนวคิดทางดานนี้ของเราลาหลังกวาเพ่ือนบานขางเคียง เชน มาเลเซีย หรือแมแตเวียดนามเอง ซ่ึงในปจจุบันผลิตนักธรณีวิทยามากมายจนมีแนวคิดเรื่องธรณีแปรสัณฐานกาวไกลไมนอยหนาไทยเราเลย แมตอนเริ่มตนจะเริ่มหลังจากเราดวยซํ้า

ตองยอมรับวาการศึกษาธรณีแปรสัณฐานประเทศไทยจําเปนตองอาศัยพ้ืนฐานความรูทางธรณีวิทยาประเทศไทยแทบทุกสาขา ซ่ึงความรูของเราดานนี้เริ่มขึ้นกอนท่ีจะมีการกอตั้งกรมทรัพยากรธรณี (หรือกรมโลหกิจ)เสียอีก คือนับถอยหลังไปมากกวา 200 ป มาแลว คือประมาณป พ.ศ. 2434 (ค.ศ. 1891) ซ่ึงตอนนั้นเรายังไมมีนกัธรณีวิทยาชาวไทยและเราไมมีการบันทึกไวเปนหลักฐานอยางจริงจัง จะมีก็เม่ือประมาณ พ.ศ. 2457 (ค.ศ.1914) โดยเริ่มจากชาวตางประเทศ จากการบันทึกของ B. Hogbom ในรายงานการสํารวจธรณีวิทยา แหงมหาวิทยาลัยอุปซาลา(University Uppsala) ภายใตช่ือเรียกวาธรณีวิทยาและลักษณะภูมิประเทศของสยาม(ความยาว 63 หนา) ตอมาจึงมีนักธรณีวิทยาของตางประเทศเขามาเรื่อยๆ ตอจากนั้นมาอีกเกือบ 10 ป จึงเริ่มมีบันทึกดานธรณีวิทยาอีกโดยนักธรณีวิทยาของอเมริกาช่ือ Wallace Lee ประมาณปพ.ศ. 2466 ไดเขามาทําการสํารวจโดยการวาจางของการรถไฟแหงประเทศไทย เพ่ือดูความเปนไปไดในการสรางทางไปทางภาคเหนือของประเทศไทย โดยไดเสนอรายงานการสํารวจท้ังหมด 16 หนา สําหรับประเทศไทยเรา (Lee,1923) นักธรณีวิทยาชาวไทยรุนแรกๆท่ีไดรวมทําการเสนอผลงานทางธรณีวิทยา เห็นจะไดแกการศึกษาของกลุมนักธรณีวิทยาชาวอเมริกนั (ดู Brown, 1951) ซ่ึงเสนอเรื่อง การสํารวจธรณีวิทยาขั้นเริ่มตนแบบบริเวณกวางของแหลงแรในประเทศไทย กลุมนักธรณีวิทยาไทยดังกลาวไดแก สมาน บูราวาส, นิธิพัฒน ชาลีจันทร, ชุมเวต จรัลชวนเพท และวิชาญ เศรษฐบุตร ซ่ึงพ้ืนฐานของทานเหลานั้นมาจากวิศวกรแทบท้ังส้ัน

แตในตอนนั้นการศึกษาธรณีวิทยาของไทยเราเปนลักษณะการสํารวจธรณีวิทยาท่ีเนนหนักดานการทําแผนท่ีเปนสวนใหญ ไมคอยมีการพูดถึงการเกิดหรือส่ิงท่ีทําใหเกิดเทาใดนัก อาจเปนเพราะประเทศเราเพ่ิงเริ่มมีการศึกษาวิทยาการดานนี้มาไมเทาใดจึงนับไดวาเปนวชิาท่ีใหมมากสําหรับนักวิทยศาสตรและก็ตองยอมรับวากอนหนาจะมีทฤษฎีการแปรสัณฐานนั้น สวนใหญอธิบายการเกิดเหตุการณ

South East Asia/วสันต+ย่ิงรัก

1-37

ทางธรณีวิทยาดานแองธรณีหรือธรณีแอนตัว(geosyncline) เหมือนกันหมด ซ่ึงถึงแมทําใหเกิดพ้ืนฐานนําไปสูธรณีแปรสัณฐานขึ้นก็ตาม ในไทยก็เหมือนกันดเูหมือนคนแรกท่ีพูดถึงเรื่องธรณีแอนตัวของไทยเรา เห็นจะไดแก อาจารยโคบายาชิ ศาสตราจารยทางดานบรรพชีวินวิทยาจากประเทศญี่ปุน ซ่ึงพูดถึงเรื่องธรณีแอนตัวท่ีเรียกยูนาน-พมา-มาเลยา (Yunan-Burmese-Malayan Geosyncline, ดู Kobayashi, 1964) วามีโครงสรางซับซอนของช้ันหินตั้งแตอายุพรีแคม-เบรียนจนถึงมหายุคเมโซโซอิค ซ่ึงอยูทางดานตะวันตกโดยนับรวมตั้งแตหิมาลัยดานตะวันออก ยูนาน ของจีนใต, พมาฝงตะวันออกจนมาถึงไทยและมาเลเซีย ซ่ึงมีลักษณะโครงสรางแตกตางอยางเห็นไดชัดกับทางตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศ ซ่ึงสวนใหญเปนช้ันหินคดโคงเพียงเล็กนอย ไมรุนแรงเหมือนทางดานตะวันตก ท่ีเรียกอินโดจีน(Indochina) หรือ Khorat geosyncline of Continental Mollasse) ซ่ึงมีอิทธิพลตอการศึกษาธรณีวิทยาในแถบภูมิภาคนี้อยางมาก เพราะตอมาอาจารยเบอรตันก็ไดอางถึงผลการเทียบเคียงซากบรรพชีวินแกรบโตไลตและเทนตาคูไลตในบริเวณธรณีแอนตัวยูนาน-มาลายาเหมือนกัน(Burton,1969)

ดวยเหตุนี้ทําใหการศึกษาลําดับตอมาไมวาจะเปนการสํารวจธรณีวิทยาในภาคเหนือของประเทศไทย โดยกลุมนักธรณีวิทยาเยอรมัน-ไทย ก็พยายามอธิบายการเกิดลําดับช้ันหินและธรณีวิทยาแหลงแรโดยอาศัยพ้ืนความรูเกี่ยวกับธรณีแอนตัวดังกลาวนี้ (ดู Baum และคณะ, 1970) ในรายงานการวิจัยของอาจารยโคบายาชิในชวงหลัง โดยอาศัยซากดึกดําบรรพก็ยังคงรักษาคําวา ธรณีแอนตัว พมา-มาลายาอยู (ดู Kobayashi, 1972, 1973) และแมแต สงัด พันธุโอภาส (จากกองธรณีวิทยา กรมทรัพยากรธรณี) ซ่ึงเราถือไดวาเปนผูบุกเบิกงานทางดานธรณีแปรสัณฐานประเทศไทยอยางเปนระบบ ขึ้นเปนคนแรก และไดเขียนผลงานการวิจัยเกี่ยวกับลําดับช้ันหินในประเทศไทยท่ีลงในวารสารสมาคมธรณีวิทยาแหงประเทศไทย(ดู Bunopas, 1976) ก็ไดอธิบายการกําเนิดช้ันหินของประเทศไทยโดยอาศัยทฤษฎีธรณีแอนตัวนี ้

การศึกษาเรื่องธรณีแปรสัณฐานประเทศไทยไดเริ่มขึ้นอยางตอเนื่อง นับตั้งแตอาจารยฮัทชิสัน (Charles Hutchison) จากมหาวิทยาลัยมาลายา แหงนครกัวลาลัมเปอร(ดู Hutchison, 1973) ไดออกบทความความวิชาการท่ีสําคัญมากเรื่องวิวัฒนาการแปรสัณฐานของแผนดินซูนดา ซ่ึงนับวาเปนบทความทางดานการแปรสัณฐานฉบับแรกของเอเชีย เนื่องจากในตอนนั้นไมคอยมีผูใดกลาเสนอบทความเกี่ยวกับการแปรสัณฐานเทาใดนัก เพราะหาขอมูลสนับสนุนไมไดมาก (คําวาซุนดา มาจากภาษาอินโดนีเซีย หมายถึงนานน้ําตื้นในบริเวณรอบหมูเกาะชวา สุมาตรา และบอเนียว ซ่ึงเม่ือกอนใกลกันอาณานิคมโดยรวมของอังกฤษและฝรั่งเศสซ่ึงรวมถึงประเทศไทยดวย) จะเห็นไดวาในชวงปเดียวกันแนวคิดของคนยุโรป (เชน Hutchison, 1973) มีความตางกันเม่ือเทียบกับแนวคิดของคนเอเชีย (เชน Kobayashi, 1973)

ในชวงเวลาใกลเคียงกันนักธรณีวิทยาชาวอังกฤษผูบุกเบิกยานเอเชียตะวันออกเฉียงใตเหมือนกัน ช่ือมิชเชลล (A.H.G Mitchell) ไดเสนอบทความเรื่องการกําเนิหินแกรนิตท่ีสัมพันธกับแรดีบุกโดยอาศัยแนวคิดานการแปรสัณฐานของเอเชียตะวันออกเฉียงใต(ดู Mitchell, 1976 และ 1977)