วิเคราะห รสวรรณคด ีที่ปรากฏในน...

126
วิเคราะหรสวรรณคดีที่ปรากฏในนิทานเวตาล ฉบับพระนิพนธกรมหมื่นพิทยาลงกรณ ตามทฤษฎีรสวรรณคดีสันสกฤต วิทยานิพนธ ของ ภัสรธีรา ฉลองเดช เสนอตอมหาวิทยาลัยทักษิณ เพื่อเปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตร ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต วิชาเอกภาษาไทย ธันวาคม 2548 ลิขสิทธิ์เปนของมหาวิทยาลัยทักษิณ ISBN 974 – 451 – 802 – 2

Upload: others

Post on 17-May-2020

10 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: วิเคราะห รสวรรณคด ีที่ปรากฏในน ...kb.tsu.ac.th/jspui/bitstream/123456789/483/1/101310.pdfว เคราะห รสวรรณคด

วิเคราะหรสวรรณคดีท่ีปรากฏในนิทานเวตาล ฉบับพระนิพนธกรมหมื่นพิทยาลงกรณ ตามทฤษฎีรสวรรณคดีสันสกฤต

วิทยานิพนธ

ของ ภัสรธีรา ฉลองเดช

เสนอตอมหาวิทยาลัยทักษิณ เพื่อเปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตร ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต วิชาเอกภาษาไทย

ธันวาคม 2548 ลิขสิทธ์ิเปนของมหาวิทยาลัยทักษิณ

ISBN 974 – 451 – 802 – 2

Page 2: วิเคราะห รสวรรณคด ีที่ปรากฏในน ...kb.tsu.ac.th/jspui/bitstream/123456789/483/1/101310.pdfว เคราะห รสวรรณคด

คณะกรรมการควบคุมและคณะกรรมการสอบ ไดพิจารณาวิทยานิพนธฉบับนี้แลว เห็นสมควรรบัเปนสวนหนึง่ของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาการศึกษามหาบณัฑติ วิชาเอกภาษาไทย ของมหาวิทยาลัยทักษณิได คณะกรรมการควบคุม ...........................................................................ประธานกรรมการ ( ผูชวยศาสตราจารยจําเรญิ แสงดวงแข ) ...........................................................................กรรมการ ( ผูชวยศาสตราจารยนิดา มีสุข ) คณะกรรมการสอบ ...........................................................................ประธานกรรมการ ( ผูชวยศาสตราจารยจําเรญิ แสงดวงแข ) ...........................................................................กรรมการ ( ผูชวยศาสตราจารยนิดา มีสุข ) ...........................................................................กรรมการที่แตงตั้งเพิ่มเติม ( รองศาสตราจารยยุรฉัตร บุญสนิท ) ...........................................................................กรรมการที่แตงตั้งเพิ่มเติม ( อาจารยบัวงาม หอแกว ) มหาวิทยาลัยทกัษิณอนุมัติใหรับวิทยานพินธฉบับนี้ เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาการศึกษามหาบัณฑติ วิชาเอกภาษาไทย ของมหาวิทยาลัยทักษิณ ...............................................รักษาการในตาํแหนงคณบดบีัณฑิตวิทยาลยั ( อ.ดร.สมศักดิ์ โชคนุกูล ) วันที่ ........... เดือน ...ธันวาคม.. พ.ศ. ..2548...

Page 3: วิเคราะห รสวรรณคด ีที่ปรากฏในน ...kb.tsu.ac.th/jspui/bitstream/123456789/483/1/101310.pdfว เคราะห รสวรรณคด

ประกาศคุณูปการ วิทยานพินธฉบับนี้สําเร็จลุลวงไดดวยด ี เพราะความกรุณาและการอนเุคราะหจาก ผูชวยศาสตราจารยจําเริญ แสงดวงแข ประธานกรรมการควบคุมวิทยานิพนธและ ผูชวยศาสตราจารยนิดา มีสุข กรรมการควบคุมวิทยานพินธ ที่ไดใหคําแนะนําและขอคิดเห็นสําคัญยิ่งหลายประการ แกไขขอบกพรองตางๆ ตลอดจนตรวจแกสํานวนภาษา เพือ่ใหสามารถส่ือสารไดดียิ่งขึ้น ผูวิจัยรูสึกซาบซึ้งและขอกราบขอบพระคุณเปนอยางสูงไว ณ ทีน่ี้ ขอกราบขอบพระคุณรองศาสตราจารยยุรฉัตร บุญสนิท และอาจารยบัวงาม หอแกวกรรมการที่แตงตั้งเพิ่มเติมทีไ่ดใหคําแนะนําเพื่อปรับปรุงแกไขวิทยานพินธใหมีความสมบูรณยิ่งขึน้ ตลอดจนขอกราบขอบพระคุณคณาจารย ภาควิชาภาษาไทยฯ ทกุทานของมหาวิทยาลัยทักษิณทีไ่ดประสิทธิ์ประสาทความรูแกผูวิจัย ขอขอบพระคุณ คุณสุเทพ อินทรตัน คุณซมา โยะหมาด คุณดวงฤทัย ชํานาญเพาะ วาที่รอยตรีสมศักดิ์ หลังชาย และเพื่อนครโูรงเรียนบานวังสายทอง ที่ไดใหโอกาส สนับสนุนและใหความชวยเหลือแกผูวจิัยดวยดีเสมอมา ขอขอบคุณปยมิตรทั้งสาม คือ คุณสายพิมพ แกลวทนงค คุณสมพิส พรหมทอง และคุณศุภวรรณ มีแกว นิสิตปริญญาโทวิชาเอกภาษาไทย ภาคพิเศษ ป 2545 ที่คอยชวยเหลือและเปนกําลังใจแกผูวิจยัมาโดยตลอด ขอขอบพระคุณ คุณธีระยุทธ ชาตรี คุณอมรรัตน ชมเชย คุณสายสวาท บินรินทร คุณสําเริง ทองสง คุณนิยอ บาฮา ที่เปนเพื่อนคอยรับฟงเรื่องราวตางๆ และใหกําลังใจ สนับสนนุจนกระทั่งผูวิจยัประสบความสําเร็จ ขอขอบพระคุณ ผูชวยศาสตราจารยนายแพทยพีระพัฒน หวนัดะหวา ที่เปนกําลังใจ คอยใหคําปรึกษา พรอมทั้งใหคาํแนะนํา ขอคิดตางๆ ที่เปนประโยชนแกผูวิจัยตลอดมา คุณคาและประโยชนใดๆ อันพึงมีจากวิทยานิพนธนี้ ผูวิจัยขอมอบเปนกตัญูกตเวทิตาแด คุณแมอารีย พันราย คุณพอนพดล ฉลองเดช ผูวางรากฐานสงเสริมสนับสนุนทางดานการศึกษา และมอบแตส่ิงที่ดีงามใหแกผูวิจัย โดยเฉพาะคุณแมผูเปนผูรวมทุกขรวมสุขเคียงขางผูวิจัยมาตลอด ทําใหผูวจิัยสามารถประสบความสําเร็จทางดานการศึกษาและหนาที่การงานไดอยางเต็มภาคภูมใินทุกวันนี ้ ภัสรธีรา ฉลองเดช

Page 4: วิเคราะห รสวรรณคด ีที่ปรากฏในน ...kb.tsu.ac.th/jspui/bitstream/123456789/483/1/101310.pdfว เคราะห รสวรรณคด

สารบัญ

บทท่ี หนา 1 บทนํา .............................................................................................................................. 1

ภูมิหลัง ........................................................................................................................ 1 ความมุงหมายของการศึกษาคนควา ............................................................................ 5 ความสําคัญของการศึกษาคนควา ................................................................................ 5 ขอตกลงเบื้องตน ......................................................................................................... 5 ขอบเขตการศึกษาคนควา ............................................................................................ 6 ขอบเขตดานขอมูล ................................................................................................. 6 ขอบเขตดานเนื้อหา ................................................................................................ 6 นิยามศัพทเฉพาะ ......................................................................................................... 7 วิธีดําเนนิการศึกษาคนควา ............................................................................................ 7 2 เอกสารและงานวิจัยท่ีเก่ียวของกับการศึกษาคนควา ...................................................... 9 เอกสารและงานวิจยัที่เกีย่วกบัรสวรรณคด ี ................................................................ 9 เอกสารที่เกี่ยวกับรสวรรณคด ี ............................................................................... 9 งานวิจยัที่เกี่ยวกับรสวรรณคด ี .............................................................................. 17 เอกสารและงานวิจยัที่เกีย่วกบัวรรณคดีเร่ืองนิทานเวตาล ......................................... 22 เอกสารที่เกี่ยวกับวรรณคดีเร่ืองนิทานเวตาล ....................................................... 22 งานวิจยัที่เกี่ยวกับวรรณคดีเร่ืองนิทานเวตาล ....................................................... 24 3 การวิเคราะหรสและองคประกอบของรสวรรณคดีในนิทานเวตาล ................................ 26 ศฤงคารรสและองคประกอบของรส .......................................................................... 27 หาสยรสและองคประกอบของรส ............................................................................. 42 กรุณารสและองคประกอบของรส ............................................................................. 46 เราทรรสและองคประกอบของรส ............................................................................ 55 วีรรสและองคประกอบของรส .................................................................................. 65 ภยานกรสและองคประกอบของรส ........................................................................... 73 พีภัตสรสและองคประกอบของรส ............................................................................ 78

Page 5: วิเคราะห รสวรรณคด ีที่ปรากฏในน ...kb.tsu.ac.th/jspui/bitstream/123456789/483/1/101310.pdfว เคราะห รสวรรณคด

บทท่ี หนา อัทภูตรสและองคประกอบของรส ............................................................................ 79 ศานตรสและองคประกอบของรส ............................................................................. 87 4 บทยอ สรุปผล อภปิรายผลและขอเสนอแนะ ................................................................ 106 บทยอ .................... ................................................................................................... 106 สรุปผล ..................................................................................................................... 108 อภิปรายผล ............................................................................................................... 111 ขอเสนอแนะ .............................................................................................................. 112 บรรณานุกรม ...................................................................................................................... 113 บทคัดยอ ............................................................................................................................. 116 ประวัติยอผูวิจัย ................................................................................................................... 121

Page 6: วิเคราะห รสวรรณคด ีที่ปรากฏในน ...kb.tsu.ac.th/jspui/bitstream/123456789/483/1/101310.pdfว เคราะห รสวรรณคด

1

บทท่ี 1

บทนํา ภูมิหลัง วรรณคดีถือเปนบทประพันธที่แสดงถึงความรูสึกนึกคิดและจินตนาการของผูประพันธ ทําใหผูอานเกดิความรูสึกประทับใจ เกิดจนิตนาการ กอใหเกดิสุนทรียะทางอารมณ สรางความเพลิดเพลินสนกุสนาน ทั้งยังชวยสอนใจเราทางออม ทําใหเราไดเหน็ชวีิตและแงของชีวิตที่แปลกแตกตางไป นอกจากนัน้ การที่ผูประพันธเลือกเฟนถอยคําตางๆ มาใชในวรรณคดแีตละเรื่อง ยังทําใหผูอานไดรับรสวรรณคดีอยางสมบูรณ วรรณคดีไทยไดรับอิทธิพลตางๆ จากหลายชาติ หลายประเทศไมวาจะเปนจีน ชวา อาหรับ ตะวนัตก อินเดียกเ็ปนอีกชาติหนึ่งที่ไทยไดรับอิทธิพล กุสุมา รักษมณี ไดกลาวถึงอิทธิพลของวรรณคดีอินเดยีไววา

วรรณคดไีทยไดแสดงใหเห็นอิทธิพลจากวัฒนธรรมและความเชือ่ตางๆ ของอินเดีย ดังจะ เห็นไดจากรูปแบบและเนื้อหาของวรรณคดีหลายเรื่อง ทรรศนะของกวีและผูอานที่ถือวา วรรณคดีเปนงานที่สูงสง ความเชื่อตางๆ ที่เปนกรอบของเนื้อหาในวรรณคดแีละความนยิม ประดับประดาวรรณคดดีวยความงามของภาษา ลวนเปนลักษณะที่เหมือนกนัในวรรณคด ี ไทยและวรรณคดีอินเดยี1

การศึกษาคณุคาวรรณคดีของไทยนั้น สามารถศึกษาไดหลายแนวทาง แนวทางหนึ่ง คือ การศึกษาอลังการศาสตรตามทฤษฎีวรรณคดีสันสกฤตซึ่งถือวา “ส่ิงที่ทําใหวรรณคดีมีคุณคา คือ ส่ิงที่ประดับตกแตงวรรณคดี เชน ถอยคําที่งดงามและไพเราะเชนเดยีวกับอลังการที่ประดับ รางกายมนษุย”2 สวนแนวคิดในการศึกษาวรรณคดีของอินเดีย กุสุมา รักษมณี ไดใหขอสรุปไวดังนี ้

วรรณคดีสันสกฤตมีทฤษฎีที่สําคัญอยู 8 ทฤษฎี คือ ทฤษฎีรส วาดวยอารมณของผูอาน ทฤษฎีอลังการ วาดวยความงามในการประพันธ ทฤษฎีคุณ วาดวยลักษณะเดนในการ

1 กุสุมา รักษมณ.ี การวิเคราะหวรรณคดีไทยตามทฤษฎวีรรณคดีสันสกฤต. 2534. หนา 1. 2 แหลงเดิม. หนา 21.

Page 7: วิเคราะห รสวรรณคด ีที่ปรากฏในน ...kb.tsu.ac.th/jspui/bitstream/123456789/483/1/101310.pdfว เคราะห รสวรรณคด

2

ประพันธ ทฤษฎีรีติ วาดวยลีลาในการประพันธ ทฤษฎธีวนิ วาดวยความหมายแฝงในการประพันธ ทฤษฎีวโกรกติ วาดวยภาษาในการประพนัธ ทฤษฎีอนุมิติ วาดวยการอนุมานความหมายในการประพันธและทฤษฎีเอาจิตยะ วาดวยความเหมาะสมในการประพันธ 1

ทฤษฎีรสในวรรณคดีสันสกฤตเปนการศึกษาปฏิกิริยาทางอารมณที่เกิดขึ้นในใจของผูอานเมื่อไดรับรูอารมณที่กวีถายทอดไวในวรรณคดี กุสุมา รักษมณี กลาวถึงทฤษฎีรสตามความเหน็ของนักวรรณคดีสันสกฤตไววา

วรรณคดีเกิดขึ้นเมื่อกวีมอีารมณสะเทือนใจ แลวถายทอดความรูสึกนั้นออกมาในบท ประพันธ อารมณนั้นจะกระทบใจผูอาน ทําใหเกิดการรับรูและเกิดปฏิกิริยาทางอารมณ เปนการตอบสนองสิ่งที่กวีเสนอมา รสจึงมีความรูสึกที่เกิดขึน้ในใจของผูอาน มิใชส่ิงที่ อยูในวรรณคดีซ่ึงเปนเพยีงอารมณที่กวถีายทอดลงไวและเปนตวัทําใหเกดิรสเทานั้น2

ในดานการรับรูภาวะตางๆ ของผูอานนั้น กุสุมา รักษมณี ไดอธิบายไววา

เมื่อผูอานไดรับรูภาวะ ซ่ึงกค็ือ อารมณตางๆ ที่กวีแสดงไวในผลงาน มีดวยกัน 9 ภาวะ ดังนี้ ความรกั (รติ) ความขบขัน (หาสะ) ความทุกขโศก (โศกะ) ความโกรธ (โกรธะ) ความมุงมั่น (อุตสาหะ) ความนากลัว (ภยะ) ความนารังเกียจ (ชุคุปสา) ความนาพิศวง (วิสมยะ) และความสงบ ( ศมะ) ผูอานก็จะเกิดอารมณตอบสนองตอภาวะนัน้ เรียกวา “รส” ซ่ึงมี 9 รสเทากับจํานวนภาวะและสมัพันธกับแตละภาวะดังนี้ ความซาบซึ้งในความรัก (ศฤงคารรส) เปนอารมณตอบสนองภาวะรัก ความสนุกสนาน (หาสยรส) เปนอารมณตอบสนองภาวะขบขนั ความสงสาร (กรุณารส) เปนอารมณตอบสนองภาวะทุกขโศก ความแคนเคือง (เราทรรส) เปนอารมณตอบสนองภาวะโกรธ ความชื่นชมในความกลาหาญ (วีรรส) เปนอารมณตอบสนองภาวะมุงมั่นในการตอสู ความเกรงกลัว (ภยานกรส) เปนอารมณตอบสนองภาวะนากลัว ความเบื่อระอา ชิงชงั (พีภตัสรส) เปนอารมณ

1 กุสุมา รักษมณ.ี การวิเคราะหวรรณคดีไทยตามทฤษฎวีรรณคดีสันสกฤต. 2534.

หนา 21.

2 แหลงเดิม. หนา 22.

Page 8: วิเคราะห รสวรรณคด ีที่ปรากฏในน ...kb.tsu.ac.th/jspui/bitstream/123456789/483/1/101310.pdfว เคราะห รสวรรณคด

3

ตอบสนองภาวะนารังเกียจ ความอัศจรรยใจ (อัทภูตรส) เปนอารมณตอบสนองภาวะนาพิศวง และความสงบใจ (ศานตรส) เปนอารมณตอบสนองภาวะสงบ1

การวิเคราะหรสวรรณคดีไทยตามทฤษฎีรสวรรณคดีสันสกฤตจึงเปนแนวทางหนึ่งที่นาสนใจศกึษา แตเทาที่ผานมา การวิเคราะหวรรณคดีไทยในแนวดังกลาวยังมีผลการวิเคราะหทีไ่มนาพอใจนัก ดังที่กุสุมา รักษมณี กลาวไววา

การวิเคราะหรสในวรรณคดไีทยก็เปนอีกแนวทางหนึ่งทีน่ิยมกนัมาแตมักจะเปนการกลาวถึงอยางผิวเผินมากกวาเปนการวเิคราะหองคประกอบของรสอยางละเอียด คงจะเปนเพราะตําราอลังการศาสตรเทาที่มีในภาษาไทยไดกลาวถึงเรื่องรสไวอยางพอสังเขปเทานั้น การศึกษาลักษณะนีไ้มไดชวยใหเขาใจวรรณคดีมากขึ้นสกัเทาใด เพราะเปนการชีว้า เนื้อหาตอนใดแสดงอารมณของกวีเปนอยางไร และตรงกับรสใดเทานัน้ และนอกจากนั้นก็เปนการแสดงความรูสึกของผูอานอยางกวางๆ เชน เนือ้หาตอนใดทาํใหเกดิความรูสึกอยางไรหรืออานจบแลวมีความประทับใจอยางไร วิธีนีช้วนใหเขาใจไดวาเปนการวิเคราะหตามแนวคดิของคนโบราณซึ่งใชความรูสึกเปนเครื่องตัดสิน ยังไมมีหลักเกณฑที่แนนอน อันทีจ่ริง การศึกษาอารมณในวรรณคดีไมวาจะเปนอารมณของกวีหรือผูอานยังมีแงมุมที่นาพจิารณาอีกมากมาย แตเทาทีผ่านมานั้นยังไมปรากฏผลเปนที่นายนิดีนกั นาจะเปนเพราะยังไมไดใชประโยชนจากทฤษฎีรสอยางเต็มที่นั่นเอง2

ร่ืนฤทัย สัจจพันธุ 3 กลาวถึงวรรณคดีอินเดียที่มีอิทธิพลตอวรรณคดีไทย สรุปไดวา มี 6 ประเภท คือ วรรณคดีศาสนา วรรณคดมีหากาพย วรรณคดีบทละคร หนังสือปุราณะ นทิานนิยาย และเบด็เตล็ด ทั้งนี้ ร่ืนฤทัย สัจจพันธุ 4 ไดกลาวถึงนิทานเวตาลสรุปไดวา เปนวรรณคดีที่จัดอยูในประเภทนิทานนิยาย โดยอินเดยีนั้นไดช่ือวาเปนเทพเจาแหงการเลานิทานแบบซอนนิทาน ( Tales within tales) ซ่ึงวิธีการนี้ไดเผยแพรออกไปยังประเทศเพื่อนบานอยางเชน อาหรับและเปอรเซีย ก็นยิมการเลานิทานไมแพอินเดยี

1 กุสุมา รักษมณ.ี การวิเคราะหวรรณคดีไทยตามทฤษฎวีรรณคดีสันสกฤต. 2534. หนา

23. 2 แหลงเดิม. หนา 3-4.

3 ร่ืนฤทัย สัจจพันธุ. “อิทธิพลวรรณคดีอินเดีย,” ภาษาไทย 4 (หนวยที ่8 – 15). 2526.

หนา 308. 4 แหลงเดิม. หนา 325.

Page 9: วิเคราะห รสวรรณคด ีที่ปรากฏในน ...kb.tsu.ac.th/jspui/bitstream/123456789/483/1/101310.pdfว เคราะห รสวรรณคด

4

ปญญา บริสุทธิ์ กลาวถึงนิทานเวตาลไววา

นิทานเวตาลเปนวรรณคดีประเภทรอยแกวในรูปของนทิาน เปนผลงานของ น.ม.ส. หรือ กรมหมืน่พิทยาลงกรณ ซ่ึงทรงแปลมาจากฉบับภาษาอังกฤษชือ่ “Vikram and the Vampire” ซ่ึง Sir Richard Burton แปลจากฉบับภาษาสันสกฤตเปนจํานวน 11 เร่ืองจากของเดิม 25 เร่ือง ( เวตาลปญจวิมศติ ) สวนนิทานเวตาลพากยไทยของ น.ม.ส.นั้นมีเพียง 10 เร่ือง แตงเปนรอยแกวผสมคําประพันธบางตอนเปนฉันท นับวาเปนนิทานที่นอกจากจะสนุกสนานแลว ยงัเปนการลับสติปญญาของผูอานอีกดวย เพราะมปีญหาชวนใหคิดไดหลายอยางวาคําตอบที่ถูกตองคืออะไร1

วรรณคดีเร่ืองนิทานเวตาลนัน้ นอกจากจะใหความสนกุสนานเพลิดเพลิน และลับสติปญญาของผูอานแลว ยังดีในแงของการใชคําและโวหารตางๆ อีกทั้งยังมีรสวรรณคดีซ่ึงเปนภาษาวรรณศิลปตามแบบฉบับวรรณคดีสันสกฤตอีกดวย ปญญา บริสุทธิ์ ไดกลาวถึงเรื่องนี้ ไววา

นิทานเวตาลนีด้ีในแงของการใชคําในภาษารอยแกว โดยเฉพาะในพากยไทยนี้ ทานผูแปลไดใชโวหารอนัคมคายและไพเราะในทางพรรณนาโวหารอยางเดนชดัที่สุดทําใหเกิดจินตภาพและภาพพจนมากมายหลายแหงยากที่หนังสือนิทานอื่นๆ ในประเภทเดยีวกันจะมีคุณคาเสมอเหมือน ทั้งนี้ก็เพราะหนังสือนิทานโดยทัว่ไปมักจะมุงเลาเรื่องเปนเกณฑ แตการใชภาษาวรรณศิลปเกือบจะไมถือเปนเรื่องสําคัญเลย สวนนิทานเวตาลเปนหนังสือสําหรับผูใหญหรือคนประเภทมีความรูอานจึงตางกับนิทานธรรมดา ดวยเหตนุี้นิทานเวตาลจึงตองอาศัยภาษาวรรณศิลปเปนเครือ่งประกอบอยางสําคัญ เพื่อใหเกดิความจบัใจแกผูอานที่มีความรู อีกประการหนึ่งขอทีค่วรสังเกตก็คอื เร่ืองเดิมในภาษาสันสกฤตมีวิธีการเขียนทีล่ะเมียดละไมและแพรวพราวดวยภาษาวรรณศิลปตามแบบฉบับวรรณคดีสันสกฤตโดยทั่วไป เมื่อเปนดังนี้ฉบับภาษาไทยก็ตองมวีิธีเขียนเลยีนแบบสันสกฤตดวย ดวยเหตนุี้นิทานเวตาลจึงมีคณุคาถึง 2 อยางคือ เนื้อเร่ืองดีอยางหนึ่ง และการใชภาษามีอลังการที่เดนชัดอีกอยางหนึ่ง2

1 ปญญา บริสุทธิ์. วิเคราะหวรรณคดีไทยโดยประเภท. 2542. หนา 38.

2 แหลงเดิม. หนา 38-39.

Page 10: วิเคราะห รสวรรณคด ีที่ปรากฏในน ...kb.tsu.ac.th/jspui/bitstream/123456789/483/1/101310.pdfว เคราะห รสวรรณคด

5

จากความนาสนใจทั้งเนื้อหาและภาษาที่ใชในวรรณคดีเร่ืองนิทานเวตาลกับทฤษฎีรสวรรณคดีสันสกฤต ประกอบกับการวิเคราะหรสวรรณคดียังมีงานอยูนอยมาก ผูวิจยัจึงไดสนใจวิเคราะหทฤษฎีรสวรรณคดสัีนสกฤตในนทิานเวตาลฉบบัพระนิพนธกรมหมื่นพิทยาลงกรณ โดยจะวเิคราะหทัง้ 9 รสวรรณคดีพรอมองคประกอบดานตางๆของแตละรสอยางละเอียดลึกซึ้ง ความมุงหมายของการศึกษาคนควา เพื่อวิเคราะหรสและองคประกอบของรสวรรณคดีที่ปรากฏในนิทานเวตาลฉบับพระนพินธกรมหมื่นพิทยาลงกรณ โดยใชทฤษฎีรสวรรณคดสัีนสกฤต ความสําคัญของการศึกษาคนควา ผลของการศึกษาคนความีความสําคัญดังตอไปนี ้ 1. ทําใหเขาใจถึงรสวรรณคดีสันสกฤตและองคประกอบของแตละรสวรรณคดีที่ปรากฏ ในนิทานเวตาล ฉบับพระนพินธกรมหมื่นพิทยาลงกรณไดอยางลึกซึ้ง อันนําไปเปนแนวทางการศึกษารสวรรณคดีตามทฤษฎีรสวรรณคดีสันสกฤตที่ปรากฏในวรรณคดีไทยเรื่องอื่นๆ ตอไป

2. สามารถนําหลักการวเิคราะหไปปรับปรุงประยุกตใชในการเรยีนการสอน การศึกษา เร่ืองทฤษฎีรสวรรณคดีตามทฤษฎีรสวรรณคดีสันสฤตที่ปรากฏในวรรณคดีสําหรับนักเรียนและผูที่สนใจศึกษาคนควา

3. ผลของการศึกษาคนควาทําใหเขาใจอารมณความรูสึกที่กวีถายทอดออกมาพรอมทั้งเขาใจปฏิกิริยาทางอารมณที่เกิดขึ้นในใจของผูอานอยางละเอียดและมหีลักเกณฑแนนอนอันเปนการใชประโยชนจากทฤษฎรีสอยางเต็มที่ในการศึกษาอารมณความรูสึกของกวแีละผูอานวรรณคดีไทยเรื่องอื่นๆ

4. ชวยใหผูสนใจไดประจกัษในคณุคาของวรรณคดีไทยในแงของรสวรรณคดีมากขึน้ ขอตกลงเบื้องตน การอางอิงขอความจากหนังสือวรรณคดีเร่ืองนิทานเวตาลฉบับพระนิพนธกรมหมื่นพทิยาลงกรณ ซ่ึงจัดพิมพโดยสํานกัพิมพศิลปาบรรณาคาร ป พ.ศ.2511 ผูวจิัยใชวิธีการอางอิงโดยการบอกเลขหนาไวในวงเล็บใตขอความที่ยกมา เชน

Page 11: วิเคราะห รสวรรณคด ีที่ปรากฏในน ...kb.tsu.ac.th/jspui/bitstream/123456789/483/1/101310.pdfว เคราะห รสวรรณคด

6

สักครูหนึ่งถึงกลางปาชา พระราชาทอดพระเนตรเหน็สิ่งซึ่งนาเปนที่รังเกียจตางๆ อยูลอมกองไฟซึ่งไดเผาศพใหมๆ ภูตผีปศาจปรากฏแกตา รอบขางเสือคํารามอยูก็มี ชางฟาดงวงอยูก็มี หมาไนซึ่งขนเรืองๆ อยูในที่มดืก็กนิซากศพ ซ่ึงกระจัดกระจายเปนชิ้นเปนทอน หมาจิ้งจอกก็ตอสูกันแยงอาหาร คือเนื้อแลกระดูกมนุษย หมีกย็ืนเคี้ยวกินตับแหงทารก

( หนา 33) พระราชบุตร ไดฟงพุทธิศริระสําแดงความรอนใจ ดังนัน้ก็ส้ินความอ้าํอึ้ง พระหัตถจับมือพุทธิศริระ น้ําพระเนตรตกตรัสวา “ชายใดเขาเดินในทางแหงความรกัชายนั้นจะรอดชวีิตไปมิได หรือถายังไมส้ินชีวิต ชีวิตกม็ิใชอ่ืน คือความทุกขที่ยดืยาวออกไปนัน่เอง” ( หนา 51) ขอบเขตของการศึกษาคนควา ในการวิเคราะหทฤษฎีรสวรรณคดีสันสกฤตในนิทานเวตาลฉบับพระนพินธกรมหมื่นพิทยาลงกรณ ผูวิจัยไดกําหนดขอบเขตของการวิเคราะหดังตอไปนี ้ ขอบเขตดานขอมูล ในการวิเคราะหคร้ังนี้ ผูวิจยัจะวเิคราะหขอมูลดานรสวรรณคดีและองคประกอบของรส วรรณคดีจากวรรณคดีเร่ืองนทิานเวตาลฉบบัพระนิพนธกรมหมื่นพิทยาลงกรณ โดยจะวิเคราะหนิทานทั้ง 10 เร่ืองรวมทั้งตนเรื่องและปลายเรื่องดวย ขอบเขตดานเนื้อหา การวิเคราะหรสวรรณคดีที่ปรากฏในนิทานเวตาล ฉบับพระนิพนธกรมหมื่นพิทยาลงกรณ จะวเิคราะหตามทฤษฎีรสวรรณคดีสันสกฤต โดยวเิคราะหองคประกอบดานวภิาวะ ดานอนภุาวะ และดานสาตตวิกภาวะ ตามลําดับรสวรรณคดีดังนี ้ 1. ศฤงคารรส (รสแหงความรัก) 2 หาสยรส (รสแหงความสนุกสนาน) 3 กรุณารส (รสแหงความสงสาร) 4 เราทรรส (รสแหงความแคนเคือง) 5 วีรรส (รสแหงความชื่นชมในความกลาหาญ) 6 ภยานกรส (รสแหงความเกรงกลวั)

Page 12: วิเคราะห รสวรรณคด ีที่ปรากฏในน ...kb.tsu.ac.th/jspui/bitstream/123456789/483/1/101310.pdfว เคราะห รสวรรณคด

7

7 พีภัตสรส (รสแหงความเบื่อระอา ชิงชัง) 8 อัทภูตรส (รสแหงความอัศจรรยใจ) 9 ศานตรส (รสแหงความสงบใจ) นิยามศัพทเฉพาะ ในการวิเคราะหทฤษฎีรสวรรณคดีสันสกฤตในนิทานเวตาลฉบับพระนพินธกรมหมื่นพิทยาลงกรณ มีคําศัพทเฉพาะที่เกีย่วกับรสวรรณคดีซ่ึงผูวิจัยจะตองนาํมาใชในการวิเคราะหดังตอไปนี ้ ศฤงคารรส คอื ความซาบซึ้งในความรัก เปนรสที่เกิดจากการมีความรกัของตัวละคร

หาสยรส คอื ความสนุกสนาน เปนรสที่เกิดจากการไดรับรูความขบขันของตัวละคร กรุณารส คือ ความสงสาร เปนรสที่เกิดจากการไดรับรูความทุกขโศกของตัวละคร เราทรรส คือ ความแคนเคือง เปนรสที่เกดิจากการรับรูความโกรธของตัวละคร วีรรส คือ ความชื่นชม เปนรสที่เกิดจากการรับรูความมุงมั่นในการแสดงความกลาหาญ

ของตัวละคร ภยานกรส คอื ความเกรงกลัว เปนรสที่เกิดจากการรับรูความนากลัวของตัวละคร พีภัตสรส คอื ความเบื่อ รําคาญ ขยะแขยง เปนรสที่เกดิจากการรับรูความนาเบื่อ นา

รังเกียจของตวัละคร อัทภูตรส คือ ความอัศจรรยใจ เปนรสที่เกิดจากการรับรูความนาพิศวงของตัวละคร ศานตรส คือ ความสงบใจ เปนรสที่เกิดจากการไดรับรูความสงบของตัวละคร

วิภาวะ คือ เหตุของภาวะทีเ่ปนเหตกุารณ บุคคลหรือส่ิงตางๆ ที่กวีกําหนดไวในเนื้อเร่ืองใหเปนสาเหตทุาํใหเกดิภาวะตางๆ อนุภาวะ คือ ผลของภาวะซึง่เปนการแสดงออกของตัวละครดวยคําพูดหรืออากัปกิริยาใหรูวาเกิดภาวะอยางใดอยางหนึ่งขึ้นแกตัวละคร สาตตวิกภาวะ คือ การแสดงออกที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติเปนปฏิกิริยาทีไ่มสามารถบังคับได วิธีดําเนินการศึกษาคนควา ในการวิเคราะหคร้ังนี้ ผูวิจยัไดดําเนนิการตามขั้นตอนตอไปนี ้

Page 13: วิเคราะห รสวรรณคด ีที่ปรากฏในน ...kb.tsu.ac.th/jspui/bitstream/123456789/483/1/101310.pdfว เคราะห รสวรรณคด

8

1. ขั้นรวบรวมขอมูล 1.1 ศึกษารวบรวมเอกสารและงานวจิยัที่เกีย่วกับรสและองคประกอบของรสวรรณคด ี 1.2 ศึกษารวบรวมเอกสารและงานวจิยัที่เกีย่วกับวรรณคดีเร่ืองนิทานเวตาล 2. ขั้นศึกษาวเิคราะห ผูวิจัยไดวเิคราะหรสวรรณคดีสันสกฤตในนิทานเวตาลฉบับพระนพินธกรมหมื่นพิทยาลงกรณ โดยดําเนินการดังนี้ 2.1 พิจารณาคัดเลือกเนื้อหาในนิทานแตละเรื่อง เพื่อวิเคราะหแยกเปนรสตางๆ ตาม ทฤษฎีรสวรรณคดีสันสกฤต 2.2 พิจารณาเนื้อหาในแตละรส แลววเิคราะหองคประกอบในดานวภิาวะ อนภุาวะ และสาตตวกิภาวะของแตละรส 3. ขั้นสรุปผล อภิปรายผลและเสนอแนะ 3.1 สรุปผลการวิเคราะหและอภิปรายผล 3.2 เสนอผลการวิเคราะหโดยวิธีพรรณนาวิเคราะห

Page 14: วิเคราะห รสวรรณคด ีที่ปรากฏในน ...kb.tsu.ac.th/jspui/bitstream/123456789/483/1/101310.pdfว เคราะห รสวรรณคด

บทท่ี 2

เอกสารและงานวิจัยท่ีเก่ียวของกับการศึกษาคนควา ในการวิเคราะหทฤษฎีรสวรรณคดีสันสกฤตที่ปรากฏในนิทานเวตาล ฉบับพระนิพนธ

กรมหมื่นพิทยาลงกรณ ผูวิจยั ไดจดัแบงเอกสารที่เกี่ยวของกับการศึกษาคนควาออกเปน 2 ประเภท คือ

1. เอกสารและงานวิจยัที่เกีย่วกบัรสวรรณคด ี2. เอกสารและงานวิจยัที่เกีย่วกบัวรรณคดีเร่ืองนิทานเวตาล

เอกสารและงานวิจัยท่ีเก่ียวกับรสวรรณคด ี

เอกสารที่เก่ียวกับรสวรรณคดี ผูวิจัยไดรวบรวมรสวรรณคดี เพื่อนํามาศกึษาและใชเปนแนวทางในการวิเคราะห

ทฤษฎีรสวรรณคดีสันสกฤตในนิทานเวตาล ฉบับ พระนิพนธกรมหมืน่พิทยาลงกรณ ดังตอไปนี ้กุสุมา รักษมณี 1 ไดกลาวถึงทฤษฎีรสวรรณคดีสันสฤต สรุปไดดังนี ้รส คือ ปฏิกิริยาทางอารมณที่เกดิขึ้นในใจของผูอาน เมื่อผูอานไดรับรูอารมณที่กวีได

ถายทอดเอาไวในวรรณคดี โดยนกัวรรณคดีตามทฤษฎีรสวรรณคดีสันสกฤตมีความเห็นวารสวรรณคดีเกิดขึน้เมื่อกวมีีอารมณสะเทือนใจ แลวถายทอดความรูสึกนัน้ออกมาในบทประพันธอารมณนั้นจะกระทบใจผูอานทําใหเกิดการรับรูและเกิดปฏิกิริยาทางอารมณเปนการตอบสนองสิ่งที่กวเีสนอออกมา รสจึงเปนความรูสึกที่เกิดขึน้ในใจของผูอาน มิใชส่ิงที่อยูในวรรณคดซ่ึีงเปนเพียงอารมณที่กวีถายทอดลงไวและเปนตัวทําใหเกิดรสเทานัน้

สวนรายละเอยีดตาง ๆ ที่เกีย่วกับลักษณะของรสและลําดับขั้นตอนในการเกิดรสนั้น กุสุมา รักษมณี ไดกลาวไวสรุปไดวา อารมณตาง ๆ ที่กวีแสดงไวในผลงานเรียกวา “ภาวะ” ในระยะแรกภาวะหลักมี 9 อยาง คือ ความรัก (รติ) ความขบขัน (หาสะ) ความทุกขโศก (โสกะ) ความโกรธ (โกรธะ) ความมุงมั่น (อุตสาหะ) ความนากลัว (ภยะ) ความนารังเกยีจ (ชุคุปสา)

1 กุสุมา รักษมณ.ี การวิเคราะหวรรณคดีไทยตามทฤษฎวีรรณคดีสันสกฤต. 2534.

หนา 22 – 23.

Page 15: วิเคราะห รสวรรณคด ีที่ปรากฏในน ...kb.tsu.ac.th/jspui/bitstream/123456789/483/1/101310.pdfว เคราะห รสวรรณคด

10

ความนาพิศวง (วิสมยะ) และความสงบ (ศมะ) เพื่อใหผูอานสามารถรับรูวาเกิดภาวะหนึ่งขึ้นแกตวัละคร กวีตองแสดงเหตุของภาวะ (วิภาวะ) ไวเปนเบื้องตน ตอจากนัน้ตัวละครตองแสดงผลของภาวะ (อนุภาวะ) ใหรูวาเกิดภาวะหนึ่งขึ้นในใจของตวัละครแลว นอกจากนั้นยังมีการแสดงออกอีกอยางหนึ่งเปนภาวะที่เกดิขึ้นตามธรรมชาติ (สาตตวิกภาวะ) สาตตวิกภาวะจึงทําหนาที่ชวยอนภุาวะใหผูอานไดรับรูภาวะในใจตัวละครไดงายขึ้น เมื่อผูอานไดรับรูภาวะที่กวีแสดงไวแลวก็จะเกดิอารมณตอบสนองตอภาวะนัน้ เรียกวา “รส” ซ่ึงมี 9 รส เทากับจํานวนภาวะและจะสัมพันธกับแตละภาวะ คือ ความซาบซึ้งในความรัก (ศฤงคารรส) เปนอารมณตอบสนองตอภาวะรัก ความสนุกสนาน (หายสยรส) เปนอารมณตอบสนองภาวะขบขัน ความสงสาร (กรุณารส) เปนอารมณตอบสนองตอภาวะทุกขโศก ความแคนเคอืง (เราทรรส) เปนอารมณตอบสนองตอภาวะโกรธ ความชื่นชมในความกลาหาญ (วีรรส) เปนอารมณตอบสนองความมุงมั่นในการตอสู ความเกรงกลัว (ภยานกรส) เปนภาวะตอบสนองตอภาวะนากลัว ความเบื่อระอา ชิงชัง (พีภตัสรส) เปนอารมณตอบสนองภาวะนารังเกียจ ความอศัจรรยใจ (อัทภูตรส) เปนอารมณตอบสนองภาวะนาพิศวง และความสงบแหงจิตใจ สวน (ศานตรส) เปนอารมณตอบสนองตอภาวะสงบ

ในสวนของรสวรรณคดีสันสกฤต กุสุมา รักษมณี1 ไดกลาวไว สรุปไดวา การเกิดรสทั้ง 8 มีภาวะตาง ๆ เปนองคประกอบ ดังนี้ ศฤงคารรส คือ ความซาบซึ้งในความรัก เกิดจากความรกั 2 ประเภท คือ ความรักของผูที่ไดอยูดวยกนั (สัมโภคะ) และความรักของผูที่อยูหางจากกัน (วิประลัมภะ) ความรักแบบ สัมโภคะนั้นมเีหตุของภาวะ (วภิาวะ) คือ การอยูกับผูทีถู่กตาตองใจ การอยูในบานเรือนหรือสถานที่ที่สวยงาม การอยูในฤดูกาลที่เอื้อตอการแสดงความรัก การแตงตัวงดงาม การลูบทาดวยของหอมและประดับดวยมาลัย การเที่ยวชมสวนหรือเลนสนุกสนาน การดูหรือฟงสิ่งที่เจริญหูเจริญตา เปนตน การแสดงผลของภาวะ (อนุภาวะ) ไดแก พูดจาออนหวาน จริตกิริยาแชมชอย ชมายชายตา ยิ้มแยมแจมใส เปนตน สวนความรักแบบวิประลัมภะนั้นมีเหตุของภาวะ คือ การพลัดพรากจากกนั การแสดงผลของภาวะ ไดแก ทาทางหมดอาลัยตายอยาก สงสัย วติกกังวล กระสับกระสาย พรํ่ารําพัน เปนตน

1 กุสุมา รักษมณ.ี การวิเคราะหวรรณคดไีทยตามทฤษฎีวรรณคดีสันสกฤต. 2534.

หนา 109.

Page 16: วิเคราะห รสวรรณคด ีที่ปรากฏในน ...kb.tsu.ac.th/jspui/bitstream/123456789/483/1/101310.pdfว เคราะห รสวรรณคด

11

หาสยรส คือ ความสนุกสนาน เปนรสที่เกิดจากการไดรับรูความขบขัน นาฏยศาสตร แบงความขบขันออกเปน 2 ลักษณะ คือ ความขบขันทีเ่กิดแกผูอ่ืน หมายถึง การพดูหรือทําให ผูอ่ืนขบขันซึ่งสวนมากมักจะเปนไปโดยตนเองไมรูตัว และความขบขนัที่เกิดแกตนเอง รูสึกขัน ตนเองหรือขันผูอ่ืน วิภาวะของความขบขัน ไดแก การแตงตัวแปลก ๆ เชน ชายแตงตัวอยางหญิงสวมเสื้อผารุมรามรุงรัง แตงตัวผิดกาลเทศะ หรือแตงตวัมากเกินไป ฯลฯ การทําทาแปลก ๆ เชน เดินงก ๆ เงิน่ ๆ ลมลุกคลุกคลาน หรือทําสิ่งใดสิ่งหนึ่งซ้ํา ๆ ซาก ๆ ฯลฯ การพูดแปลก ๆ เชน พูดผิด ๆ ถูก ๆ พูดรัวจนฟงไมไดศัพท พูดดวยสําเนียงตางไปจากคนสวนใหญหรือพดูซ้ําซาก ฯลฯ อนุภาวะไดแกการยิ้มหรือหวัเราะ ซ่ึงนาฏยศาสตรกลาวไว 6 ลักษณะ คือ ยิ้มนอย ๆ ไมเห็นไรฟน และแยมปากพอเห็นไรฟน เปนลักษณะของคนชั้นสูง หัวเราะเบา ๆ และหวัเราะเฮฮาเปนลักษณะของคนชั้นกลาง หัวเราะงอหายและหวัเราะทองคัดทองแข็งเปนลักษณะของสามัญชนทั่วไป วยภิจารภิาวะ ซ่ึงเปนภาวะเสริมของความขบขัน ไดแก ความเสแสรง ความเกยีจคราน หรือความ งวงงุน ความรษิยา เปนตน บางภาวะเชนความรุนแรง อาจเปนตวัแปรได รสที่ควรจะเกดิจากภาวะขบขันจึงไมใช หาสยรส แตกลายเปนกรุณารสเพราะความสงสารผูถูกกระทํา

กรุณารส คือ ความสงสาร เปนรสที่เกิดจากการไดรับรูความทุกขโศก ซ่ึงมี 3 อยาง คือ ความทุกขโศกที่เกิดจากความอยุติธรรม เกิดจากความเสื่อมทรัพย และเกดิจากเหตุวิบัติ โดยอาจมีภาวะเสรมิคือความไมแยแส ความเหนื่อยออน ความวิตก ความโหยหา ความตืน่ตระหนก ความหลง ความออนเพลีย ความสิ้นหวัง ความอับจน ความปวยไข ความเฉยชา ความบาคลั่ง ความสิ้นสติ ความพรั่นพรึง ความเกยีจคราน ความตาย ฯลฯ วิภาวะของความทุกขโศก คือ การพลัดพรากพรากจากคนรกัโดยไมมีโอกาสกลับมาพบกัน ทรัพยสมบัติเสียหาย ถูกแชงดา ถูกฆา ถูกลงโทษ กักขังจองจํา ถูกจองเวร ประสบเคราะหกรรม ตกทุกขไดยาก เปนตน อนุภาวะของความทุกขโศกพึงแสดงออกดวย การรองไหครํ่าครวญ แตการรองไหนั้นเปนลักษณะของคนชั้นต่าํและสตรีเทานัน้ สําหรับคนชั้นสูงและชั้นกลางเมื่อประสบทุกขโศกจะตองกล้ันไวในใจไมรองไหครํ่าครวญ นอกจากนัน้อาจมอีนุภาวะอื่น เชน การทอดถอนใจ ทุมทอดตัว ตีอกชกหัว ฯลฯ หรือมีปฏิกิริยา (สาตตวิกภาวะ) เชน นิ่งตะลึงงัน ตัวส่ัน สีหนาเปลี่ยน น้ําตาไหล เสียงเปลี่ยน เปนตน

เราทรรส คือ ความแคนเคือง เปนรสที่เกิดจากการรับรูความโกรธ ตัวละครผูมีความโกรธเปนเจาเรือน มักไดแก รากษส ทานพ คนฉุนเฉยีว เปนตน อาจมีภาวะเสรมิ คือ ความตื่นตระหนก ความแคน ความหวั่นไหว ฯลฯ วภิาวะของความโกรธ ไดแก การพูดใสความ พูดใหเจ็บใจ ดูหมิ่น กลาวเท็จ อาฆาตจองเวร กลาวคําหยาบ ขมขู อิจฉาริษยา ทะเลาะทุมเถียง ตอสู ฯลฯ อนุภาวะของความโกรธ ไดแก การเฆี่ยน ตัด ตี ฉีก บีบ ขวางทําใหเลือดตก ฯลฯ และ

Page 17: วิเคราะห รสวรรณคด ีที่ปรากฏในน ...kb.tsu.ac.th/jspui/bitstream/123456789/483/1/101310.pdfว เคราะห รสวรรณคด

12

อาจมีปฏิกิริยา คือ เหงื่อออก ขนลุก ตัวส่ัน เสียงเปลี่ยน เปนตน เนือ่งจากความโกรธนั้นมีหลายอยาง ไดแก ความโกรธที่เกิดจากศตัรู เกิดจากผูใหญ เกิดจากเพื่อนรัก เกิดจากคนรับใช และเกิดขึ้นเอง การแสดงความโกรธจึงมีตางกนัไปดวย เชน เมื่อผูใหญทําใหโกรธ ผูแสดงพึงกมหนาเล็กนอย มีน้ําตาคลอเบา อัดอั้นตันใจ ฯลฯ แตเมื่อคนรับใชทําใหโกรธ อาจชี้นิ้ว ตวาด ถลึงตา ฯลฯ

วีรรส คือ ความชื่นชม เปนรสที่เกิดจากการรับรูความมุงมั่นในการแสดงความกลาหาญอันเปนคณุลักษณของคนชั้นสูง ความกลาหาญมี 3 อยาง คือ กลาให (ทานวีระ) กลาประพฤติธรรมหรือหนาที่ (ธรรมวีระ) และกลารบ (รณวีระ) อาจมีภาวะเสริม คือ ความมั่นคง ความพินิจพิเคราะห ความจองหอง ความตื่นตระหนก ความรุนแรง ความแคน ความระลึกได ฯลฯ วภิาวะของความมุงมั่น ไดแก การเอาชนะศัตรู การบังคับอินทรียของตนได การแสดงพละกําลัง ฯลฯ อนุภาวะของความมุงมั่น ไดแก ทาทีมัน่คง เฉลียวฉลาดในการงาน เขมแข็ง ขะมักเขมน พดูจาแข็งขัน เปนตน

ภยานกรส คือ ความเกรงกลวั เปนรสที่เกิดจากการรับรูความนากลวั ซ่ึงแบงเปน 3 ประเภท คือ เกิดจากการหลอกลวง เกดิจากการลงโทษ และเกดิจากการขมขู อาจมีภาวะเสริม คือ ความสงสัย ความหลง ความอับจน ความตื่นตระหนก ความเฉยชา ความพรั่นพรึง ความสิ้นสติ ความตาย ฯลฯ วภิาวะของความนากลวั ไดแก การไดยินเสียงผิดปกติ การเห็นภูตผีปศาจหรือสัตวราย การอยูคนเดยีว การไปในปาเปลี่ยวรกราง การทําผิด ฯลฯ อนุภาวะของความนากลวั ไดแก การวิ่งหนี การสงเสยีงรอง เปนตน และอาจมีปฏิกิริยา เชน อาการตะลึงงัน เหงื่อออก ขนลุก ตัวส่ัน สีหนาเปลี่ยน เสียงเปลี่ยน น้ําตาไหล หรือ เปนลม

พีภัตสรส คือ ความเบื่อ รําคาญ ขยะแขยง เปนรสที่เกิดจากการรับรูความนาเบื่อ นารังเกียจ ซ่ึงมี 2 ประเภท คอื เกิดจากสิ่งนารังเกียจที่ไมสกปรก เชน เลือด และสิง่นารังเกียจที่สกปรก เชน อุจจาระ หนอน อาจมีภาวะเสริม คือ ความสิ้นสติ ความตื่นตระหนก ความหลง ความปวยไข ความตาย เปนตน วภิาวะของความนาเบือ่ นารังเกียจ ไดแก ส่ิงที่ไมสบอารมณหรือไมตองประสงค ส่ิงชวนสลดใจ ส่ิงสกปรก เปนตน อนุภาวะของความนาเบือ่ นารังเกียจ คือ การทําทาทางขยะแขยง นิว่หนา อาเจยีน ถมน้ําลาย ตัวส่ัน ฯลฯ

อัทภูตรส คือ ความอัศจรรยใจ เปนรสที่เกิดจากการไดรับรูความนาพศิวง อันมี 2 ประเภท คือ เกิดจากสิ่งที่เปนทิพย หรืออภินิหาร และเกิดจากสิ่งทีน่าร่ืนรมย อาจมภีาวะเสริม คือ ความตื่นตระหนก ความหวั่นไหว ความยินดี ความบาคลั่ง ความมั่นคง เปนตน วภิาวะของความนาพิศวง ไดแก การพบเห็นสิ่งที่เปนทิพย การไดรับสิ่งที่ปรารถนา การไปเทีย่วในสถานทีท่ี่งดงาม นาร่ืมรมย เชน อุทยาน วิหาร การเห็นสิ่งที่เปนมายา หรือมเีวทมนตร ฯลฯ อนุภาวะของ

Page 18: วิเคราะห รสวรรณคด ีที่ปรากฏในน ...kb.tsu.ac.th/jspui/bitstream/123456789/483/1/101310.pdfว เคราะห รสวรรณคด

13

ความนาพิศวง คือ การทําทาประหลาดใจ หรืออุทานดวยความแปลงใจ เปนตน อาจมีปฏิกิริยา เชน การนิ่งตะลึงงัน เหงื่อออก ขนลุก น้ําตาไหล ฯลฯ

ศานตรส คือ ความสงบใจ เปนรสที่เกิดจากการไดรับรูความสงบของตัวละคร ศานตรสในนาฏยศาสตรก็มีแตในตนฉบับบางฉบับเทานั้น ทั้งยังมีลักษณะของการแตงเติมมากกวา ศานตรส คงเปนอิทธิพลของคติทางพุทธที่ถือวาความสงบเปนสิ่งประเสริฐ เปนทางสูนิพพาน กวีพุทธสวนมากจึงถือวาศานตรสเปนรสที่เดนกวารสอื่นทัง้ 8 และภาวะสงบ (ศานตะ) ก็เปนภาวะเดน ดังปรากฏในโศลกบทที่ 103 ซ่ึงเปนสวนที่เพิ่มเขามาในนาฏยศาสตรบางฉบับวา

“ภาวะอาศัยเหตุการณของตน ๆ แลวเกดิขึน้จากศานตะ และเมื่อยังไมประสบเหตุการณอยางใดแลว ก็แฝงตวัอยูในศานตะนั้นเองอีก”

ดวยเหตนุี้จึงมนีักวรรณคดีบางกลุมยอมรับศานตรส แตกย็ังนับวารสมีเพียง 8 รส เพราะถือวารสตาง ๆ ทั้ง 8 เกิดจากศานตรสอีกทีหนึ่ง จงึไมนับศานตรสรวมกับรสอื่น ๆ หากยกใหเปนแมแบบของรสทั้งปวง

วาคภฏ1 ผูเขียนตําราอลังการศาสตร กลาวถึงรสวรรณคดีไวในปริจเฉทที ่ 5 สรุปไดดังนี้ อาหารถาขาดเกลือก็ไมอรอยฉันใด รสก็ยอมไมไรอารมณฉันนั้น รสเปนองคประกอบที่ทําใหกาพยกลอนเดนขึ้นมี สฺถายีภาว อันวภิาว อนุภาว สาตฺวิก และ วฺยภิจารี ซ่ึงนักปราชญกลาววารสมี 9 อยาง คือ ศฺฤงคาร วีร กรุณา หาสฺย อทฺภุต ภยานก เราทฺร พีภตฺ และ ศานฺต ทั้งนี้ “ศฤงฺคาร” คือ รสของการที่สามีภรรยาปฏิบัติตอกันและกันดวยความรกัใคร มี 2 ประเภท คือ “สํโยคศฺฤงฺคาร” และ “วิปรฺลมฺภศฺฤงฺคาร” ศฺฤงฺคารทั้งสองอยางนี้เปนไปในระหวางสามีภรรยา คูที่อยูดวยกนัและคูที่พรากจากกันโดยเปนไปอยางลับหรืออยางจะแจง ในเรื่องศฺฤงฺคารนี้ “ ตัวละคร” ที่ทานยกยอง คือ สาวผูประกอบไปดวยรูปและเสาวภาคย มีสกุล ชํานิชํานาญ หนุม สุภาพ พูดคําที่ทั้งไพเราะ และจริง มีเกยีรติ และมีคุณความดีตาง ๆ ขณะสามีภรรยาที่รักกัน ฝายใดฝายหนึ่งถึงแกกรรมลง “ศฺฤงฺคาร” ช่ือ “กรุณา” ก็เกดิขึน้ (วิธีแสดง “กรุณา”) นี้กแ็ตพรรณนาถงึเร่ืองที่แลวมาแลว “วีรรส” มีความเพยีรเปน “สถายีภาว” และเปนสามอยางโดยทีไ่ดเนื่องมาแตความเพยีรในทางธรรม การรบ หรือการใหทาน “กรุณารส” เกิดแต “สถายีภาว” คือ ความโศก เมื่อจะใหบังเกดิรสนี้ ควรกลาวถึงการไหว การรองไห หนาซีดลง สลบ พูดถอมตัว รําพึงรําพัน และหลั่งน้ําตา รสชื่อ “หาสฺย” นั้น ปราชญวามีความรูสึกขบขันเปน “สภายีภาว” ความขบขันเกิดจากการเหน็กิริยาทาทาง รางกาย หรือการแตงตัวพิลึก “อทฺภุตรส” มีความรูสึกประหลาดใจเปน “สภายภีาวะ” ความรูสึกประหลาดใจเกดิขึ้นดวยไดเหน็หรือไดยินถึงสิ่งที่ไมนาจะเปนไปได

1 วาคภฏ. อลังการศาสตร. แปลโดย ป.ส.ศาสตรี ม.ป.ป. หนา 28 - 30.

Page 19: วิเคราะห รสวรรณคด ีที่ปรากฏในน ...kb.tsu.ac.th/jspui/bitstream/123456789/483/1/101310.pdfว เคราะห รสวรรณคด

14

“ภยานกรส” มีความกลัวอันเกิดแตการเห็นสิ่งที่นาสยดสยองนั้น “สถายีภาว” ความกลัวนั้นกลาวถึงลักษณะของหญิงคนชั่วเลว และเด็ก “เราทรรส” มีความโกรธเปน “สถายีภาว” ความโกรธก็เกิดแตการที่ศัตรูดูหมิ่น ในโอกาสนั้น “ตัวละคร” ประพฤตินาหวาดกลัว ฉนุเฉียวและไมอดโทษ “พีภตฺสรส” มีความเกลียดชังเปน “สถายีภาว” ความเกลียดชังที่เกิดขึ้นโดยทันที พอไดยินถึงสิ่งที่ไมชอบ และมีอาการคือถมน้ําลาย และทําหนายูยี่ เปนตน ยกเวนแตมหาบุรุษจะไมทําเชนนั้น สุดทาย “ศานฺตรส” มีความรูชอบอันมีอาการไมปรารถนาสิ่งใด ๆ นั้น เปน “สถายีภาว” ความรูชอบก็เกิดแตการสละความรักความเกลียด

ประสิทธิ์ กาพยกลอน กลาวถึงลักษณะและความสําคญัของรสวรรณคดีวา

อาหารมีรสตาง ๆ กันใหความโอชะแกผูเสพฉันใด วรรณคดีก็มีรสตาง ๆ กันใหความโอชะแกผูอานฉันนั้น รสทั้งสองนี้แตกตางกันตรงที่รสอาหารใชล้ินเปนเครื่องสัมผัส เพื่อใหรูวาอาหารนั้นมีรสเปรี้ยว หวาน มนั เค็ม หรือเผ็ดอยางไร บางทีก็ใชจมกูดม กล่ินพิสูจนวาอาหารนั้นมีกล่ินหอมหวนชวนกนิแคไหน สวนรสวรรณคดีนั้นสัมผัส ดวยตาและหูจากภาษากวจีึงจะรูรส และรสแหงวรรณคดีนี้เปนรสที่บอกถึงอารมณ เพียงอยางเดยีว คือ บอกอารมณออกเปนสวนปลีกยอยลงไปอีกก็จะมอียูมากมายหลาย ประการ เชน ความยินดี ความราเริง ความทุกขโศก ความโกรธ ความองอาจ ความกลัว ความเกลียด ความพิศวง และความสงบ เปนตน และถาวรรณคดีเร่ืองใดขาดรสของวรรณคดกี็เปรียบเสมือนคนกินอาหารที่ไมมีรสแลวไมอรอยฉันใด การอาน วรรณคดีที่ขาดรสก็อานไมสนุกฉันนั้น แตวรรณคดีเร่ืองใดจะมีรสดีหรือไมยอมขึ้นอยูกับภาษาที่แสดงออกเปนสําคัญ ภาษากวีกับรสวรรณคดีจึงแยกจากกันไมออก1

กุหลาบ มัลลิกะมาส2 กลาวถึงองคประกอบของวรรณคดีดานการแสดงออกซึ่งมีสวนเกี่ยวของกับอารมณสะเทือนใจอันกอใหเกิดรสวรรณคดีสรุปไดวา การแสดงออกเปนสื่อนําความนึกคิด ความสะเทือนใจ และจินตนาการของผูแตงออกสูผูอานอื่น และการแสดงออกทีด่ีจะตองทําใหผูอานมีความรูสึกและความเขาใจดใีนสิง่ตอไปนี ้

1. ทําใหผูอานรูสึกหรือเหน็ภาพตามคําบรรยาย 2. ทําใหเห็นความเคลื่อนไหวหรือนาฏการ

1 ประสิทธิ์ กาพยกลอน. แนวทางการศึกษาวรรณคดี ภาษากวี การวจิกัษและวิจารณ.

2518. หนา 116. 2 กุหลาบ มัลลิกะมาส. ความรูทั่วไปทางวรรณคดีไทย. 2531. หนา 13.

Page 20: วิเคราะห รสวรรณคด ีที่ปรากฏในน ...kb.tsu.ac.th/jspui/bitstream/123456789/483/1/101310.pdfว เคราะห รสวรรณคด

15

3. เผยใหเห็นบุคลิกภาพและนสัิยใจคอของตวัละครในเรื่อง 4. ชวยใหเกิดความหยั่งเห็น คอื ความรูสึกเขาใจวาทําไมบุคคลจึงไดแสดงออกเชนนี ้5. เผยใหเห็นบุคลิกภาพของผูแตง สวนผลกระทบทางจิตใจอันเนื่องมาจากการอานวรรณคดีจะมีมากนอยเพียงใดถือเปน

เร่ืองของแตละบุคคล ดังเชน สายทิพย นกุูลกิจ กลาวถึงเรื่องการเกิดอารมณสะเทือนใจวา “อารมณสะเทือนใจอาจเกิดขึ้นเมื่อตวัละครไดเห็นนางอันเปนที่รักสิ้นชีวิต” 1 ซ่ึงสอดคลองกับคํากลาวของพระยาอนุมานราชธน ที่ไดกลาวถึงอัตวิสัยในการเกิดอารมณสะเทือนใจของผูอานวรรณคดีวา “จะเปนวรรณกรรมทําใหทานบงัเกิดอารมณสะเทือนใจแรงแคไหน จะเปนไปในทางฝายสูงหรือฝายต่าํ เกิดขึ้นแลวและหมดไปเร็วหรือชาก็ตามที ก็สุดแทแตตัวทาน ตามสวนแหงอํานาจความรูสึกนึกเห็นและความคุนเคยอบรมมา เปนเรื่องตางคนตางรูสึก ไมมีอะไรตองโตเถียงกันเรื่องนี้”2

จิตรลดา สุวัตถิกุล3 กลาวถึงเรื่อง รสวรรณคดีในเอกสารประกอบการสอนภาษาไทย ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชไวสรุปไดวา รสวรรณคดี ไดแก อารมณหรือภาวะตาง ๆ ที่ปรากฎในวรรณคดี เชน อารมณรัก อารมณโกรธ อารมณเศรา เปนตน การอานวรรณคดีใหไดรสผูอานตองพิจารณาถอยคําของผูเขียนทุกตวัอักษร แลวจึงคิดและวิเคราะหตามเพื่อใหรับรูภาวะแหงอารมณนั้น ๆ รสวรรณคดีแบงไดเปน 2 ลักษณะ คือ รสวรรณคดีไทย มี 4 รส คือ เสาวรจนี นารีปราโมทย พิโรธวาทัง สัลลาปงคพิสัย สวนรสวรรณคดีสันสกฤตมี 9 รส คือ ศฤงคารรส รุทธรส กรุณารส หาสยรส วีรรส ภยานกรส พิภัสรส อัทภูตรสและศานติรส

กระแสร มาลยาภรณ กลาวถึงรสวรรณคดีไววา

คุณคาสวนหนึง่ของวรรณคด ี คือ คุณคาทางอารมณนั่นเอง คือ กวีตองมีแรงบันดาลใจอันจะทําใหเกดิจนิตนาการ สรางภาพสะเทือนอารมณ ขางผูอานก็จะตีความวรรณคดีนัน้ ๆ ออกมา อันอาจจะเปนอารมณที่คลายกับกว ีผูแตง อารมณของกวนีั้นยอมเปนอารมณโศก อารมณรัก อารมณเคียดแคน ฯลฯ เรายอมไดประโยชนดวย การที่จะเปนคนอยูเฉย ๆ ไมมีความออนไหวหรือโลดโผนทางอารมณนั้นจะไม “สนุก” ไมไดรับ “รสแหงภาษา”

1 สายทิพย นุกลูกิจ. เอกสารประกอบการสอนวิชาภาษาไทย 321 : วรรณคดีวจิารณ.

2523. หนา 167. 2 พระยาอนุมานราชธน. การศึกษาวรรณคดีแงวรรณศิลป. 2546. หนา 51. 3 จิตรลดา สุวตัถิกุล. “องคประกอบทางสุนทรียศาสตร สุนทรียภาพในความ,”

ภาษาไทย 7 (หนวยที่ 1 – 8). 2538. หนา 227 – 228.

Page 21: วิเคราะห รสวรรณคด ีที่ปรากฏในน ...kb.tsu.ac.th/jspui/bitstream/123456789/483/1/101310.pdfว เคราะห รสวรรณคด

16

เลย “รส” ของวรรณคดีนัน้ทานเรียกวา “พนธรส” มีอยู 9 รส คือ ศฤงคารรส (ความรัก) หาสยรส (ความหรรษา) กรุณารส (ความกรุณา) รุทธรส (ความดุราย) วีรรส (ความกลาหาญ) ภยานกรส (ความสยดสยอง) พิภัตสรส (ความขยะแขยง) อัทภูตรส (ความอัศจรรยใจ) และศานติรส (ความสงบ) วรรณคดทีี่ดียอมใหรสตาง ๆ เหลานี้แกผูอานได 1

เบญจมาศ พลอินทร 2 กลาวถึงเรื่องรสของวรรณคดีสรุปไดวา อรรถรส หมายถึง รสของวรรณคดีที่กอใหเกิดความรูสึกทางดานอารมณ เปนอาการที่เกดิขึ้นเมื่อไดฟงเรื่องราวจากวรรณคดแีละวรรณกรรม หรือถอยคําของกวีเปนเหตจุงูใจใหเปนไป ทั้งนี้ กวจีะตองเขาถึงภาวะแหงจิตใจของผูอาน ผูฟงและอารมณของคนในลักษณะตาง ๆ แลวปรับถอยคําปรุงแตงใหเกดิอรรถรส หรือรสแหงวรรณคดี ซ่ึงบรรดาปรมาจารยไดแยกแยะและกาํหนดไวตามภาวะแหงอารมณ มีอาการเปนไปตามถอยคําของกวอัีนมีอยู 9 ประการ คือ

1. สิงคารรส คือ รติ หมายถึง รสแหงความรัก 2. หัสสรส คือ หาสะ หมายถึง รสแหงความขบขนัหรรษา 3. กรุณารส คือ โสกะ หมายถึง รสแหงความโศกเศราสงสาร 4. รุทธรส คือ โกธะ หมายถึง รสแหงความโกรธแคน 5. วีรรส คือ อุตสาหะ หมายถึง รสแหงความกลาหาญ 6. ภยานกรส คือ ภย หมายถึง รสแหงความกลวัภยัและสยดสยอง 7. วิภจัฉรส คือ ชิคุจฉา หมายถึง รสแหงความเกลียดและขยะแขยง 8. อัทภูตรส คือ วิมหยา หมายถึง รสแหงความประหลาดใจ 9. สันตรส คือ สมะ หมายถึง รสแหงความสงบแหงจิตใจ ความรูเร่ืองรสวรรณคดีตามแนวทฤษฎีรสของวรรณคดสัีนสกฤตดังที่กลาวมาแลว

ผูวิจัยจะใชเปนแนวทางในการวิเคราะห โดยยดึแนวทางการศกึษาวิเคราะหวรรณคดไีทยตามแนวทฤษฎีรสวรรณคดีสันสกฤตของ กุสุมา รักษมณี เปนหลัก

1 กระแสร มาลยาภรณ. วรรณคดีเปรียบเทยีบเบื้องตน. 2516. หนา 23. 2 เบญจมาศ พลอินทร. พื้นฐานวรรณดคีและวรรณกรรมไทย. 2526. หนา 76 -77.

Page 22: วิเคราะห รสวรรณคด ีที่ปรากฏในน ...kb.tsu.ac.th/jspui/bitstream/123456789/483/1/101310.pdfว เคราะห รสวรรณคด

17

งานวิจัยท่ีเก่ียวกับรสวรรณคด ี

ภาวณี โชติมณี 1 วิเคราะหวรีรสในรามเกียรติ์ฉบับพระราชนิพนธในรัชกาลที่ 2 โดย มุงวิเคราะหองคประกอบและพฤติกรรมของตัวละครที่แสดงถึงวีรรส องคประกอบของวีรรส ประกอบดวยองคประกอบดานวภิาวะ 3 ประการ คือ การเปนผูมีคุณธรรมของตัวละคร การตองถือปฏิบัติตามคําสั่งหรือขอรอง และความรูสึกที่เกิดขึ้นในชั่วขณะองคประกอบดานอนุภาวะ ปรากฎอยู 3 ลักษณะ คือ อนุภาวะดานคาํพูด อนภุาวะดานอากัปกิริยาและอนภุาวะดานคําพูดและอากัปกิริยา องคประกอบดานสาตตวกิภาวะปรากฎอยู 5 ลักษณะ คือ ภาวะตะลึงงัน ภาวะเหงื่อออก ภาวะตวัส่ัน ภาวะน้ําตาไหล และภาวะการเปนลม พฤติกรรมของตัวละครที่แสดงถึง วีรรส ผูวิจัยไดแบงพฤติกรรมของตัวละครออกเปน 2 ฝาย คือ วีรรสของตัวละครฝายพลับพลา และวีรรสของตัวละครฝายลงกา โดยปรากฎผลการวิเคราะหวีรรสในแตละดาน ผลการวิเคราะหวีรรสในแตละดานของตัวละครฝายพลับพลา พบวาในดานธรรมวรีะมบีทบาทการทําหนาที่ที่โดดเดนของตัวละคร 9 ตัว คือ บทบาทผูปราบอธรรมและการเปนนายทีด่ีของพระราม บทบาทการเปนอนุชาที่ดขีองพระลักษมณ พระพรต พระสัตรุด และพระลบ บทบาทการเปนชายาที่ดีของนางสีดา บทบาทการเปนทหารที่ดีของหนุมานและองคต บทบาทการเปนอนุชาและทีป่รึกษาที่ดีของพิเภก ดานรณวีระ มีบทบาทการรบที่โดดเดนของตวัละคร 5 ตัว คอื พระราม พระลักษณ หนุมาน และพระลบ พระมงกุฎ โดยตวัละครทั้งหมดไดแสดงบทบาทการตอสูโดยมีจุดประสงคเพื่อตองการเอาชนะและทําลายลางฝายปฏิปกษ ผลการวิเคราะหวีรรสของตัวละครฝายลงกา พบวาในดานธรรมวรีะ มีบทบาทการทําหนาทีท่ี่โดดเดนของตัวละคร 6 ตัว คือ บทบาทชายาและมารดาที่ดีของนางมณโฑ บทบาทผูตัดสินคดีความที่มีความยุติธรรมของทาวมาลีวราช บทบาทอนุชาที่ดีของกุมภกรรณ บทบาทโอรสที่ดีของอินทรชิต บทบาทญาติที่ดีของนางเบญกาย และบทบาทมารดาที่ดีของนางพิรากวนในดานรณวีระ มีบทบาทการรบที่โดดเดนของตวัละครจํานวน 13 ตัว คือ ทศกัณฐ กุมภกรรณ อินทรชิต ไมยราพ มจัฉานุ สหัสเดชะ มูลพลํา มังกรกัณฐ สัทธาสูร วิรุณจําบัง ทศครีีวัน ทศคีรีธร และบรรลัยกลัป โดยตัวละครทุกตัวไดแสดงพฤติกรรมการสูรบเพื่อตองการเอาชนะฝายปฏิปกษ ทั้งนี้ ไมปรากฎพฤติกรรมที่แสดงถึงวีรรสดานทานวีระจากตัวละครทั้งฝายพลับพลาและฝายลงกา

1ภาวณิี โชติมณ.ี การวิเคราะหวีรรสในรามเกียรติ์ฉบับพระราชนิพนธในรัชกาลที่ 2.

2543. หนา 160.

Page 23: วิเคราะห รสวรรณคด ีที่ปรากฏในน ...kb.tsu.ac.th/jspui/bitstream/123456789/483/1/101310.pdfว เคราะห รสวรรณคด

18

เบญจวรรณ สงสมบูรณ 1 เปนการศึกษาบทละครเสภาเรื่อง ขุนชางขุนแผนที่กรมศิลปากรจัดแสดง ตั้งแต พ.ศ. 2492 ถึง พ.ศ. 2537 รวม 27 ตอน เพื่อวิเคราะหลักษณะเดนของเนื้อหา โดยใชทฤษฎีรสของวรรณคดีสันสกฤต ผลการวิจัยปรากฏวา บทละครเสภาเรื่อง ขุนชางขุนแผน มีรสที่เปนรสเดน 6 รส ไดแก วรีรส (รสของความกลาหาญ) ศฤงคารรส (รสของความรัก) กรุณารส (รสของความทุกขโศก) เราทรรส (รสของความอัศจรรยใจ) รสรอง 3 รส ไดแก ภยานกรส (รสของความหวาดกลัว) พีภัตสรส (รสของความรังเกียจ) และศานตรส (รสของความสงบใจ) จึงสรุปไดวา เสภาเรื่องขุนชางขุนแผนที่นาํมาทําบทละครมีรสวรรณคดีครบทั้ง 9 รส ตามทฤษฎีวรรณคดีสันสกฤต รสวรรณคดีเหลานี้เกดิจากเนื้อหา ตัวละครที่ตรึงใจผูชม จึงทําใหบทละครเสภาเรื่องนี้เปนที่นิยมตลอดมา

วงเดือน สุขบาง2 ศึกษาพระปฐมสมโพธิกถาในแนวสุนทรียะ สรุปไดวา รสความที่เกิดจากการบรรยายและพรรณนาความไดกอใหเกิดรสวรรณคดีครบทั้งเการส โดยไดยกตวัอยางรสวรรณคดีในดานตาง ๆ ผูวิจัยไดกลาวไวสรุปวา ในพระปฐมสมโพธิกถาปรากฏศฤงคารรสที่กลาวถึงความรักและความเสนหาระหวางหนุมสาวมีเพียงเล็กนอย ไดแก ความเสนหาที่พระสิริมหามายาทรงมีตอพระสิริสุทโธทนะเมื่อไดทราบขาวของพระองค และนาง กีสาโคตมีทรงมีใจผูกพันตอพระมหาบุรุษ เปนตน แตไดกลาวถึงความงามของบุคคล ไดแก ความสงางามของพระพุทธองค พระบรมชนกนาถ ความทรงพระสิริโฉมงดงามของพระพทุธมารดา ความงามของสระโบกขรณีที่พระอินทรตรัสสั่งใหพระเวสสกุรรมลงมานฤมิตใหเจาชายสิทธัตถะกลาวถึงความงามของธรรมชาติ การบรรยายและพรรณนาเกีย่วกับความงามดังกลาวนี้ กอใหเกดิความรูสึกชื่นชมยินดี จนเกิดความรักในความงามนั้นๆ กรุณารส ในพระปฐมสมโพธิกถา ปรากฏรสนี้อยูหลายตอน เชน ตอนที่มากัณฐกะแสดงความเศราโศกที่ตองจากพระมหาบุรุษ นายฉนันอาลัยรักมากัณฐกะ พระนางพิมพาคร่ําครวญถึงพระพุทธองค พระอานนททรงอาลัยอาวรณถึงพระบรมครูเมื่อพระองคเสด็จดับขันธปรินิพพาน เปนตน รสนี้ใหความรูสึกและอารมณคลอยตาม เสียงของคําที่ใชพรรณนาใหเกิดกรุณารสมีความราบรื่นและคลองจองเปนอันดี ทําใหเกิดความไพเราะเปนอยางยิ่ง ปรากฏวีรรส 3 ลักษณะคือ รณวีระ ไดแก ความกลาหาญในการสงครามหรือการรบ ทานวีระ ไดแก ความกล าหาญในการให และทยาวีระ ไดแก ความกลาหาญในการชวยเหลือ พระพุทธองคทรงแสดงรณวีระ เชน ตอนที่พระยามารยกพลมาประจญพระองคเทพยดาทั้งหลาย

1 เบญจวรรณ สงสมบูรณ. บทละครเสภาเรื่อง ขุนชางขุนแผน : การศึกษาในเชิง

วรรณคดวีิเคราะห. 2540. หนา 8. 2 วงเดือน สุขบาง. การศึกษาพระปฐมสมโพธิกถาในแนวสุนทรียะ. 2524. หนา 235.

Page 24: วิเคราะห รสวรรณคด ีที่ปรากฏในน ...kb.tsu.ac.th/jspui/bitstream/123456789/483/1/101310.pdfว เคราะห รสวรรณคด

19

ตกใจหนีไปสิน้ พระองคประทับอยูเพยีงลําพัง ทรงแสดงความกลาหาญดวยทวงทาและวาจา ตรัสเรียกพระบารมีทั้งหลายใหตอสูกับพระยามารจนพายแพ สําหรับทานวีระ มีปรากฏอยูหลายตอน เชน ตอนที่กรมสมเด็จพระปรมานุชิตโนรสทรงพรรณนาวา พระมหาบุรุษ ทรงกระทําทานทั้ง 3 ขั้น คือ ทานบารมี ทานอุปบารมี และทานปรมัตถบารมี มาเปนเวลาชานานดวยพระทัยปรารถนาจะชวยมวลสัตวโลกใหพนจากหวงมหรรณพ แมผูใดปรารถนาทรัพยสิน อวยัวะและชีวิตของพระองค ก็ไมทรงเสียดาย เชน ตอนที่เสวยพระชาติเปนพระเวสสันดรทรงบริจาคพระมเหสี พระราชโอรสและพระราชธิดา ดังนี้ เปนตน สวนทายาวีระหรือความกลาในการชวยเหลือ มีปรากฏเห็นเดนชัดมาก เชน ตอนทีพ่ระสิทธัตถะตัดสินพระทยัละท้ิงพระนางพิมพาพระอัครมเหสี พระราหุลราชโอรสผูประสูติไดเพียง 1 วนั พระเจาสุทโธทนะพระราชบิดา และพระบรมวงศานุวงศตลอดจนความสุขทางโลกียะทั้งหลายเสดจ็ออกบรรพชา เพื่อแสวงหาพระสัทธรรมอันเปนหนทางที่จะ “ร้ือ” และ “ขน” สรรพสัตวใหพนจากความทกุข การกระทําของพระองคจัดวาเปนทยาวีระอยางสูงสง วีรรสที่กลาวมาแลวนี้ กอใหเกดิความชื่นชม ความภาคภูมแิละความเลื่อมใสศรัทธาในองคพระบรมศาสดาเปนอยางสูง หาสยรส ในพระปฐมสมโพธิกถา ปรากฏในลักษณะสิตะกับ หสิตะ คือ ยิม้กับแยม เทานั้น ทั้งนี้เพราะเนื้อหาไมเอือ้ตอการประพนัธรสดังกลาว ตัวอยางหาสยรส ไดแก ตอนที่พระมหาบุรุษเสด็จออกบิณฑบาต ณ กรุงราชคฤห ดวยความสงางามและองอาจภาคภูมขิองพระองค ทําใหชาวเมืองแตกตื่นชมพระอุดมรูป และทุมเถียงกนัวา พระองคเปนพระอินทรบาง เปนพระอิศวรบาง เปนพระพรหมบาง หรือเปนบคุคลอื่นๆ ภาพของชาวเมืองในขณะโตเถียงที่เกิดขึ้นในใจผูอาน สรางความขําขันทําใหรูสึกเบิกบานและราเริง ผูอานจะไดรับความพึงพอใจและสบายใจ อัพภตูรส คือ ตอนที่เปนปาฏิหาริยและความมหัศจรรยตางๆ เชน ตอนกาฬเิทวิลดาบสเขาไปถวายพระพรพระสิทธัตถะราชกุมาร พระเจาสุทโธทนะจึงใหเชิญเสด็จพระองคมาเพือ่ใหนอมนมัสการพระดาบส ขณะนัน้พระบาททั้งสองของพระมหาบุรุษกลับขึ้นไปยืนประดิษฐานอยูบนชฎาของพระกาฬเทวิล ทุกคนเหน็เปนมหัศจรรย ลักษณะปาฏิหาริยเชนนี้ กอใหเกิดอัพภตูรส ทําใหผูอานแปลก ประหลาดใจ ตื่นเตนและสนใจเปนอยางยิ่ง ภยานกรสในพระปฐมสมโพธิกถา ปรากฏรสนี้เปนบางตอน เปนตนวา ตอนที่พระยามารยกพลมาประจญพระมหาสัตว เทพยดาทั้งหลายตางตกใจ แลนหนีหมด ละทิง้ใหพระมหาสัตวทรงเผชิญหนากับพระยามารเพียงพระองคเดียว อาการที่เทพยดาตกใจกลัวและหลบหนีพระยามาร กอใหเกดิภยานกรส ผูอานจะมองเห็นภาพและนาฏการไปพรอมๆ กัน สวนรุทธรสมีปรากฏอยูบาง เชน ในตอนที ่พระยามารรูสึกโกรธที่พระมหาบุรุษจะพนไปจากอํานาจของตน และตอนที่กษัตริยทั้ง 8 พระนคร รองทาทายเพือ่ตอสูแยงชิงพระบรมสารริีกธาตุของพระบรมศาสดา เปนตน ความบรรยายใหเหน็ถึงความโกรธในพระปฐมสมโพธิกถา แมจะไมมีความรุนแรงนัก แตก็ใหภาพ ความรูสึก อารมณ

Page 25: วิเคราะห รสวรรณคด ีที่ปรากฏในน ...kb.tsu.ac.th/jspui/bitstream/123456789/483/1/101310.pdfว เคราะห รสวรรณคด

20

และบรรยากาศแกผูอาน ทําใหรูสึกตื่นเตน สนุกและเพลิดเพลิด พภีัตสรส ปรากฏรสนี้เพียงเล็กนอย ไดแก ตอนที่พระอุปคุตตเถระทรมานพระยามาร ดวยการเนรมิตใหซากศพสุนัขเนา มีหนอนชอนไชยั้วเยี้ย สงกลิ่นเหม็นคละคลุง ผูกพันอยูกับกายพระยามาร จนกวาพระยามารจะละพยศจึงจะแกให ความบรรยายที่ใหพีภัตสรสนี้ ใหความรูสึกขยะแขยง ใหภาพที่นาเกลียด และใหกล่ินที่ไมพึงประสงค ทําใหผูอานเกิดความรังเกียจอยางรุนแรง ศานตรสในพระปฐมสมโพธิกถา ความพรรณนาที่กอใหเกิดศานตรสนี้ มีปรากฏอยูมาก เพราะเนื้อหาเอือ้ตอการประพนัธ เปนตนวา ตอนพระมหาบุรุษเสวยขาวมธุปายาสของนางสุชาดาและทรงอธิษฐานลอยถาดทองแลว เสด็จไปประทับ ณ ใตตนพระศรีมหาโพธิ์ กอนที่พระองคจะตรัสรู หรือตอนภายหลังตรัสรูแลว ทรงประทับเสวยวมิุติสุข ณ ที่เดมิเปนเวลา 7 วัน และประทับใตตนอัชปาลนิโครธ (ตนไทร) เปนเวลาอีก 7 วนั ความพรรณนาในชวงเวลาดังกลาว ใหศานตรสแกผูอาน กอใหเกดิความสงบและความสบายใจ ทําใหรูสึกเปนสุขอยางแทจริง สมดังพระพุทธพจนทีว่า “นกถิ สนฺติ ปรํ สุขํ - สุขอ่ืนใด ยิ่งกวาความสงบไมมี” นอกจากนีศ้านตรสยังชวยใหผูอานแลเห็นภาพ ไดยนิเสียงและรูสึกถึงบรรยากาศที่เงียบสงบอีกดวย นอกจากจะไดรับรสแหงวรรณคดทีัง้ 9 นี้แลว ยงัไดรับรสแหงธรรมดวย ซ่ึงรสแหงธรรมนี้ยอมชนะรสทั้งปวง

นงลักษณ แชมโชติ1 ไดศึกษาเรื่องหาสยรสในวรรณกรรมรอยกรองของไทยสมัยรัตนโกสินทร พ.ศ. 2325 - พ.ศ. 2475. ผลการศึกษาสรุปไดวา ในวรรณกรรมรอยกรองของไทย ทําใหเราทราบวา แมในเรื่องขบขันผูแตงบางทานยังใชประสบการณทางวรรณกรรม และศิลปเชิงภาษาอยางสูง จึงเทากับไดศกึษาศิลปะการประพันธในรปูแบบหนึ่งซึ่งจะชวยใหเขาใจลักษณะวรรณกรรมรอยกรองของไทยไดลึกซึ้งกวางขวางขึ้น นอกจากนัน้หาสยรสยังสะทอนลักษณะสังคมบางประการที่ไมสามารถทราบไดจากประวัติศาสตรหรือพงศาวดาร อันไดแก ทัศนะบางประการของประชาชนที่มีตอฝายปกครอง เหตุการณและความเคลื่อนไหวในสังคมที่ไมไดเกี่ยวของกับการเมือง และลักษณะนิสัยของคนไทย เปนตน หาสยรสในรูปการเสียดสีเหน็บแนมที่ผูแตงนํามาใชจี้จุดบกพรองในสังคมนั้น แมสถานภาพของผูแตง และสภาวะทางการเมืองจะเปนเหตุใหปรากฏวรรณกรรมรปูแบบนี้ไมมากนัก แตก็พอจะยนืยนัไดวา ผูแตงในฐานะที่เปนสมาชิกสวนหนึ่งของสังคม มีความสํานึก หรือความรับผิดชอบตอสังคม

1 นงลักษณ แชมโชติ. หาสยรสในวรรณกรรมรอยกรองของไทยสมัยรัตนโกสินทร

พ.ศ. 2325 - พ.ศ. 2475. 2521. หนา 290 - 291.

Page 26: วิเคราะห รสวรรณคด ีที่ปรากฏในน ...kb.tsu.ac.th/jspui/bitstream/123456789/483/1/101310.pdfว เคราะห รสวรรณคด

21

ธนันต พิสัยสวัสดิ์1 ไดวิเคราะหวรรณคดีอีสานเรื่อง ขุนทึง โดยวเิคราะหศิลปะการเสนอเรื่องและสุนทรียะเชิงประพันธ พบวา ผูนิพนธวรรณคดีเร่ือง ขุนทึง สามารถเรียบเรียงถอยคําพรรณนาความตอนตาง ๆ ใหผูฟงหรือผูอานบังเกิดอารมณทางใจไดครบทั้งเการส ซ่ึงผูวิจัยไดแสดงรายละเอียดไววารสวรรณคดีใดปรากฎอยูในตอนใดบาง รสวรรณคดีที่เดนที่สุดของเรื่อง ขุนทึง คือ ศานตรส กรุณารส และศฤงคารรส ตามลําดับ อันเปนรสสําคัญที่จะนําผูอานเขาถึงจุดมุงหมายของผูประพันธ และการสรางรสวรรณคดีดงักลาวนี้สอดคลองกับแกนเรือ่งมากที่สุด

กัลยา พลายชมุ2 ไดวิเคราะหอุเทนคําฉันทของพระสมุหหนู ฉบับศนูยวฒันธรรมภาคใต วิทยาลัยครูนครศรีธรรมราช สรุปผลการศึกษาวา องคประกอบของเรื่องมีลักษณะเดนเฉพาะทั้งโครงเรื่อง แนวคดิ ทรรศนะของผูแตง ตัวละคร บทสนทนา และฉาก ดานรูปแบบคําประพันธมีการใชคําประพันธแตละชนิดไดเหมาะสมกับเนื้อหา ดานขนบนิยมในการแตงจะปฏิบตัิตามกวีรุนกอน แตมีเอกลักษณอยูบางในบทไหวครูและบทอัศจรรย ดานศิลปะการประพันธนับวา มีความไพเราะทั้งรสคํา รสความและรสวรรณคดี โดยมรีสวรรณคดีตามทฤษฎีอลังการศาสตร 8 รส คือ ศฤงคารรส วีรรส กรุณารส อัทภูตรส ภยานกรส เราทรรส พีภัตสรสและศานตรส ซ่ึงรสวรรณคดีแตละรสที่ปรากฎอยูลวนใหความรูสึกสะเทือนอารมณแกผูอาน ทําใหวรรณกรรมเรือ่งนี้มีคุณคานาสนใจเปนอยางมาก

ศศิธร แสงเจริญ3 ไดวิเคราะหศฤงคารรสในพระนลคําหลวง สาวิตรี ศกุนตลา มัทนะพาธา สรุปผลการวิเคราะหไดดังตอไปนี ้

พระนลคําหลวง เปนวรรณคดีเร่ืองเดียวใน 4 เร่ือง ที่ไมมีขอจํากัดทางดานศิลปะการแสดงเขามาเปนอุปสรรคตอการสงสาร ผูแตงจึงสามารถแสดงรติภาวะของตัวละครไดอยางเขมขนทกุรูปแบบ ภาวะรักตาง ๆ ไดถูกจัดวางไวอยางถูกจังหวะ มีเหตกุารณตอเนื่องกันอยางเหมาะสม มีฉากที่กลมกลืนกับประสบการณทางอารมณของตัวละครไดเปนอยางดี

สาวิตรี แมจะเปนเรื่องขนาดเล็กและเปนบทละครรองแบบดึกดําบรรพแตก็มีพลังของศฤงคารรสโดดเดน เพราะเหตุการณตาง ๆ ไดถูกจัดลําดับไวอยางมีศลิปะและเปนเอกภาพ บทรอง

1 ธนันต พิสัยสวัสดิ์. การวิเคราะหวรรณคดีอีสานเรื่อง ขุนทึง. 2531. หนา 472 - 473. 2 กัลยา พลายชมุ. วิเคราะหอุเทนคําฉันทของพระสมุหหนู ฉบับศูนยวฒันธรรมภาคใต.

2538. หนา 130 - 140. 3 ศศิธร แสงเจริญ. การวิเคราะหศฤงคารรสในพระนลคาํหลวง สาวิตรี ศกุนตลา

มัทนะพาธา. 2537. หนา 548 - 552.

Page 27: วิเคราะห รสวรรณคด ีที่ปรากฏในน ...kb.tsu.ac.th/jspui/bitstream/123456789/483/1/101310.pdfว เคราะห รสวรรณคด

22

มีพลังเราอารมณสะเทือนใจ วีรกรรมแหงความรักของนางสาวิตรีผูงามอยางที่สุดและเขมแข็งกลาหาญยิ่งกวาบุรุษไดสรางความประทับใจแกผูเสพอยางไมรูลืม

ศกุนตลา เปนบทละครรองแบบดึกดําบรรพ จึงมีขอจํากดัทางดานศิลปะการแสดงตวัละครขาดความซับซอนทางอารมณ ศฤงคารรสที่เกิดขึ้นจึงเดนเฉพาะชวงแรก สวนชวงหลังเมื่อตวัละครไดพบกนัหลังจากการพลัดพราก จะไมมีบทโตตอบของตัวละครเอก จึงทําใหขาดความซาบซึ้งในศฤงคารรสไปอยางนาเสียดาย มัทนะพาธา ถือเปนเรื่องที่ประสบความสําเร็จในดานรูปแบบ กวผูีประพันธไดทรงใชฉันทลักษณไดเหมาะสมกับเนื้อหาทางอารมณและเนื้อหาทางความคดิ แตมีจดุออนในดานของโครงเรื่องและลักษณะนิสัยของทาวชัยเสนที่ไมเอื้อตอการเกิดศฤงคารรส อยางไรก็ตามฉากรักในเร่ืองมัทนะพาธาแมจะเปนฉากที่ออนหวานและลึกซึ้งกวาทุกเรื่องที่ศกึษา แตเปนนาเสียดายที่ศฤงคารรสเกิดขึ้นเฉพาะชวงเฉพาะตอนเทานั้น ผูวิจยัไดใหความเหน็วา วรรณคดทีั้ง 4 เร่ืองนี้ มิไดเปนเพียงวรรณคดีที่ใหความบันเทิงใจเทานั้น แตยงัใหคติธรรมดานความรักอยางลึกซึ้ง ทําใหผูเสพไดเขาใจชีวิตดยีิ่งขึ้นและสามารถดํารงชีวิตอยูในโลกแหงความจริงไดอยางมีความสุข

ผลจากการศึกษาเอกสารและงานวิจัยทีเ่กีย่วของกับรสวรรณคดีโดยใชทฤษฎีรสวรรณคดีสันสกฤตที่กลาวมาแลวนั้น ทําใหผูวิจยัไดเห็นลักษณะการจําแนกรสวรรณคดีและภาวะตางๆของการเกิดรส ถือเปนองคความรูสําคัญที่ผูวิจัยไดนํามาใชเปนแนวทางในการวางกรอบเพื่อวิเคราะหทฤษฎีรสวรรณคดสัีนสกฤต ฉบับพระนิพนธกรมหมื่นพิทยาลงกรณ ตอไป

เอกสารและงานวิจัยท่ีเก่ียวกับวรรณคดีเร่ืองนิทานเวตาล เอกสารที่เก่ียวกับวรรณคดีเร่ืองนิทานเวตาล

ปรมินท จารุวร1 ไดมุงศึกษานิทานเวตาลของพระราชวรวงศเธอกรมหมื่นพิทยาลงกรณ

ในแงองคประกอบของนิทานซอนนิทาน จากการศึกษาพบวา การที่นทิานเวตาลมีรูปแบบเปนนิทานซอนนทิานทําใหเนื้อเร่ืองจําแนกไดเปน 2 สวนใหญ ๆ คือ สวนที่เปนนิทานเรื่องหลัก และนิทานซอนเรือ่งหลัก การดาํเนินเรื่องเปนไปตามเงื่อนไขที่ตัวละครสําคัญเปนผูตั้งไว โดยจะจบลงเมื่อตัวละครเอกสามารถทําตามเงื่อนไขไดสําเร็จ นอกจากนี้ความนาสนใจและความชวนติดตาม

1 ปรมินท จารุวร. “องคประกอบของนิทานซอนนิทานในนิทานเวตาล,” ภาษาและ

วรรณคดีไทย. 17 : 38 ; ธันวาคม 2543.

Page 28: วิเคราะห รสวรรณคด ีที่ปรากฏในน ...kb.tsu.ac.th/jspui/bitstream/123456789/483/1/101310.pdfว เคราะห รสวรรณคด

23

ของเรื่องยังอยูที่ประเภทของตัวละครและความขัดแยงของตัวละครที่สามารถพัฒนาความขัดแยงนั้นใหเปนปมปญหาที่ซับซอน และแมวานิทานเวตาลจะประกอบดวย นิทานซอนหลายเรื่องก็ตาม แตนิทานเหลานั้นจะสะทอนแนวคดิสําคัญที่เดนชัดเพียงแนวคดิเดยีว

ชลธิรา สัตยาวัฒนา1 ไดศึกษานิทานเวตาลในฐานะเพชรน้ําเอกในวรรณกรรมไทยที่อุบัติขึ้นในยุคกอนการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ.2475 ทั้งยังไดรับคัดเลือกใหเปนบทเรียนตามหลักสูตรของกระทรวงศึกษาธิการในบางยุค เมื่อหลัง 25 พุทธศตวรรษ แสดงใหเห็นวา ผลงานของ น.ม.ส. เปนที่รูจักยกยองในหมูผูรูและผูทรงคุณวุฒิทางวรรณคดีของชาติ นิทานเวตาลจัดอยูในประเภทนิทานรอยแกว มีรอยกรองแทรกเปนบางตอน มีตนเคามาจากวรรณคดีอินเดียโบราณที่แตงเปนภาษาสันสกฤตชื่อ เวตาลปฺจวึศติ ซ่ึงมีจํานวน 25 เร่ือง มีการแปลเปนฉบับภาษาอังกฤษหลายสํานวน น.ม.ส. เลือกฉบับของเซอร ริชารด เบอรตัน นิทานเวตาลสํานวนภาษาไทยของ น.ม.ส. จึงประกอบดวยนิทานทั้งหมด 10 เร่ือง นิทานเวตาลมีที่มาแรกเริ่มจากวรรณคดีมุขปาฐะ เพราะเปนนิทานที่เลาสูกันฟง รูจัก สืบทอดและเผยแพรกนัอยางกวางขวางหลายสํานวน ผานกันมาหลายชั่วรุนคน นบัเนื่องสืบมาหลายพันป นทิานเวตาลจึงเปนหนังสือที่ใชอานเพื่อความสนุกเพลิดเพลินก็ได หรือจะนํามาศกึษาเพื่อเขาใจโลกทัศน วิธีคิด สภาพสังคม พฤติกรรมมนุษยและภูมิปญญาของชาวอินเดียโบราณ คณุคาของนิทานเวตาลจึงมไิดจํากัดเพียงเปนประโยชนดานวรรณคดศีึกษา หากยังเปนความรูดานคติชนวิทยาตะวนัออกอีกดวย นิตยา แกวคัลนา ไดกลาวถึงนทิานเรื่องที่ 1 ในนิทานเวตาล ฉบับพระนิพนธ กรมหมื่นพิทยาลงกรณ วามคีวามสัมพันธกับลิลิตเพชรมงกุฎ โดยมีเนือ้เร่ืองสอดคลองกันวา เจาชายพระองคหนึ่งพอพระทัยเจาหญิงพระองคหนึ่ง โดยท่ีฝายชายนั้นมีสติปญญาดอยกวาฝายหญิง จึงถูกฝายหญิงกระทําดวยกลอุบายตางๆ แตมีคนฉลาดซึ่งเปนผูติดตามเจาชายชวยแกไข กลอุบายนั้น ดังความวา

เร่ืองของพระวัชระมุกุฏกับนางปทมาวดี เมื่อเปรียบเทียบกับนิทานเรือ่งพระเพชรมงกุฎกับนางประทมุวดีในลิลิตเพชรมงกุฎ พบวามีเนื้อความคลายคลึงกันแตจะแตกตางกนัในรายละเอียด...ในนิทานเวตาลเปนเรื่องของพระวัชรมุกุฏพบนางปทมาวดีแกลงบอกกลเปนปริศนา พุทธิศริระสหายผูมปีญญาแกกลปริศนาให เมื่อพระวัชรมุกุฏพบวานางพึงใจทั้ง

1 ชลธิรา สัตยาวัฒนา. “นิทานเวตาลเพชรน้ําเอกในวรรณกรรมไทย,” น.ม.ส.อัจฉริยะ

กวีศรีรัตนโกสินทร. 2541. หนา 21-28.

Page 29: วิเคราะห รสวรรณคด ีที่ปรากฏในน ...kb.tsu.ac.th/jspui/bitstream/123456789/483/1/101310.pdfว เคราะห รสวรรณคด

24

สองจึงเดินทางไปเมืองกรรณ อาศัยอยูกบันางนมของนางปทมาวดี และใหนางนมเปนส่ือสงหนังสือใหนางปทมาวดี นางทําปริศนาตอบ พุทธิศริระสหายเปนผูแกปริศนาให จนถึงปริศนาที่นางเชิญพระราชบุตรเสด็จไปยังปราสาทของนาง พระวัชรมุกุฏไดนางเปนชายา ตอมาเกดิทุกขใจถึงพทุธิศริระ นางปทมาวดีจึงทราบความจริงถึงผูแกกลปริศนาของตน นางเกรงวาพุทธิศริระจะพาพระวชัรมุกุฏกลับบานเมืองจึงวางอุบายประทานขนมใสยาพิษ พุทธิศริระทราบกลอุบายจึงวางแผนใหทาวทนัตวัตเขาใจผดิวาธิดาของตนเปนแมมด ใหขับไลออกจากเมอืง พระวัชรมกุุฏกับพุทธิศริระไปรับนางพาสูนครของตน เวตาลเลาจบทลูถามพระวิกรมาทิตยวาใครเปนผูไดรับการติเตียนมากทีสุ่ด พระ วิกรมาทิตยตอบวาทาวทนัตวัต เวตาลก็ลอยกลับไปยังตนอโศกตามเดมิ1

งานวิจัยท่ีเก่ียวกับวรรณคดีเร่ืองนิทานเวตาล

ประภาพร สุวรรณไตรย2 ศึกษาอวัจนสารที่ปรากฏในวรรณคดีจากหนังสือเรียนภาษาไทยชุดวรรณวิจกัษณและชุดภาษาพิจารณ โดยมีจดุมุงหมาย เพื่อตีความอวัจนสารที่ปรากฎในวรรณคดีจากหนังสือเรียนภาษาไทยชุดวรรณวิจกัษณและชุดภาษาพิจารณ ซ่ึงประกอบดวยเร่ืองอิเหนา นิราศพระบาท มหาเวสสันดรชาดก นิทานเวตาล ลิลิตตะเลงพาย นิราศลอนดอน ขุนชางขุนแผน

ผลการวิจัยในสวนของวรรณคดีเร่ืองนิทานเวตาล สามารถตีความอวัจนสารโดยสรุปไดวา นิทานเวตาลเปนเรื่องที่สนุกสนานนาสนใจ มีสํานวนโวหารไพเราะคมคาย มีการใชสํานวนที่แทรกอารมณขันประชดประชันไวโดยตลอด มีการใชคําอุปมา โดยเฉพาะการเปรยีบเทียบความงามของผูหญิงตามแบบอยางของอินเดีย และมีคุณคาดานสติปญญาเพราะไดแทรกขอคิดทั้งคติโลกและคติธรรมไวอยางมากมาย

1 นิตยา แกวคัลนา. “เวตาลปกรณัมกับการนาํมาสรางสรรควรรณกรรมรอยกรองของ

ไทย,” ภาษาและวรรณคดไีทย. 2546. หนา 35. 2 ประภาพร สุวรรณไตรย. อวัจนสารที่ปรากฏในวรรณคดีจากหนังสือเรียนภาษาไทย

ชุดวรรณวิจกัษณและชุดภาษาพิจารณ. 2536. หนา 63-65.

Page 30: วิเคราะห รสวรรณคด ีที่ปรากฏในน ...kb.tsu.ac.th/jspui/bitstream/123456789/483/1/101310.pdfว เคราะห รสวรรณคด

25

จากการศึกษาเอกสารและงานวิจยัที่เกีย่วของกับวรรณคดีเร่ืองนิทานเวตาลทําใหผูวิจยัเขาใจเนื้อหาของเรื่องนิทานเวตาลดีขึ้น เปนแนวทางในการนําเนื้อหามาเรียบเรียงเพือ่จําแนกเปนรสตางๆ ตามทฤษฎีรสวรรณคดีสันสกฤตตอไป

Page 31: วิเคราะห รสวรรณคด ีที่ปรากฏในน ...kb.tsu.ac.th/jspui/bitstream/123456789/483/1/101310.pdfว เคราะห รสวรรณคด

บทท่ี 3

การวิเคราะหรสและองคประกอบของรสวรรณคดีในนิทานเวตาล คุณคาสําคัญประการหนึ่งของวรรณคด ี ก็คือ การใชถอยคําใหผูอานเกดิความ

ประทับใจ ความประทับใจนั้นจะเกดิจากความรูสึกที่เปนไปตามเรื่องราวในวรรณคดี เชน ความรูสึกรัก ความรูสึกเกลยีดชัง ความกลาหาญ ความสงบ เปนตน ปราชญทางวรรณคดีสันสกฤตจึงกลาววา รสของวรรณคดีมีอยู 9 ประการ คือ ศฤงคารรส หาสยรส กรุณารส เราทรรส วีรรส ภยานกรส พีภัตสรส อัทภูตรส และศานตรส

รสทั้ง 9 รส สามารถวิเคราะหองคประกอบของแตละรสออกเปนวภิาวะ อนภุาวะ และสาตตวกิภาวะ ซ่ึง กุสุมา รักษมณี ไดอธิบายคําศัพท 3 คํานี้ไววา

วิภาวะ หรือเหตุของภาวะ หมายถึง เหตกุารณ บุคคลหรือส่ิงตางๆ ที่กวีกําหนด ไวใน เนื้อเร่ืองใหเปนสาเหตุที่ทําใหเกิดภาวะตางๆ ขึ้นแกตวัละครในเรื่อง เชน คืนเดือนเพ็ญ กล่ินดอกไม การประดับตกแตงรางกาย ฯลฯ เปนวภิาวะของความรัก ( รติ ) เปนตนวิภาวะอาจแบงเปน 2 ลักษณะคือ ตนเหตุ ( อาลัมพนะ ) และเหตุเสริม ( อุททีปนะ ) ตวัอยางเชน ความรักระหวางชายหนุมหญิงสาว ตวัตนเหตุสําคัญก็คือ ชายหนุมและหญิงสาวเอง ทั้งสองจึงเปนวภิาวะที่เรียกวา อาลัมพนะ สวนบุคคลหรือส่ิงแวดลอมและสถานการณตางๆ เชน พี่เล้ียงผูเปนสือ่ ฉากในสวนดอกไม การนัดพบในคืนเดือนเพ็ญฯลฯ เปนเหตเุสริมใหความรกัทั้งสองเพิ่มพูนขึ้น จึงเปนวภิาวะที่เรียกวา อุททีปนะอนภุาวะ หรือผลของภาวะ หมายถึง การแสดงออกของตัวละครดวยคําพดูหรืออากัปกิริยาใหรูวาเกิดภาวะอยางใดอยางหนึ่งขึ้นแกตวัละครนั้น เชน เกี้ยวพาราสี แสรงตัดพอตอวา ยิ้มแยม เอยีงอาย ฯลฯ เปนอนุภาวะของความรัก เปนตน ผูชมจะไดรับรูภาวะที่เกิดขึ้นแกตวัละครมากนอยเพยีงใดขึ้นอยูกับการที่กวีกําหนดอนภุาวะไวในเรื่อง และขึ้นอยูกบัการแสดงออกของผูแสดงดวย สาตตวิกภาวะ หรือปฏิกิริยา หมายถึง การแสดงออกที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ เปนปฏิกิริยาที่หามไมได เมื่อเราโกรธจัด ตัวจะสั่น หรือ หนาจะแดง ปฏิกิริยาตัวส่ัน หรือหนาแดงนี้ เปนสิ่งที่เราควบคุมมิใหเกิดไมได ตางกับ กิริยาหุนหนัพลันแลน กระทืบเทา หรือเงือดเงือ้มือ ฯลฯ ซ่ึงเราอาจระงับได สาตตวิกภาวะตามทฤษฎกีารละครม ี 8 ลักษณะคือ ตะลึงงัน เหงื่อออก ขนลุก เสียงเปลี่ยน น้ําตาไหล และเปนลม อาการตะลึงงันเปนปฏิกิริยาที่เกิดจาก

Page 32: วิเคราะห รสวรรณคด ีที่ปรากฏในน ...kb.tsu.ac.th/jspui/bitstream/123456789/483/1/101310.pdfว เคราะห รสวรรณคด

27

สถายิภาวะหรอืวยภิจาริภาวะ ตาง ๆ เชน ความยินดี ความนากลัว ความปวยไข ความนาพิศวง ความสิ้นหวัง ความโกรธ เปนตน เหงื่อออก เกิดจากความโกรธ ความยินดี ความละอาย ความออนเพลีย ความปวยไข เปนตน ขนลกุ เกิดจากความยินดี ความโกรธ ความตื่นตระหนก ความนากลวั ความพรั่นพรึง เปนตน เสียงเปลี่ยน เกิดจากความยนิดี ความโกรธ ความแคนความตื่นตระหนก ความละอาย เปนตน ตัวส่ัน เกิดจากความนากลัว ความโกรธ ความยินดี ความพรั่นพรึง ความตื่นตระหนก เปนตน สีหนาเปลี่ยน เกดิจากความเหนื่อยออน ความโกรธ ความละอาย เปนตน น้ําตาไหล เกดิจากความยินดี ความโกรธ ความทุกขโศก เปนตน และการเปนลม เกิดจากความเหนื่อยออน ความตื่นตระหนก ความบาคลั่ง เปนตน1

นิทานเวตาลเปนเรื่องที่แปลมาจากวรรณคดีสันสกฤตจึงมีเร่ืองราวที่ใหความรูสึกครบทั้ง 9 รส ดังนี ้ ศฤงคารรสและองคประกอบของรส

ศฤงคารรส คือ ความซาบซึ้งในความรัก เกิดจากความรกั 2 ประเภท คือ ความรักของผูที่ไดอยูดวยกัน (สัมโภคะ) และความรักของผูที่อยูหางจากกนั (วิประลัมภะ) ความรักแบบสัมโภคะนั้นมีเหตุของภาวะ (วิภาวะ) คือ การอยูกบัผูที่ถูกตาตองใจ การอยูในบานเรอืนหรือสถานที่ที่สวยงาม การอยูในฤดูกาลที่เอื้อตอการแสดงความรัก การแตงตัวงดงาม การลูบทาดวยของหอมและประดับดวยมาลัย การเที่ยวชมสวนหรือเลนสนุกสนาน การดูหรือฟงสิ่งที่เจริญหูเจริญตา เปนตน การแสดงผลของภาวะ ( อนุภาวะ) ไดแก พูดจาออนหวาน จริตกิริยาแชมชอย ชมายชายตา ยิ้มแยมแจมใส เปนตน สวนความรกัแบบ วิประลัมภะนัน้มีเหตุของภาวะ คือ การพลัดพรากจากกนั การแสดงผลของภาวะ ไดแก ทาทางหมดอาลัยตายอยาก สงสัย วิตกกังวล กระสับกระสาย พรํ่ารําพัน เปนตน ศฤงคารรสเปนปฏิกิริยาทางอารมณที่เกิดจากการรับรูความรักของตัวละคร ซ่ึงรสรักที่ปรากฏในเรื่องราวของนิทานเวตาลตอนตนเรื่อง เปนเรือ่งราวความรกัของพระภรรตฤราชที่พบรักกับหญิงงาม ซ่ึงกวีบรรยายความงามของนางไววา

1กุสุมา รักษมณี. การวเิคราะหวรรณคดีไทยตามทฤษฎวีรรณคดีสันสกฤต. 2534.

หนา 107 – 108.

Page 33: วิเคราะห รสวรรณคด ีที่ปรากฏในน ...kb.tsu.ac.th/jspui/bitstream/123456789/483/1/101310.pdfว เคราะห รสวรรณคด

28

นางนั้นมหีนาเหมือนพระจันทรวันเพ็ญ มีผมดังเมฆสีนิลโลหิต ซ่ึงอุมฝนหอยอยูในฟา มีผิวซ่ึงเยยดอกมะลิใหไดอาย มีตาเหมือนเนื้อทรายซ่ึงระแวงภยั ริมฝปากเหมือนดอกทบัทิม คอเหมือนคอนกเขา มือเหมือนสีแหงทองสังข เอวเหมือนเอวเสือดาว บาทเหมือนดอกบวั

( หนา 4 )

เปนธรรมดาอยูเองที่ผูมีความรักมักจะถูกตาตองใจความงามของนางอันเปนที่รัก วิภาวะทีเ่ปนตนเหต ุไดแก ความรักที่เกดิขึ้นจากผูที่ถูกตาตองใจ เมื่อพระชายาองคใหมงดงามมากตามที่กวีบรรยายไว พระภรรตฤราชก็รักหลง ความรักความหลงก็ทําใหเกิด อนุภาวะ คือ พระภรรตฤราชมีความสุขแชมชื่นหัวใจ กระชุมกระชวยขึ้นมาอีกครั้ง หลังจากที่พระชายาองคเกาที่ส้ินพระชนมไปทําใหพระภรรตฤราชเศราโศกเสียใจอยูนาน

ปฏิกิริยาทางอารมณแหงรักตอมา พบในนิทานเวตาลเรื่องที่หนึ่งนั้น เปนเรื่องของพระวัชรมกุุฎผูมีความรักตอนางปทมาวด ี เพียงเห็นนางครั้งแรกก็ตกหลุมรักอยางรุนแรง กวีบรรยายไววา

คร้ันกลับถึงวังในตอนค่ํา พระราชบุตรก็บรรทมกระสับกระสายอยูตลอดคืน แลเปนเชนนัน้ตลอดวันรุง คร้ันวันที่สองถึงแกประชวรมีอาการเปนไข การเขียนการอานการกินการนอนก็งดหมด ราชการที่พระราชบิดามอบเฉพาะพระองคก็งด การอ่ืนๆ ก็งด เพราะรับสั่งวาจะสิ้นพระชนมอยูแลว

( หนา 49 ) วิภาวะของความตอนนี ้ กวกีลาวถึงลักษณะของคนที่ตกหลุมรักซึ่งมักจะมีอาการที่ผิดเพี้ยนไปจากเดิม กลาวคือเมื่อแรกรักกนัแตยังไมสมหวัง จะมีอาการรุมรอนทุรนทุรายใจ เพราะยังไมรูความในใจของกันและกัน พระวัชรมุกุฎก็เชนกัน เมื่อแรกพบนางปทมาวดีก็หลงรักนางทนัที เมื่อแยกจากกันก็ทําใหเกิดอนภุาวะ คือ อาการกระสับกระสาย ไมกิน ไมนอน ไมทําอะไรสักอยาง จนพระองคเองรูสึกวาจะสิ้นใจตายใหได ซ่ึงความรักของพระวัชรมุกุฎที่มีตอนางปทมาวด ี จึงจัดเปนรสรักหรือศฤงคารรส ที่ผูอานรับรูอารมณที่กวีตองการสื่อออกมาได สวนปฏิกิริยาหรือสาตตวิกภาวะนั้น กวีส่ือดวยอาการปวยไขของพระวัชรมุกุฎอันเกดิจากภาวะอาการตะลึงงันเมื่อแรกเจอกับนางปทมาวด ี ซ่ึงอาการดังกลาวสงผลใหพระวัชรมกุุฎถึงกับตะลึงงันจนเปนไข นับเปนปฏิกิริยาที่ไมสามารถหามไดและเกิดขึ้นเอง

Page 34: วิเคราะห รสวรรณคด ีที่ปรากฏในน ...kb.tsu.ac.th/jspui/bitstream/123456789/483/1/101310.pdfว เคราะห รสวรรณคด

29

กอนที่พระวัชรมุกุฎจะไดครองรักกับนางปทมาวดีนัน้ก็มีเหตุการณที่ทําใหพระองคตองพรํ่าเพอรําพึงรําพันอยูหลายตอน ดังเชนตอนตอไปนี้

พระราชธิดาทรงอานหนังสอืตลอดแลว ก็สําแดงอาการพิโรธ ตรัสแกนางนมดวยสําเนียงอันขุนแคนวา “นี่แกเปนอะไรไปจึง่บังอาจนําหนงัสือนี้มาให คนโงที่เขียนหนังสือนี้แตงฉันทไมเปน ก็แคนจะแตงกบัเขาดวย คนแตงฉันทเลวๆ เชนนี้ยังอาจมาแตงถวายพระราชธิดา อยากรูวาเรียนหนังสือมาแตสํานักไหน จึงเลวถึงเทานี”้ นางตรัสพลางทรงฉีกหนังสอืตอนที่วา “ศศิไซรบใยด”ี สงใหนางนมแลวตรัสวา “แกจงนําเอาคําตอบนี้ไปใหชายที่แตงฉันทไมเปน แลตัวแกเองจงอยาทําเอื้อมอาจถือหนังสือเขามาเชนนี้อีกเปนอันขาด” หญิงแกนางนมไดฟงพระราชธิดากริ้วถึงเพียงนัน้ก็เสยีใจรีบกลับไปบาน พบพระราชบุตรตามทางก็เลาใหฟงทุกประการ พระราชบุตรไดทรงฟงและอานคําตอบแลวก็เสียพระหฤทยัยิ่งนกั เมื่อทรงดําเนินกลับนั้นทรงคิดถึงวิธีทําลายชีวิตตนเองหลายอยาง เชน กระโดดน้ํา ผูกคอตนเองแขวน แทงอกตนเอง เปนตน ยังไมทนัตกลงวาอยางไหนจะดีกพ็อถึงที่พัก พบพุทธิศริระนั่งอยูหนาเรือน ก็ตรัสเลาใหฟงแลทรงสําแดงความเสียใจยิง่นัก พุทธิศริระนิ่งฟงตลอดแลวทูลวา “พระองคอยาเพอตีตนเองกอนไข จงทรงตรึกตรองใจความที่นางตรัสนั้นใหถองแทกอน ตอไปขางหนาเมื่อพระองคไดสมาคมกับหญิงมากๆ แลว จะทรงทราบวาเมื่อหญิงกลาววาไมใยดนีั้นแปลวาใยด ี เพราะฉะนั้นตามที่เราทํามาเพียงนีน้ับวาสาํเร็จดังหมาย อนึ่งเมื่อนางทรงถามวาพระองคทรงเรียนหนงัสือจากสํานักไหนนั้น ถาจะแปลเปนภาษาผูชายแปลวาทานคือใคร”

( หนา 62 ) วิภาวะคือ การที่พระวชัรมกุุฎตกหลุมรักนางปทมาวดแีตยังไมสมหวังในรัก เมื่อยังไมสมหวังก็ปรารถนาที่จะใหสําเร็จโดยเรว็ แตดวยสติปญญาที่ไมฉลาดนักประกอบกับเหตุผลที่วาความรักมักจะทําใหคนตาบอด พระวัชรมุกุฎจึงมักแสดงอนุภาวะออกมาในลักษณะอาการรําพึงรําพันอยูเสมอ สาตตวิกภาวะที่ผูอานรับรูไดนั้นเปนอาการตื่นตระหนก ซ่ึงอาจทําใหตวัส่ันเสียงสั่นตามมาเพราะการที่เขาใจผิดคดิวาถูกคนรักปฏิเสธ ศฤงคารรสที่ปรากฏในนิทานเวตาลเรื่องทีส่องนั้น เร่ิมเรื่องราวความรักดวยความสมหวังเปนความรักของผูที่ไดอยูดวยกัน ดงันี้

Page 35: วิเคราะห รสวรรณคด ีที่ปรากฏในน ...kb.tsu.ac.th/jspui/bitstream/123456789/483/1/101310.pdfว เคราะห รสวรรณคด

30

เมื่อพราหมณซ่ึงพระรามเสนใหเปนทูตไปกลาวขอนางนั้น ไปถึงกรุงมคธ ทาว มคเธศวรก็ทรงรับรองเปนอันดี แลตรัสอวยพระราชธิดาแกพระรามเสน ทรงแตงใหพราหมณในกรุงมคธไปกรุงโภควดเีปนทางจําเริญไมตรี แลวตรัสใหเตรียมการมงคล ฝายพระรามเสนเมื่อทรงทราบขาวดี ก็แชมชืน่ในพระหฤทยั ประทานรางวัลแกพราหมณกรุงมคธเปนอันมาก

( หนา105 ) ความรักของผูที่ไดอยูดวยกนั หรือสมหวงัในรักนัน้มีวภิาวะ คือ การไดอยูกบัผูที่ถูกตาตองใจ การไดฟงในสิ่งที่ถูกอกถูกใจ ทาํใหแสดงอนภุาวะออกมาเปนความแชมชื่น ยิ้มแยมแจมใส มคีวามสุขในใจ

ศฤงคารรสตอมาเปนนิทานที่นกขุนทองเลาใหพระรามเสนกับนางจันทราวดีฟง ซ่ึงนางนกขุนทองเลานิทานแลวกลาวถึงรสแหงรักดังตอไปนี้

เมื่อกอนการววิาหะ นางไดสัญญาในใจไววา เมื่อแตงงานแลว แมหนาที่แหงภริยาจะไมเปนที่ชอบใจเพยีงไร นางก็จะอุตสาหปฏิบัติใหถูกตองตามหนาที่ คร้ันแตงงานแลว ความไมพอใจในหนาที่นั้นหามีไม นางกลบัรักสามีเสียอีก สวนความขี้ร้ิวของสามีนั้นไมเปนเหตุใหนางเกลยีดชงั อันที่จริงกลบัจะรักยิ่งขึ้นเพราะความขี้ร้ิวนั้น ความรักนี้เปนของนาพิศวงมาก เปนแสงฟาฉายความสุขลงมายังแผนดินอนัมืดแลเต็มไปดวยความซึมเซา เปนมนตซ่ึงทําใหเรารําลึกถึงความมีชาติที่สูงกวานี ้ เปนความสุขในขณะนี้แลเปนทางพาใหคิดถึงสุขในเบื้องหนา ทําใหความขี้ร้ิวกลับเปนความงาม ทําใหความโงกลายเปนความฉลาด ทําใหความแกเปนความหนุม ทําใหบาปเปนบุญ ทําใหความซึมเซาเปนความแชมชื่น ทําใหใจแคบเปนใจกวาง ความรักนี้เปนโอสถอยางเอก ชักใหความตรงกันขามมาเดินลงรอยเดยีวกัน

( หนา 119 ) วิภาวะทีเ่ปนเหตุของเรื่องนีค้ือการไดอยูกบัสามีที่ขี้ร้ิวแตทําใหนางรัตนาวดีรักได การที่นางมีสามีที่ขี้ร้ิวขี้เหร แตนางกลับรักและมีความสขุที่ไดปรนนิบตัิเอาใจ ผลที่เกิดขึ้นจากความรักซึง่ถือเปนอนุภาวะที่เกิดขึ้นนี้จงึเปนสิ่งที่กวพียายามบรรยายผานนางนกขนุทองวาเปนสิ่งที่นาพิศวงเปนอยางมาก เพราะความรักทําใหส่ิงที่ไมดีกลายเปนสิ่งที่ดีงาม ทําใหความขี้ร้ิวกลับเปนความงาม ทําใหความโงกลายเปนความฉลาด ทําใหความแกเปนความ

Page 36: วิเคราะห รสวรรณคด ีที่ปรากฏในน ...kb.tsu.ac.th/jspui/bitstream/123456789/483/1/101310.pdfว เคราะห รสวรรณคด

31

หนุม ทําใหบาปเปนบุญ ทําใหความซึมเซาเปนความแชมชื่น ทําใหใจแคบเปนใจกวาง ลักษณะเหลานี้เรียกวา อานุภาพแหงรัก ศฤงคารรสถัดมา คือ ตอนที่นกจฬุามัน ( นกแกว ) เลานิทานความไมดีแหงผูหญิงใหพระรามเสนกับนางจนัทราวดีฟง โดยกวีบรรยายลักษณะผูที่อยูในหวงอารมณแหงความรักไว ดังตอไปนี้

ชายหนุมนั้นชือ่ ศรีทัต ไปคาขายเมืองไกลหลายป แลไดเคยรักนางชยัศริิมาแตนางยังเปนเด็ก คร้ันกลับมาถึงเมืองของตนก็เหน็สิ่งทั้งปวงเปนที่แชมชื่นไปหมด ตั้งแตลุงขี้เหนยีวโทโสรายไปจนหมาแกที่เหาอยูในลานบานก็เห็นนารัก คนที่จากบานเมืองไปชานาน เมื่อแรกกลับมาถึง ใจคอมักเปนเชนนี ้ สวนนางชัยศิรินั้น ศรีทัตแลไมเหน็วาไดเปลี่ยนแปลงไปเปนอันมาก แลมิไดเปลีย่นไปในทางที่ดีขึ้นเลย จมูกนางโตออกไปกไ็มเหน็ หลังตากวางออกไปแลหนาขึ้นก็ไมเห็น กิริยากระดางขึ้นก็ไมเห็น เสียงแข็งขึ้นกวาแตกอนกไ็มไดยิน ไมไดสังเกตวานางชํานาญการติแลชมเครื่องแตงตัวชาย ไมสังเกตวานางชอบคนชํานาญเพลงดาบ แลชอบคนรบเกงบนหลังมาแลชาง ขอความเหลานี้ศรีทัตไมเห็น จึงไปกลาวแกบดิาของตน ในเรื่องทีจ่ะใครไดนางชัยศิริเปนภริยา

( หนา 137 ) กวีบรรยายลกัษณะของศรีทัตใหผูอานรับรูไดวาศรีทัตคือผูที่กําลังมีความรัก ธรรมดาเรามักไดยินกวีและคนทั่วไปสรุปวา ความรักทําใหคนตาบอด ศรีทัตเองก็เปนอีกคนตัวละครที่กวตีั้งใจถายทอดออกมาตามนัน้ วภิาวะคือความรักในนางชัยศิริ ซ่ึงเปนความรักที่เกิดขึ้นตั้งแตเด็กๆ โดยไมไดสนใจวาโตขึ้นนางจะเปลี่ยนไปเชนไร อนุภาวะทีแ่สดงออกมาจึงเปนลักษณะเหมือนคนตาบอด มองไมเห็นความเปลี่ยนไปในตวันาง รูสึกเพียงเมื่ออยูใกลก็สดชื่นเบิกบาน แชมชื่น มีความสุข

ศฤงคารรสในลําดับตอมาคือความตอเนื่องจากขางตนกลาวคือเมื่อศรีทัตรักมั่นในนางชัยศิริจนขอนางแตงงาน แตปรากฏวานางชัยศิริไมตอบตกลง ศรีทัตจึงเดือดรอนใจมากดังอาการ

ฝายศรีทัตเมื่อไดทราบวานางชัยศิริไมยอมเปนภริยาก็เดือดรอนในใจเปนกําลัง กําหนดใจจะกระโดดน้ําตาย จะกระโดดจากยอดเขาแลทําอะไรตางๆ ที่แปลกแลโง

Page 37: วิเคราะห รสวรรณคด ีที่ปรากฏในน ...kb.tsu.ac.th/jspui/bitstream/123456789/483/1/101310.pdfว เคราะห รสวรรณคด

32

รวมทั้งการออกปาเปนโยคดีวย คร้ันตรึกตรองอยูชานานวาจะทําอยางไหนจึงจะดีที่สุดก็เห็นวาจะทําสิ่งโงๆเหลานั้นก็ลวนแตไมดีทั้งนั้น เพราะการกระโดดน้ําตายก็ด ีการกระโดดจากยอดเขาก็ด ี การออกปาเปนฤาษีก็ด ี ไมเปนวิธีที่จะไดนางชัยศิริมาเปนภริยาทั้งนัน้ คร้ันมีเวลาตรึกตรองมากๆ เขาก็ไดความคิดซึ่งใครๆ เขารูกันมาชานานแลววา ขันติเปนธรรมะประเสริฐ จงึบังคับตัวเองใหตั้งอยูในขันติ ไมชานานก็สําเร็จประสงค แตความสําเร็จประสงคนัน้เปนโทษแกศรีทัตเปนอันมาก ดังจะเหน็ไดภายหลัง

( หนา 140 ) วิภาวะของความตอนนี ้ กลาวถึงศรีทัตผูไมประสบผลสําเร็จแหงรัก แสดงอาการ

ตางๆที่ออกมาที่เรียกวา อนุภาวะคือ อาการเดือดรอนในใจเปนกําลัง จนกําหนดใจจะกระโดดน้ําตาย จะกระโดดจากยอดเขาแลทําอะไรตางๆ ที่แปลกๆและโง ทั้งยังคิดไปถึงการบวชเปนโยคีดวย สาตตวิกภาวะของความตอนนี ้ คือ ลักษณะใจสั่น ตัวส่ัน หววิๆ คลายจะเปนลม ซ่ึงเปนอาการที่ควบคุมตัวเองไมไดของคนที่ไมสมหวังในรัก

และเมื่อสมหวงัในความรักศรีทัตก็จะมีอาการกลาวคือ

ฝายนางชัยศิริเมื่อตกลงในใจแนนอนแลววา จะไมรับศรทีัตเปนสามี กย็ั่งยืนในใจอยูพักหนึ่งไมสูชาก็เปลี่ยนใจใหมตามเคย ศรีทัตไดทราบวานางยินยอมก็ดีใจโลดโผน เรียกตวัเองวาบุรุษผูมีความสุขที่สุดในโลก แลทั้งกระทําบูชาแกสินบนเทวดาที่โปรดบันดาลใหนางเปลี่ยนใจมายอมเปนภริยาตน แลทั้งทําอะไรที่แปลกอีกหลายอยาง ซ่ึงคนที่ไมบาหรือไมดีใจเหลือเกินคงไมทําเปนอนัขาด ตอมาไมชาศรีทัตแลนางชัยศิริกแ็ตงงานกันตามธรรมเนียม

( หนา 141 ) เมื่ออานความตอนนี้ทําใหเห็นถึงอานุภาพของความรักของคนที่สมหวังในรกัไดอยางดี เมื่อไมสมหวังในความรักก็เศราสรอย หมองหมน เมื่อสมหวังก็ดีใจ มีความสุข ดอกไมเบงบานทั้งโลก ความตอนนี้จึงเปนเรื่องของความรักของผูที่ไดอยูดวยกัน (สัมโภคะ) ซ่ึงความรักแบบสัมโภคะนั้นมีเหตุของภาวะ (วิภาวะ) คือ การอยูกับผูที่ถูกตาตองใจ มีการแสดงผลของภาวะ ( อนุภาวะ) ไดแก ตื่นเตนดใีจ ยิ้มแยมแจมใส สวนสาตตวกิภาวะของความตอนนี ้ คือ การควบคุมตนเองไมได และทาํอะไรที่แปลกๆ อยางที่กวีบรรยายไว

Page 38: วิเคราะห รสวรรณคด ีที่ปรากฏในน ...kb.tsu.ac.th/jspui/bitstream/123456789/483/1/101310.pdfว เคราะห รสวรรณคด

33

รสรักตอมา คือรสรักที่นางชัยศิริ มีตอชายชู ซ่ึงปรากฎขอความดังนี ้ เมื่อเห็นชายเสเพลซึ่งเปนที่ใฝฝนเดินมาตามถนน นางก็เรียกหญิงสหายใหไปเชื้อเชิญขึ้นมาบนเรือน คร้ันหญิงสหายไมทําตามดวยความกลัวภัยจากศรีทตัผูสามี นางก็โกรธแลมีอาการกระสับกระสาย บอกตัวเองวาไมรูจะพดูวากระไร ไมรูจะทําอะไร ไมรูจะไปไหนจึงจะถูกใจตวั จะกินก็ไมได จะนอนกไ็มหลับ จะรอนกไ็มสบาย จะหนาวก็ไมสบาย อะไรๆ ก็ไมถูกใจทั้งนัน้ นางชัยศิริกระสับกระสายอยูเชนนี้หลายวันจึงตกลงในใจวาถาขืนอยูหางชายเสเพลซึ่งเปนที่รัก กไ็มมีความสุขไดเปนอันขาด

( หนา 142 ) เหตุของอาการที่เรียกวาวภิาวะ คือการไมไดอยูกบัชายผูเปนที่รัก ซ่ึงก็คือชายชู ทํา

ใหเกดิผลของภาวะคือ มีอาการกระสับกระสาย ไมรูจะพูดวาอะไร ไมรูจะทําอะไร ไมรูจะไปไหน กินก็ไมได นอนก็ไมหลับ จะรอน จะหนาวก็ไมสบาย อะไรๆ ก็ไมถูกใจทั้งนัน้ ทบทวนตวัเองจนพบวาหากไมไดอยูกับชายเสเพลซึ่งเปนที่รัก ก็ไมมีความสุขไดเลย ซ่ึงเปนเร่ืองปกติของผูที่ไมไดอยูรวมกับคนรักนัน่เอง ศฤงคารรสตอนตอมาอยูในเรื่องที่ 4 เปนเรื่องนางมัทนเสนาผูที่กําลังจะแตงงานอยูในอกีไมกี่วนั กรรมบันดาลใหเจอกับชายอื่นมีช่ือวาโสมทัตต ซ่ึงเมื่อกามเทพแผลงศรรัก อาการของโสมทัตตก็ถูกกวบีรรยายไวดังนี้

นางมัทนเสนาออกไปเดินชมดอกไมอยูในสวน เผอิญเมื่อนางออกไปนั้นมีชายคนหนึ่งชื่อโสมทัตต เปนบุตรของธรรมทัตตไปเที่ยวเดินเลนในปาจะกลับบาน ก็ผานสวนที่นางมัทนเสนาเดินลงไปเดินเทีย่วอยู โสมทัตตเห็นนางก็งวยงงหลงใหลในรปูนาง จึงกลาวแกเพื่อนวา “เพื่อนเอย ถาขาไดนางคนนี ้ ขาจะมีความจาํเริญในชีวิตนี ้ ถาไมได ความเกิดมาแลอยูในโลกก็จะเปลืองเวลาเปลา” เมื่อพูดดังนีแ้ลว โสมทัตตเกรงนางจะพนไปเสีย จึงเดนิเขาไปใกลนางโดยมิไดตั้งใจจะละลาบละลวง แตเมื่อเขาไปใกลตัวนางแลวไซร โสมทัตตกุมสติไวไมมั่นเหลือทีจ่ะอดกลั้นได ก็ตรงเขาไปจบัมือนางแลวกลาววา “ขามีความรักนางเหลอืที่จะทรงสติไวได ถานางไมรักขา ขาจะตองทอดทิ้งชีวิตเสียในบัดนี้”

( หนา 185 )

Page 39: วิเคราะห รสวรรณคด ีที่ปรากฏในน ...kb.tsu.ac.th/jspui/bitstream/123456789/483/1/101310.pdfว เคราะห รสวรรณคด

34

อาการดังกลาวเปนอาการของผูที่กําลังตกหลุมรัก มีวภิาวะคือ การไมไดเชยชิด สมหวังไมไดอยูรวมกับผูเปนที่รัก มีผลของภาวะที่เรียกวาอนุภาวะคือ พรํ่าเพอรําพนั จะขาดใจตายเสียใหได มีสาตตวิกภาวะคือ อาการตะลึงงัน เดินเขาไปหาโดยไมรูตัว และบังคับตนเองไมได ตอจากนั้นโสมทัตตผูมาทีหลังเมื่อไดทราบวานางมัทนเสนากําลังจะแตงงานก็ไดพรํ่าเพอตอไปอีกวา

โสมทัตตตอบวา “คํากลาวออนหวานของนางแทงหวัใจขาทะลุเสียแลว แลความรูสึกวาจะตองพนไปจากนางเผากายขาใหไหมเปนจุณไป ความทรงจําแลปญญาเครื่องรูก็สลายไปดวยทกุขอันนี ้แลความรักเกินประมาณทําใหขาไมรูสึกผิดแลชอบ แตถานางจะใหสัญญาแกขาสักขอหนึง่ ขาคงจะมีชีวติตอไปได” ( หนา 186 )

คนเราเมื่อเกิดความรักขึ้นมาแลวมักจะมีความรูสึกวาอยากจับจองเปนเจาของ และเพียรพยายามที่จะทําอะไรสักอยางใหไดมาซึ่งการครอบครอง วิภาวะของความตอนนี้ คือ ความรักที่ยังไมสมหวัง มีอนุภาวะคือ การพูดพรํ่าเพอ พูดพรํ่ารําพันจะเปนจะตาย มีสาตต วิกภาวะคือ อาการตะลึงงัน เหงื่ออก ไมมสีติรูจักยับยั้งชัง่ใจ เผลอพูดขอสัญญาใหนางที่กําลังจะแตงงานกับชายอ่ืนรับคํามารักตนเอง เมื่อนางมัทนเสนาตอบตกลงรับคาํของโสมทัตตแลว เมือ่วันแตงงานของนางมาถึงนางไดบอกเรื่องนี้แกสามีของนาง และขออนุญาตสามีไปหาโสมทัตตตามที่ไดตกปากรับคํา ระหวางทางนางไดเจอกับโจรและอธิบายความรักของนางวา

นางตอบวา “ผูปกครองของขาคือกามเทพ คือเด็กหนุมงามซึ่งแผลงศรเพลิง ทําใหเกดิแผลคือความรักขึ้นในใจแหงชนทั้งหลายในสามโลก คือรติบดี ผูมีนกกาเหวาแลแมลงภูแลลมโชยไปเปนเพือ่น" นางกลาวเชนนั้นแลวกเ็ลาเรื่องตามจริงตลอด แลวกลาวสัญญาแกโจรวา “ทานอยาทําลายเพชรพลอยเครื่องประดับของขาเลย ขาใหสัญญาแกทานวา เมื่อขากลับมา ขาจะใหส่ิงของเหลานี้แกทานหมด”

( หนา 190 )

Page 40: วิเคราะห รสวรรณคด ีที่ปรากฏในน ...kb.tsu.ac.th/jspui/bitstream/123456789/483/1/101310.pdfว เคราะห รสวรรณคด

35

วิภาวะของความตอนนี้คือ หญิงที่กําลังตกหลุมรักและยังไมสมหวังในรัก จัดเปนความรักของผูที่อยูหางจากกนั (วิประลัมภะ) การแสดงผลของภาวะ ( อนุภาวะ) ของความตอนนี้ไดแก พรํ่ารําพันถึงความรักของตน เปนการพร่ําเพอบรรยายถึงความรักที่มีอยูในใจ

ศฤงคารรสตอนตอมาเปนเรือ่งราวความรกัของหญิงสาวที่เพยีงแรกเห็นกห็ลงรัก โจรหนุมที่กําลังจะโดนประหาร จนมีอาการจะเปนจะตายทําใหบดิาของนางซึ่งรักลูกมาก ตองทําตามความตองการของลูก ดังความวา

นางโศภนแีสดงอาการทุกข ซ่ึงดูประหนึ่งจะทําใหคล่ังไคล ตอบบิดาวา “ถาบิดาจะทูลขอโทษใหพระราชาปลอยโจรนั้นไดดวยยอมถวายสมบัติทั้งหลาย ของเรา บิดาจงสละทรัพยทั้งหมดถวายเสียเถิด ถาขาพเจาไมไดนายโจรนั้นมา ขาพเจาจําตองสละชีวิต” นางกลาวแกบดิาฉะนีแ้ลว ก็ชักผาคลุมศีรษะรองไหล่ันไปทั้งตัวราวกับหวัใจจะแตกลงไปกบัที่ฝายเศรษฐผูีบิดาเมื่อไดเห็นลูกสาวมีอาการดังนั้น แลรูใจวาถาไมสมประสงค นางก็จะสละชวีติลงไปจริงดังกลาวแลทั้งทราบวาตัวเศรษฐีเอง เมื่อส้ินบุตรีแลวก็จะทนรักษาชวีิตตอไปไมไดเพราะเหตุความโศกเดือดรอน ดวยประการฉะนี ้เศรษฐีจึงรีบเขาเฝาพระราชาทูลดวยสําเนียงอันสั่นเพราะเศรา

( หนา 225 ) ความรักที่นางโศภนีเปนอยูนี้มีวภิาวะคือ ความรักของผูที่อยูหางจากกนั เปนความรกัของผูที่ยังไมสมหวัง และมีความปรารถนาที่จะสมหวังใหได แสดงผลของภาวะคือ การรองไหครํ่าครวญอยางบาคลั่งที่ไมสมหวัง ไมไดอยูรวมเรียงเคียงหมอน อยูชิดใกลกนั เมื่ออนุภาวะเปนเชนนี้ จึงทําใหเกิดสาตตวกิภาวะที่ควบคุมไมไดคือ การชกัผาคลุมศีรษะรองไหล่ันไปทั้งตัวราวกับหวัใจจะแตกลงไป ซ่ึงเปนอาการของผูที่ขาดสติ ทําใหควบคุมตนเองไมได และเมื่อพระราชาไมยินยอมใหโจรพนโทษตามคําขอรองของเศรษฐี นางโศภนกี็นึกเอาเองวานางไดววิาหะหรือแตงงานกับโจรหนุมนั้นแลว ความตอนนี้บรรยายไววา

ฝายนางโศภนผูีไดมีคูแลวโดยใจนึก คร้ันนายโจรผูสามีโดยววิาหะอนัมิไดกระทํานั้นสิ้นชีวิตไปแลว นางก็กลาวแกตัวเองตามคติโบราณ ซ่ึงกวีแตงไวดังนี้

ผมขนคนในกาย มีประมาณหมายประมวลเปน สามสิบหาลานเสน อาจจะนับถวนจํานวนม ี

Page 41: วิเคราะห รสวรรณคด ีที่ปรากฏในน ...kb.tsu.ac.th/jspui/bitstream/123456789/483/1/101310.pdfว เคราะห รสวรรณคด

36

หญิงใดไดเผาตัว เมื่อ ณ เผาผัวจะไดด ี สามสิบหาลานป นับฉนําซึ่งจะถึงฟา ฉันใดคนคลองงู ดึงประจากรกูข็ึ้นมา ฉันนั้นนางเหนี่ยวสา มีมิใหตกนรกแรง แมนเขาเนาขมุทุกข เพลิงก็รอนรุกแลลุกแดง ถูกมัดรัดรึงแทง พิษจะเปรียบแหลนก็แสนอนั เดือดรอนเหลือผอนพัก โทษจะหนักนกัสํานักทัณฑ เหตหุยาบบาปในบรรพ ทุกขะเหลือรอนก็ออนเพลยี ผัวเปนเชนนี้ไซร อาจจะคืนไดเพราะคุณเมยี เผาตัวเพลิงผัวเลีย ตายจะเปนบณุยะจนุผัว หนาที่แหงหญงิหมาย กาละผัวตายก็เผาตัว ในใจไปคิดกลวั ธรรมะจารีบมีเยง ตราบใดหญิงยงัขาด ใจบอาจคํานึงเกรง กร่ิงกลัวเผาตวัเอง พรอมกะศพผวัเพราะมวัมน ตราบนั้นแมนเกิดใหม คงจะไมใชมนษุยชน จักมีส่ีตีนตน ยอมจะต่ําตอยมินอยเลยฯ

นางโศภนกีลาวแกตัวเองดังนี้แลว ก็กําหนดใจจะเผาตนในกองเพลิงเผาศพสามีผูมิใชผัว เพื่อจะใหนายโจรไดความสุขในโลกหนา นางกําหนดใจดังนั้นแลวก็แสดงความกลาดวยวิธีเผานิ้วดวยคบเพลิง จนนิว้นั้นไหมเปนถานไปทันที แลวนางก็ลงลางกายชําระมลทินในแมน้ํา การเตรียมทําพิธีเผาตัวนั้น นางจัดใหมีผูขุดหลุมๆ หนึ่ง แลวเอากิ่งไมสดเรียงเปนตาราง บนตารางวางฟนแลเชื้อเพลิง คือ ปอ ชันแลฆีเปนตน เมื่อจัดตารางเผาศพแลว ก็เอาศพนายโจรมาชโลมน้ํามันใหสะอาด แตงเครื่องเสื้อผาใหม เอาวางบนกองเชือ้เพลิง นางโศภนีกลาววิงวอนเทพเจา ขอใหนางกับสามไีดอยูเปนสุขดวยกันในสวรรค มีนางระบําเปนผูปฏิบัติดวยด ีโดยจํานวนปเทากับรัชกาลแหงพระอินทร ๑๔ องค หรือเทากับจํานวนผมในเศียรแหงนาง คร้ันเสร็จวิงวอนแลวนางก็ใหเครื่องประดับกาย แลขาวปลากระยาหารแจกจายในหมูมิตร แลวเอาดายพันขอมือทัง้สองขาง เอาหวีใหมปกในผม แลทาหนาผากดวยแปงส ีแลวเอาขาวสารแลเบี้ยผูกที่ปลายผาอันเปนเครื่องปกคลุมกาย คร้ันเสร็จแลวนางเดินประทักษณิศพเจ็ดรอบ แลยื่นขาวสารแลเบี้ยใหแกผูที่ยืนอยูในทีใ่กลในเวลาประทักษณินั้น คร้ันเสร็จประทักษิณแลว นางก็ขึ้นนั่งบนกองฟนที่พรอมดวยเชือ้ไฟ เอาศีรษะแหงนายโจรวางหนุนตกันาง

Page 42: วิเคราะห รสวรรณคด ีที่ปรากฏในน ...kb.tsu.ac.th/jspui/bitstream/123456789/483/1/101310.pdfว เคราะห รสวรรณคด

37

แลวส่ังใหจุดไฟขึ้น คนที่อยูใกลๆ ก็ชวยกันจุดไฟขึ้นหลายแหง แลวตกีลองแลเปาสังขเสียงสนั่นไป มีผูเอาฟางโยนเติมเขาไปในกองเพลิงทั้งเทชันและน้ํามนัเนยลงไปในกองไฟอีกเปนอันมาก แตความตายของนางโศภนีนั้นเปนสหมรณะยอมจะตายเปนสขุเสมอแลเมื่อไดจุดไฟขึ้นแลวผูใดจะไดเหน็กายนางเขยือ้นก็ไมมีแทจริง ดูเหมือนจะตายไปกอนที่เปลวไฟจะถึงตัว

( หนา 230 )

ความตอนนี้ทีย่กมามากมายเพราะตองการชี้ใหเห็นวา ความรักที่รุนแรงและไมสมหวัง ซ่ึงมีวิภาวะจัดเปนความรักของผูที่อยูหางจากกนั (วิประลัมภะ) ซ่ึงความรักแบบ วิประลัมภะนัน้มีเหตุของภาวะ คือ การพลัดพรากจากกนั การแสดงผลของภาวะ ไดแก ทาทางหมดอาลัยตายอยาก พรํ่ารําพัน และสามารถทําใหผูที่อยูในภาวะนี้ยอมตายตามคนรักไดเชนกัน

ความรักเปนเรือ่งยากที่จะเขาใจและในนิทานเวตาลก็มีรสรักที่แปลกๆ กลาวคือเนื้อเร่ืองที่ดําเนินไปเกี่ยวกับความรักจะสนกุสนานนาติดตามและสงสัยวาจะเกดิเหตุการณอยางนี้ไดจริงๆหรือไม อยางตอนตอไปนี ้

เมื่อพระราชธิดาแลมนัสวีพราหมณหนุมไดสบตากันเปนครั้งแรก ดังนั้นก็มีผลแปลกที่สุด คือ มนัสวีทนความรักรุมรึงในใจที่เกิดในทนัทีไมได ก็ลมลงสลบไปกับที่ ฝายพระราชธิดาทรงเห็นดงันั้น พระชงฆก็ออนแลพระกายก็ส่ัน ทรงลมสลบไปเหมือนกนั มิชาพวกสาวใชตามไปพบพระราชบุตรีเปนดงันั้น ก็ตกใจชวยกันเชิญพระองคไปทรงวอกลับคืนเขาพระราชวัง

( หนา 266 ) สวนใหญรสรักจะเริ่มจากการตกหลุมรักซึ่งก็คือวิภาวะทีย่ังไมสมหวัง เปนความรักของคนที่ยังพลัดพรากจากกนั และมีผลของภาวะคือ กระสับกระสาย สลบไป และความตอนนี้มีสาตตวิภาวะคือ ใจสั่น กายสั่น เปนลม การลมลงสลบไปไมทันรูตัว พอไดสติจากที่สลบไป มนัสวีก็มีอาการดงันี้

มนัสวีกลาววา “พระผูเปนเจาไดทรงสรางมณีขึ้นในโลกนี้เปนอันมาก โดยพระประสงคจะทรงอุปการะเหลาชน แตมุกดาคือสตรีนั้นเลิศยิ่งมณีทั้งหลาย บุรุษมี

Page 43: วิเคราะห รสวรรณคด ีที่ปรากฏในน ...kb.tsu.ac.th/jspui/bitstream/123456789/483/1/101310.pdfว เคราะห รสวรรณคด

38

ความใครทรัพยก็เพื่อใหเปนประโยชนแกสตรี แลชายที่สละภริยาเสยีแลวแมจะมีสมบัติก็ใชอะไรไมได ชายที่ไมมีเมียสวยนั้นดีกวาดิรัจฉานที่ตรงไหน จะต่ําชาไปกวาสัตวเลวทรามเสียอีก ทรัพยนั้นเปนผลของความอยูในธรรม ความสุขเปนผลของความมีทรัพย แลภริยาเปนผลของความมีสุข ชายไมมีเมียจะมีความสุขอยางไรได” มนัสวีพูดเพอพรํ่าไปในทํานองนี้ชานาน เพราะความหลงรัก เราทานฟงดูก็นาจะเหน็แปลก แตอาจเปนอาการธรรมดาของโรครักก็เปนได

( หนา 269 ) เปนธรรมดาของคนที่มีความรัก และยิ่งเปนชวงตกหลุมรักและยังไมสมหวังแลวถือเปนวภิาวะของผูที่พลัดพราก ยังไมสมปรารถนา กลาวคือยังไมไดครองรักกัน มักแสดง อนุภาวะออกมาในรูปแบบของคนที่พรํ่าเพอรําพันไปตางๆ นานา ฝายพระราชธิดาเอง ก็ไมตางกับมนัสวีพราหมณหนุมเลย ดังความทีว่า

วันหนึ่งในฤดวูสันต ขากับบริวารพากันไปเดินเลนในอุทยาน ขาไดพบพราหมณหนุมคนหนึ่งรูปรางงดงามยิ่งนัก คร้ันตาเราทั้งสองสบกันเขาก็ลมลงสลบไป แลขาก็ลมแนนิ่งไปเหมือนกนั ฝายนางทั้งหลายซ่ึงเปนบริวารของขา เมื่อเห็นขาเปนดังนั้นก็พาขาคืนเขาพระราชวัง ทั้งที่ขายังไมรูสึกตัว เหตุดังนั้นขาไมรูวาพราหมณหนุมคนนั้นชื่อไร บานอยูที่ไหน แตความงามของเขาพิมพไวในความทรงจําของขา แลขาไมมีปรารถนาจะดื่มแลกินเลย เหตุฉะนี้ผิวพรรณแหงขาจึงเผือดซีดแลกายซูบผอมไป

( หนา 277 ) ความรักอีกเชนกันที่ทําใหเปนเชนนี้ วิภาวะของความตอนนี้ก็คือความรักที่ยังพลัดพรากจากกัน อยูในหวงเวลาของคนที่ยังตกหลุมรัก ผลของภาวะที่แสดงออกมาคือ การพร่ําเพอรําพัน กนิไมได นอนไมหลับ ทําใหรางกายซูบผอมไป เมื่อความรักของพระธิดาและมนัสวีพราหมณหนุมสมหวังไดอยูดวยกนัเพราะกลอุบายของเพื่อนพราหมณแลวนั้น มนัสวีตองอมลูกอมเพื่อปลอมตัวเปนหญิงสะใภพราหมณซ่ึงไปฝากใหอยูกับพระราชาและพระธิดา เมื่อเวลาอยูกับคนมากๆ มนสัวีตองอมลูกอมเปนผูหญิงทุกครั้ง จนทําใหเกดิเรื่องคือ

Page 44: วิเคราะห รสวรรณคด ีที่ปรากฏในน ...kb.tsu.ac.th/jspui/bitstream/123456789/483/1/101310.pdfว เคราะห รสวรรณคด

39

ฝายชายหนุมผูเปนบุตรโกษาธิบดี เมื่อไดเห็นหญิงสะใภพราหมณมีรูปรางแลหนาตางดงามก็หลงรักในทนัใด เปนครั้งที่สองในเรื่องนี้ ที่ชายรักหญิงในนาทแีรก ที่เห็นหนา ชายหนุมจึงกลาวแกเพื่อนสนิทของตนตามเคยวา “ถาขาไดนางนั้น ขา จะมีสําราญในโลก ถาไมไดขาจะตองสละชีวิตเสีย”

( หนา 284 ) ความรักเชนนีเ้ปนอาการของผูที่ตกหลุมรักเหมือนที่ผานมา จัดเปนวภิาวะของผูที่มีความรักที่พลัดพรากจากกัน และมีผลที่แสดงออกมาคือ การพร่ําเพอ มีความรูสึกจะตายใหไดหากไมไดอยูดวยกนั หลังจากนัน้อาการก็ยังไมหาย ดังความทีย่กมาวา

สวนบุตรโกษาธิบดีนั้น คร้ันนางสะใภพราหมณตามเสดจ็กลับเขาพระราชวังแลวก็เดือดรอนกระวนกระวายเปนกําลัง ตั้งแตนั้นมาก็มีอาการซูบซีดเพราะทิ้งขาวทิ้งน้ําแลหลับนอนไมเปนปกต ิเพือ่นสนิทรูความในใจเปนการลับไมบอกใหใครทราบ แตไมนิ่งอยูไดนาน เพราะอดไมไดนัน้อยางหนึ่ง อีกอยางหนึ่งอธิบายวา บุตร โกษาธิบดีปวยอาการหนัก ถาขืนนิ่งเสียกค็งจะถึงชีวิต

( หนา 285 ) เมื่อรักยังไมสมหวัง สาวที่ตนตกหลุมรักกไ็มไดอยูใหเหน็หนาแลว วภิาวะที่เกดิขึ้นกับบุตรโกษาธิบดี คือ ความรักของผูที่อยูหางจากกัน (วิประลัมภะ ) ซ่ึงความรักที่ยังไมสมหวังแบบนีจ้ะแสดงผลของภาวะออกมาเปนอาการกระวนกระวาย กระสับกระสาย วุนวายใจ พรํ่าเพอรําพัน มอีาการจะตายใหได ความรักมักเกดิขึ้นไดในหลายลักษณะและมีลักษณะทีแ่ปลกๆ เยอะมากในนทิานเวตาล เร่ืองทีย่กมาตอจากนีก้็เปนอีกรูปแบบหนึ่ง ดังนี ้

ฝายพระราชา คร้ันไดทรงยนิทีรฆะทรรศินมุขมนตรีเลาถึงนางทิพยกม็ีพระหฤทัยใครทราบยิ่งขึ้น จงึตรัสไลเลียงลักษณะความงามแหงนาง แลวบังเกดิความรักรุมรึงในพระหฤทัย ทรงพระดําริวาชีวิตแลราชัยปราศจากนางเปนสิ่งไมมีคาเสียแลว ความสุขประการตาง ๆ จะมีไมได เวนแตนางจะเปนผูยังใหเกิด

( หนา 322 )

Page 45: วิเคราะห รสวรรณคด ีที่ปรากฏในน ...kb.tsu.ac.th/jspui/bitstream/123456789/483/1/101310.pdfว เคราะห รสวรรณคด

40

เพียงแคพระราชาไดยนิคําเลาลือก็หลงรักนางทิพยเขาอยางจัง ความรกัที่เพียงไดยินแตยังไมพบตวัตนที่แทจริงเกิดใหเหน็ในวรรณคดีหลายเรื่องเชนกัน ไมวาจะเปนพระอภยัมณี หรืออิเหนา ความรักที่เกดิขึน้แบบนีจ้ัดเปนวภิาวะที่เปนเหตุจากความรักของผูที่อยูหางจากกัน ไมไดครองรักสมใจ กจ็ะแสดงอาการอนุภาวะคือ การพร่ําเพอรําพัน หมดอาลยัในชวีิต จะมีชีวติอยูไมไดหากปราศจากนางที่ตนหลงรัก เมื่อความรักรุมเรามากๆ กม็ีความคิดวา

ขาจําเปนจะตองไปใหเห็นนางองคนั้นเพราะถาจะอยูเชนนี้ตอไปก็จะทรงชีวิตไวไมได ขาจะไปตามทางที่ทานไป แลทานอยาคิดเลยทีจ่ะหามขาหรือคิดที่จะตามขาไปดวย ขาจะปลอมตัวไปโดยลําพัง แลทานตองอยูรักษาราชการบานเมืองไว ความประสงคของขาดังกลาวนี ้ทานจะขัดขนืทัดทานนั้นไมไดเปนอันขาด

( หนา 323 ) ความรักมักผลักดันความปรารถนาใหเกดิความพยายามเพือ่ใหไดมาในสิง่ที่ตนตองการ พระราชาก็หนีไมพนความรักเชนนี้ไปได วภิาวะคือ ความรักที่ยังไมสมปรารถนา คือยังไมไดอยูรวมกันก็พยายามคนหา ไขวควาเพื่อใหไดมาซึ่งหญิงที่ตนหลงรัก ทําใหเกิดอนุภาวะคือ ความกระสับกระสาย ทุรนทุรายหากตองอยูโดยที่ไมไดทําอะไรเลย จําเปนตองตามหานาง และหาทางใหสมหวังในความรักใหได เมื่อเดินทางไปจนพบนางก็เกิดอาการดังนี ้

พระราชาไดฟงนางขับกลาวคติแหงกรรมดังนี ้ก็เกิดความรักกลัดกลุมในพระหฤทัยยิ่งขึ้น ทรงยืนตะลึงพิศดูนางอยูครูหนึ่งจึงตรัสบูชาทะเลวา “ขาแตพระสมุทรผูเปนคลังแหงมณีทัง้หลาย ผูมีน้ําใจอันลึกบุคคลไมอาจหยั่งได เพราะเมื่อพระองคซอนนางนี้ไวในทะเลก็คือซอนนางลักษมีไวมใิหพระวิษณุเหน็ ขาพเจาขอเอาพระองคเปนที่พึ่งเพื่อสําเร็จประสงคของขาพเจา" พระราชาตรัสยังไมทันขาดคํา ตนกัลปพฤกษแลนางทิพยก็จมลงไปในทะเล พระราชาก็ทรงโจนตามลงไปประหนึ่งจะดับไฟราคะดวยน้ําในมหาสมุทร

( หนา 327 )

Page 46: วิเคราะห รสวรรณคด ีที่ปรากฏในน ...kb.tsu.ac.th/jspui/bitstream/123456789/483/1/101310.pdfว เคราะห รสวรรณคด

41

วิภาวะของความตอนนี้คือ คนที่มีลักษณะอาการของคนที่ยังพลัดพรากจากกันอยูหางกันอกี แตก็หางหนัแคเอือ้มเทานั้น จึงแสดงอนุภาวะออกมาเปน การพร่ําเพอรําพันถึงความงามของนาง และกระโจนตามนางผูเปนที่รักลงทะเลไปและเกดิสาตตวิกภาวะที่บังคับตนเองไมได คือ อาการตะลึงงัน เมื่อกระโดดลงทะเลไป พระราชาก็พบกับเหตุการณดังนี ้

พระยศเกตุจึงเสด็จเปดประตเูขาไปเที่ยวทอดพระเนตรขางในพบคนๆ หนึ่ง นอนอยูบนเตียงมผีาคลุมอยูตลอดตัว พระองคทรงเปดผาขึ้นดูก็เห็นนางผูเปนที่รัก พักตรแหงนางซึ่งเหมือนเพ็ญจันทรนั้นมีเคาเหมอืนยิ้มในขณะที่ผาคลุมหลุดพนไปเหมือนความมืดหลบแสงพระจันทร พระราชาไดทอดพระเนตรดังนั้น ก็มีพระหฤทัยเหมือนหนึ่งคนที่ไดเดินผานทะเลทรายในฤดูรอนไปพบแมน้ําซึง่เปนที่ชุมชื่น ฝายนางนั้นเมื่อลืมเนตรขึ้นเห็นบุรุษงาม ประกอบ ดวยลักษณะดีเขาไปยืนอยูขางทีบ่รรทมดังนั้น ก็ลุกขึ้นดวยอาการฉับไว แลแสดงเคารพเชือ้เชิญเปนอันด ีพระพักตรนางกมดูพื้น เหมือนหนึ่งใหเกยีรติแกพระบาทพระราชาดวยเอาบัวคือพระเนตรลงปกคลุม

( หนา 328 ) เมื่อความพยายามถึงที่สุด ความรักชักนําจนเกิดวภิาวะทีจ่ัดเปนวิภาวะของผูที่ไดอยูดวยกัน (สัมโภคะ) ซ่ึงความรักแบบสัมโภคะนัน้มีเหตขุองภาวะ (วิภาวะ) คือ การอยูกับผูที่ถูกตาตองใจและคนหามานาน การแสดงผลของภาวะ ( อนุภาวะ) ไดแก พูดจาออนหวาน จริตกิริยาแชมชอย ชมายชายตา ยิ้มแยมแจมใส พูดจาดีตอ อาการลุกขึ้นฉับไว ทําอะไรไปแบบไมทันคิดเพราะเกิดเหตุกะทันหันนัน่เอง รสรักถัดมาที่เกิดในนิทานเวตาลเปนความรักแบบหลงรกัอีกเชนกัน ความมีดังนี ้ มหาเสนีสาบานวา แมนางมุกดาวลีจะไดหมั้นแลวก็ตาม ถาเขาไมไดนางเปนภริยาเขาก็จะฆาตวัตายแลวเปนผีมากวนแลทํารายคนในบานนั้นทั้งบาน ( หนา 356 ) ความรักของมหาเสนีมีวภิาวะคือความรักของคนที่อยูหางกัน ไมสมหวงั เปนประเภทหลงรักเขาขางเดียว อนุภาวะทีแ่สดงออกมาคือ หมดอาลัยตายอยาก พรํ่าเพอรําพันจะเปนจะตาย ถึงขั้นขูวาจะฆาตัวตาย ซ่ึงจัดเปนรักแบบขาดสติ

Page 47: วิเคราะห รสวรรณคด ีที่ปรากฏในน ...kb.tsu.ac.th/jspui/bitstream/123456789/483/1/101310.pdfว เคราะห รสวรรณคด

42

ศฤงคารรสในนิทานเวตาลมีครบทั้ง 2 ประเภท คือ ความรักของผูที่ไดอยูดวยกัน ( สัมโภคะ) ซ่ึงปรากฏอยูในตนเรื่อง รวมทั้งเรื่องที่ 1 , 2 , 4 , 7 , 8 , 9 และไดแสดงวภิาวะตลอดถึงอนุภาวะในลักษณะดังนี้ การอยูกับผูที่ถูกตาตองใจ การอยูในบานเรือนหรือสถานที่ที่สวยงามเอื้อตอการแสดงความรัก การแตงตัวงดงาม การลูบทาดวยของหอม การเที่ยวชมสวนหรือเลนสนุกสนาน การดูหรือฟงสิ่งที่เจริญหูเจริญตา สวนการแสดงผลของภาวะ ( อนุภาวะ) ไดแก พูดจาออนหวาน จริตกิริยาแชมชอย ชมายชายตา แชมชื่นมีความสุข ยิ้มแยมแจมใส และความรักของผูที่อยูหางกัน (วิประลัมภะ ) ซ่ึงปรากฏในเรื่องที่ 1 , 2 , 4 , 5 , 7 , 8 , 9 และไดแสดงวภิาวะตลอดถึงอนุภาวะในลักษณะดังนี้ เหตุของภาวะ ( วิภาวะ ) คือ การตกหลุมรัก การไมสมหวังในรัก การพลัดพรากจากกัน มีการแสดงผลของภาวะ ( อนุภาวะ ) ไดแก ทาทางหมดอาลัยตายอยาก ซึมเซา สงสัย วิตกกังวล กระสับกระสาย พรํ่าเพอรําพัน ขาดสติ สวนสาตตวิกภาวะ คือ ภาวะตะลึงงัน จากการตกหลุมรักซึ่งกันและกัน ความนาพิศวงของผูเปนที่รัก ภาวะตวัส่ัน เสียงสั่น จากความตืน่ตระหนกกลัวไมสมหวังในรัก ความทุกขโศก ภาวะเปนลม ความเสียใจทีต่องสูญเสียคนรัก มีความทุกขโศก และภาวะน้ําตาไหลจากการสูญเสียคนรัก ซ่ึงศฤงคารรสนี้นับวาเปนรสวรรณคดีที่ปรากฏอยูมากที่สุด หาสยรสและองคประกอบของรส

หาสยรส คือ ความสนุกสนาน เปนรสที่เกิดจากการไดรับรูความขบขัน นาฏยศาสตร แบงความขบขันออกเปน 2 ลักษณะ คือ ความขบขันทีเ่กิดแกผูอ่ืน หมายถึง การพูดหรือทําให ผูอ่ืนขบขันซึ่งสวนมากมักจะเปนไปโดยตนเองไมรูตัว และความขบขันที่เกิดแกตนเอง รูสึกขันตนเองหรือขันผูอ่ืน วภิาวะของความขบขันไดแก การแตงตัวแปลก ๆ เชน ชายแตงตัวอยางหญิงสวมเสื้อผารุมรามรุงรัง แตงตัวผิดกาลเทศะ หรือแตงตัวมากเกินไป ฯลฯ การทําทาแปลก ๆ เชน เดินงก ๆ เงิ่น ๆ ลมลุกคลุกคลาน หรือทําสิ่งใดสิ่งหนึ่งซํ้า ๆ ซาก ๆ ฯลฯ การพูดแปลก ๆ เชน พดูผิด ๆ ถูก ๆ พูดรัวจนฟงไมไดศัพท พูดดวยสําเนียงตางไปจากคนสวนใหญหรือพูดซ้ําซาก ฯลฯ อนภุาวะไดแกการยิ้มหรือหวัเราะ ซ่ึงนาฏยศาสตรกลาวไว 6 ลักษณะ คือ ยิ้มนอย ๆ ไมเหน็ไรฟน และแยมปากพอเหน็ไรฟน เปนลักษณะของคนชั้นสูง หัวเราะเบา ๆ และหวัเราะเฮฮาเปนลักษณะของคนชั้นกลาง หัวเราะงอหายและหวัเราะทองคัดทองแข็งเปนลักษณะของสามัญชนทั่วไป วยภิจารภิาวะ ซ่ึงเปนภาวะเสริมของความขบขัน ไดแก ความเสแสรง ความเกยีจคราน หรือความ

Page 48: วิเคราะห รสวรรณคด ีที่ปรากฏในน ...kb.tsu.ac.th/jspui/bitstream/123456789/483/1/101310.pdfว เคราะห รสวรรณคด

43

งวงงุน ความริษยา เปนตน บางภาวะเชนความรุนแรง อาจเปนตวัแปรได รสที่ควรจะเกดิจากภาวะขบขันจึงไมใช หาสยรส แตกลายเปนกรณุารสเพราะความสงสารผูถูกกระทํา

หาสยรสแรกนั้นปรากฏอยูในตอนตนเรื่อง เปนเรื่องพราหมณสองผัวเมีย ซ่ึงกลาวถึงที่มาของผลอํามฤตที่ไดจากเทวทตู แตเมื่อไดผลอํามฤตแลวพราหมณผัวทีแ่กมากแลวก็ไมมีปญญากินผลอํามฤตนั้นได กวบีรรยายความตอนนี้ไวอยางนาขันดังนี ้

คร้ันเทวทูตอนัตรธานไปแลว พราหมณก็อาปากซึ่งฟนหมดไปแลว เพื่อจะกัดแล

กินผลอํามฤต ( หนา 5 )

ความขบขันนีม้ีวิภาวะหรือเหตุแหงความขบขัน คือ ความขบขันที่เกดิแกผูอ่ืน กลาวคือ กวีบรรยายความขบขันออกมาแลวทําใหผูอ่ืน ซ่ึงในที่นี้ก็คือ ผูอาน รูสึกขบขันโดยไมรูตัว ทัง้นี้การแสดงกริิยาอาปากกัดผลอํามฤต ทั้งๆ ที่ฟนไมมีในปากนั้น ทําใหเกดิอนุภาวะคือ การยิ้มนอยๆ เพราะรูสึกขันจนคนที่ไมมีฟนแตกย็ังอุตสาหจะกัดผลไมวิเศษกิน เมื่อพราหมณถูกนางพราหมณีผูเปนเมยีแนะใหนําผลอํามฤตไปใหพระภรรตฤราช กวีก็บรรยายไวดังนี้

พระภรรตฤราชไดฟงดังนั้นก็ทรงยินด ี รับผลไมจากพราหมณแลว ตรัสใหพราหมณตามเสด็จเขาไปในคลังทอง อันเปนที่ซ่ึงทองทรายกองอยูหลายพรอม แลวตรัสใหพราหมณขนเอาไปเต็มแรงที่จะขนได พราหมณกเ็ปลื้องผาออกหอทองทราย แลบรรจุในที่ตางๆ ซ่ึงจะบรรจุได รวมทั้งในปากอันพูดคลองแลไมมีฟนนั้นดวย

( หนา 8 )

หาสยรสตอนนี้มีวภิาวะคือ มีลักษณะเปนความขบขันที่เกิดแกผูอ่ืน กลาวคือ รูสึกขันในกิริยาอาการที่แสดงออกมาของพราหมณเฒา เกิดอนุภาวะคือ การหัวเราะออกมาเพราะนกึขันพฤติกรรมของตัวละคร จึงเปนเรื่องชวนหัวที่ผูอานไมสามารถซอนไวได ตอนตอมาเปนหาสยรสในเรือ่งที่หนึ่ง ที่นาชวนหวัคือ พระวัชรมุกุฏที่นึกไมออกวาจะใชคําศัพทใดเรียกนางปทมาวดีผูเปนที่สนิทเสนหาของพระองควากระไรดี จึงนําปญหานี้ไปถามพุทธิศริระวา

Page 49: วิเคราะห รสวรรณคด ีที่ปรากฏในน ...kb.tsu.ac.th/jspui/bitstream/123456789/483/1/101310.pdfว เคราะห รสวรรณคด

44

ปญหายังมีแตเพียงวาจะเขียนหนังสืออยางไรจึ่งจะด ี จะผูกประโยคแลใชศัพทช้ันไหนจึงจะถูกพระหฤทัยนาง จะใชศพัทเรียกนางวา “แกวตาแหงต”ู จะเบาไป แลศัพท “โลหิตในตับแหงขา” จะหนักไปดอกกระมัง ( หนา 59 ) หาสยรสตอนนี้มีที่มาจากความรัก ซ่ึงความรักนี้อาจทําใหคนมีอาการผดิเพี้ยนไปจนกลายเปนความนาขัน วิภาวะของความขบขันนี้มีลักษณะเกิดจากตวัละครเอง เพราะพุทธิศริระเมื่อเห็นอาการของเพราะวัชรมกุุฏเปนขนาดนี้ก็อดยิ้มไมได ทําใหผูอานเองก็นึกขันในคําพูดนี้ อนุภาวะตอนนี้จึงเปนการยิม้ เพราะขันในอาการ และคําพูดของพระ วัชรมุกุฏนั่นเอง รสแหงความสนุกสนานเรื่องตอมาคือเร่ืองที่ 5 ซ่ึงเปนเรื่องของพระราชาที่ปลอมตัวไปจับโจรขโมยของในเมือง บทสนทนาระหวางขโมยปลอมกับขโมยจริงมีดังนี้ ชายผูนั้นตอบวา “ขาก็เปนขโมยเหมือนกนั มาเราจงไปดวยกันเถิด แตเจาเปนอะไร เปนขโมยผูดหีรือขโมยไพร” ( หนา 206 ) ความตอนนี้เปนภาวะความขบขันที่เกิดแกผูอ่ืน คือการพูดที่ทําใหผูอ่ืนขบขัน วิภาวะคือ กิริยาวาจาที่แปลกๆ และตลก เพราะขโมยก็คอืขโมย จะเปนขโมยไพรหรือขโมยผูดีนั้นคงไมตางกัน หรือถาตางกันจะเอาอะไรมาวดัไดวาอยางไรเรียกวาขโมยไพร อยางไรเรียกวาขโมยผูดี อนุภาวะของความตอนนีจ้ึงเปนลักษณะการหวัเราะเบาๆ แบบนกึขันในคําพูดของโจร หาสยรสเรื่องถัดมาคือ เร่ืองที่ 7 ซ่ึงเปนเรื่องของพราหมณวิเศษที่มีลูกอมที่สามารถอมแลวเปลี่ยนจากชายเปนหญิง หรือเปลี่ยนจากหนุมเปนแกได ความตอนที่ยกมามดีังนี ้

นางสะใภพราหมณไดยนิรับสั่งดังนั้น ก็คายลูกอมออกจากปากกลายเปนมนัสวีพราหมณหนุมเขาโลมพระราชธิดา นางจันทรประภาก็ทรงละอายหฤทัยยิ่งนกั ขาพเจาจะเลาถวายพิสดารวา... พระวกิรมาทิตยตรัสตอบวา “เอง็ไมตองเลาเรื่อง ตรงนั้นพิสดาร ขาไมอยากฟงของเอ็ง”

( หนา 279 )

Page 50: วิเคราะห รสวรรณคด ีที่ปรากฏในน ...kb.tsu.ac.th/jspui/bitstream/123456789/483/1/101310.pdfว เคราะห รสวรรณคด

45

คําวาพิสดารในความตอนนีห้มายถึงเลาโดยละเอียด ซ่ึงเวตาลเปนคนเลาถวายพระ วิกรมาทิตยกับพระราชบุตรฟง ความนาขนัในตอนนี้ทีท่ําใหรูสึกสนกุสนานนั้นอยูที่ พระราชบุตรยงัเยาววยัอยู เมือ่เวตาลจะเลาถึงการเลาโลมระหวางหญิงชายโดยละเอียดนั้น ไมเหมาะ แตเวตาลแกลงยัว่พระวกิรมาทิตยเลน เปนภาวะความขบขันที่เกิดแกผูอ่ืน ตัวละครเองไมไดรับรูความขบขันนี้ วภิาวะของความตอนนี้คือ คําพูดที่เวตาลพูดออกมาเพื่อจะยั่วพระวกิรมาทิตย ซ่ึงสามารถทําใหเกิดอนุภาวะคือ เสียงหัวเราะจากผูอานนั่นเอง เร่ืองตอมา เปนความสนุกสนานที่เกดิขึ้นในเรื่องที่ 9 ซ่ึงมีความสนุกตรงที่การตอหัวกับรางของคนสองคนผิดไปไมตรงรางและหวัเดิม กลาวคือสลับหัวกัน ซ่ึงมีความขบขันจากภาวะที่เกดิจากตวัละครเอง ดังนี ้ ตรงนี้ พระธรรมธวัชพระราชบุตรทรงนึกขันขอที่หวัตอผิดตัวแลเผลอพระองคไมทนันึกถึงพระราชบิดาก็ทรงพระสรวลขึ้นดวยสําเนียงอันดัง ( หนา 366 ) เมื่อเกิดภาวะขบขันที่เกิดจากตัวละครเอง วภิาวะคือ อาการหัวเราะดังๆ ของตัวละครที่เปนเดก็เมื่อไดฟงเรื่องนาขันก็ไมสามารถสกัดกั้นอารมณขันไวไดจึงหวัเราะออกมาดัง อนุภาวะตอนนี้การหวัเราะที่เกิดทั้งตวัละครเองและผูอานดวย หาสยรสตอนตอไป มีดังนี ้ เวตาลตอบวา “วิญญาณจะมีสํานักอยูที่อุทรคนกต็าม หรือที่มันสมองก็ตาม สํานกัของขาพเจาอยูที่ตนอโศกเปนแน” พูดเทานัน้แลวเวตาลก็ออกจากยามหวัเราะกองฟาลอยไป ( หนา 369 ) ความตอนนี้เกดิจากลักษณะความขบขันที่เกิดจากตนเองคือตัวละครนัน่เอง ซ่ึงเวตาลคงรูสึกสนุกที่ทําใหพระวิกรมาทิตยตอบคําถามและตองกลับไปเอาตัวเวตาลเองที่ตนอโศกหลายเทีย่ววิภาวะของความขบขัน คือการพูดของเวตาล และอนุภาวะคือเสียงหัวเราะกองฟา ซ่ึงไมเพียงแตเวตาลเทานั้นที่หวัเราะ แตผูอานกอ็ดยิ้มไมไดแตไมไดยิ้มที่ตวัพระ วิกรมาทิตยแตยิ้มในอาการหวัเราะกองฟาของตัวละครคือเวตาลตางหาก

Page 51: วิเคราะห รสวรรณคด ีที่ปรากฏในน ...kb.tsu.ac.th/jspui/bitstream/123456789/483/1/101310.pdfว เคราะห รสวรรณคด

46

หาสยรสที่เกิดจากการรับรูความขบขันในนิทานเวตาลมีครบทั้ง 2 ลักษณะ ลักษณะแรกคือ ความขบขันที่เกิดจากผูอ่ืน กลาวคอืการพูดหรือทําใหผูอ่ืนขบขัน ซ่ึงปรากฏอยูในตนเรื่อง กับเรือ่งที่ 5 และ 7 ซ่ึงแสดงวิภาวะ ไดแก การพูด และการทาํกิริยาที่แปลกๆ ตลกๆ อีกลักษณะหนึ่งคือ ภาวะความขบขันที่เกิดแกตวัละครเอง ตัวละครรูสึกขันขึ้นมาเอง ซ่ึงปรากฏอยูในเรื่องที่ 1 และ 9 มวีภิาวะ คือ การหัวเราะในตวัละครจากการสนทนากัน ซ่ึงทั้ง 2 ลักษณะมีอนภุาวะเหมือนกนัไดแก การยิ้มหรือการหัวเราะ กรุณารสและองคประกอบของรส

กรุณารส คือ ความสงสาร เปนรสที่เกิดจากการไดรับรูความทุกขโศก ซ่ึงมี 3 อยาง คือ ความทุกขโศกที่เกดิจากความอยตุิธรรม เกิดจากความเสื่อมทรัพย และเกิดจากเหตุวิบัต ิโดยอาจมีภาวะเสรมิคือความไมแยแส ความเหนื่อยออน ความวิตก ความโหยหา ความตื่นตระหนก ความหลง ความออนเพลีย ความสิ้นหวัง ความอบัจน ความปวยไข ความเฉยชา ความบาคลั่ง ความสิ้นสติ ความพรั่นพรึง ความเกยีจคราน ความตาย ฯลฯ วิภาวะของความทุกขโศก คือ การพลัดพรากพรากจากคนรักโดยไมมีโอกาสกลับมาพบกัน ทรัพยสมบัติเสียหาย ถูกแชงดา ถูกฆา ถูกลงโทษ กักขังจองจํา ถูกจองเวร ประสบเคราะหกรรม ตกทุกขไดยาก เปนตน อนุภาวะของความทุกขโศกพึงแสดงออกดวย การรองไห ครํ่าครวญ แตการรองไหนั้นเปนลักษณะของคนชั้นต่ําและสตรีเทานั้น สําหรับคนชั้นสูงและชั้นกลางเมื่อประสบทุกขโศกจะตองกลั้นไวในใจไมรองไหครํ่าครวญ นอกจากนั้นอาจ มีอนุภาวะอื่น เชน การทอดถอนใจ ทุมทอดตัว ตีอกชกหัว ฯลฯ หรือมีปฏิกิริยา (สาตตวิกภาวะ) เชน นิ่งตะลึงงัน ตัวส่ัน สีหนาเปลี่ยน น้ําตาไหล เสียงเปลี่ยน เปนตน

กรุณารสที่ปรากฏอยูในนิทานเวตาลตอนตนเรื่อง เปนความทุกขโศกที่เกิดจาดเหตุวิบัติ ดังนี ้

คร้ันวันรุงเสดจ็ออกปาลาเนือ้อีกครั้งหนึ่ง ไมชาตรัสใหมหาดเล็กเชิญเครื่องทรง ซ่ึงขาดแลเปอนเปรอะกลับไปทูลพระชายาวาเกิดเหตุวิบัตใินปา พระภรรตฤราชส้ินพระชนมเสียแลว พระชายาไดยินดังนัน้ก็ลมลงสิ้นชีวิตดวยเพลิงแหงความทุกข พระภรรตฤราชกลับจากปากเ็สียพระหฤทัยหนักหนา มีอาการซึมเซากระเดยีดไปขางจะออกเปนฤาษีอยูรํ่าไป

( หนา 3 )

Page 52: วิเคราะห รสวรรณคด ีที่ปรากฏในน ...kb.tsu.ac.th/jspui/bitstream/123456789/483/1/101310.pdfว เคราะห รสวรรณคด

47

ความทุกขโศกที่เกิดจากเหตวุิบัตินี้มภีาวะเสริมคือ ความตาย ทําใหวภิาวะของความทุกขโศก คือการพลัดพรากจากคนรักโดยไมมีโอกาสกลับมาพบกันอีก ซ่ึงมีอนุภาวะที่แสดงออกมาคือ มีอาการซึมเซา จัดเปนลักษณะการแสดงออกของคนชั้นสูง ซ่ึงจะไมรองไหฟูมฟาย ตีอกชกตวั อนภุาวะเชนนี้มักทําใหเกดิสาตตวิกภาวะ คือ อาการนิ่งตะลึงงันและคงตามสีหนาที่เปลี่ยนไป กรุณารสตอนตอมา เปนความทุกขโศกที่เกิดในเรื่องที่ 2 ซ่ึงมีที่มาคือการไดรับรูความทุกขโศกที่เกิดจากเหตวุิบัติ ความวา

เมื่อกอนที่ขาพเจามาเปนขาพระองคนั้น ขาพเจาเคยอยูกับ นางรัตนาวด ี ธิดาพอคาผูมั่งคั่งดวยทรพัยสมบัต ิ นางรัตนาวดีเปนหญิงนารักนาชมทุกประการ (นกขุนทองกลาวเทานัน้กร็องไห พระราชินีทรงสงสารก็รับสั่งปลอบโยนเปนอนัดี นกกเ็ลาตอไปวา)

( หนา 110 ) การรองไหของนกขุนทองนัน้มีวภิาวะของความทุกขโศกคือการพลัดพรากจากสิ่งที่รัก และไมไดพบกันอีกเลย อนุภาวะทีแ่สดงออกคือการรองไหครํ่าครวญ ซ่ึงลักษณะการรองไหของนกขุนทองเปนลักษณะการรองไหของคนชั้นต่ําและสตรีเทานั้นที่จะแสดงออกโดยการรองไหแบบนี้ ปฏิกิริยาที่เหน็คือ น้ําตาไหลและเสียงกจ็ะเปลีย่นไปดวย กรุณารสในเรือ่งที่ 2 ตอนถัดมาคือ เมื่อชายหลังอูฐสามขีองนางรัตนาวดี ซ่ึงเมื่อลวงภรรยาไปฆา แลวนําทรพัยสินของภรรยาไปใชจนหมด คิดกลับคนืสูบานนางรตันาวดี โดยตั้งใจจะโกหกพอตาวา นางรัตนาวดีถูกโจรฆาตายระหวางทางแตเมื่อกลับถึงบาน ปรากฏวานางยังไมตาย และใหการตอนรับชายหลังอูฐเปนอันดี ทําใหชายหลังอูฐเกิดอาการดังนี้ ชายหลังอูฐไดฟงภริยากลาวดังนั้น แมตัวจะเปนผูมีใจบึกบึน ก็บังเกดิใจออนแทบจะรองไห จึงตามภริยาขึ้นไปบนเรือน คร้ันถึงหองนางก็ลางเทาให แลจัดใหอาบน้ําชําระกาย แตงเครื่องนุงหมอยางดีมีคาแลวนําเอาอาหารมาใหกิน ( หนา 127 )

Page 53: วิเคราะห รสวรรณคด ีที่ปรากฏในน ...kb.tsu.ac.th/jspui/bitstream/123456789/483/1/101310.pdfว เคราะห รสวรรณคด

48

ความทุกขโศกในใจของชายหลังอูฐคือ ความทุกขโศกที่เกิดจากความเสื่อมทรัพยและเกดิเหตวุบิัติตอตนเอง กอใหเกิดความอับจน มีวภิาวะคือทรัพยสมบัติเสียหายและตกทุกขไดยาก อนุภาวะของความทุกขโศกจึงแสดงออกดวยอาการใจออนจนเกือบจะรองไห แตกลับตรงกนัขามกับผูอาน เพราะความสงสารที่เกิดขึ้นในใจของผูอานคือการไดรับรูความทุกขโศกที่เกิดจากเหตวุิบัติของนางรัตนาวดีที่ตองประสบเคราะหกรรม โดนสามีกระทําถึงขนาดผลักตกเหวตั้งใจใหตาย แตนางก็ยังปรนนิบัติสามีอยางดี พฤติกรรมเชนนี้กอใหเกิดความสงสารขึ้นในใจของผูอานเอง เมื่อนกขุนทองเลานิทานจบ ตอมาก็เปนนทิานของนกแกว ซ่ึงเปนเรื่องราวของศรีทัตกับนางชัยศิริผูที่ไมมีความจงรักตอสามีแอบหนีไปหาชูและโดนปศาจกัดจมกูมา แตกลับใสรายศรีทัตวาเปนคนทํารายนาง ความทุกขโศกของศรีทัตกลาวไวดังนี ้

ฝายศรีทัตเมื่อไดยินดังนัน้ ก็รูสึกวาถูกกลภริยาจึงกลาวแกตนเองวา บุรุษไมควรวางความเชื่อในคนซึ่งเปลี่ยนใจหนึ่ง งูดําหนึ่ง ศัตรูซ่ึงถืออาวุธหนึ่ง แลควรระวังภัยอันเกิดแตความประพฤติแหงหญิง ในโลกนี้ไมมีอะไรซึ่งกวปีริยายไมได ไมมีอะไรซึ่งโยคีไมรู ไมมคีําพลามคําใดซึ่งคนเมาไมพดู ไมมีเขตตรงไหนซึ่งเปนทีสุ่ดแหงมารยาหญิง เทวดานัน้มีความรูมากก็จริงอยู แตไมรูลักษณะชัว่แหงมา ไมรูลักษณะแหงอัสนีในหมูเมฆ ไมรูความประพฤติแหงหญิง ไมรูโชคของชายในภายหนา ก็เมื่อเทวดายังไมรูเชนนี ้เราผูเปนคนจะรูไดอยางไรเลา ศรีทัตกลาวเชนนี้แลวก็รองไหแลสาบานตอหนาตนแมงลัก(ตุลสิ) แลสิ่งซึ่งเปนที่นับถือทั้งปวง วามิไดทําผิดเชนที่ถูกกลาวหานั้นเลย ถาพูดไมจริงขอใหเสียโค แลขาวสาลีแลทองจนสิ้นไปเถดิ คําที่ศรีทัตกลาวเชนนี้หามใีครเชื่อไม

( หนา 145 ) ความทุกขที่นาสงสารของศรีทัตนี้เกิดจากเหตุวิบัติทีภ่รรยานํามาสู มีภาวะเสริมหลายอยางปนกัน ทั้งความตืน่ตระหนกที่ถูกใสราย ความวิตกและพรัน่พรึงตอโทษที่ตัวเองไมไดกระทํา วิภาวะของความทุกขโศกนี้ คือ การประสบเคราะหกรรมโดนคดีวาทํารายเมีย และจะถูกลงโทษพูดความจริงก็ไมมีใครเชื่อ อนุภาวะที่แสดงออกคอื การรองไหถึงกับสาบาน และมปีฏิกิริยาหรือสาตตวิกภาวะคือ อาการตัวส่ัน น้ําตาไหล สีหนาและเสียงคงเปลี่ยนไปเพราะตกใจในชะตากรรมของตนเอง

Page 54: วิเคราะห รสวรรณคด ีที่ปรากฏในน ...kb.tsu.ac.th/jspui/bitstream/123456789/483/1/101310.pdfว เคราะห รสวรรณคด

49

กรุณารสตอนตอมาอยูในเรือ่งที่ 3 เปนรสที่ไดรับรูความทุกขโศกที่เกดิจากเหตุวิบัติ ซ่ึงมีเหตกุารณดังนี ้

วีรพลกลาวดังนั้นแลว ก็บอกใหลูกชายคุกเขาลงตรงหนาเทวรูปแลวฟนดวยดาบถูกคอขาด หัวกระเด็นไปกลิ้งอยูบนพืน้ชาลาแลวโยนดาบขวางไปไกลตัว ฝายลูกหญิงเมื่อเห็นพี่ชายคอขาดกระเดน็ไปดังนัน้ ก็วิ่งเขาไปฉวยเอาดาบเชือดคอตนเองสิ้นไปชีวิตลงไปอีกคนหนึ่ง นางผูเปนมารดาเหน็ลูกชายแลลกูหญิงสิ้นชีวิตลงไปดังนั้นเหลือที่จะสะกดใจไวได ก็วิง่ไปหยิบดาบฟนคอตนเองตายลงไปอีกเปน 3 ศพดวยกัน ฝายวรีพลเมื่อเห็นดงันั้น จึงกลาวแกตนวา “ลูกเราก็ตายหมดแลว กูจะอยูรับใชพระราชาไปทําไมเลา เมื่อไดทองคําเปนรางวัลจากพระราชาก็ไมมีลูกจะรับชวงตอไปอีกแลว” คิดดังนี ้วีรพลก็เอาดาบฟนคอตนเองลมลงขาดใจตาย

( หนา 175 ) ความทุกขโศกนี้เกิดจากการสูญเสียคนรัก กลาวคือวีรพลผูมีหนาที่รับใชเปนองครักษของพระราชา ทราบวาพระราชาจะสิ้นพระชนมและมีทางแกไขคือ ตองตัดศีรษะลูกของวีรพลบูชาพระเทวี วิภาวะของความทุกขโศกคือ การฆาลูก การฆาตัวตายตาม ความตายนีเ้ปนการพลัดพรากจากกันโดยไมไดพบกนัอีกตอไป มีอนุภาวะคือ การทอดถอนใจหมดอาลัยตายอยาก กระทั่งฆาตัวตายตาม กรุณารสเรื่องตอมาคือเร่ืองที่ 5 ซ่ึงนาสงสารเศรษฐีที่รักลูกมาก แมลูกหลงรักโจรที่กําลังจะถกูประหาร กพ็ยายามไปออนวอนขอพระราชทานงดลงโทษโจรแตกไ็มเปนผลดังนี้

เศรษฐีไดฟงรับสั่งดังนั้น ควรจะเหน็ไดแลววาจะทูลขอตอไปก็ไมมีประโยชนแตยังไมหยดุรําพันวิงวอนทั้งน้ําตา ดวยทรพัยสินบนดวยเรื่องลูกสาวจะสละชีวิต แลดวยขอที่ตัวเองจะตองตายไปตามกันแตก็ไมมปีระโยชนทั้งนั้น คร้ันเห็นไดแนวาถึงจะอยางไร พระราชาก็ไมโปรด เศรษฐีจงึออกจากที่เฝารํ่าไหไปสูเรือนของตน เลาความใหบุตรีวา “ลูกเอย พอไดพยายามทกุลูทางแลว พระราชาก็ไมโปรดตามที่เราประสงค มาเราจงตายไปดวยกันเถดิ”

( หนา 227 )

Page 55: วิเคราะห รสวรรณคด ีที่ปรากฏในน ...kb.tsu.ac.th/jspui/bitstream/123456789/483/1/101310.pdfว เคราะห รสวรรณคด

50

ความสงสารที่รับรูวาเศรษฐีไดรับความทุกขโศกที่เกิดจากเหตวุิบัติ คอืตองการใหลูกสาวสมหวงัในรัก แตพระราชาก็ตองลงโทษโจรตามกฎไมสามารถปลอยไปได วภิาวะของความทุกขโศกนี้ถือไดจากเคราะหกรรมที่ทําใหลูกสาวไปตกหลุมรักโจรในครั้งแรกที่เห็นขณะที่กําลังแหประจาน มีอนุภาวะคือการร่ําไหของเศรษฐี สาตตวกิภาวะหรือปฏิกิริยาตอนนี้ คือ น้าํตาไหล ความตอจากนีค้ือ

ฝายเจาพนกังานผูคมุเมื่อไดพานายโจรตระเวนรอบกรุงแลว ก็พาไปนอกประตูพระนคร แลวจัดการลงโทษตามพระราชกําหนด นายโจรทนเจ็บปวดดวยความมั่นคงในใจปราศจากอาการแสดงทุกข แตเมื่อมีผูเลาใหฟงถึงนางโศภน ี นายโจรอดใจไวไมไดก็รองไหขึ้นดวยเสียงอันดัง แสดงความเศราสงสารประหนึ่งหวัใจจะแตกออกไป อีกครูหนึ่งกห็ยุดรองไหกลับหวัเราะดวยสําเนยีงอันดังประหนึ่งอยูในที่ร่ืนเริงดวยการเลีย้งคนทั้งหลายที่ประชุมดูการประหารชีวิตอยูนั้นพากันแปลกใจที่นายโจรหัวเราะเหมือนหนึ่งเห็นอะไรสนุก แลเมื่อหัวเราะในเวลาที่เหล็กแหลมกําลังแทงเขาไปในเนื้อจนคนดูพากันเสียวไสเชนนั้นใครเลยจะเหน็เหตุที่ควรร่ืนรมย

( หนา 228 ) ความทุกขโศกของนายโจรนี ้ ทําใหเกิดความสงสารเพราะไดรับรูความทุกขที่เกิดจากเหตวุิบัติ เหตุวิบัตนิี้มีวภิาวะที่เกิดจากการถูกลงโทษ และชะตากรรมที่ถือเปนเคราะหกรรมของนางโศภนีที่มาหลงรักตนตอนถกูลงโทษและใกลตาย อนภุาวะทีแ่สดงออกคือการรองไหเหมือนคนขาดสติ สงผลถึงปฏิกิริยา คือ อาการสีหนาและเสยีงเปลี่ยนไป พรอมทั้งน้ําตาไหล โดยกลั้นไวไมได ความสงสารที่เกิดขึ้นในเรื่องที่ 5 นั้นยังไมหมด มีตอดังนี้

ฝายเศรษฐีผูเปนบิดานั้น เมื่อบุตรีถึงแกความตายแลว ก็จดัใหชางเหล็กทําเหล็กคมขึ้นอันหนึ่งรูปเหมือนพระจนัทรคร่ึงซีก คมเหมือนมีดโกนแลพอดกีับคอของตน ปลายสองขางมีโซรอยยาวพอเทายันได ตัวเศรษฐีนั่งลงหลบัตา แลวใหมีผูเอาดินจากแมน้ําไวตรณมีาถูตัวใหบริสุทธิ์แลรายมนตรอันควรแกพิธีแลว ก็เอาเทายันปลายโซหงายคอกระแทกไปดวยกําลังแรงศีรษะก็ขาดตกกลิ้งอยูกบัพื้น

( หนา 232 )

Page 56: วิเคราะห รสวรรณคด ีที่ปรากฏในน ...kb.tsu.ac.th/jspui/bitstream/123456789/483/1/101310.pdfว เคราะห รสวรรณคด

51

เปนความสงสารเศรษฐีที่เมื่อบุตรีตายตนกต็ายตาม เปนความทุกขโศกที่เกิดจากเหตุวิบัติเหมือนทีก่ลาวมาขางตน มีวภิาวะของความทุกขโศกคือ การพลัดพรากจากบุตรีอันเปนที่รักเพราะความตายมาพรากจึงไมมีทางไดพบกันอกี อนุภาวะคือ การเสียใจหมดอาลัยตายอยากจนฆาตัวตายตาม รสแหงความสงสารที่รับรูความทุกขโศกตอนตอมาอยูในเรื่องที่ 7 กลาวถึงความทุกขของมนัสวีไวดังนี ้ มนัสวีกลาววา “บุรุษพึงเลาความทุกขใหฟงแตเฉพาะผูที่จะชวยแกทกุขได การกลาวทุกขใหผูซ่ึงเมื่อไดฟงแลวชวยระงับทกุขไมไดนั้นหาประโยชนมิได ผูมีทุกขไมไดดีอะไรจากคํากลาววาสงสาร หรือวาจาเชนกัน” ( หนา 268 ) ความทุกขที่มนัสวีไดรับนัน้มาจากความสิน้หวังในรัก มวีิภาวะของความทุกขคือการไมสมหวังในรัก และแสดงออกมาโดยการทอดถอนใจคร่ําครวญรําพัน ทําใหผูอานเกิดความรูสึกสงสารตัวละคร เกดิเปนความสงสารในใจของผูอาน ความทุกขของบุพการีที่เพยีรพยายามจะใหลูกสมหวังนัน้ เปนความทุกขที่นาสงสารมากกรุณารสที่เกิดตอนนี้เกดิจากเหตุวิบตั ิ ในที่นี้คือ ความตองการทีจ่ะใหผูอ่ืนพนทุกข บิดายอมไมตองการใหลูกมคีวามทุกข เหมือนทานโกษาธิบดีตอนนี้

แตเขาก็นิ่งอึ้ง ไมพูดจาอะไรเลย จนในที่สุดกราบถวายบงัคมลาออกจากที่เฝา เดินน้ําตาคลอออกไปจนถึงประตูวัง จึงกลาวแกตนเอง แตมีผูอ่ืนไดยนิวา “ตัวกูนี้อดขาวเสียสัก ๑๐ วัน ก็คงไดไปโลกหนาสมหวัง” คร้ันเมื่อโกษาธิบดีกลับไปถึงบานแลว ก็เรียกบาวไพรมาพรอมกันเขาไปเยี่ยมลูกชายในหอง พบลูกชายนอนอยูบนเสื่อ หนาตาซูบซีดเพราะอดอาหาร บิดาจึงจับมอืบุตรไว แลวกระซิบดังพอใหไดยินกันทั่ววา “ลูกเอย พอจะแกไขอะไรก็ไมไดแลว จําเปนจะตองตายไปตามกนั”

( หนา 287 ) วิภาวะของความตอนนี้ คือ การตกอยูในความทุกขเพราะลูกที่ตนรักมีความทุกข แสดงอนุภาวะ คือ น้ําตาคลอตา เพราะทานโกษาธิบดีนัน้ถือวาเปนชนชั้นสูง เมื่อประสบทุกขโศกจะตองกล้ันไวไมรองไหครํ่าครวญ

Page 57: วิเคราะห รสวรรณคด ีที่ปรากฏในน ...kb.tsu.ac.th/jspui/bitstream/123456789/483/1/101310.pdfว เคราะห รสวรรณคด

52

กรุณารสถัดมา เปนความสงสารที่เกิดจากเหตุวิบัติ มภีาวะเสริมคือ ความตื่นตระหนก เปนความวิตก ดังนี้ นางจันทรประภา หญิงสะใภพราหมณ เมื่อไดฟงทาวสุพิจารตรัสดังนั้นกห็นาซีดแลกันแสงวิงวอนพระราชาดวยถอยคําตางๆ ใหทรงถอนคําสั่ง แตพระราชาหายอมตามไม ( หนา 295 ) เนื่องจากหญิงสะใภพราหมณก็คือมนัสวทีี่ปลอมตัวมา และเปนพระสวามีของพระธิดาจันทรประภา ความทุกขใจของทั้งสองจึงเกิดขึ้นเพราะทาวสุพจิารตัดสินใจยกหญิงสะใภพราหมณใหแกบุตรโกษาธิบดี วภิาวะของความทกุขโศกนี้ถือเปนเคราะหกรรมจากการที่ทั้งคูลักลอบไดเสียกนั ทําใหตกอยูในหวงแหงความทุกข อนุภาวะของความทุกขโศกแสดงออกดวยการรองไหครํ่าครวญ และมสีาตตวิกภาวะคือ ปฏิกิริยาหนาซีด และคงจะนิ่งตะลึงงันไปพกัหนึ่ง พรอมทั้งน้ําเสียงคงจะเปลี่ยนไปดวย กรุณารสในเรือ่งที่ 8 เปนเรือ่งของพระราชาที่ดั้นดนไปหานางทิพย และเมื่อสมหวังไดอยูดวยกันก็ปรากฏวานางไดตองคําสาป จะตองถูกอสูรกินนางเขาไปทุกๆวันขึ้น 14 ค่ํา เมื่อพระราชาตามไปเห็นเหตุการณก็เขาไปฆาอสูรนั้นเสีย แตเมื่ออสูรตายแลวนั้น ความทุกขของพระราชาก็ยังไมหมดไป ดงันี้ เลือดไหลนองไป เพลิงแหงความโกรธของพระราชาก็ดบัดวยเลือดแหงอสูร แตเพลิงแหงความทุกขที่ไมไดนางคืนนั้นหาดับไม พระราชาเสียพระหฤทัยส้ินสติมิรูจะทําประการใด ( หนา 331 ) ความทุกขนี้เกดิจากเหตุวิบตัทิี่นางทิพยผูเปนที่รักของพระราชา ถูกอสูรกินเขาไปทําใหพระราชาเขาใจวานางนั้นจะไมฟนขึ้นมาอีกแลว วิภาวะของความทกุขนี้เกดิจากการสูญเสียคนรัก แสดงอนุภาวะออกมาเปนความเสียใจจนสิ้นสติทําอะไรไมถูก และบรรยายตอไปวา

เมื่อพระราชาทรงฟงดังนี ้ กเ็ดือดรอนในพระหฤทัยเปนกําลัง เพราะทุกขวิโยคหญิงที่รักนั้นเปนทกุขหนักเหลือหนัก นับประสาแตใคร แมพระมเหศวรเมื่อพรากจาก

Page 58: วิเคราะห รสวรรณคด ีที่ปรากฏในน ...kb.tsu.ac.th/jspui/bitstream/123456789/483/1/101310.pdfว เคราะห รสวรรณคด

53

พระอุมายังทรงกระวนกระวายยวดยิ่ง ไหนเลยมนษุยเดนิดินจะหกัหามความโศกเสียได พระยศเกตุทรงรับทุกขใหญหลวงเพราะนางจะตองพรากไป

( หนา 334 ) วิภาวะของความทุกขโศกของพระราชานัน้ คือ การพลัดพรากจากคนรัก โดยพระองคคิดวาจะไมมีโอกาสไดพบกนัอีก อนุภาวะของความทุกขโศกที่แสดงออกมาการ ครํ่าครวญ ทอดถอนใจกับความทุกขที่พระองคเห็นวาใหญหลวงมาก แตความทุกขของพระราชาในขางตนหมดไปเมื่อนางทพิยฟนขึน้มาปกติและเลาความตามคําสาปของบิดานางใหพระยศเกตุฟง จากนัน้ทั้งคูก็ครองรักกันพรอมกนันัน้ พระยศเกตุกพ็านางทิพยกลับบานเมือง แตความทุกขกม็าเยือนนางทพิยดังนี ้ ฝายนางวิทยาธรครั้นมาถึงนครของพระราชาผูสามีแลพนกําหนด 7 วันแลว ก็คํานึงจะกลับคืนสูพวก แตคร้ันจะเหาะก็เหาะไมขึ้น เพราะลืมวิชานัน้เสียแลว เมื่อนางรูสึกวานางเสื่อมความรูก็เดือดรอนหฤทัย แสดงอาการเศราโศก ( หนา 338 ) ความทุกขโศกของนางทิพยนี้เกิดจากความวิบัติ วภิาวะของความทุกขคือการประสบเคราะหกรรมที่ตนมาอยูในเมืองมนุษยนานเกินไป ตองตกอยูในหวงแหงความทุกข การแสดงออกของอนุภาวะคอือาการเศราโศกเดือดเนื้อรอนใจ ซ่ึงนาสงสารยิ่งนัก ความทุกขนี้บางทีก็ไมไดเกดิจากการพลัดพรากจากคนรกั หรือความสงสารของบุพการีที่มีตอบุตรเทานั้น อาจเปนความรูสึกระหวางเจานายกับลูกนองดวย ดงัพระยศเกตุกับทีรฆะทรรศิน มีความดังนี้ ฝายทีรฆะทรรศินเมื่อไดทราบดังนั้น ก็ตรึกตรองตอไปตามแนวความคดิที่เร่ิมแตวันที่ไปรับเสด็จพระราชาทีพ่ระราชอุทยาน คร้ันกลับไปบานก็นอนคาํนึงตอไปอีกจนดับชีวิตไปดวยความเสียใจ รุงเชามีผูนําความเขาไปทูล พระราชาก็ทรงเศราโศก ( หนา 338 ) ความทุกขโศกของทั้งสองคนนี้เกดิจากความวิบัติ ทีรฆะทรรศินนั้นมวีิภาวะของความทุกขโศกคือ การตองตกอยูในความทกุข ซ่ึงมีภาวะเสริมคือ ความเหนื่อยออนอันมีที่มาจากการทีพ่ระราชาไมคอยออกวาราชการมักยุงอยูกบัความรัก ความทุกขนี้ทําให

Page 59: วิเคราะห รสวรรณคด ีที่ปรากฏในน ...kb.tsu.ac.th/jspui/bitstream/123456789/483/1/101310.pdfว เคราะห รสวรรณคด

54

ทีรฆะทรรศินคิดมากจนแสดงอนุภาวะ คอื ตรอมใจตาย ในขณะทีพ่ระราชาก็มีวภิาวะของความทุกขคือการสูญเสียอมาตยผูเปนที่รักและไวใจ แสดงอนุภาวะออกมาเปนความเศราโศกเสียใจ กรุณารสในเรือ่งที่ 9 ตอนที่ยกมาเปนตอนที่มหาเสนีทีอ่กหักจากนางมุกดาวลีเศราโศกเสียใจจนประกาศจะฆาตัวตาย ดังเหตุการณดังนี ้

ฝายคุณากรเปนชาตินักรบมใีจกลา คร้ันไดยินมหาเสนพีูดดังนัน้กแ็นะนําวาใหรีบฆาตวัตายเสียเถิด และเมื่อเปนผีแลวจะทําอะไรก็แลวแตสมัคร แตพราหมณหริทาสหามคุณากรไมใหพูดแสดงน้ําใจรายกาจ มหาเสนียิ่งโกรธใหญ เกิดความกลาเพราะเกลียด เพราะรัก แลเพราะโกรธ กชั็กเชือกบวงออกจากอกวิ่งออกไปจากเรือนแลวผูกคอแขวนตวัตายอยูกับตนไมขางเรือนนั้น

( หนา 356 ) ความตายจดัเปนความทุกขโศกที่นาสงสารนัก เมื่อมหาเสนีฆาตัวตายนั้น มีวภิาวะของความทุกขโศกคอื การไมสมหวังในรัก ถือเปนความทุกขที่มหาเสนีทําใจไมได จึงแสดงอนุภาวะออกมาดวยการตีอกชกตัว หักหามใจไมไดก็ฆาตัวตายไป ความสงสารอันดับตอไป เปนความทุกขโศกที่เกิดจากความวิบัติ ซ่ึงเกิดเหตุการณดังนี ้ ในขณะนี้นางรูสึกขึ้นมาวาไดตอหัวผิดตัวเสียแลว ไมรูวาจะทําอยางไร ก็นั่งลงรองไหราวกับอกจะแตกไปกับที่ ( หนา 364 ) เมื่อสามีและเพื่อนตายไป และนางมุกดาวลีมีวิชาชุบชวีติตอหัวตอตวัใหฟนได แตเมื่อตอผิดหัวผิดตัว วิภาวะของความทุกขคอืเคราะหกรรมที่ทําใหตอผิด แสดงออกเปน อนุภาวะคือ การรองไห แบบตีอกชกตวั ควบคุมสติไมได กรุณารสในนทิานเวตาลนัน้มีความสงสารที่เกิดจากความทุกขโศกเพยีง 2 อยางจาก 3 อยาง คือ ความทุกขที่เกิดจากการเสื่อมทรัพย ซ่ึงปรากฏในเรื่องที่ 2 และความทกุขโศกที่เกิดจากเหตวุบิัติในตนเรื่อง และเรื่องที่ 2 , 3 , 5 , 7 , 8 , 9 มีการแสดงวิภาวะและอนุภาวะในลักษณะดังนี้ วภิาวะคือ การพลัดพรากพรากจากคนรกัโดยไมมีโอกาสกลับมาพบกัน

Page 60: วิเคราะห รสวรรณคด ีที่ปรากฏในน ...kb.tsu.ac.th/jspui/bitstream/123456789/483/1/101310.pdfว เคราะห รสวรรณคด

55

ทรัพยสมบัติเสียหาย ถูกฆา ถูกลงโทษ กักขังจองจํา ประสบเคราะหกรรม ตกทุกขไดยาก สวนอนภุาวะของความทุกขโศกแสดงออกโดย การรองไหครํ่าครวญ มีทั้งลักษณะของคนช้ันต่ําหรือสตรีที่ตีโพยตีพาย แบบคนชั้นสงูและชั้นกลางเมื่อประสบทุกขโศกจะตองกล้ันไวในใจไมรองไหครํ่าครวญ การทอดถอนใจ ทุมทอดตัว ตีอกชกหวั การตรอมใจตายหรือการฆาตัวตาย สวนสาตตวิกภาวะที่แสดงออกคือ ภาวะตะลึงงัน ภาวะสีหนาและเสยีงเปลี่ยน ภาวะน้ําตาไหล จากการพลัดพรากจากคนรกั ประสบเคราะหกรรม พบกับความทุกขโศก เราทรรสและองคประกอบของรส

เราทรรส คือ ความแคนเคือง เปนรสที่เกิดจากการรับรูความโกรธ ตัวละครผูมีความโกรธเปนเจาเรือน มักไดแก รากษส ทานพ คนฉุนเฉียว เปนตน อาจมีภาวะเสริม คือ ความตื่นตระหนก ความแคน ความหวั่นไหว ฯลฯ วภิาวะของความโกรธ ไดแก การพูดใสความ พูดใหเจ็บใจ ดูหมิ่น กลาวเท็จ อาฆาตจองเวร กลาวคําหยาบ ขมขู อิจฉาริษยา ทะเลาะทุมเถียง ตอสู ฯลฯ อนุภาวะของความโกรธ ไดแก การเฆี่ยน ตัด ตี ฉีก บีบ ขวางทําใหเลือดตก ฯลฯ และอาจมีปฏิกิริยา คือ เหงื่อออก ขนลุก ตัวส่ัน เสียงเปลี่ยน เปนตน เนื่องจากความโกรธนั้นมีหลายอยาง ไดแก ความโกรธที่เกดิจากศัตรู เกดิจากผูใหญ เกิดจากเพื่อนรัก เกดิจากคนรับใช และเกดิขึ้นเอง การแสดงความโกรธจึงมีตางกันไปดวย เชน เมื่อผูใหญทําใหโกรธ ผูแสดงพึงกมหนาเล็กนอย มีน้ําตาคลอเบา อัดอั้นตันใจ ฯลฯ แตเมื่อคนรับใชทําใหโกรธ อาจชี้นิ้ว ตวาด ถลึงตา ฯลฯ

เราทรรสตอไปนี้เปนตอนตนเรื่อง กลาวถึงพราหมณแก 2 ผัวเมยี ซ่ึงบําเพ็ญเพียรจนไดผลอํามฤตมา แตนางพราหมณีมีความคิดวา นางไดอยูเปนสามีภริยากับพราหมณมาก็ชานาน จนถึงความชรามากแลว ถาสามีนางกินผลอํามฤตและอยูยืนยง ในขณะที่นางเองตองตายจากไป ถือวาไมมีความเที่ยงธรรมเลย เมื่อออกอบุายจนพราหมณไมกนิผลอํามฤต นางก็มีพฤติกรรมดังนี้

คร้ันสามีทิ้งผลอํามฤตลงบนพื้นดนิฉะนัน้แลว นางก็กลาวติเตียนความมีอายุยืน

ซํ้าเติมอกีจนสามีเห็นจริง กลับโกรธเทวดาวานําผลอํามฤตมาใหดวยความปองราย หยิบผลไมนั้นจะโยนเขากองไฟ

( หนา 7 )

Page 61: วิเคราะห รสวรรณคด ีที่ปรากฏในน ...kb.tsu.ac.th/jspui/bitstream/123456789/483/1/101310.pdfว เคราะห รสวรรณคด

56

วิภาวะของความโกรธในตอนนี้ไดแก การไดยินคําพูดใสความของนางพราหมณี ทําใหเกดิความหวั่นไหว จนเมื่อเกิดความโกรธ กลาวคือโกรธเทวดาหาวาอยากใหแกนานๆ ซ่ึงเทากับตองทุกขยากลําบากนานขึ้นไปอกี มีอนุภาวะที่แสดงออกมา คือ ตั้งใจจะโยนผลอํามฤตลงกองไฟไป รสของความโกรธตอนตอมา เปนตอนทีพ่ระวกิรมาทิตยและพระราชบุตรกลับกรุง อุชเชนี เจอกบัปถพีบาลอสูรเฝาประตูที่ไมยอมใหพระองคเขาเมืองของพระองคเอง พระ วิกรมาทิตยโกรธมากที่โดนหามไมใหเขาเมืองของตังเอง ดังนี ้

พระวกิรมาทิตยทรงโกรธเปนกําลังตรัสวา “เราคือพระราชาวิกรมาทิตยจะกลับเขาสูนครของเรา เจาคือใครจึงกําเริบมาหามฉะนี้”

( หนา 15 ) ความโกรธของพระวกิรมาทิตยในตอนนี้ มีวิภาวะของความโกรธคือ การไดรับการ

ดูหมิ่นจากปถพีบาลที่มาเฝาประตูเมืองที่มาหามกษัตริยผูปกครองเมืองเขาเมืองของตัวเอง อนุภาวะของความโกรธที่แสดงออกมาคือ การตวาดปถพบีาลที่ทําใหโกรธ

ถัดมาเปนเราทรรสตอไปนี้

ฝายโยคีเมื่อไดยินพระราชาตรัสแลไดยินคนอื่นๆ พูดแลหัวเราะเกรีย้วกราดดังนัน้ ก็คิดวาพวกนี้เจียวแตงนางไปลอเราใหเสียผลแหงตบะทีไ่ดบําเพ็ญมา คร้ันรูสึกเชนนั้นแลวกแ็บกลูกขึ้นบา สาปคนทั้งหลายที่อยูในที่นัน้ แลวออกจากทอง พระโรงไป คําที่โยคีสาปนั้นไมเปนผลสําเร็จ เพราะเสยีตบะเสียแลว คร้ันโยคีกลับไปถึงปาก็ฆาบุตรของตนเสีย แลวเร่ิมทําตบะใหม มาดหมายจะแกแคน พระราชบิดาแหงพระองค บัดนี้พระราชบดิาก็ส้ินพระชนมไปแลว โยคีตั้งหนาจะทํารายพระองคตอไป หวังจะเอาเลือดพระราชาแลพระราชบุตรเปนเครื่องบูชานางทุรคา เพื่อไดรับความเปนใหญในโลกเปนรางวัล

( หนา 23 ) ความขางตนเปนเรื่องราวของโยคีที่มีความโกรธแคนที่ถูกบิดาของพระวิกรมาทิตยและนางวสันตเสนาเมียของโยคีหลอกใหตนเสียตบะ วภิาวะของความโกรธคือ ความเจ็บใจ จนเกดิการอาฆาตจองเวร มีอนภุาวะของความโกรธคือ การกลาวสาปคนในที่นัน้ และ

Page 62: วิเคราะห รสวรรณคด ีที่ปรากฏในน ...kb.tsu.ac.th/jspui/bitstream/123456789/483/1/101310.pdfว เคราะห รสวรรณคด

57

กลับมาฆาบุตรของตนเอง ความโกรธนี้มสีาตตวิกภาวะคือ ตัวส่ัน หนาและเสียงเปลี่ยน ในเวลาที่กลาวคําสาปอาจมีการชี้นิ้ว ถลึงตาดวยก็ได เมื่อพระวกิรมาทิตยไปนําตวัเวตาลมาใหโยคีศานติศีล มีเหตุการณที่ทําใหเกดิความโกรธดังนี้

ฝายพระราชาเมื่อเวตาลหลุดไปไดถึงสองครั้งเชนนี ้ ก็ทรงพิโรธตรัสสั่งพระราชบุตรวา เมื่อเวตาลตกมาถึงพื้นดนิใหฟนหวัใหขาดออกไป แลวทรงปนขึ้นตนไมจับผมเวตาลกระชากจนหลุดจากกิ่งไมทีเ่กาะแลวทิ้งลงมาถึงพื้นดิน ( หนา 39 ) วิภาวะของความโกรธคือ ความไมไดดังใจ เพราะปนตนไมไปจับตวัเวตาลถึงสองคร้ังแตเวตาลกลับหลุดไปไดทั้งสองครั้ง ทําใหโกรธมาก มีอนุภาวะคือ ส่ังใหพระราชบุตรฟนหวัใหขาดเมื่อทิ้งเวตาลลงมาจากตนไม อาจมีสาตตวกิภาวะคือ อาการตัวส่ันในขณะที่โกรธอยู ตอนตอมาเปนตอนที่เวตาลทาพระวกิรมาทิตยวาจะเลาเรือ่งใหพระวิกรมาทิตยตอบคําถาม หากตอบไมไดคงเปนเพราะโง ทําใหเกดิเรื่องราวดังนี ้

พระวกิรมาทิตยไดทรงฟงดังนั้น ก็คิดขัดเคอืงในพระหฤทัย เพราะพระราชาไมเคยฟงใครดูหมิน่วาโง

( หนา 42 ) วิภาวะของความโกรธซึ่งในที่นี้เปนแคความขัดเคืองใจ คือ การถูกดูหมิ่นวาตนโง

มีอนุภาวะคือ ความเงียบ บางครั้งเมื่อคนเรามีความโกรธมากๆ ก็จะแสดงออกดวยความเงียบแทนที่จะโวยวายหรือแสดงอาการฉนุเฉียวตางๆ

เราทรรสตอนตอมาอยูในนทิานเรื่องที่ 1 เปนอุบายที่นางปทมาวดีแสดงออกมาเพื่อทดลองความฉลาดของพระวัชรมุกุฏดังนี ้

พระราชธิดาทรงอานหนังสอืตลอดแลว ก็สําแดงอาการพิโรธ ตรัสแกนางนมดวยสําเนียงอันขุนแคนวา “นี่แกเปนอะไรไปจึง่บังอาจนําหนงัสือนี้มาให คนโงที่เขียนหนังสือนี้แตงฉันทไมเปน ก็แคนจะแตงกบัเขาดวย คนแตงฉันทเลวๆ เชนนี้ยังอาจมาแตงถวายพระราชธิดา อยากรูวาเรียนหนังสือมาแตสํานักไหน จึงเลวถึงเทานี”้

Page 63: วิเคราะห รสวรรณคด ีที่ปรากฏในน ...kb.tsu.ac.th/jspui/bitstream/123456789/483/1/101310.pdfว เคราะห รสวรรณคด

58

นางตรัสพลางทรงฉีกหนังสอืตอนที่วา “ศศิไซรบใยด”ี สงใหนางนมแลวตรัสวา “แกจงนําเอาคําตอบนี้ไปใหชายที่แตงฉันทไมเปน แลตัวแกเองจงอยาทําเอื้อมอาจถือหนังสือเขามาเชนนี้อีกเปนอันขาด”

( หนา 62 ) วิภาวะของความโกรธนี้มาจากความตื่นตระหนกและแสรงทําทีวาตนไดรับการดูหมิ่นที่มีชายโงแตงฉันทเลวๆ มาถวาย แสดงอนุภาวะคอื การดุดาวากลาว พูดจาเกรี้ยวกราด และมีปฏิกิริยา ( สาตตวิกภาวะ ) คือ อาการตัวส่ัน เสียงเปลี่ยน เมื่อนางนมกลบัไปพุทธิศริระก็แกอุบายของนางปทมาวด ี และนางก็มีอาการโกรธดังนี ้

นางปทมาวดไีดทรงฟงดังนัน้ก็สําแดงความโกรธยิ่งกวาครั้งกอน นางเสด็จลุกไปเอากระแจะจนัทรละเลงบนพระหัตถทั้งสองพระหัตถ แลวตบเขาที่แกมนางนมทั้งสองแกม ตรัสวา “แกจงรบีไปจากวังนี้โดยเร็ว มิฉนั้นจะตองรับโทษยิ่งกวานี้ แกจําไมไดหรือวาขาหามไมใหเอาเรื่องนี้มาพดูตอไปเปนอนัขาด”

( หนา 65 ) วิภาวะของความโกรธคือ การถูกดูหมิ่นทัง้ๆที่นางนั้นเปนถึงพระราชธิดา แตนางนมกลับมาติดตอผูชายให จงึแสดงอาการโกรธหรืออนุภาวะออกไปคอื การเอากระแจะจันทรตบแกมนางนามจนมีรอยนิ้วทั้ง 10 นิ้ว ซ่ึงจริงๆแลวเปนการเสแสรงแกลงทําเพื่อเปนอุบายอีกเชนเดิม เมื่อนางนมกลบัมาถึงเรือน พุทธิศริระก็แกอุบายนีไ้ดอีก และใหนางนมเขาไปอีกคร้ัง พระธิดาก็มีอาการดังนี ้

คราวนี้พระราชธิดากริ้วมาก ทรงฉุดตัวนางนมไปที่ประตูดานตะวันตก ทรงผลักใหออกประตูนั้น แลตรัสวาถากลับเขาไปอีกจะตีดวยแส ( หนา 66 ) วิภาวะของความโกรธตอนนี้จะเหมือนทีผ่านมา คือ อาการโกรธที่เกดิจากการถูกดูหมิ่น เพราะตนเปนพระธิดาแตถูกนางนมมาติดตอความรักใหกับผูชาย จริงๆ แลว เพราะ

Page 64: วิเคราะห รสวรรณคด ีที่ปรากฏในน ...kb.tsu.ac.th/jspui/bitstream/123456789/483/1/101310.pdfว เคราะห รสวรรณคด

59

นางตองการลองปญญาของพระวัชรมุกุฏมากกวา จึงแกลงแสดงอาการโกรธเกรี้ยว อนุภาวะของความโกรธตอนนี้ คือ การฉุดกระชากและผลักออกไป พรอมขูวาจะตีดวยแส หลังจากที่พระวัชรมุกุฏเขาไปอยูกินในวังกับนางปทมาวดีสักระยะหนึ่ง ก็มีอาการซึมเศราเพราะคิดถึงสหายรักอยางพุทธิศริระ นางปทมาวดีสังเกตเหน็จงึซักถาม เมื่อรูความจริงก็ไมชอบใจและรูสึกแคนเคืองพุทธิศริระ จึงแกลงทําอุบายยอมใหพระวัชรมุกฏุไปเยีย่มพุทธิศริระ พรอมของฝาก ซ่ึงความตอนนี้บรรยายไวดงันี้

พระวัชรมุกุฏทรงยินดีตรงเขาสวมกอดนาง กลับทําใหนางโกรธในใจ เพราะเห็นถนัดวาทรงยนิดีที่จะทิ้งนางไปหาสหาย นางเกรงจะซอนความโกรธไวไมไดก็รีบหนีไปจดัของที่จะฝากไปประทานพุทธิศริระ สักครูหนึง่นางเสด็จออกมาในหองถือถุงบรรจุของกินมาสงถวายทลูวา ขอใหประทานแกพุทธศิริระวาเปนของซึ่งนางทําดวยพระหัตถ ถึงแมคนมีปญญาก็คงจะชมรสซึ่งมีในขนมนั้น

( หนา 74 ) วิภาวะของความตอนนี้คือ ความเจ็บใจและอิจฉาริษยาสหายของผูเปนที่รัก เพราะโกรธที่คนรักเห็นเพื่อนสําคัญกวา พอใจและดีใจจะไปหาเพื่อนมากกวาอยูกับตวัเอง อนุภาวะทีแ่สดงออกนั้นไมไดแสดงใหเหน็โดยกิริยาแตใชวิธีฝากขนมที่ใสยาพิษหวงัฆาใหตาย ซ่ึงในตอนนี้พุทธิศริระสรุปไววา ผูหญิงยอมจะเกลียดเพื่อนของชายที่รัก ทําใหนาง ปทมาวดีจึงกลาวางยาพษิไดลงคอ เราทรรสตอนถัดมาอยูในเรือ่งที่ 2 ซ่ึงเวตาลกําลังกลาวถึงเรื่องความรักของบุตรที่มีตอบิดามารดา และกลาวกระทบพระวกิรมาทิตยวาพอแมบางคนซึ่งถือตัววามีคณุธรรมอันดี แตใชลูกวิ่งตามหลังประหนึง่...

เวตาลพูดไมทนัขาดคํา พระวิกรมาทิตยทรงพิโรธเปนกําลังก็เอื้อมพระหัตถไปขางหลัง จับแขนเวตาลเต็มกํากระชากดวยกําลังแรง เวตาลรองโอยๆ เหมือนหนึ่งเจ็บปวดมาก แตถาจะสังเกตก็เหมือนแกลงรองเปนเชิงเยาะเยย ไมใชรองดวยเจ็บ เพราะเมื่อพระราชาหยุดกระชาก เวตาลกก็ลาวตอไปดวยสําเนียงแจมใส

( หนา 95 )

Page 65: วิเคราะห รสวรรณคด ีที่ปรากฏในน ...kb.tsu.ac.th/jspui/bitstream/123456789/483/1/101310.pdfว เคราะห รสวรรณคด

60

วิภาวะของความโกรธคือ ไมชอบใจที่เวตาลพูดจาดูหมิน่ใหเจ็บใจ แสดงอนุภาวะของความโกรธคือ เอื้อมมือไปกระชากเวตาลอยางแรง จนเวตาลรองออกมา เมื่อเวตาลเลาเรื่องที่ 2 ซ่ึงเปนเรื่องราวที่เลาจากนกแกวของพระรามเสนและนกขุนทองของนางจันทราวดี เพราะเมื่อคนทั้งสองวิวาหกัน ก็อยากจะใหนกของตนทั้งคูรักกันดวย แตทั้งสองนกไมอยากมีคู ทําใหเถียงกับเรื่องความรายกาจของหญิงและชาย เมื่อเถียงกันรุนแรงขึ้น นกขุนทองก็โกรธนกแกวจนมีอาการดังนี ้ นกขนุทองโกรธจนแทบจะลืมไวยากรณสันสกฤต ( หนา 108 ) วิภาวะของความโกรธนี้คือ การพูดใหเจ็บใจ ทะเลาะทุมเถียงกัน จนทําใหเกดิความแคนเคืองหรือความโกรธ มีอนุภาวะคือ ลืมในสิ่งที่ตัวเองถนัดและใชอยูทกุวนั ซ่ึงนับวาโกรธมากทีเดียว อาจมีสาตตวิกภาวะคือ ตัวส่ัน เสียงเปลี่ยนรวมดวยก็ได เราทรรสตอนถัดมาเกิดขึ้นในเรื่องที่ 3 ซ่ึงเกิดจากการทีเ่วตาลชอบพูดจากระทบกระทัง่พระวกิรมาทติยอยูเสมอเวลาเลานิทาน ตอนนี้อีกเชนกนั เวตาลพดูจาเสียดสีถึงเรื่องฉลาด ความสงบเสงี่ยม ความโออวด ความเห็นแกตวั ทุมเถียงกันในเรื่องดงักลาว จนเกดิเหตกุารณดังนี ้

พระราชาทรงพิโรธรับสั่งวา “เองอยากจะใหขาเอาตัวเอ็งฟาดลงกับพื้นดินหรือ” เวตาลบนอุบอบิ เปนทํานองวาการแสดงปญญาใหคนโงฟงไมมีประโยชนแลวเลานิทานตอไป ( หนา 161 ) วิภาวะของความโกรธคือ การทุมเถียงกัน พูดจาดหูมิ่นทําใหเจ็บใจ อาการที่แสดงออกหรอือนุภาวะของความตอนนี้คอื การขูที่จะทาํรายอยางที่เคยทํา ซ่ึงอาจมกีารตวาดรวมอยูดวย รสแหงความแคนเคือง การรับรูความโกรธตอนตอมาปรากฏอยูในเรื่องที่ 7 เปนเร่ืองของลูกอมวิเศษที่อมแลวเปลี่ยนจากชายเปนหญิงจนเกิดเรื่องคือ เมื่อพราหมณปลอมตัวโดยการอมลูกอมอีกเม็ดหนึ่งเมื่ออมแลวจะกลายเปนพราหมณแกไดนําลูกสะใภไปฝากไวกับทาวสุพิจาร เพราะหญิงสะใภนัน้คือชายที่หมายปองพระธิดาของทาวสุพิจาร เมื่อเขาไปอยูในวังกระทั่งไดเสียกับพระธิดา เวลาไปไหนกับพระธิดาและทาวสุพจิารก็จะอมลูกอมให

Page 66: วิเคราะห รสวรรณคด ีที่ปรากฏในน ...kb.tsu.ac.th/jspui/bitstream/123456789/483/1/101310.pdfว เคราะห รสวรรณคด

61

กลายเปนหญิงจนบุตรชายของโกษาธิบดีเหน็เขาก็เกดิหลงรัก และใหบดิาซึ่งก็คือโกษาธิบดีไปสูขอหญิงสะใภพราหมณจากทาวสุพจิาร พระองคจึงแสดงออกดังนี้

ทาวสุพิจารไดทรงฟงดังนั้น ก็ทรงแสดงกิริยาพิโรธตรัสวา “เจาเปนบาไปเสียแลวหรือจึงมากลาวเชนนี้ ขาเปนพระราชาจะกระทาํอยุติธรรมเชนนั้นดวยประการใด เจาเปนผูใหญยอมจะทราบวาเมื่อมผูีพาผูอยูในความปกครองมาฝากใหอยูในอารักขาแหงผูมิอาจใหอารักขาได ผูรับฝากจะยกผูอยูในความฝากนั้นไปใหผูอ่ืนไมไดเปนอันขาด เจาก็เปนอํามาตยผูใหญมีสติปญญา เหตุไฉนจึงมาขอเชนนี ้

( หนา 286 ) วิภาวะของความโกรธคือ ทาวสุพิจารถือวาถูกดูหมิ่นจากโกษาธิบดี เพราะการมาสูขอหญิงสะใภพราหมณนั้นไมถูกตอง ดวยวาทาวสุพจิารไดรับปากรับฝากหญิงสะใภพราหมณจากพราหมณเฒา ซ่ึงพระองคตองดูแลใหดีตามที่รับปากและไมมีสิทธิจะมอบหญิงสะใภพราหมณนี้ใหแกใคร อนุภาวะของความโกรธที่แสดงออกคือ การตวาดดวยความโกรธ มีสาตตวิกภาวะคือ ตวัส่ัน เสียงเปลี่ยน เวลาที่เวตาลเลาเรื่องก็มักจะวพิากษวิจารณลักษณะตางๆ ของมนุษย ซ่ึงบางเรื่องก็ทําใหพระวกิรมาทิตยไมพอใจ ดังตอนนี้ เวตาลกลาวถึงความโลเลไมยั่งยนืของใจมนษุย ทําใหพระวกิรมาทิตยไมพอใจ

ตรงนี้พระวกิรมาทิตยทรงแคนเคืองในพระหฤทัย เพราะเหตุเวตาลกลาวติเตียนธรรมดาแหงมนุษย ทรงแสดงพิโรธใหเวตาลรูสึกแตมันทําเปนไมรูสึก ( หนา 288 ) วิภาวะของความโกรธ ไดแก การพูดตเิตยีนธรรมดาของมนุษย แสดงอนุภาวะโดยการแสดงกิริยาอาจเปนการบีบตัวเวตาลหรือหนีบยามทีใ่สเวตาลใหเวตาลเจ็บหรืออึดอัด หรืออาจถลึงตาใสเวตาลก็ได เมื่อทาวสุพิจารตัดสินใจยกหญิงสะใภพราหมณใหแกบตุรชายของโกษาธิบดีแลว พราหมณเฒาที่ฝากหญิงสะใภของตนก็กลับมารับลูกสะใภ เมื่อทราบวาทาวสุพจิารยกลูกสะใภใหคนอื่นไปก็โกรธมาก ดังนี้

Page 67: วิเคราะห รสวรรณคด ีที่ปรากฏในน ...kb.tsu.ac.th/jspui/bitstream/123456789/483/1/101310.pdfว เคราะห รสวรรณคด

62

พราหมณเฒาแสดงอาการโกรธกลาววา “พระองคทําอะไรอยางนี ้พระองคไมอยูในคําสัตยสัญญาเอาภริยาแหงบตุรของขาพเจาไปยกใหวิวาหะกับชายอ่ืน พระองคกระทําแลวตามพระหฤทยัประสงค แลบัดนี้จงฟงคําสาปของขาพเจาเถิด” ( หนา 303 ) วิภาวะของความโกรธนี้ไดแก การกระทําที่ดูถูก ซ่ึงพราหมณเฒาถือวาทาว สุพิจารดูถูกตนและไมรักษาคําสัญญาที่ใหไว จึงแสดงอนุภาวะออกมาคือ การกลาวคําสาปทาวสุพิจาร ซ่ึงถือวาการกลาวคําสาปนั้นผูกลาวตองโกรธมากทีเดียว และคงแสดงปฏิกิริยา ( สาตตวิกภาวะ ) คือ อาการตัวส่ัน เสียงเปลี่ยน รวมดวย เมื่อพราหมณเฒามาทวงลูกสะใภคืน ทาวสุพิจารมอบนางใหคนอื่นไปแลว ทาว สุพิจารจึงจําเปนตองยกพระธิดาใหวิวาหกบัพราหมณศศบีุตรชายของพราหมณเฒาซึ่งขณะนัน้นางจนัทรประภาพระธิดาซึ่งลักลอบไดเสียกับมนัสวีชายผูอมลูกอมจนกลายเปนหญิงและปลอมตัวเปนหญิงสะใภพราหมณนั้นไดทรงตัง้ครรภแลว กระทั่งมนัสวีกลับมาอางสิทธิ แตนางไมยอมรับดังนี ้ มนัสวีจึงอางนางจันทรประภาเอง แตนางกลับกลาวโดยอาการแคนเคืองวาตั้งแตเกิดมายังไมเคยเหน็มนัสวีเลย ( หนา 306 ) วิภาวะของความโกรธนี้ เปนความโกรธทีเ่กิดอยูในใจของนางจันทรประภาที่ถูกทอดทิ้งไปนาน เพราะเมื่อสะใภพราหมณหรือมนัสวีไปอยูบานโกษาธบิดีนั้น ปรากฏวากลับไปไดเสียกับเมียนอยของโกษาธิบดีจนลืมนางจันทรประภา และทีก่ลับมาทวงสิทธิคืนนั้นเพราะตกใจจนพลัดตกมาจากหองเมยีนอยของโกษาธิบดีจนกลืนลูกอมเขาไมสามารถกลับไปเปนหญิงไดอีก อนภุาวะที่แสดงออกมาคือ การปฏิเสธไมยอมรับมนัสวีเปนสามี เพื่อใหมนัสวีเจ็บใจและลําบากตอไป เราทรรสถัดมา ปรากฏอยูในเรื่องที่ 8 เปนเรื่องของพระยศเกตุที่อยูกนิกับนาง วิทยาธรและนางจะหายไปทกุวันขึน้ 14 ค่ํา เมื่อพระยศเกตุตามไปกพ็บวาอสูรกลืนนางเขาไป ก็เกดิเหตกุารณดังนี ้

คร้ันเห็นนางกร็องดวยเสยีงอนัดังแลวตรงเขาจับนางใสปากกลืนเขาไป พระราชาเห็นดังนั้นกพ็ระองคส่ันดวยเพลิงแหงความโกรธ ชักพระแสงดาบตรงเขาฟนรากษสคอ

Page 68: วิเคราะห รสวรรณคด ีที่ปรากฏในน ...kb.tsu.ac.th/jspui/bitstream/123456789/483/1/101310.pdfว เคราะห รสวรรณคด

63

ขาดศีรษะตกจากตัว เลือดไหลนองไป เพลิงแหงความโกรธของพระราชาก็ดับดวยเลือดแหงอสูร

( หนา 331 ) วิภาวะ คือ ความตื่นตระหนกตกใจเพราะหญิงที่ตนรักโดนทํารายดวยการถูกกลืนกินเขาไป แสดงอนุภาวะคือ ชักดาบออกมาฟนคออสูรจนขาดกระเดน็ และมีสาตตวิกภาวะคือ ตัวส่ันเพราะความโกรธนั่นเอง เมื่ออสูรตายไปแลว สักพกันางวิทยาธรก็ออกมาจากรางอสูรโดยไมเปนอะไรเลยและเลาเรื่องราวที่นางตองโดนอสูรกลืนทุกวันขึ้น 8 ค่ํา และ14 ค่ําดังนี้

พระบิดาของขาพเจาไมไดเสวยอาหาร ตั้งพระหฤทัยคอยขาพเจาจนหิวโหย เกิดพิโรธเปนกําลัง แมความรักขาพเจาก็ไมอาจปองกนัไมใหการเปนไปตามคติแหงกรรมในปางกอน คร้ันขาพเจากลับมาเฝาในเวลาค่ําก็ทรงสาปวา "เพราะเจาทําใหขาอดอาหารตลอดวัน ตอไปขางหนาเมื่อเจาออกไปนอกกรุงเพื่อจะบชูาพระศิวะในวัน 8 ค่ํา แล 14 ค่ํา จงมีรากษสมาจับตวัเจากลืนเขาไปในทอง แตใหเจากลับออกมาไดทางหวัใจรากษส อนึ่งไมใหเจาจําเรื่องแลคําสาปนี้ได ไมใหความจําเจ็บปวดที่ไดถูกกลืนเขาไปในทองรากษสนั้นได แลใหเจาอยูในกรุงนีต้อไปคนเดยีว

( หนา 333 ) เร่ืองราวที่นางวิทยาธรเลานัน้ วภิาวะที่เกดิขึ้นเปนการรับรูความโกรธของบิดานางวิทยาธรที่โกรธนางที่นางมัวแตบูชาพระศวิะจนกลับมาตั้งสํารับใหบิดาชา ทําใหบิดานางหิวมากและโกรธมาก อนุภาวะที่แสดงออกมาคือ การสาปใหนางตองโดนกลืนทุกวันขึน้ 8 ค่ําและ 14 ค่ํา รสแหงความแคนเคืองตอไปอยูในเรื่องที่ 9 เปนเรื่องพราหมณหริทาสที่ตองการหาคูใหนางมกุดาวลีบุตรสาว เมื่อตองตัดสินใจเลือกระหวางรัตนทัตตและคุณากร ก็เรียกบุตรสาวใหออกมาเลือกเอง ซ่ึงนางมุกดาวลีไดเลือกรัตนทัตต คุณากรจึงมีความรูสึกดังนี ้

ฝายคุณากรชาตินักรบเหน็ดงันั้นกแ็คนใจ มือจับหนวดบดิขึ้นไปจนถึงตาซึ่งแดงดวยความโกรธ มือก็เวยีนไปจับดาบร่ําไป ( หนา 354 )

Page 69: วิเคราะห รสวรรณคด ีที่ปรากฏในน ...kb.tsu.ac.th/jspui/bitstream/123456789/483/1/101310.pdfว เคราะห รสวรรณคด

64

วิภาวะคือ ความแคนใจ ความโกรธที่ไมสมหวัง ที่นางมกุดาวลีไมเลือกเปนสามี ซ่ึงอาจรูสึกเสียหนาดวยก็เปนได อนภุาวะที่แสดงออกมาคือ การจับหนวดบดิ ตาแดงดวยความโกรธและมือจับดาบพรอมที่จะชักดาบออกมาฟาดฟนตลอดเวลาในตอนนัน้

คุณากรนั้นมีอาการอยางนั้นไดไมนานก็หายโกรธ เพราะความที่เปนชายชาตินักรบ ผิดกับมหาเสนีที่ถูกคัดตั้งแตในวนัแรก จงึมางานววิาหและเกดิเหตกุารณดังนี ้

มหาเสนีไดทราบก็กระทําการอุกอาจเขาไปในที่ประชุม พูดจาแสดงความโกรธ แลกลาวภาษิตกาพยกลอนที่ไมเขาเรื่องดวยเสียงดังกลบไปในเรือน ยกคุณชั่วแหงหญิงทั้งหลายขึ้นกลาววา ในโลกนี้หญิงเปนบอเกิดแหงความทุกข เปนยาพษิอยางแรง เปนที่อยูแหงความกระวนกระวาย เปนผูสังหารความกําหนดแนในใจคน เปนผูกระทําใหเกดิความมึนเมารัก แลเปนโจรปลนคุณความดีทั้งหลายในโลก

( หนา 355 ) วิภาวะคือ ความผิดหวัง จนเกิดการอาฆาตจองเวร จนกลาที่จะแสดงพฤติกรรมหรืออนุภาวะคือ การพูดจาวาราย เพราะขาดสติ มหาเสนีคงโกรธแคนมากและอาจมีสาตต วิกภาวะคือปฏิกิริยา ตัวส่ัน เสียงเปลี่ยน เหงื่อออก และอาจมีน้ําตาไหลเพราะโกรธแคนผิดหวังรวมอยูดวย เมื่อเกิดเหตุการณอยางนี้ หลายคนก็เกดิความเหน็ใจมหาเสนี จึงชวยกันหามปรามแตปรากฏวา

คร้ันคนที่อยูในที่ประชุมนั้นชวยกันหามปราม มหาเสนกี็ยิ่งแสดงความโกรธมากขึ้น จนพราหมณหริทาสตกใจกลวัสําเนียง ( หนา 356 ) วิภาวะคือ ความแคนเคืองทีถู่กหามปราม เพราะตวัเองผิดหวังและเจ็บใจมากที่ไมถูกเลือกใหแตงงานกับนางมกุดาวลี อนภุาวะคือ ตวาดและสงเสียงดัง ซ่ึงมีสาตตวิกภาวะคือ เสียงเปลี่ยน ตวัและเสยีงสั่นรวมดวยกเ็ปนได เมื่อเลาจนจบเรื่องที่ 9 เวตาลก็แกลงแหยพระวกิรมาทิตยเพราะตองการใหพระองคตอบตําถาม ซ่ึงพระวกิรมาทิตยก็หลงกลตอบออกไปดังนี้

Page 70: วิเคราะห รสวรรณคด ีที่ปรากฏในน ...kb.tsu.ac.th/jspui/bitstream/123456789/483/1/101310.pdfว เคราะห รสวรรณคด

65

พระวกิรมาทิตยรับสั่งดวยสําเนียงพิโรธวา “เอ็งไมนึกหรือวา วิญญาณนั้นเมื่อเขาไปในตัวมนุษยแลวก็มีสํานักอยูในมนัสมอง แลพิจารณากายภายนอกเห็นไดจากสํานกันัน้” ( หนา 368 ) วิภาวะ คือ โกรธที่เวตาลวจิารณหรือแสดงความคิดเหน็ที่พระองคเหน็วาไมถูกตองหรือไมตองกบัความคิดของพระองค มีอนุภาวะคือ ตวาดดวยเสียงอันดังดวยความโกรธ เราทรรสที่ปรากฏในนิทานเวตาลนั้น เปนการรับรูความโกรธที่มักเกิดจากการที่ผูอ่ืนทําใหแคนเคืองหรือโกรธ ดังที่อธิบายไปแลวขางตนวาความโกรธนั้นมีหลายอยาง ไดแก ความโกรธที่เกิดจากศัตรู เกิดจากผูใหญ เกิดจากเพื่อนรัก เกดิจากคนรับใช และเกิดขึ้นเอง เราทรรสหรือรส แหงความโกรธแคนที่ปรากฏในนิทานเวตาลมากที่สุดคือ ความโกรธที่เกิดจากคนใช ถัดมาคือความโกรธที่เกิดจากศัตรู และความโกรธที่เกิดขึ้นเอง ทั้งหมดนี้มวีิภาวะของความโกรธสรุปไดคือ การพูดจาทีท่ําใหเจ็บใจ การพูดดหูมิ่น การทะเลาะทุมเถียงกัน ความอจิฉาริษยา และอาฆาตจองเวร และอนภุาวะที่แสดงออกมาคือ การตวาด การสาปแชง การใชกําลังฉุดกระชาก หรือการขมขูใหสํานึก ซ่ึงมักมีสาตต วิกภาวะหรือปฏิกิริยาคือ ภาวะตวัส่ัน ภาวะสีหนาและเสยีงเปลี่ยน ภาวะเหงื่อออกและน้ําตาไหล ซ่ึงเกิดจากความโกรธแคน การดหูมิ่น และความกลัว รสแหงความโกรธแคนหรือเราทรรสนี้ปรากฏอยูในนิทานเวตาลตอนตนเรื่อง นิทานเรื่องที่ 1 , 2 , 7 , 8 และ 9 วีรรสและองคประกอบของรส

วีรรส คือ ความชื่นชม เปนรสที่เกิดจากการรับรูความมุงมั่นในการแสดงความกลาหาญอันเปนคณุลักษณของคนชั้นสูง ความกลาหาญมี 3 อยาง คือ กลาให (ทานวีระ) กลาประพฤติธรรมหรือหนาที ่ (ธรรมวีระ) และกลารบ (รณวีระ) อาจมีภาวะเสริม คือ ความมั่นคง ความพินิจพิเคราะห ความจองหอง ความตื่นตระหนก ความรุนแรง ความแคน ความระลึกได ฯลฯ วภิาวะของความมุงมั่น ไดแก การเอาชนะศัตรู การบังคับอินทรียของตนได การแสดงพละกําลัง ฯลฯ อนุภาวะของความมุงมั่น ไดแก ทาทีมั่นคง เฉลียวฉลาดในการงาน เขมแข็ง ขะมักเขมน พูดจาแข็งขัน เปนตน

วีรรส หรือรสแหงความกลาหาญ เหตุการณที่แสดงถึงความกลาหาญปรากฏอยูในตอนตนเรื่อง เปนเหตกุารณตอนที่พระวิกรมาทิตยสูรบกับอสูรปถพีบาล ซ่ึงจัดเปนรณวีระ ( กลารบ ) มีเหตุการณดังนี ้

Page 71: วิเคราะห รสวรรณคด ีที่ปรากฏในน ...kb.tsu.ac.th/jspui/bitstream/123456789/483/1/101310.pdfว เคราะห รสวรรณคด

66

พระราชาตรัสวา “ตกลง” เพราะไมโปรดจะทําอะไรยิ่งกวารบ คร้ันทรงเหน็บผาทรงมั่นคงแลว ก็ตรงเขาตอสูกับอสูร อสูรนั้นกําหมดัเทาผลแตงโม ลําแขนแข็งราวตะบองเหล็ก ฟาดลงมาแตละครั้งดังตนไมใหญซ่ึงพายุพัดลมฟาดลงมา สวน พระราชานั้นสูงเพียงสะดือยักษ ยักษกมลงฟาดกําหมดัคราวไรก็ตวาดดวยเสียงอันดัง คนที่ไมกลาหาญมั่นคงอาจแพเพราะเสียงนั้นอยางเดียว

( หนา 16 ) วิภาวะของความมุงมั่นในการแสดงความกลา คือ ความตองการเอาชนะศัตรูที่นา

กลัวและมากไปดวยกําลัง มอีนุภาวะคือ ทาทีที่มั่นคงและเขมแข็ง แมวาอสูรจะมีรูปรางใหญ แข็งแรง และมีเสียงดงัก็ไมเกดิความกลัวหรือไมกลาสู

เมื่อจัดการกับอสูรปถพีบาลเรียบรอย และอสูรปถพีบาลทูลเตือนเรื่องตางๆ เรียบรอย พระวกิรมาทิตยกเ็สด็จเขาเมือง ปกครองบานเมืองจนโยคีศานติศลีซ่ึงมีความแคนในบิดาของพระวกิรมาทิตย ไดวางแผนการแกแคน ปลอมตัวมาทําแผนการจนพระวกิรมาทิตยจําเปนตองรับปากจะชวยทําพิธีอยางหนึ่ง และตองไปยังปาชาอันเปนที่อยูของเวตาล เพื่อไปพาเวตาลมาใหโยคีศานติศีลตามที่รับปากไว กวบีรรยายเหตกุารณดังนี ้

พระวกิรมาทิตยทรงความกลาอยางที่สุด ดงัจะเห็นไดในเวลาที่รบยักษนั้นแลว แตความกลานั้นประกอบดวยระมัดระวังพระองค คร้ันเหน็มนุษยแวดลอมดวยผีดังนั้นก็ซํ้าคิดถึงยักษ เห็นเปนชองอันดีที่จะทําลายศัตรูซ่ึงมุงรายตอพระองค ทรงคิดวาในขณะนัน้ถาตรงเขาไปฟนดวยพระแสงดาบอันคมกลา ใหหวัโยคีขาดไปก็จะทําไดสําเร็จประสงคโดยงาย แตทรงรําลึกวาไดทรงสัญญาเสียแลววา จะมารับใชโยคีในคืนวันนั้นจําตองปฏิบัติตามขอสัญญา แลระวังพระองคคอยหาโอกาสในเวลาขางหนาตอไป

( หนา 34 ) วิภาวะคือ ความระลึกไดในสัญญาที่ใหไว ความรับผิดชอบในสิ่งที่ตัวเองรับปาก มี

ความกลาหาญไมเกรงกลัวศตัรู หรือภูตผีปศาจตางๆ อนุภาวะคือ การสะกดความรูสึก มุงมั่นที่จะรักษาสัญญา มีทาทีที่คงมั่นไมหวั่นไหว

และเมื่อดําเนนิไปก็เกิดเหตกุารณตอไปนี้ คือ

Page 72: วิเคราะห รสวรรณคด ีที่ปรากฏในน ...kb.tsu.ac.th/jspui/bitstream/123456789/483/1/101310.pdfว เคราะห รสวรรณคด

67

ทรงพระดําริเชนนี้พลางดําเนินไป ไดยินเสียงดนตรีของโยคีและเสียงภูติผีปศาจตางๆ เตนรําทําเพลงอื้ออึงไปในปาชา ทางที่เดินนัน้มืด ถึงแกจะเดินใหตรงมิได ทั้งมีภูตตามลอหลอกใหตกใจ บางก็แกลงขวางจะใหสะดุดลม บางก็เปนงูมาพันพระชงฆ บางก็ทําแสงวูบวาบขางๆ ทางเดิน บางก็ทําเสยีงดังล่ันใกลๆ พระองค แมคนที่กลากน็าหวาดเสยีวไมอาจดําเนนิตอไปได แตพระราชากับพระราชบุตรก็มิไดถอย พากันทรงดําเนินไปจนถึงปาชา ซ่ึงโยคีทูลนั้น สักครูหนึ่งเหน็ตนอโศกตนใหญลุกเปนไฟแดงไปทัง้ตน พระราชาไมทรงยอทอก็เดินตรงเขาไป ประเดี๋ยวไดยินเสียงผีรองบอกวา “ฆาเสีย ฆาเสียทัง้สองคน จับตัวใหได ชวยกันจับตวัเผาในไฟบนตนไมนี้ใหไหมเปนจุลไป ทําใหรูสึกพิษไฟแหงบาดาล” พระราชาไมทรงคร่ันคราม ก็ตรงเขาไปถึงตนไม แตเปลวไฟบนตนอโศกนั้นมิไดรอน เพราะเปนไฟที่ปศาจสําแดงหลอกเทานั้น เมื่อเขาไปถึงโคนตนไม พระราชากห็ยุดพิศดูศพซึง่แขวนอยูบนกิง่อโศก

( หนา 36 ) วิภาวะของความกลาหาญนีค้ือ ความกลาในการบังคับใจของตน ซ่ึงถือเปนความ

มุงมั่นกลาหาญที่ไมไดเกดิขึ้นงายๆ หากไมเปนผูที่มีจติใจเขมแข็ง หรือเปนชนชัน้สูงก็จะระงับใจตนเองไมได มีอนภุาวะคือ ทาทมีั่นคง ไมหวัน่ไหวและกลัวในสิ่งที่พบเห็น

วีรรสตอนตอมาปรากฏอยูในเรื่องที่ 3 ซ่ึงบรรยายถึงความกลาหาญของสุรเสน แมทัพของพระราชารูปเสน ซ่ึงเปนธรรมวีระ คือเปนความกลาประพฤติธรรมหรือหนาที่ ผูประพันธบรรยายความเกงกลาไวดังนี ้

กลาวการปฏิบตัิหนาที ่ สุรเสนเปนผูกลาใชความเหน็ของตนแลแบบฉบับการสงครามซึ่งบัณฑิตแลพราหมณผูมิไดเปนนักรบ บังอาจแตงขึ้นไวเปนตําราใชสืบกันมาแตโบราณ นั้น สุรเสนแมทัพนํามาใชเปนหลักแตทีเ่หน็ใชได แลใชความคิดแลความชํานาญของตนเปนบรรทัดทางเดิน รูจักเลือกที่รบ รูจักใชทหาร รูจักรักษาลําเลียงของตนในขณะที่ตดัลําเลียงขาศึก เมื่อเห็นธนูที่ทหารใชอยูนั้นใชไดไมวองไวก็คิดเปลี่ยนเสียใหมกอนที่จะตองเปลี่ยนเพราะแพ เมื่อเห็นดามดาบจับไมถนัด แมดามจะไดเคยใชกันมาแลวตั้งพันป แลคนทั้งหลายคิดวาเปนดามดีที่สุดเพราะอาย ุสุรเสนแมทัพกก็ลาเปลี่ยนเสียไมเกรงพวกไมใชนักรบคือบัณฑิตแลพราหมณติเตียนวาไมถูกตองตามคัมภีรศาสตร อนึ่ง สุรเสนไดจดัทหารถือศรไฟขึ้น

Page 73: วิเคราะห รสวรรณคด ีที่ปรากฏในน ...kb.tsu.ac.th/jspui/bitstream/123456789/483/1/101310.pdfว เคราะห รสวรรณคด

68

หมูหนึ่งซึ่งเมือ่ใชตอสูทัพชางของขาศึกกม็ีชัยรอบขาง แมพระอังคารผูเปนเจาแหงการรบก็ตองชมวาด ี

( หนา 155 ) วิภาวะของความมุงมั่น ไดแก ความรับผิดชอบในหนาที ่ มีความกลาหาญในการรบ

อยางที่ชายชาตินักรบซึ่งมีภาระเปนถึงแมทัพพึงจะมี อนุภาวะทีแ่สดงออกคือ ความกลาหาญ เฉลียวฉลาดในการทํางาน มีความเขมแขง็ไมเกรงกลัวใคร

ในเรื่องที่ 3 นีน้อกจากแมทพัสุรเสนที่มีความกลาหาญแลว ยังวีรพลอีกคนหนึ่งซึ่งมีความมุงมั่นกลาหาญไมยิ่งหยอนไปกวากัน และยังจดัเปนความกลาในการประพฤติหนาที่ ( ธรรมวีระ ) ดังบรรยาย

ฝายวีรพลไดยนิดังนั้นก็นกึรูในใจแมทัพ แตมิไดหวาดหวั่น เอามือขวาชักดาบออกแกวงเหนือศีรษะเหมือนจกัรยนตซ่ึงหมุน 1,200 รอบตอนาที มือซายยื่นเหยยีดออกไป มือขวาหวดดวยดาบเต็มกําลัง ตัดเล็บนิ้วกอยแหงมือซายขาดตกอยูกับพื้น การตัดเล็บใหขาดไปดวยดาบซึ่งฟาดเต็มแรงนั้น ถานิ้วพลอยติดไปดวยก็นับวางายแลนับวาตดัเล็บสําเร็จเหมือนกัน ถาตัดไปทั้งมือยิ่งงายหนักเขา แลการตัดเล็บก็เปนอันไดตัด แตวรีพลตัดเล็บครั้งนั้น มิไดถูกนิว้แลเนื้อเปนเหตุใหเลือดตกแมแตหยดหนึ่งเลย

( หนา 156 ) วิภาวะของความมุงมั่นนี้ คอื การแสดงพละกําลังใหเหน็ถึงความกลาเกง เขมแข็ง

ไมขลาดกลัว มีอนุภาวะทีแ่สดงออกมาคือ ทาทีมั่นคง เขมแข็ง ไมหวาดหวัน่ในการประลองความสามารถใหปรากฏ

ความกลาหาญของวีรพลไมไดมีแคนี้ เมื่อเกิดเหตกุารณรายอันจะทําใหพระราชาประสบภัย กห็าทางปองกัน และเมื่อทางปองกันนั้นคือการสละชีวิตลูกของตนเปนเครื่องบูชาก็ยอม นบัเปนธรรมวีระ ( ความกลาในหนาที่ ) และทานวีระ ( กลาให ) รวมกัน และไมเพียงแตวีรพลเทานั้นที่กลาหาญ บุตรและภรรยาก็ยงักลาหาญ มุงมั่นสละตัวเองเพื่อปองกันภยัที่จะเกิดแกพระราชาไดอยางไมกลัวตาย ดังบรรยาย

Page 74: วิเคราะห รสวรรณคด ีที่ปรากฏในน ...kb.tsu.ac.th/jspui/bitstream/123456789/483/1/101310.pdfว เคราะห รสวรรณคด

69

ลูกชายกลาววา “ขาแตนางผูเปนมารดา ขาพเจาเหน็วาเราจะรีบเรงใหการอันนี้เปนไปโดยเร็ว เพราะเหตุวา ประการที ่1 ขาพเจาผูบุตรจําตองเชื่อฟงคําสั่งของมารดา ประการที่ 2 ขาพเจาจาํตองยังความเจริญใหมีแกพระราชาผูเปนเจาของ ขาพเจา ประการที่ 3 ถาชีวิตแลรางกายของขาพเจาเปนประโยชนแกพระเทว ีก็ไม มีทางใดที่ขาพเจาจะใชชีวติแลรางกายของขาพเจาใหดียิ่งไปได”

( หนา 172 ) วิภาวะของความมุงมั่นคือ การยอมตายเพือ่ตอบแทนคณุบิดา และพระเจาแผนดิน

แสดงอนุภาวะคือ ความเขมแข็ง ไมกลัวทีจ่ะสละชีวิตของตน เพราะมีความระลึกไดบุญคุณของบิดามารดา และแผนดินที่อาศัย

เหตุการณที่แสดงความมุงมัน่ตอจากนัน้คอื

ฝายวีรพลเมื่อไปถึงศาล ก็พนมมือนมัสการแลกลาวคําวงิวอนพระเทววีา “ขาแตพระเทวีเปนเจา ขาพเจาจะประหารชีวิตลูกชายถวายเปนเครื่องบูชาพระองค ขอพระองคจงอํานวยใหพระราชาทรงชนมายุยนืยาวไปจวบพนัปเถิด โอพระมารดา พระองคจงทําลายศัตรูของพระราชาเสียเถิด จงทรงฆาแลทําใหศัตรูเหลานั้นเปนเถาถานไปใหส้ิน หรือไลมันไปเสียใหส้ิน พระองคจงตัดมันทั้งหลายใหเปนทอนแลเสวยเลือดมัน พระองคจงลางแลทําลายมันเสียดวยวัชระ ดวยโตมร ดวยขรรค ดวยจักร ดวยบาศอันเปนอาวุธของพระองค

( หนา 174 ) วิภาวะคือ ความมุงมั่นที่จะตอบแทนคุณแผนดิน ปกปกรักษาองคพระราชาให

ปลอดภัยจากเภทภยัตางๆ มอีนุภาวะของความมุงมั่นคือ การยอมสละชวีิตของบุตรซึ่งถือเปนแกวตาดวงใจของตัวเอง

เมื่อวีรพลผูกลาตัดคอบุตรแลว นองสาวเมื่อเห็นพี่ชายคอขาดก็เสียใจแตก็กลาหาญหยิบดาบเชือดคอตนเอง แมเมื่อลูกทั้งสองคอขาดตายก็เชือดคอตายตาม วีรพลเมื่อเห็นลูกและเมียตายไปก็เอาดาบฟนคอตัวเองตายตามไปอีกคน พระราชารูปเสนแอบดูเหตกุารณอยูตลอดก็เกดิความรูสึกดังนี ้

Page 75: วิเคราะห รสวรรณคด ีที่ปรากฏในน ...kb.tsu.ac.th/jspui/bitstream/123456789/483/1/101310.pdfว เคราะห รสวรรณคด

70

ฝายทาวรูปเสนพระราชาทรงแอบด ูทอดพระเนตรเหน็หวั 4 หัว ขาดจากตัว 4 ตัว กล้ิงอยูหนาศาลดังนั้น ก็ทรงสลดพระหฤทัย ทรงคํานึงวา “พอแมลูกทั้ง 4 นี้ไดสละชีวิตไปแลวเพือ่ประโยชนแกเรา โลกนี้กวางใหญก็จริง แตหาคนที่ซ่ือสัตยกลาหาญถึงเพียงนีห้าไมได ใครบางจะสละชีวิตเชนนี้เพื่อสนองคณุพระราชา แตมิไดบอกกลาวโออวดใหใครทราบเลย อํานาจแลความเปนพระราชาของเรานี้ ถาจะยั่งยืนอยูไดดวยตองทําลายชีวิตคนถึงปานนี ้ก็ส้ินความสําราญแลเปนบาป มิไดผิดอะไรกับถูกแชง เราคงจะครองราชัยไปก็หายุติธรรมมิได” พระราชาทรงดําริเชนนี้แลว ก็ทรงหยิบดาบขึน้จะประหารชวีิตพระองคเอง แตเทวรูปพระเทวีทรงยึดพระหัตถไว รับสั่งหามมิใหพระราชาประหารพระองคเอง

( หนา 176 ) ทาวรูปเสนนัน้ทรงเห็นเหตกุารณโดยตลอดก็มีความเศราโศกเสียใจและซาบซึ้งในความจงรักภักดี ยอมสละชวีิตตนเองและครอบครัว วิภาวะของความมุงมั่นนี้คือ ความระลึกไดในคณุความดีของครอบครัววีรพล แสดงอนุภาวะของความมุงมั่นคอื การสละชีวติตนเองฆาตัวตายตามครอบครัวของวีรพลผูมีความกลาและเสียสละ การกระทาํของทาวรูปเสนนั้นจัดวามีความกลาหาญและนายกยองมาก และมีปฏิกิริยา ( สาตตวิกภาวะ ) คือ อาการตะลึงงัน ที่ไดเห็นเหตุการณทีเ่กดิขึ้น ความกลาหาญของทาวรูปเสนนี้นายกยองอยางไร พระวิกรมาทิตยบรรยายไวดังนี้

พระวกิรมาทิตยตรัสวา “เองเปนผีปญญาตัน ไมอาจเขาใจได วีรพลนั้นมีหนาที่จะสละชีวิตของตนใหแกเจา ซ่ึงมีกรุณาใหลาภถึงเพียงนั้น บุตรชายของวรีพลจะขืนคําบิดานั้นไมไดเปนอันขาด แลสวนหญิงเมื่อใครฆากันที่ไหนใหเหน็เปนตัวอยางก็ตองฆาตัวเองเปนธรรมดาตามนิสัยผูหญิง แตทาวรูปเสนนั้นทรงสละราชัยของพระองคเพื่อประโยชนแกวีรพลผูเปนขา แลไมตีราคาชีวิตของพระองค แลราชสมบัติซ่ึงเปนของชวนใหอยากมีชีวิต ยิ่งกวาราคาทอนฟางทอนหนึ่งเลย เหตุดังนัน้ กูจึงเหน็วาการที่พระราชาทรงกระทํานั้น เปนบุญแลควรสรรเสริญยิ่งกวาผูอ่ืน

( หนา 178 ) พระวกิรมาทิตยอธิบายเหตุผลใหเวตาลฟงถึงความนายกยองที่มีในวีรพลและทาว รูปเสนวาแตกตางกันอยางไร ทําใหผูอานเขาใจความแตกตางของความกลาหาญที่นายกยอง

Page 76: วิเคราะห รสวรรณคด ีที่ปรากฏในน ...kb.tsu.ac.th/jspui/bitstream/123456789/483/1/101310.pdfว เคราะห รสวรรณคด

71

วิภาวะของความมุงมั่นนี้เปนความกลาหาญที่เกิดจากคุณธรรมประจําใจของตัวละคร แสดงอนุภาวะคือตางยอมสละชีวิตตนเองอยางกลาหาญเด็ดเดีย่ว วีรรสเร่ืองถัดมา ปรากฏอยูในเรื่องที่ 5 เปนเรื่องของความกลาหาญของพระรันธีระที่ปลอมพระองคเปนโจรเพือ่ไปจับโจร ดงับรรยาย

ในคืนนัน้ พระราชาทรงปลอมพระองคโดยวิธีผัดพระพกัตรดวยผงสีที่ทําใหพระฉวีผิดไป ปนหนวดเหนือพระโอษฐตั้งขึ้นไปเกือบถึงพระเนตร แลแสกหนวดที่คางเอาปลายปดไปทางพระกรรณทัง้สองขาง ทั้งเอาขนหางมาผูกพระนาสิกร้ังไปขางหลังใหแนนจนเปลี่ยนรูปไปเหมือนจมูกคนอืน่ เมื่อแตงพระพักตรดังนี้แลวก็คลุมพระองคดวยเสื้อผาเนื้อหยาบ รัดสะเอวแลขัดกระบี ่พระกรสอดโลพรอมแลว ก็เสด็จออกจากพระราชวังพระองคเดียว มิไดตรัสใหใครทราบ ทรงดําเนินไปตามถนนในพระนคร

( หนา 205 ) วิภาวะคือ ความสงสารเห็นใจประชาชนทีเ่ดือดรอนจากโจร ซ่ึงถือเปนความรับผิดชอบก็ได อันที่จริงพระราชาอาจสั่งใหใครเปนคนไปสืบหรือดําเนินการจบัโจรก็ได แตพระรันธีระเปนผูมีความกลาหาญไมเกรงกลัวตอส่ิงใดจึงลงมือเอง มีอนุภาวะคือ ความมั่นคงเขมแข็ง ขะมักเขมนทีจ่ะสืบใหรูถึงแหลงที่โจรอยู เมื่อเขาไปยังรังโจรและนายโจรเกิดจับได จนมีการสูรบกัน ก็เห็นถึงความมุงมั่นกลาหาญในการรบของพระรันธีระ ดังบรรยาย

พระราชาเปนผูชํานาญเพลงดาบยิ่งนกั แตนายโจรก็ชํานาญเสมอดวยพระองค ตางคนตางเริ่มการตอสูดวยวิธีที่คนชํานาญเพลงดาบยอมกระทํา คือกมตัวลงจนเกือบจะเปนกอนกลมๆ โจนไปเปนวงรอบๆ ตางคนตางจองดูตากัน คิ้วขมวดแลริมฝปากทําอาการแสดงความดูหมิน่ปฏิปกษ แลทั้งโจนไปมาโดยระยะที่คํานวณวาจะไดเปรียบขาศึก กระโดดเขาไปราวกบักบกระโดด กระโดดกลับออกราวกับลิง แลเคาะโลดวยดาบเปนจังหวะเร็ว แลดังประหนึ่งเสียงกลอง

( หนา 218 ) และ

Page 77: วิเคราะห รสวรรณคด ีที่ปรากฏในน ...kb.tsu.ac.th/jspui/bitstream/123456789/483/1/101310.pdfว เคราะห รสวรรณคด

72

พระราชาแลโจรตอสูซ่ึงกันและกัน ตางรุกแลรับ ตางกโ็จมฟนแลปองปดจนเหนื่อยออนแลแขนชาไปทั้งสองฝาย ฝมืออาวุธแลกําลังกายแลความกลาก็เสมอกัน ไมมีไดเปรียบเสยีเปรียบกันอยูชานาน จนนายโจรเหยยีบหนิซึ่งกลิ้งไดพลาดลมลง พระราชาก็ทรงโจนเขาจับนายโจรมัดมือไขวหลัง ทรงผลักไสใหโจรเดินเขาสูพระนคร โดยที่ใชปลายพระแสงดาบเปนเครื่องบังคับ สวนพลโจรนั้นครั้นนายลมลงก็พากันวิ่งหนไีปสิ้น

( หนา 219 ) ทั้งสองขอความนั้น บรรยายใหเห็นถึงความกลาหาญในการสูรบของพระราชาและนายโจร จดัเปนรณวีระ ( กลารบ ) คือมีความมั่นคงไมเกรงกลัวที่จะรบ วิภาวะคือ ความมุงมั่นที่จะเอาชนะศัตรู ตางก็แสดงพละกําลัง ไหวพริบในการสูรบ อนุภาวะทีแ่สดงออกคือ ทาทีมั่นคงเขมแข็ง ความชื่นชมในความมุงมั่นกลาหาญในเรือ่งตอมาอยูในเรื่องที่ 10 เปนการแสดงความกลาหาญของทาวมหาพล จัดเปนรณวรีะ ( กลารบ ) ดังบรรยาย

ฝายพวก ภิลล ซ่ึงอยูในหมูบานนั้นประพฤติตัวเปนโจรอยูโดยปกติ คร้ันเห็นชายคนเดียวแตงตวัดวยของมีคาเดนิเขาไปเชนนัน้ ก็คุมกันออกมาจะเขาชิงทรัพยในพระองคพระราชา ทาวมหาพลทรงเห็นดังนั้นก็ทรงพระแสงธนูยิงพวกโจรลมตายเปนอันมาก ฝายนายโจรไดทราบวาผูมีทรัพยมาฆาฟนพวกตนลงไปเปนอันมากดังนั้นกก็ระทาํสัญญาณเรียกพลโจรออกมาทั้งหมดแลวเขาลอมรบพระราชา

( หนา 372 ) วิภาวะคือ การเอาชนะศัตรูที่ปองรายพระองค แมวาจะมีพระองคเดยีว ก็กลาหาญสูรบกับพวกโจรอยางไมหวั่นไหว อนุภาวะคือ ทาทีที่มั่นคงเขมแข็ง ไมถอยหน ี วีรรสที่ปรากฏในนิทานเวตาล มีความกลาหาญครบทั้ง 3 อยาง คือ ธรรมวีระ ( กลาประพฤติธรรมหรือหนาที่ ) ซ่ึงปรากฏมากที่สุด รองลงมาคือ รณวีระ ( กลารบ ) นอยที่สุดคือ ทานวรีะ ( กลาให ) ธรรมวรีะนี้ปรากฏอยูในตนเรื่อง ในเรื่องที่ 3 , 5 , 10 รณวีระปรากฏอยูในตอนตนเรื่อง ในเรื่องที่ 3 และ 5 สวนทานวีระปรากฏอยูในเรื่องที่ 3 ซ่ึงวีรรสทั้งหมดนีแ้สดงวิภาวะคือ ความมุงมั่นเอาชนะศัตรู ความสามารถในการบังคับใจตน ความ

Page 78: วิเคราะห รสวรรณคด ีที่ปรากฏในน ...kb.tsu.ac.th/jspui/bitstream/123456789/483/1/101310.pdfว เคราะห รสวรรณคด

73

มุงมั่นในการตอบแทนคุณแผนดิน ความสงสาร ระลึกไดตอความรับผิดชอบ รักษาสัญญา และการแสดงพละกําลัง อนุภาวะของความมุงมั่นในความกลาหาญคือ ทาทีที่มั่นคง ความเฉลียวฉลาดในการรบ ความเขมแข็งเด็ดเดี่ยวไมหวั่นไหว การยอมสละชีวิตตนเอง มีสาตตวิกภาวะคือ ภาวะตะลึงงัน จากการไดเห็นความกลาหาญเสียสละของขาราชบริพาร ภยานกรสและองคประกอบของรส

ภยานกรส คือ ความเกรงกลวั เปนรสที่เกิดจากการรับรูความนากลวั ซ่ึงแบงเปน 3 ประเภท คือ เกิดจากการหลอกลวง เกิดจากการลงโทษ และเกิดจากการขมขู อาจมีภาวะเสริม คือ ความสงสัย ความหลง ความอับจน ความตื่นตระหนก ความเฉยชา ความพรั่นพรึง ความสิ้นสติ ความตาย ฯลฯ วภิาวะของความนากลัว ไดแก การไดยินเสยีงผิดปกต ิ การเห็นภูตผีปศาจหรือสัตวราย การอยูคนเดียว การไปในปาเปลี่ยวรกราง การทําผิด ฯลฯ อนุภาวะของความนากลวั ไดแก การวิ่งหนี การสงเสียงรอง เปนตน และอาจมีปฏิกิริยา เชน อาการตะลึงงัน เหงื่อออก ขนลุก ตัวส่ัน สีหนาเปลี่ยน เสียงเปลี่ยน น้ําตาไหล หรือ เปนลม

ภยานกรสหรอืรสที่เกิดจากความเกรงกลวัที่ปรากฏในตอนตนเรื่องนี้ บรรยายถึงปาชาที่อยูของโยคีศานติศีลดังนี้

คืนนั้นมืดนัก พายุพัดฝนตกเยือกเย็น ผูคนไมมีเดินไปมาในถนน พระราชาแลพระราชบุตรตั้งพระพักตรรีบดําเนินไปจนเหน็แสงไฟอยูกลางปาชา ก็เสด็จตรงเขาไปหาแสงไฟ เมื่อถึงขอบปาชา พระราชาหยดุชะงัก เพราะรังเกียจเหยียบพื้นดินโสโครกดวยซากศพ ทรงเหลียวดูพระราชบุตรเห็นมิไดคร่ันครามเลย สององคก็ทรงดําเนินตรงเขาไป

( หนา 33 ) วิภาวะของความนากลัวคือ การไปในทีน่ากลัวเต็มไปดวยซากศพหรือปาชา การ

เห็นภูตผีปศาจและสัตวราย การไดยนิเสียงผิดปกติ มอีนภุาวะคือ อาการหยุดชะงัก มีปฏิกิริยาคือ อาการตะลึงงัน แตดวยความที่เปนกษัตริยก็เก็บอาการไวไดดี ไมแสดงอาการกลัว

ภยานกรสตอนตอมาอยูในเรื่องที่ 2 เปนการรับรูความนากลัวที่เกดิจากการลงโทษ แตเปนการลงโทษในความเลวที่นางชัยศิริกระทํา ดังนี ้

Page 79: วิเคราะห รสวรรณคด ีที่ปรากฏในน ...kb.tsu.ac.th/jspui/bitstream/123456789/483/1/101310.pdfว เคราะห รสวรรณคด

74

ขณะนัน้ ปศาจตนหนึ่งนั่งอยูบนตนไมหนาบันไดเรือนชายหนุม คร้ันเห็นนางไปนั่งกอดรัดสําแดงเสนหาตอศพดังนั้น ปศาจกเ็ห็นสนุก จึงโดดลงจากตนไมตรงเขาสิงในศพชายหนุม ศพนั้นก็ตืน่ขึ้นจากความตายเหมือนคนตืน่จากความหลบั แลวกระหวัดรัดกายนางเหมือนหนึ่งเสนหา นางชัยศิริยินดีในความเลาโลมของปศาจก็กมหนาเขาไปหาหนาศพ ปศาจไดทีกก็ัดจมกูนางแหวงไปทั้งชิ้น แลวออกจากศพกลับขึ้นไปนั่งหัวเราะอยูบนตนไมตามเดิม ฝายนางชัยศริิเมื่อจมูกแหวงไปเชนนัน้ ก็ตกใจเปนกําลัง แตไมส้ินสต ิ

( หนา 144 ) วิภาวะคือ การเห็นภตูผีปศาจ การทําความผิดที่เกิดจากการนอกใจสาม คบชูสูชาย

การเห็นปศาจกระทําอยางนัน้นาพร่ันพรึงมาก อนุภาวะคือ อาการตกใจ แตก็ยังมีสติอยู มีปฏิกิริยาคือ อาการตะลึงงันพักหนึ่ง กอนที่จะเริ่มคิดหรือทําการอันใดตอไป

ภยานกรสตอนตอมาปรากฏอยูในเรื่องที่ 7 เปนความกลัวที่เกิดจากการขมขู ซ่ึงทําใหเกดิความตืน่ตระหนกพรัน่พรึง ดังนี ้

ทาวสุพิจารทรงตกประหมาเดือดรอน เกรงคําสาปเปนกาํลัง จึงตรัสแกพราหมณวา

“ทานจงกรุณาแกขาพเจา อยาโกรธ แลอยาสาปเลย ทานจะประสงคอะไร ขาพเจาจะยอมตามทุกประการ”

( หนา 303 )

เปนเพราะทาวสุพิจารไมรักษาสัญญาที่จะดแูลสะใภพราหมณ กลับยกใหผูอ่ืนไป เมื่อพราหมณเฒามารับสะใภคืนและรูวาทาวสุพิจารยกสะใภใหโกษาธิบดีไปแลวก็โกรธและสาปแชง วิภาวะคือการทําผิดสัญญา แสดงอนุภาวะคือ การตกประหมา การสงเสียงรองหามไมใหพราหมณเฒาสาปดวยความกลวั ซ่ึงอาจมีปฏิกิริยาคือ อาการตะลึงงัน ตัวส่ัน หนาและเสียงเปลี่ยน ความกลัวตอไปเปนเหตกุารณในเรื่องที่ 9 เปนการรับรูความนากลวัที่เกิดจากหลอกลวง แตเปนการหลอกของผีมหาเสนีที่ฆาตัวตายเพราะผิดหวังที่นางมุกดาวลีไมแตงงานดวย เมื่อตายไปจึงเกิดความอาฆาตแคนเปนผีมาหลอกหลอนดงันี้

Page 80: วิเคราะห รสวรรณคด ีที่ปรากฏในน ...kb.tsu.ac.th/jspui/bitstream/123456789/483/1/101310.pdfว เคราะห รสวรรณคด

75

คร้ันเวลาเที่ยงคืนผีมหาเสนกี็ทําจริงดังที่กลาวไวเมื่อยังมชีีวิต แสดงตัวเปนรากษสมาที่เรือนพราหมณหริทาส ทําใหพราหมณแลคนทั้งหลายตกใจเปนกาํลัง คร้ันรากษสมาทําอาการคุกคาม จนคนกลัวหลบซอนไปหมดแลว ก็พานางมกุดาวลีเหาะหายไปเสยีจากเรือนแลบอกกลาวไววา ถาจะตามใหพบใหไปตามบนยอดสูงที่สุดแหงเขาหิมาลัย

( หนา 357 ) วิภาวะคือ การไดเห็นภูตผีปศาจ รากษส อนุภาวะคือ ความตื่นตระหนกตกใจจนวิ่งหนไีปหลบซอน อาจมีปฏิกิริยารวมคือ อาการขนลุก สีหนาเปลี่ยน เมื่อผีมหาเสนหีอบนางมุกดาวลีมายังยอดสูงที่สุดแหงเขาหิมาลัย รัตนทัตตผูเปนสามี และคุณากรออกตามนาง เกิดเหตุการณดังนี้

นางแลชายหนุมทั้งสองก็ลาพราหมณหริทาสออกเดินทางไป แลทางเดนินั้นตองขามยอดเขาวินธยะ อันเปนที่มากดวยภยัประการตางๆ เมื่อถึงหนาผาแลดูลงไปก็ลึกนากลัว เมื่อถึงลําธารน้ําก็เชี่ยวไหลกระแทกหนิ ยากทีจ่ะขามไดปราศจากอันตราย ประเดี๋ยวกเ็ขาปารกชัฏซ่ึงมืดเหมือนมรณะ ยากที่จะหาทางเดินไปได ประเดี๋ยวสายฟาก็ฟาดสาดฝนลงมา จนหนาวเย็นสะทานทั่วสรรพางคกาย เมื่อยามรอนก็รอนจนนกตกตายลงมาจากอากาศ รอบขางก็กองดวยเสียงสตัวรายตางๆ ซ่ึงมิใชมิตรแหงมนุษย

( หนา 359 ) วิภาวะคือ การเดินทางไปในปาเปลี่ยว มสัีตวรายและมภีัยอันตรายมาก อนุภาวะที่แสดงออกคือ อาการเดี๋ยวรอนเดี๋ยวหนาว เพราะเดีย๋วก็ฝนตกเดีย๋วก็แดดออก แตก็ยังทนเดินตอไปแมจะกลัวก็ตาม เมื่อเดินไปสักพักก็เกิดเหตุการณดังนี ้

คืนหนึ่งนางมกุดาวลีฝนวา นางเดินลุยไปในหนองน้ําขุนโสโครก นางอุมเด็กคนหนึ่งซึ่งมีอาการเหมือนเจ็บ เดก็นัน้ดิ้นแลรองครวญคราง มีเด็กอื่นเปนอันมากไดยินรองก็รองบาง เด็กเหลานัน้รูปรางพิกล บางคนก็ปองเหมือนคางคก บางคนก็ผอมยืดนอนอยูตามขอบหนอง บางคนก็ลอยอยูเหนือน้ํา เด็กเหลานั้นมอีาการ

Page 81: วิเคราะห รสวรรณคด ีที่ปรากฏในน ...kb.tsu.ac.th/jspui/bitstream/123456789/483/1/101310.pdfว เคราะห รสวรรณคด

76

เหมือนหนึ่งระดมกนัรองใสเอานาง ประหนึ่งวานางเปนเหตุใหรองไห แลจะวากลาวปลอบโยนหรือขูเกรี้ยวกราดประการใด ก็ไมนิ่งทั้งนั้น

( หนา 360 ) วิภาวะคือ การฝนถึงสิ่งที่นากลัว ผิดปกตจิากธรรมดา อนุภาวะของความนากลวัคือ การสงเสียงปลอบประโลมและขูเกรีย้วกราด ความนากลวัตอมาเปนความนากลัวที่เกิดจากการขมขูของโจร มีความตื่นตระหนก พร่ันพรึง และความตายรวมอยูดวย ดังบรรยาย

คร้ันคนทั้งสามไมหยดุ กิราตะก็พดูเสียงโกรธดังกองไปเหมือนนกที่ตกใจกลัว ตาก็เหลือกไปเหลือกมาแลแดงดวยความโกรธ มือถืออาวุธชูขึ้นแกวงอยูบนศีรษะ ในทันใดนัน้พวกกิราตะกห็ล่ังกนัออกจากพุมไม แลที่กําบังหลังกอนหนิ ตางคนตางชวยกันยิงมาดงัหาฝน

( หนา 361 ) วิภาวะคือ การเจอกับโจรรายจํานวนมาก อนุภาวะคือ การวิ่งหนีไปหลบเพื่อตั้งหลัก เพราะฝายโจรมีจํานวนมาก และสงเสียงดังนากลัว ภยานกรสตอนตอมาเปนตอนปลายเรื่อง เมื่อพระวกิรมาทิตยไมตอบคาํถามของเวตาล ทําใหพระวกิรมาทิตยพาเวตาลมาใหโยคีศานติศลี และเกิดเหตุการณดังนี้

คร้ันเวตาลไปพนแลว พระวกิรมาทิตยก็รีบทรงดําเนินไปถึงปาชา พบโยคีกําลังนั่งเคาะกะโหลกหัวผีกลาวไมหยุดปากวา “โห กาล ีโห ทุรคา โห เทว”ี รอบตัวโยคีนัน้ มากไปดวยรูปกายอันนาเกลยีดนากลัว คือผีอสูรทั้งหลายสําแดงรูปตางๆ กัน บางก็เปนนาค บางก็เปนภูต บางก็เปนรูปแพะใหญซ่ึงผีแหงผูฆาพราหมณไดเขาสิงอยู บางก็เปนหนอนใหญซ่ึงผีแหงพราหมณกนิเหลาเปนผูสิง บางก็เปนรูปคนหนาเปนมาแลอูฐแลลิง บางก็เปนรูปคนขาขางเดียวหูขางเดียวแลเปนผีดดูเลือด เพราะเมื่อยังไมตายไดขโมยของวัด บางก็มีรูปเปนแรงแลเปนผีเลวๆ เพราะเคยเปนชูกับเมียอุปชฌาย หรือไดเมียเปนคนต่ําชาติ หรือเปนผีทําบาปอื่นตางๆ บางก็เปนรูปสัตวอันนาเกลียดแลนากลัว กัดกินทอนแหงศพมนษุย แลทําเสียงกึกกองไปทั้งปาชา

( หนา 383 )

Page 82: วิเคราะห รสวรรณคด ีที่ปรากฏในน ...kb.tsu.ac.th/jspui/bitstream/123456789/483/1/101310.pdfว เคราะห รสวรรณคด

77

และ

แลวโยคีกห็ยบิเอาศพซึ่งเปนศพเดก็ออกมาจากยาม แลวหันหนาไปทางทิศใต รายมนตรอยูครูหนึ่ง ศพนั้นก็มอีาการเหมือนเปน แลวโยคีกถ็วายของเปนเครื่องบูชาพระเทว ีคือ พลู ดอกไม ไมจันทน ขาว ลูกไม แลเนื้อมนษุยซ่ึงไมเคยถูกคมเหล็ก แลวเอาเชื้อเพลิงใสลงในกะโหลกหัวผี จุดไฟเปาจนลกุเปนเปลวใชแทนโคมสองทาง นําพระราชาแลพระราชบุตรไปยังเทวรูปนางกาลีเปนรูปหญิงดําคอขาดจากตวัคร่ึงหนึ่ง ล้ินแลบออกมาจากปากซึ่งอากวาง ตาแดงเหมือนคนเมา คิ้วแดง แลผมซึ่งเปนเสนหยาบนั้นหอยคลุมไปจนถึงเทา เสื้อผาที่คลุมนั้นคือหนังชางแหง สะเอวรดัดวยมาลยัรอยดวยมือแหงยักษซ่ึงนางฆาตายในขณะรบ มีศพสองศพหอยเปนกณุฑลที่หูสองขาง แลสรอยคอนั้นเปนโซกะโหลกหัวคน มือทั้งสี่ถือดาบ บาศ ตรี แลคทา เทาหนึ่งเหยยีบอกพระศวิะผูสามี อีกเทาหนึ่งเหยยีบนอง หนาเทวรูปอันนากลัวนี ้มีเครื่องใชในการบูชาตางๆ คือตะเกยีง หมอ แลภาชนะอื่นๆ กับสังขแลฆองเปนตน ของเหลานี้มีกล่ินเลือดทั้งนัน้

( หนา 385 ) วิภาวะของทั้งสองตอนนี้คือ การไดยนิเสียงที่ผิดปกติ การเห็นภตูผีปศาจ แต อนุภาวะของผูเปนพระราชาคือ ความนิ่งสงบ ไมแสดงความกลัวออกมา แตผูอานจะรับรูความรูสึกนากลัวไดจากการบรรยายของผูประพันธ ภยานกรสที่ปรากฏในนิทานเวตาล เกิดจากการรับรูความกลัวครบทั้ง 3 ประเภท คือ ความกลัวที่เกิดจากการหลอกลวง ซ่ึงปรากฏในตนเรื่อง เร่ืองที่ 9 และปลายเรื่อง สวนความกลัวที่เกดิจากการลงโทษนั้นปรากฏอยูในเรื่องที่ 2 และความกลัวที่เกดิจากการขมขูซ่ึงปรากฏอยูในเรื่องที่ 7 และ 9 ทั้งหมดนี้มวีภิาวะของความนากลัวคือ การเห็นภตูผีปศาจ สัตวราย การไปปาชา การไดเดนิทางในที่เปลีย่วหรือปารก การกระทําความผิด อนุภาวะของความนากลวั คือ การตกใจตกประหมา การวิ่งหนี การสงเสียงดัง และมีสาตตวิกภาวะ คือ ภาวะตะลึงงัน เหงื่อออก ขนลุก ตัวส่ัน สีหนาเปลี่ยน และเสียงเปลีย่น จากการไดยนิเสียงผิดปกติ ไดเหน็ภูตผีปศาจหรือสัตวราย

Page 83: วิเคราะห รสวรรณคด ีที่ปรากฏในน ...kb.tsu.ac.th/jspui/bitstream/123456789/483/1/101310.pdfว เคราะห รสวรรณคด

78

พีภัตสรสและองคประกอบของรส พีภัตสรส คือ ความเบื่อ รําคาญ ขยะแขยง เปนรสที่เกิดจากการรับรูความนาเบื่อ

นารังเกียจ ซ่ึงมี 2 ประเภท คือ เกิดจากสิง่นารังเกียจที่ไมสกปรก เชน เลือด และสิ่งนารังเกียจที่สกปรก เชน อุจจาระ หนอน อาจมีภาวะเสริม คือ ความสิ้นสติ ความตื่นตระหนก ความหลง ความปวยไข ความตาย เปนตน วภิาวะของความนาเบื่อ นารังเกียจ ไดแก ส่ิงที่ไมสบอารมณหรือไมตองประสงค ส่ิงชวนสลดใจ ส่ิงสกปรก เปนตน อนุภาวะของความนาเบื่อ นารังเกียจ คือ การทําทาทางขยะแขยง นิ่วหนา อาเจียน ถมน้ําลาย ตัว ส่ัน ฯลฯ

พีภัตสรสแรกเกิดขึ้นในตอนตนเรื่อง เปนความนาเบื่อที่เกิดขึ้นกับพระวิกรมาทิตยเมื่อทรงทิ้งบานเมืองปลอมตัวเปนโยคไีปทองเที่ยว กวีบรรยายดังนี ้

ฝายพระวิกรมาทิตย เมื่อเสด็จพาพระโอรสปลอมเปนโยคีเที่ยวเตร็จเตรตามเมืองแลปาตางๆ ประมาณปหนึ่งก็บงัเกิดเบื่อหนาย เพราะเสื้อผาเครื่องทรงไมสบาย ควรแกราชูปโภค บางคราวก็หวิ บางคราวก็ตองตอสูสัตวปาที่นึกวากษัตริย 2 องค คือ เนื้อ 2 กอน

( หนา 14 )

วิภาวะของความนาเบื่อนี้ คอื การใชชีวิตอยูกับสิ่งที่ไมตองประสงค คือคนที่เคยอยูสบาย เมื่อใชชีวิตเปนโยคีอยูตามเมืองตามปาก็เกิดความเบื่อหนาย อนุภาวะคือ การเดินทางกลับมาปกครองเมืองดังเดิม ถัดมาเปนเหตกุารณที่กวีบรรยายความนารังเกียจของปาชาดังนี ้

สักครูหนึ่งถึงกลางปาชา พระราชาทอดพระเนตรเหน็สิ่งซึ่งนาเปนที่รังเกียจตางๆ อยูลอมกองไฟซึ่งไดเผาศพใหมๆ ภูตผีปศาจปรากฏแกตารอบขางเสือคํารามอยูก็ม ี ชางฟาดงวงอยูก็มี หมาไนซึ่งขนเรืองๆ อยูในที่มดืก็กนิซากศพ ซ่ึงกระจัดกระจายเปนชิ้นเปนทอน หมาจิ้งจอกก็ตอสูกันแยงอาหาร คือ เนื้อแลกระดูกมนุษย หมีก็ยืนเคี้ยวกินตับแหงทารก ในที่ใกลกองไฟเห็นรูปผีนั่งยนืแลลอยอยูเปนอันมาก ทั้งมีเสียงลมแลฝน เสียงสุนัขเหาหอน เสยีงนกเคาแมวรอง แลเสียงกระแสน้ําไหลกลบกันไป

( หนา 33 )

Page 84: วิเคราะห รสวรรณคด ีที่ปรากฏในน ...kb.tsu.ac.th/jspui/bitstream/123456789/483/1/101310.pdfว เคราะห รสวรรณคด

79

วิภาวะของความนาเบื่อ นารังเกียจ คือ การเห็นและสัมผัสสิ่งสกปรก ส่ิงที่ชวนสลดใจ อนุภาวะคือ การทําหนาขยะแขยง และนิว่หนา แตความเปนพระราชาก็คงจะไมแสดงอาการออกมามากนกั เพราะจะตองไมรังเกียจและเก็บอาการไว แมวาจะรูสึกอยางนั้นก็ตาม มีสาตตวิกภาวะคือ อาการตะลึงงันที่ไดเหน็สิ่งที่นาขยะแขยง ไมนาร่ืนรมย พีภัตสรสตอนตอมาอยูในเรือ่งที่ 7 เปนเรือ่งของนางจันทรประภาและมนัสวีที่ปลอมตัวเปนหญิงสะใภพราหมณ เมื่อลักลอบไดเสียกันและอยูดวยกันนานๆ ก็เบื่อ ซ่ึงกวีบรรยายความเบื่อไวดังนี ้

คร้ันเมื่อไดชายท่ีรักมาสมหมาย ก็นาจะยังไมเบื่อ ไมนั่งหาว แลไมแสดงพิโรธเล็กๆ นอยๆ กอนปหนึ่งจากวนัทีไ่ดชายนั้นมาเปนสามี แตการหาเปนเชนนัน้ไม นางจันทรประภาพระราชธิดาทรงเบื่อมนัสว ีแลเบื่อความไมเห็นคนอืน่นอกจากมนัสว ีเสมอกับมนัสวีเบื่อพระราชธิดา แลความไมเห็นคนอืน่นอกจากพระราชธิดา

( หนา 282 ) วิภาวะของความนาเบื่อคือ การไดอยูและเห็นคนเดิมๆ ทํากิจกรรมเดมิ ไมมีอะไรใหมใหพบเจอ มีอนุภาวะคือ การนั่งหาว ทําอะไรใหกันก็ไมพอใจ พีภัตสรส หรือรสที่เกิดจากการรับรูความนาเบื่อ นารังเกียจ แบงไดเปน 2 ประเภท คือเกิดจากสิ่งนารังเกียจทีไ่มสกปรก ซ่ึงปรากฏอยูในตนเรื่อง และในเรื่องที่ 7 มี วิภาวะคือ การอยูกับสิ่งที่ไมสบอารมณ ไมถูกใจ อยูกบัใครนานๆ มีอนุภาวะ คือ การกลับบานเมือง การนั่งหาว หรือไมพอใจพฤติกรรมของผูที่อยูดวย และ เกิดจากสิ่งนารังเกียจที่สกปรก ซ่ึงปรากฏอยูในตอนตนเรื่องตอนเดียว มีวภิาวะคือ การเห็นในสิ่งที่สกปรกชวนขยะแขยง มีอนุภาวะคือ การทําหนาทาทางขยะแขยงหรอืนิ่วหนา แตก็ไมมาก เพราะเปนพระราชาจึงตองเก็บอาการไว สวนสาตตวกิภาวะคือ ภาวะตะลึงงัน จากการไดเห็นในสิ่งที่นาขยะแขยง อัทภูตรสและองคประกอบของรส

อัทภูตรส คือ ความอัศจรรยใจ เปนรสที่เกิดจากการไดรับรูความนาพศิวง อันมี 2 ประเภท คือ เกิดจากสิ่งที่เปนทิพย หรืออภินิหาร และเกิดจากสิ่งทีน่าร่ืนรมย อาจมภีาวะเสริม คือ ความตื่นตระหนก ความหวั่นไหว ความยินด ี ความบาคลั่ง ความมั่นคง เปนตน วิภาวะของความนาพิศวง ไดแก การพบเห็นสิ่งที่เปนทพิย การไดรับสิ่งที่ปรารถนา การไป

Page 85: วิเคราะห รสวรรณคด ีที่ปรากฏในน ...kb.tsu.ac.th/jspui/bitstream/123456789/483/1/101310.pdfว เคราะห รสวรรณคด

80

เที่ยวในสถานที่ที่งดงาม นาร่ืมรมย เชน อุทยาน วิหาร การเห็นสิ่งที่เปนมายา หรือมีเวทมนตร ฯลฯ อนุภาวะของความนาพิศวง คือ การทําทาประหลาดใจ หรืออุทานดวยความแปลกใจ เปนตน อาจมีปฏิกิริยา เชน การนิ่งตะลึงงัน เหงื่อออก ขนลุก น้ําตาไหล ฯลฯ

รสแหงความอศัจรรยใจนี้ เกดิจากการไดรับรูความพิศวง ในตอนตนเรือ่งที่ยกมานี้ เปนความพิศวงอันเกิดจากสิง่ที่เปนทิพย กลาวคือเมื่อพราหมณบําเพ็ญตบะจนเกิดเหตุการณดังนี ้

ในที่สุดเทวทตูลงมาจากสวรรค ยื่นผลไมใหผลหนึ่งบอกวาเปนผลไมอํามฤต ถากินแลวจะยนืชีวิตอยูค้ําฟา

( หนา 5 ) วิภาวะของความนาพิศวง คอืการไดรับในสิ่งที่เปนทิพย นั่นก็คือผลไมอํามฤต ซ่ึง

กินแลวสามารถอยูทนค้ําฟา อนุภาวะคือ ความยินดีที่ไดรับผลไมนี้ แมตอนหลังเมื่อนางพราหมณแีกลงพูดใสความจนไมกินผลไม แตก็ยงัสามารถนําไปถวายพระภรรตฤราชไดรางวัลอีกมากมาย

หรือตอนที่โยคีศานติศีลปลอมตัวมาเปนพอคา ถวายผลไมแดพระวกิรมาทิตย ดังเหตุการณ

วันหนึ่งพระวกิรมาทิตย เสด็จลงไปทอดพระเนตรมา ณ โรงมาตน ประสบเวลาที่พอคาไปเฝา พอคาก็ถวายผลไมที่โรงมา พระราชาทรงรับแลวก็ทรงเดาะผลไมนั้นเลนแลทรงนิ่งตรึกตรองอยูเผอิญผลไมตกจากพระหัตถ กล้ิงไปใกลลิงซึ่งผูกไวในโรงมาตน สําหรับคอยรับอปุทอันตรายตางๆ มิใหเกดิแกมา ลิงเห็นผลไมกล้ิงไปใกลก็ฉวยเอาไปฉีกกิน ทับทิมเม็ดใหญงามชวงโชติก็ตกจากผลไมนั้น พระราชาแลขาราชการที่ตามเสด็จตางกพ็ิศวง เพราะไมมีใครเคยเหน็ทับทิมงามเชนนี้เลย

( หนา 27 ) วิภาวะ คือ การไดเห็นในสิง่ที่นาร่ืนรมย เปนสิ่งที่มีคามากๆ นั่นก็คือทบัทิมเม็ด

ใหญ อนภุาวะคือ ความประหลาดใจที่เหน็ทับทิมเม็ดใหญและงดงามมาก อยูในผลทับทิม ความอัศจรรยใจในนิทานเวตาลนับวามีมากพอประมาณ แมแตคําบรรยายลักษณะ

ของเวตาลก็ทาํใหนาพิศวงดงันี้

Page 86: วิเคราะห รสวรรณคด ีที่ปรากฏในน ...kb.tsu.ac.th/jspui/bitstream/123456789/483/1/101310.pdfว เคราะห รสวรรณคด

81

ศพนั้นลืมตาโพลง ลูกตาสีเขียวเรืองๆ ผมสีน้ําตาล หนาสีน้ําตาล ตัวผอมเห็นโครงเปนซี่ๆ หอยเอาหัวลงมาทํานองคางคาว แตเปนคางคาวตัวใหญที่สุด เมื่อจับถูกตัวก็เย็นชดืเหนยีวๆ เหมือนงู ปรากฏเหมือนหนึ่งวาไมมีชีวิต แตหางซึ่งเหมือนหางแพะนั้นกระดิกได พระวิกรมาทิตยทอดพระเนตรเหน็เชนนี้ ก็ทรงคิดในพระหฤทัยวา ตวัทีห่อยอยูนั้นคือเวตาล แตเดิมทรงคิดวาศพนี้คือศพลูกชายของพอคาน้ํามัน ซ่ึงยักษไดทูลไววาโยคีเอาไปแขวนไวที่ตนไม คร้ันเมื่อเห็นเปนเวตาลเชนนี้ ก็ทรงพิศวง แตทรงดําริวาชะรอยโยคีจะแกลงเปลี่ยนศพลูกชายพอคาน้าํมันใหมีรูปเปนเวตาล เพือ่จะลวงใหสนิทดอกกระมงั

( หนา 37 ) วิภาวะคือ การไดเห็นในสิ่งแปลกใหม แมจะมีลักษณะนากลัว นารังเกียจอยูบาง

เหตแุหงความพิศวงอีกอยางก็คือ จากที่เคยไดฟงอสูรปถพีบาลเลานั้น ศพที่หอยอยูนี้นาจะเปนศพของเดก็ผูชาย สภาพศพนาจะแหงเพราะถูกแขวนไวกับตนไม แตเมื่อเหน็เวตาลนั้นมีลักษณะผิดไปจากที่คิดไว อนุภาวะคือ การทําทาประหลาดใจ

อัทภูตรสตอนตอมาอยูในเรือ่งที่ 3 ซ่ึงเปนเรื่องราวแปลกๆ ของวีรพล ดังบรรยาย

ในเวลาเชาทุกวันไดเอาทรัพยที่ไดในวันกอนมาแบงออกเปนสองสวน สวนหนึ่ง แจกจายใหแกพราหมณแลปุโรหิต สวนที่เหลือนั้นแบงออกอีกเปนสองภาค ภาคหนึ่งแจกแกไวราคี คือคนขอทานซึ่งประกาศตัววานับถือพระวษิณุเปนเจา แลสันยาสี (ผูนับถือพระศิวะเปนเจา) ซ่ึงเปนผูมีกายอันชโลมดวยเถาถาน แลปกปดกายดวยทอนผาซึ่งจะมิดชิดก็ไมมดิได แลพากันยืน่ศีรษะซึ่งมุนเหมือนเชือกแนนกันเขาไปรับแจกที่ประตู สวนทรัพยที่ยังเหลืออยูจากที่แจกแลวนั้น วีรพลใหมผูีจัดประกอบอาหารอันมีรส แลเมื่อไดเล้ียงคนขัดสนอาหารทั้งหลายจนอิ่มหนําสําราญทั่วกันแลว วีรพลแลบุตรภริยาจึงกินแลวแตจะมีเหลือ การจําหนายทรัพยทุกๆ วันเชนนี้มีคํากลาวสืบกันมาวาเปนวิธีดีนกั

( หนา 162) วิภาวะของความอัศจรรยใจนี้คือ การแบงทรัพยที่คนสวนใหญพึงเก็บ มาแจกจายออกเปนสองสวนขางตน วีรพลนั้นขอคาจางจากพระรปูเสนเปนจํานวนมหาศาล แตวีรพลไมไดเกบ็ไวทัง้หมด กลับแจกจาย และจดัอาหารเลี้ยงคนที่ลําบาก ซ่ึงนาพิศวงสําหรับผูพบเห็นอยางยิ่ง อนุภาวะคือ ทาทางประหลาดใจของผูที่รับรูหรือพบเหน็

Page 87: วิเคราะห รสวรรณคด ีที่ปรากฏในน ...kb.tsu.ac.th/jspui/bitstream/123456789/483/1/101310.pdfว เคราะห รสวรรณคด

82

ความอัศจรรยใจตอมาเปนความนาพิศวงซึง่อยูในเรื่องที่ 5 ไดอธิบายตาํราของพวกโจรลวนแตนาพิศวงดังนี ้

บางพวกก็ทาตวัดวยน้ํามนัแลทาขอบตาดวยเขมา แลวทองมนตที่จะทําใหตาสวางเห็นไดไกลในเวลามืด บางพวกก็ฝกซอมวชิาซึ่งไดเรียนรูเนื่องมาจากเทวดาผูถือหอกทองคือ พระกรรติเกยะ (สกันทะ) ผูเปนเจาแหงโจรกรรม แลเปนผูที่ไดแสดงตําราชื่อ เจาริยวิทยา แกชายผูหนึ่งชื่อ ยุคาจารย เปนแบบฉบับสําหรับสั่งสอนศิษยสืบมา โจรบางพวกฝกฝนวชิาซึ่งกลาวในตําราทั้ง 4 อยาง สําหรับการทําทางเขาไปในเรือนคือ (1) เจาะผนังเอาอิฐดินสุกออกทีละแผนๆ (2) เจาะผนังตกึซึ่งกอดวยอิฐดินดิบ เมื่อกําแพงนั้นออนดวยความชื้น หรือแหงเกราะดวยแสงแดด หรือดวยใชน้ําเกลือ (3) เทแลสาดน้ําราดผนังดิน (4) เจาะฝาไม อนึ่งลูกแหงพระสกนัทะเหลานั้นเจาะฝาเปนรูปดอกบวั รูปพระอาทิตย รูปพระจันทรขางขึ้น รูปทะเลสาบ แลรูปหมอน้ํา ตามวิธีที่บัญญัติไวในคัมภีร แลทาน้ํามันวานยาเปนเครื่องกําบังตัวมิใหใครเห็น แลปองกันอาวุธมิใหถูกกาย

( หนา 207 ) วิภาวะคือ การไดเห็นสิ่งที่เปนมายา หรือเวทมนต ซ่ึงนบัวาแปลกดี เพราะตําราทั้ง 4 อยางนี้สอนวิธีการเขาไปในเรือน ซ่ึงตางจากวรรณคดไีทยเรื่องอื่นๆ ที่อานมานั้นกจ็ะเปนการสะเดาะกลอนประตู หรือเปามนตใหสลบมากกวา อนุภาวะคือ ทาทางประหลาดใจ อาจมีปฏิกิริยาอาการนิ่งตะลงึงันขณะทีไ่ดเห็นก็เปนได ความอัศจรรยตอนตอไปอยูในเรื่องที่ 6 ถือเปนสิ่งที่เปนอภินิหารมาก ดังบรรยาย

ฝายเจาของบานเมื่อไดยินดังนี้ก็ยิ้ม แลวลุกไปหยิบสมุดเลมหนึ่งมาจากที่ซ่ึงซอนไวคือบนขื่อ สมุดนั้นคือตํารา สังชีวนีวิทยา คือวิชาชุบคนตายใหคนืชีวิต คร้ันหยิบหนังสือลงมาแลว ชายเจาของหนังสือก็กางตําราออกทําพิธีชุบลูกใหคนืเปน ไมชาเด็กกก็ลับมารองไหเสียงดังอยูอยางเกา ชายผูเปนบิดาจึงกลาววา “บรรดาของมีคาทั้งหลายจะหาสิ่งใดมีคาเกินวิชานั้นหาไดไม ทรัพยอ่ืนๆ อาจถูกขโมยลัก หรือลดนอยลงไปดวยการจับจาย แตวิชานั้นไมมีความตายแลยิ่งจายมากก็ยิ่งเพิม่มากขึ้น วิชานี้จะแบงใหแกใครใหเปลืองไปก็ไมได แลขโมยจะลกัก็ลักไมได”

( หนา 256 )

Page 88: วิเคราะห รสวรรณคด ีที่ปรากฏในน ...kb.tsu.ac.th/jspui/bitstream/123456789/483/1/101310.pdfว เคราะห รสวรรณคด

83

และ

เมื่อไดกลาวสรรเสริญแลบูชานางจัณฑีดวยเลือดแลเนื้อของตนดังนั้นแลว ชายทั้งสามก็ชวยกันรวมเถาแลอัฐแิหงนางซึ่งชายคนที ่๑ แลคนที่ ๒ ไดเก็บรักษาไวนั้นใหเปนกองเดยีวกัน ชายคนที ่๓ ผูเปนเจาของตําราก็รายมนตรจนเกิดไอสีขาวขึ้นมาจากดิน แลวเกิดเปนรูปลอยอยู แลวเกิดความดดู ดูดเอาเถาแลอัฐิซ่ึงกองอยูนัน้เขาไปในรูป อีกครูหนึ่งก็เกิดเปนนางมธุมาลตีชีวิตคืนมาอยางเดมิ แลนางขอใหชายทั้งสามพาไปสงยังเรือนบิดา

( หนา 259 ) วิภาวะของความทั้งสองนี้คือ การไดเหน็การชุบชีวิตคนตายใหกลับฟน ซ่ึงเรียกตํารานี้วา สังชีวนวีิทยา คือวิชาชุบคนตายใหคืนชวีิต ซ่ึงใครที่ไดพบเห็นเหตุการณอยางนี้ตองพิศวงไปตามๆ กัน อนภุาวะของความนาพิศวงคือ การทําทาประหลาดใจ มีสาตต วิกภาวะคือ ปฏิกิริยาอาการนิ่งตะลึงงัน เหงื่อออก และขนลุกรวมอยูดวย ความนาพิศวงตอมาอยูในเรือ่งที่ 7 เปนความอัศจรรยของลูกอมที่มีสรรพคุณแปลกแตกตางจากลูกอมอื่นดังนี ้

ในเรือนของเรานี้ มีวิชาลับซึ่งไดสงตอเปนมรดกกันมาหลายชั่วคน แลขาใชวิชานี้กระทําประโยชนใหเกิดแกมนุษย แตการใชความรูของขานี้จะสําเร็จประโยชนก็ตอเมื่อผูซ่ึงมาขอใหชวยนัน้มใีจบริสุทธิ์แลตั้งใจจริงที่จะรับประโยชน ลูกอมลูกนีถ้าเจาอมเขาในปาก เจาจะกลายเปนหญิงอายุ 12 ป ถาเอาออกจากปากจึงจะคืนรูปเดิม ถาขาใหลูกอมนี้แกเจา เจาตองตั้งใจแนนอนวาจะเอาไปใชแตทางที่ด ีมิฉะนั้นจะเกิดเหตุเปนทกุขแกเจาอยางใหญ เหตุฉะนัน้เจาจงตรึกตรองในใจใหดีเสยีกอนจึงรับลูกอมนี้ไปใช ถาไมแนใจก็อยารับไปเลย

( หนา 271 ) และ มูลเทวะจึงสงลูกอมลูกหนึ่งใหมนัสวีอมไวในปาก แตกําชับใหระวังมิใหกลืนลวงลําคอเขาไปเปนอันขาด สวนลูกอมอีกลูกหนึ่งนัน้มูลเทวะอมเอง คนทั้งสองก็มีรูปเปลี่ยนไป

Page 89: วิเคราะห รสวรรณคด ีที่ปรากฏในน ...kb.tsu.ac.th/jspui/bitstream/123456789/483/1/101310.pdfว เคราะห รสวรรณคด

84

มนัสวีเปนหญิงสาวสวย มูลเทวะเปนพราหมณแกอายุไมต่ํากวา 80 ป ( หนา 272 ) วิภาวะของทั้งสองขอความนี้คือ การพบเห็นสิ่งที่เปนทพิย และเปนสิง่นาปรารถนา เพราะลูกอมวเิศษนี้ถามีอยูจริง ใครๆก็คงอยากได แมจะมีขอแมอะไรก็ตาม อนุภาวะคือ ทาทางประหลาดใจ หรือครางเบาๆ ดวยความพิศวงก็เปนได ความอัศจรรยใจตอมาปรากฏอยูในเรื่องที่ 8 เมื่อทีรฆะทรรศินทูลขอพระราชาไปอาบน้ําตามทาบุญตางๆ และไดโดยสารเรือเดินทางในทะเลจนพบเหตกุารณประหลาดนี ้

วันหนึ่ง ทีรฆะทรรศินเหน็คลื่นลูกหนึ่งเกดิขึ้นในทะเล แลวมีตนกัลปพฤกษผุดขึ้นมาจากน้ํา กิ่งกานเปนทองทั้งตน มีแกวประพาฬประดับเปนชอ ๆ ลูกแลดอกลวนแลวดวยมณีมคีา ความงามที่เหลือจะพรรณนาได บนกิ่ง ๆ หนึ่งมีอาสนะประดับดวยแกว บนอาสนะมีนางนั่งเอนพิงอยู นางนั้นงามเปนที่พิศวง ทีรฆะทรรศินตกตะลึงอยูครูหนึ่ง นางกห็ยิบพณิขึ้นดดีแลขับดวยสําเนียงไพเราะจับใจ

( หนา 318 ) วิภาวะคือ การไดเห็นสิ่งทพิยซ่ึงเปนสิ่งที่นาร่ืนรมยและแปลกมาก ธรรมดากลางทะเลคงไมมีตนกัลปพฤกษที่มีอัญมณีประดับอยูมากมาย และยังมีนางทิพยออกมาดีดพณิรองเพลงใหฟงอกี อนุภาวะคือ ทาทางประหลาดใจ พรอมทัง้อุทานรําพึงรําพันออกมาออกมา นั่งคิดตรึกตรองถึงสิ่งที่เห็นตลอดเวลา มปีฏิกิริยาคือ อาการยนืตะลึง เมื่อกลับถึงบานเมืองทีรฆะทรรศินก็เลาเรื่องที่พบเห็นขางตนใหพระราชายศเกตฟุง พระราชาเกิดหลงรักนางทพิยและก็ออกเดินทางตามทีท่ีรฆะทรรศินเลา หวังจะไดพบเจอนางทิพย เมื่อเจอเหตุการณเหมอืนที่ทีรฆะทรรศินเจอ พระราชายศเกตุไมหยุดแคนั้น ทรงกระโจนลงทะเลตามนางทิพยไปดวย เมื่ออยูใตทะเล พระราชาก็เจอเหตุการณดังนี ้

ในทันใดนัน้ไดทอดพระเนตรเห็น แลเสด็จไปถึงเมือง ๆ หนึ่งงามนกั มีแสงระยับจากเรือนซึ่งมมีณีเปนเสา ทองเปนผนัง หนาตางแลมานลวนแตมกุดา มีสวนซึ่งมีสระอันงาม มีขั้นบันไดทําดวยมณีสีตางๆ สําหรับเดินลงสระ แลมีตนกลัปพฤกษหลายตน พระราชาทรงเดินจากเรือนนี้สูเรือนโนนในเมอืงนั้นจนไดเทีย่วเกือบจะทั่ว

Page 90: วิเคราะห รสวรรณคด ีที่ปรากฏในน ...kb.tsu.ac.th/jspui/bitstream/123456789/483/1/101310.pdfว เคราะห รสวรรณคด

85

ทุกเรือน ( หนา 327 ) วิภาวะคือ การไดเดินทางไปพบเจอสถานที่งดงาม นาร่ืนรมย อนุภาวะคือ ทาทางประหลาดใจ ที่ใตทะเลจะมบีานเรือนและยังสวยงามอกีดวย ความอัศจรรยใจตอมา เกดิเมื่อนางทิพยโดนบิดาสาปใหถูกยักษกลืนเขาไป เมื่อทาวยศเกตุฆายักษตาย แตนางทพิยกลับไมเปนอะไรเลย นาพิศวงนิ่งนัก ดังบรรยาย

พอนางออกจากกายรากษสไมมีอันตรายประการใด ปรากฏความงามตามเคยเหมือนหนึ่งแสงพระจันทรซ่ึงสองสวางไปทั่ว พระราชาทอดพระเนตรเห็นนางคืนมาดังนั้นก็ทรงยินดวีิ่งเขาสวมกอดนาง พลางตรัสถามวาการเปนเชนนี้เพราะเหตุไร เปนความฝนหรือความเปนจริง

( หนา 332 ) วิภาวะคือ การเห็นในสิ่งที่เปนอภินหิาร เพราะคนที่ถูกยักษกลืนเขาไป เมื่อยักษนัน้ตายแตนางกลบัรอดมาไดนัน้ สรางความพิศวงยิ่งนัก อนุภาวะคือ ความยินดวีิ่งเขาสวมกอด มีสาตตวิกภาวะคือ อาการขนลุก น้ําตาไหลดวยความยนิดี ใตทะเลอันเปนที่อยูของนางทิพยนี้มีของวิเศษที่นาพิศวงหลายอยาง เมือ่อยูนานๆ เขาพระยศเกตกุ็หาทางพานางกลับบานเมือง วิธีที่จะกลับบานเมืองก็ประหลาดดังนี ้

คร้ันพระองคแลนางยืนชะโงกดูอยูดวยกันที่ปากอางแลว พระราชาก็กอดพระศอนางพาโจนลงในอาง ในทันใดนั้นสององคก็เสด็จผุดขึ้นในสระแหงพระราชอุทยานในนครของพระยศเกต ุคนเฝาสวนเห็นพระราชาเสด็จกลบัมาก็มีความยนิดีรีบสงขาวไปใหทีรฆะทรรศินผูรักษาพระนครทราบ ทีรฆะทรรศินกับหมูเสนาอํามาตย ก็พากันรีบไปรบัเสด็จ ณ พระราชอุทยาน แลวพากนัแวดลอมตามเสด็จเขาพระราชวงั

( หนา 336 ) วิภาวะคือ การพบในสิ่งที่เปนทิพย นั่นคอืเมื่อเวลาไปยงัเมืองบาดาลกก็ระโจนลงไปธรรมดา แตเวลาจะออกจากเมืองแทนที่จะวายผุดขึ้นจากน้ํา กลับมีอางแกววิเศษเปนประตูเดินทางกลับ อนุภาวะคือ ทาทางประหลาดใจ มีปฏิกิริยาอาการนิ่งตะลึงงันของคนสวนที่เหน็เหตกุารณพระราชาและนางทิพยผุดขึ้นจากสระก็ได

Page 91: วิเคราะห รสวรรณคด ีที่ปรากฏในน ...kb.tsu.ac.th/jspui/bitstream/123456789/483/1/101310.pdfว เคราะห รสวรรณคด

86

อัทภูตรสตอนตอมาอยูในเรือ่งที่ 9 เปนตอนที่พูดถึงรถวิเศษที่เหาะไดของคุณากร ซ่ึงรัตนทัตตไปขอรองใหชวยพาไปตามนางมุกดาวลีที่ถูกผีมหาเสนีหอบไปไวทีย่อดเขาหิมาลัย ความวิเศษของรถและความนาพิศวงเวทมนตของรัตนทัตตมีดงันี้

คุณากรเปนคนใจด ีแมจะไดขุนเคืองดวยเหตุแพรัตนทัตตในทางรักกจ็ริง แตเมื่อผูชนะมาวานใหชวยก็ยอมชวยจึงจัดรถซึ่งพาเหาะได แลวสองคนก็ขึ้นนั่งบนรถ แลบอกพราหมณหริทาสใหนอนใจวา จะไดลูกสาวคืนมาในไมชา คุณากรก็รายมนตใหรถลอยข้ึนในอากาศ รัตนทัตตก็รายมนตไลผีมิใหมากดีกั้น ตตสวิตุรวเรณย ํภโรค เทวสย ธีมหิ ธิโย โย นะ ปรโจทยาต รถก็พาลอยไปถึงยอดสูงสุดแหงเขาหิมาลัย อันเปนที่ซ่ึงผีมหาเสนีพานางไปทิ้งไวนัน้

( หนา 357 ) วิภาวะคือ การไดเห็นสิ่งที่เปนทิพย อภินหิาร และเปนมายา นั่นก็คือรถเหาะ และเวทมนตรไลผี อนุภาวะคือ ความแปลกใจประหลาดใจ ซ่ึงเกิดขึ้นในใจของผูอาน แคนั้นอาจยังพิศวงไมพอ รัตนทัตตยังมีของและมนตวิเศษอีกดังนี ้

คร้ันรัตนทัตตทํานายดังนี้แลวก็หยิบดายออกมาเสนหนึ่ง ตัดออกเปนสามทอน แจกกันคนละทอน แลวอธิบายวา ถาเกิดเหตเุปนภัยแกรางกาย ใหเอาเชือกนั้นผูกเขาที่แผลๆ ก็จะหายไปในทันท ีคร้ันแจกเชือกแลวรัตนทัตตกส็อนมนตใหภริยาแลเพื่อนทองจําไว เปนมนตที่ชุบคนตายใหคนืชีวิตได

( หนา 360 ) วิภาวะคือ เวทมนตรที่สามารถชุบคนตายใหฟนได แสดงผลหรืออนุภาวะคือ ความประหลาดใจ ซ่ึงคนในสมัยกอนคงมีวิชาชบุชีวิตมาก และก็คงมีจากหลายตํารา หลายสํานักดวย ความอัศจรรยใจตอมาปรากฏในตอนปลายเรื่อง เมื่อพระวกิรมาทิตยฆาโยคีศานติศีลแลวก็เกิดเหตกุารณดังนี ้

ในทันใดนัน้มเีสียงกลาวในอากาศวา “บุรุษพึงฆาคนซึ่งตั้งใจจะฆาตนไดโดยคลองธรรม” แลมีเสียงดนตรีแลคําอวยชยัมาจากในฟา ทั้งดอกไมทิพยก็ตกกลนเกลื่อนไป

Page 92: วิเคราะห รสวรรณคด ีที่ปรากฏในน ...kb.tsu.ac.th/jspui/bitstream/123456789/483/1/101310.pdfว เคราะห รสวรรณคด

87

พระอินทรแวดลอมดวยเทพบริวารก็เสด็จมาเฉพาะพระพักตรพระวิกรมาทิตย แลตรัสใหขอพรๆ หนึ่ง

( หนา 387 ) วิภาวะคือ การไดเห็นสิ่งที่เปนทิพย เสยีงพูดอวยพร เสยีงดนตรี หรือดอกไมทิพยที่ตกมาจากฟา อนุภาวะคือ ความประหลาดใจ พิศวงในสิง่ที่เกิดขึ้น อัทภูตรสในนทิานเวตาลนี้ เกิดจากการรับรูความนาพิศวง 2 ประเภทคือ เกิดจากส่ิงที่เปนทิพยหรืออภินหิาร ซ่ึงปรากฏอยูในตนเรื่อง เร่ืองที่ 6 , 7 , 8 , 9 และปลายเรื่อง มี วิภาวะคือ การพบเห็นสิ่งที่เปนทิพย เปนปาฏิหาริยหรืออภินิหาร ไดไปพบเหน็สถานที่ที่งดงามนาร่ืนรมยการไดเห็นเวทมนตรมายาตางๆ สวนประเภทที่ 2 เกิดจากสิ่งที่นาร่ืนรมย ซ่ึงปรากฏอยูในเรื่องที่ 3 และ 8 ทั้ง 2 มีวภิาวะคือ การไดใหและรับในสิ่งที่พึงปรารถนา ทั้งสองประเภทนี้มีอนุภาวะเหมือนกนัคือ ทาทางประหลาดใจ หรือเผลออุทาน มีปฏิกิริยา ( สาตตวิกภาวะ ) คือ ภาวะตะลึงงัน ภาวะเหงื่อออก ภาวะขนลุก และภาวะน้ําตาไหล จากการพบเหน็ในสิ่งที่เปนทิพย อภินิหาร ปาฏิหาริย และเวทมนตร ศานตรสและองคประกอบของรส

ศานตรส คือ ความสงบใจ เปนรสที่เกิดจากการไดรับรูความสงบของตัวละคร ศานตรสในนาฏยศาสตรก็มีแตในตนฉบับบางฉบับเทานั้น ทั้งยังมีลักษณะของการแตงเติมมากกวา ศานตรส คงเปนอิทธิพลของคติทางพุทธที่ถือวาความสงบเปนสิ่งประเสริฐ เปนทางสูนิพพาน กวีพุทธสวนมากจึงถือวาศานตรสเปนรสที่เดนกวารสอื่นทั้ง 8

ภาวะสงบนี้ ปรากฏในตอนตนเรื่อง เมือ่พระภรรตฤราชพบเหตุการณที่หลอกลวงเกี่ยวกับความรัก พระภรรตฤราชก็รูสึกดังนี้

สวนผลอํามฤตนั้นมีรับสั่งใหลางจนสิ้นมลทินที่ติดจากมือคนตางๆ แลวก็เสวยหมดทั้งผล แลวทิ้งราชสมบัติเขาปาเปนโยค ี คนบางพวกกลาววาพระภรรตฤราชยังทรงโยคะอยูในแถบเขาหิมาลัย อันเปนที่กวาง ยากที่ใครจะตามไปพบ คนบางพวกกลาววา เมื่อจาํเริญตบะยิ่งๆ ขึ้น ก็ไดเขารวมอยูในภาวะแหงพระผูเปนเจา อันเปนที่ประมวลคนดีทั่วไป

( หนา 13 )

Page 93: วิเคราะห รสวรรณคด ีที่ปรากฏในน ...kb.tsu.ac.th/jspui/bitstream/123456789/483/1/101310.pdfว เคราะห รสวรรณคด

88

วิภาวะคือ การเจอความหลอกลวง ไมจริงใจในรกั อนภุาวะคือ ทิ้งสมบัติออกบวช ซ่ึงถือความสงบที่ประเสริฐเปนหนทางสูนพิพานนัน่เอง

หรือในเรื่องที่ 6 เมื่อหญิงที่ตนรักตายไปแลว ความเศราใจก็พาไปสูความสงบได ดังบรรยาย

ชายคนที ่1 ก็เก็บกระดูกแหงนางรวมเขาเปนหอขึ้นหอยบา แลวประพฤติตัว เปน ไวเศษกิ ถือศีลเวนบาปใหญทั้ง 8 อยาง คือ กินกลางคนื 1 ฆาชีวิต 1 กินผลไมเกิดบนตนยางหรอืกินฟกทอง หรือหนอไมไผ 1กินน้ําผ้ึงหรือเนื้อสัตว1 ลักทรัพยของผูอ่ืน1 ขมขืนหญิงมีสามี 1 กินดอกไมหรือเนยเหลวหรอืเนยแข็ง 1 บูชาเทวดาในศาสนาอื่น 1 สวนการปฏิบัตดิวยด ีชายผูเปนไวเศษิกยอมตั้งใจมั่นวาการไมทํารายคนแลสัตวอ่ืนเปนทางเวนทีช่อบ แมผูทําความผิดก็ไมควรเอาชีวิต อนึ่งศีลทั้ง 5 คือไมกลาวเทจ็ ไมกินเนื้อสัตว ไมขโมย ไมดืม่น้ําเมา ไมมีภริยา นั้นตองถือมั่นเปนนิตย ทรัพยทั้งหลายจะมไีมได เวนแตผาพันกาย ผาเช็ดปาก ภาชนะสําหรับรับทานคืออาหาร แลแสสําหรับกวาดดนิ ดวยเกรงจะเหยยีบส่ิงมีชีวติเทานั้น อนึ่งอาจารยไวเศษกิสอนใหศิษยไมไวใจในทางที่นอกลัทธิของตน ใหกลัวความทกุขในภพหนา ใหรับทานจากผูอ่ืนไมเกินทีจ่ะพอเปนอาหารชั่ววันเดียว ไมกินอาหารที่เกี่ยวกับชวีิตสัตวแลใหทําคุณตอคนทั้งหลาย

( หนา 249 ) วิภาวะคือ การสูญเสียหญิงอันเปนที่รัก ความเศราเสียใจนีแ้สดงอนภุาวะ คือ การรักษาศีล ทั้งศีล 5 ศีล 8 และการประพฤตตินอันด ี ศานตรสซึ่งปรากฏในนิทานเวตาลนี้ เปนภาวะสงบทีท่ําใหคนออกบวช เพื่อแสวงหาความสงบที่ทําใหสบายใจ มกัมีวภิาวะมาจาก ความผิดหวัง ความเศราเสียใจในรกั ซ่ึงแสดงอนุภาวะออกมาโดยการออกบวช การรักษาศีล 5 ศีล 8 และการประพฤติตวัใหดีมีคุณธรรม

เมื่อวิเคราะหรสที่ปรากฏในนิทานเวตาลฉบับพระนิพนธกรมหมื่นพิทยาลงกรณ ตามทฤษฎีวรรณคดีสันสกฤตพบวา มีรสวรรณคดีครบทั้ง 9 รส ซ่ึงรสที่มีมากที่สุด คือ ศฤงคารรสรองลงมาคือ เราทรรส กรุณารส อัทภูตรส วีรรส ภยานกรส หาสยรส พีภัตสรส และศานตรสตามลําดับ

Page 94: วิเคราะห รสวรรณคด ีที่ปรากฏในน ...kb.tsu.ac.th/jspui/bitstream/123456789/483/1/101310.pdfว เคราะห รสวรรณคด

89

องคประกอบของรสวรรณคดีทั้ง 9 รส ในนิทานเวตาลฉบับพระนิพนธกรมหมื่นพิทยาลงกรณ สามารถวิเคราะหองคประกอบในแตละรสที่ปรากฏออกมาสรุปผลเปนตารางไดดังตอไปนี ้ตารางที่ 1 องคประกอบของศฤงคารรสในนิทานเวตาลฉบับพระนิพนธกรมหมื่นพิทยาลงกรณ

เร่ืองท่ี เหตุการณ วิภาวะ อนุภาวะ สาตตวิกภาวะ

ตนเรื่อง พระภรรตฤราชพบรักใหม และชมความงามของหญิงสาว

ไดอยูกบัผูที่ถูกตาตองใจ

มีความสุข กระชุมกระชวย

-

พระวัชรมุกุฏตกหลุมรัก นางปทมาวด ี

รักยังไมสมหวัง

กระสับกระสายรูสึกจะตายเสียใหได

อาการ ตะลึงงัน

1

พระวัชรมุกุฏติดตอใหนางนมเปนแมส่ือ

รักยังไมสมหวัง

รําพึงรําพัน

ตื่นตระหนก ตัวส่ัน เสียงสั่น

พระรามเสนสงทูตไปสูขอนางจันทราวด ี

ไดสมรักกับผูที่ถูกตาตองใจ

มีความสุข ยิ้มแยมแจมใส

-

นกขุนทองเลานิทานใหพระรามเสนและนางจันทราวดีฟง

ความรักที่มอบใหผูเปนสาม ี

ปรนนิบัติเอาใจ

-

นกแกวเลานิทานให พระรามเสนและนางจันทราวดีฟง

รูสึกหลงรัก

แชมชื่นเบิกบานเมื่ออยูใกลคนรัก

-

นกแกวเลานิทานให พระรามเสนและนางจันทราวดีฟง

ไมสมหวังในรัก

เดือดรอนใจคดิอะไรโง ทําอะไรแปลกๆ

ตัวส่ัน ใจสั่น หววิๆ จะเปนลม

2

นกแกวเลานิทานให พระรามเสนและนางจันทราวดีฟง

ไดอยูกบัผูที่ถูกตาตองใจ

ตื่นเตน ดใีจ ยิ้มแยมแจมใส

เหงื่อออก ทํากิริยาแปลกๆ

Page 95: วิเคราะห รสวรรณคด ีที่ปรากฏในน ...kb.tsu.ac.th/jspui/bitstream/123456789/483/1/101310.pdfว เคราะห รสวรรณคด

90

ตารางที่ 1 ( ตอ ) เร่ืองท่ี เหตุการณ วิภาวะ อนุภาวะ สาตตวิกภาวะ

นกแกวเลานิทานให พระรามเสนและนางจันทราวดีฟง

ไมไดอยูกับชายผูเปนที่รัก

กระสับกระสาย ไมอยากทําอะไร

-

โสมทัตตพบรักกับ นางมัทนเสนา

ไมสมหวัง ไมไดอยูรวมกับผูเปนที่รัก

พรํ่าเพอรําพัน

อาการตะลึงงันเดินเขาไปจับมือหญิงโดยไมรูสึก ตัว

โสมทัตตทราบวา นางมัทนเสนากําลังจะแตงงาน

ไมสมหวังในรัก

พูดพรํ่ารําพันจะเปนจะตาย

ตะลึงงัน เหงื่อออก ขาดสติ ไมยับยั้ง ช่ังใจ

4

นางมัทนเสนาสารภาพกับโจรวาจะไปหาโสมทัตตผูเปนที่รัก

ไมสมหวังในรัก

พรํ่าเพอรําพัน

-

รักแรกพบทีน่างโศภนีมีตอนายโจร

รักที่ไมสมหวัง

รองไห ครํ่า-ครวญ พรํ่าเพออยางบาคลั่ง

เสียงเปลี่ยน ตัวส่ัน น้ําตาไหล

5

นางโศภนีฆาตวัตายตามนายโจร รักที่ไมสมหวัง

หมดอาลัยตายอยาก ยอมฆาตัวตายตามชายคนรัก

-

มนัสวีตกหลุมรักนางจันทรประภา

ผูที่ยังไมสมหวังในรัก

กระสับกระสายสลบไป

ใจสั่น ตัวส่ัน เปนลม

มนัสวีพรํ่าเพอถึงความรักที่มีตอนางจันทรประภา

ผูที่ยังไมสมหวังในรัก

พรํ่าเพอรําพัน

-

7

นางจันทรประภาพร่ําเพอถึงมนัสวีชายที่ตนหลงรัก

ผูที่ยังไมสมหวังในรัก

พรํ่าเพอรําพัน ไมกินไมนอน

-

Page 96: วิเคราะห รสวรรณคด ีที่ปรากฏในน ...kb.tsu.ac.th/jspui/bitstream/123456789/483/1/101310.pdfว เคราะห รสวรรณคด

91

ตารางที่ 1 ( ตอ ) เร่ืองท่ี เหตุการณ วิภาวะ อนุภาวะ สาตตวิกภาวะ

ลูกชายโกษาธบิดีหลงรัก มนัสวีที่ปลอมตัวเปนหญิงสะใภพราหมณ

ผูที่ยังไมสมหวังในรัก

พรํ่าเพอรําพัน อยากตาย

-

7

ลูกชายโกษาธบิดีหลงรัก มนัสวีที่ปลอมตัวเปนหญิงสะใภพราหมณ

ผูที่ยังไมสมหวังในรัก

พรํ่าเพอรําพัน กระวนกระวายใจ กระสับกระสาย

-

พระราชายศเกตุหลงรักนางทพิย รักของผูที่ยังไมสมหวัง

หมดอาลัยตายอยาก พรํ่าเพอรําพัน

-

พระราชายศเกตุออกตามหานางทิพย

รักที่ยังไมสมปรารถนา

กระสับกระสายทุรนทุราย

-

พระยศเกตุกระโจนลงทะเลตามนางทิพยทีจ่มลงไปในทะเล

ตองอยูหางจากของรัก

พรํ่าเพอรําพัน กระโจนลงทะเล

อาการ ตะลึงงัน

8

พระยศเกตุพบนางทิพยและไดครองรักกัน

ไดอยูกบัผูที่ถูกตาตองใจ

ยิ้มแยมแจมใส ชมายชายตาพูดจาดีออนหวาน

-

9

ความรักที่ไมสมหวังของ มหาเสน ี

อกหัก

หมดอาลัยตายอยาก พรํ่าเพอรําพัน ขูจะฆาตัวตาย

-

Page 97: วิเคราะห รสวรรณคด ีที่ปรากฏในน ...kb.tsu.ac.th/jspui/bitstream/123456789/483/1/101310.pdfว เคราะห รสวรรณคด

92

ตารางที่ 2 องคประกอบของหาสยรสในนทิานเวตาลฉบบัพระนิพนธกรมหมื่นพิทยาลงกรณ

เร่ืองท่ี เหตุการณ วิภาวะ อนุภาวะ สาตตวิกภาวะ พราหมณเฒาพยายามใชปากที่ไมมีฟนกดัผลอํามฤต

ความขบขันทีต่ัวละครพยายาม กัดผลไมทั้งที่ไมมีฟน

ยิ้มนอยๆ

-

ตนเรื่อง

พราหมณเฒาผัวไดรางวัลจากพระภรรตฤราช

ขบขันที่ตัวละครพยายามขนรางวัลแมในปากที่ไมฟนก็อมทองไว

ยิ้มนอยๆ

-

1 พระวัชรมุกุฏคิดคําเรียก นางปทมาวดไีมออก

ขบขันในการแสดงออกของตัวละคร

ยิ้ม

-

5

พระราชาปลอมตัวและไดสนทนากับโจร

ขบขันในกิริยาวาจาที่แปลกและตลก

หัวเราะเบาๆ

-

7

เวตาลแกลงจะเลาบทพิศวาสใหพระวกิรมาทิตยฟง

ถอยคําที่เวตาลพยายามยัว่ พระวกิรมาทิตย

หัวเราะ

-

พระธรรมธวัชพระราชบุตรของพระวกิรมาทิตยทรงนึกขันที่นางมุกดาวลีตอหัวตอตวัผิด

ตัวละครหวัเราะออกมาดังๆ

หัวเราะ

-

9

เวตาลหวัเราะที่พระวกิรมาทิตยตอบคําถาม

คําพูดและเสยีงหัวเราะของตัวละครเวตาล

ยิ้ม

-

Page 98: วิเคราะห รสวรรณคด ีที่ปรากฏในน ...kb.tsu.ac.th/jspui/bitstream/123456789/483/1/101310.pdfว เคราะห รสวรรณคด

93

ตารางที่ 3 องคประกอบของกรุณารสในนทิานเวตาลฉบบัพระนิพนธกรมหมื่นพิทยาลงกรณ

เร่ืองท่ี เหตุการณ วิภาวะ อนุภาวะ สาตตวิกภาวะ

ตนเรื่อง

การสิ้นพระชนมของพระชายาพระภรรตฤราช

พลัดพรากจากคนรักไมมีโอกาส จะกลับมาพบกันอีก

อาการซึมเซา

อาการตะลึงงันหนาและเสียงเปลี่ยน

การพลัดพรากและไมไดพบกันอีกระหวางนางรัตนาวดกีับนกขุนทอง

พลัดพรากจากผูเปนที่รักและจะไมไดพบกันอกี

รองไห

ครํ่าครวญ

ภาวะน้ําตาไหลเสียงเปลี่ยน

ชายหลังอูฐเสยีใจที ่นางรัตนาวดีปรนนิบัติตนอยางดีแมตนไดเคยลวงนางไปฆาแลวก็ตาม

ทรัพยสมบัติเสียหายและตกทุกขไดยากแตภรรยากย็ังปรนนิบัติดีอยู

อาการใจออนจนเกือบรองไห

-

2

นางชัยศิริใสรายศรีทัตผูเปนสามี

ประสบเคราะหกรรม โดนใสราย

รองไห

ภาวะตัวส่ัน น้ําตาไหล สีหนาและเสยีงเปลี่ยน

3

วีรพลยอมฆาลูกชายบูชา นางทุรคาเพื่อใหพระรูปเสนไมมีอันตราย

ฆาลูกและฆาตัวตายตาม

หมดอาลัยตายอยากจนฆาตัวตาย

-

เศรษฐีไปออนวอนของดโทษใหนายโจรเพราะบุตรสาวของตนหลงรัก

เคราะหกรรมที่ลูกสาวหลงรักโจร

อาการร่ําไหของเศรษฐี

ภาวะน้ําตาไหล

5

นายโจรทราบวาลูกสาวเศรษฐีหลงรักตน

ชะตากรรมของนายโจรและเคราะหกรรมของนางโศภน ี

การรองไห

ภาวะน้ําตาไหลสีหนาและเสยีงเปลี่ยน

Page 99: วิเคราะห รสวรรณคด ีที่ปรากฏในน ...kb.tsu.ac.th/jspui/bitstream/123456789/483/1/101310.pdfว เคราะห รสวรรณคด

94

ตารางที่ 3 ( ตอ )

เร่ืองท่ี เหตุการณ วิภาวะ อนุภาวะ สาตตวิกภาวะ 5

เศรษฐีฆาตัวตายตามบุตรีทีฆ่าตัวตายตามนายโจร

พลัดพรากจากลูกสาวอันเปนที่รัก

เสียใจหมดอาลัยตายอยาก จนฆาตัวตาย

-

ความทุกขของมนัสวีที่ตกหลุมรักนางจันทรประภา

ไมสมหวังในรัก ครํ่าครวญรําพัน

-

ทานโกษาธิบดีอยากใหบุตรชายสมหวังในหญงิสะใภพราหมณ

บุตรชายที่รักมีความทุกข

น้ําตาคลอตาและกลั้นไวไมใหไหล

-

7

ทาวสุพิจารยกหญิงสะใภพราหมณใหบตุรชายโกษาธบิดี

เคราะหกรรมของ นางจันทรประภาและมนัสว ีที่ปลอมตัวเปนหญิงสะใภพราหมณ

รองไห ครํ่าครวญ

ภาวะตะลึงงันหนาซีด

เสียงเปลี่ยน

พระยศเกตุฆาอสูรที่กินนางทิพยเขาไปและเขาใจวานางตายไปแลว

สูญเสียคนรัก

เสียใจจนสิ้นสติ

-

พระยศเกตุเขาใจวานางทิพยตายแลว

พลัดพรากจากคนรักโดยไมมีโอกาสพบกัน อีก

ทอดถอนใจครํ่าครวญ

-

นางทิพยไปอยูกับทาวยศเกตุจนวิชาเสื่อม

ประสบเคราะหกรรม

เศราโศกเสียใจ

เดือดรอนใจ

-

8

ทีรฆะทรรศินตรอมใจตายและพระยศเกตุเสียใจ

ทีรฆะทรรศิน เหนื่อยออนใจ และพระยศเกตุสูญเสียอํามาตย

ทีรฆะทรรศิน ตรอมใจตาย และพระยศเกตุเศราเสียใจ

-

Page 100: วิเคราะห รสวรรณคด ีที่ปรากฏในน ...kb.tsu.ac.th/jspui/bitstream/123456789/483/1/101310.pdfว เคราะห รสวรรณคด

95

ตารางที่ 3 ( ตอ )

เร่ืองท่ี เหตุการณ วิภาวะ อนุภาวะ สาตตวิกภาวะ มหาเสนีฆาตัวตาย

ไมสมหวังในรัก ตีอกชกตวัพรํ่ารําพันจนฆาตวัตาย

-

9

นางมุกดาวลีตอหัวตอตวัผิด

เคราะหกรรมที่ทําใหตอผิด

รองไหตีอกชกตัวควบคุมสติไมได

-

Page 101: วิเคราะห รสวรรณคด ีที่ปรากฏในน ...kb.tsu.ac.th/jspui/bitstream/123456789/483/1/101310.pdfว เคราะห รสวรรณคด

96

ตารางที่ 4 องคประกอบของเราทรรสในนิทานเวตาลฉบับพระนิพนธกรมหมื่นพิทยาลงกรณ

เร่ืองท่ี เหตุการณ วิภาวะ อนุภาวะ สาตตวิกภาวะนางพราหมณอีอกอุบายใหพราหมณเฒาไมกินผลอํามฤตเพราะไมตองการใหพราหมณเฒาเปนอมตะ

พราหมณเฒาไดยินคําพูดใสความของนางพราหมณ ี

โกรธจนตั้งใจจะโยนผลอํามฤตลงกองไฟ

-

อสูรปถพีบาลหามพระวิกรมาทิตยและพระราชบตุรเขาเมือง

ไดรับการดูหมิ่น

ตวาดอสูรปถพีบาล

-

โยคีศานติศีลโกรธที่ถูก นางวสันตเสนาหลอก

เจ็บใจจนอาฆาตจองเวร

กลาวคําสาปและฆาบุตรของตน

ภาวะตัวส่ัน หนาและเสียงเปลี่ยน

พระวกิรมาทิตยโกรธที่เวตาลหลุดไปไดขณะจับ

ไมไดดั่งใจ ส่ังราชบุตรฟนหวัเวตาลใหขาด

ภาวะตัวส่ัน

ตนเรื่อง

เวตาลแกลงยั่วพระวกิรมาทิตยวาตอบคําถามไมไดเพราะโง

ถูกดูหมิ่นวาโง

เงียบ

-

นางปทมาวดแีกลงทําอุบายทดสอบปญญาพระวัชรมุกุฏ

ตื่นตระหนกและแสรงทําทีวาไดรับการดูหมิ่นจากชายโง

ดุดาวากลาว พูดจาเกรี้ยวกราด

ภาวะตัวส่ัน เสียงเปลี่ยน

นางปทมาวดแีกลงทําอุบายทดสอบปญญาพระวัชรมุกุฏ

แสรงทําทีวานางนมดหูมิ่นตนซึ่งเปนพระราชธิดา

เอากระแจะจันทรตบแกม

-

1

นางปทมาวดแีกลงทําอุบายทดสอบปญญาพระวัชรมุกุฏ

แสรงทําทีวานางนมดหูมิ่นตนซึ่งเปนพระราชธิดา

ฉุดกระชากและผลักแมส่ือ

-

Page 102: วิเคราะห รสวรรณคด ีที่ปรากฏในน ...kb.tsu.ac.th/jspui/bitstream/123456789/483/1/101310.pdfว เคราะห รสวรรณคด

97

ตารางที่ 4 ( ตอ )

เร่ืองท่ี เหตุการณ วิภาวะ อนุภาวะ สาตตวิกภาวะ 1

พระวัชรมุกุฏคิดถึงพุทธิศริระมากจนนางปทมาวดีจับไดและไมพอใจจึงคิดฆาพุทธิศริระ

เจ็บใจ อิจฉาริษยาเพื่อนของคนรัก

ฝากขนมใสยาพิษไปใหพุทธิศริระ

-

2

นกแกวของพระรามเสนทะเลาะกับนกขุนทองของนางจันทราวดี

ทะเลาะทุมเถียง พูดใหเจ็บช้ําใจ

ลืมไวยากรณที่ตนถนัดและใชทกุวัน

ภาวะตัวส่ัน เสียงเปลี่ยน

3

เวตาลพูดเสยีดสีพระวิกรมาทิตย

ทุมเถียงและพูดจาดหูมิ่นใหเจ็บใจ

ตวาดและขู ทําราย

-

ทาวสุพิจารโกรธโกษาธิบดีที่มาสูขอหญิงสะใภพราหมณจากตน

ตื่นตระหนกและถูกดหูมิ่น

ตวาด ภาวะตัวส่ัน เสียงเปลี่ยน

เวตาลวิพากษวิจารณลักษณะตางๆของมนุษยทําใหพระวิกรมาทิตยไมพอใจ

คําพูดติเตียนลักษณะ ธรรมดามนุษย

หนีบเวตาลที่อยูในยามใหเจ็บ

-

พราหมณเฒามาทวงสะใภคนืจากทาวสุพิจาร

ถูกดูหมิ่น กลาวคําสาป ภาวะตัวส่ัน เสียงเปลี่ยน

7

มนัสวีกลับมาอางสิทธิในนางจันทรประภา แตนางไมยอมรับเพราะโกรธที่ถูกมนัสวีทอดทิ้ง

เสียใจที่ถูกทอดทิ้ง

ไมยอมรับมนัสวีเปนสามี

-

พระยศเกตุโกรธที่อสูรกินนางทิพยไป

ตกใจทีห่ญิงคนรักโดนทําราย

ฆาอสูรตาย

ภาวะตัวส่ัน

8

นางทิพยเลาเรือ่งที่พระบิดาโกรธจนสาปใหอสูรกลืนเขาไปทุกวนัขึ้น 14 ค่ํา

ความหวิ

กลาวคําสาป

-

Page 103: วิเคราะห รสวรรณคด ีที่ปรากฏในน ...kb.tsu.ac.th/jspui/bitstream/123456789/483/1/101310.pdfว เคราะห รสวรรณคด

98

ตารางที่ 4 ( ตอ ) เร่ืองท่ี เหตุการณ วิภาวะ อนุภาวะ สาตตวิกภาวะ

คุณากรโกรธที่นางมุกดาวลีไมเลือกตนเปนคูมหาเสนีอาละวาดในงานวิวาหนางมุกดาวลีกับรัตนทตัต

ไมสมหวังในรักผิดหวังอาฆาตจองเวร

จับหนวดบิด ตาแดงพดูจาวาราย ขาดสติ

เหงื่อออก น้ําตาไหล ภาวะตัวส่ัน เสียงเปลี่ยน

มหาเสนีอาละวาดในงานวิวาหนางมุกดาวลีกับรัตนทัตต

แคนเคืองที่ถูกหามปราม

ตวาด สงเสียงดัง

ภาวะตัวส่ัน เสียงเปลี่ยน

9

เวตาลแกลงแหยพระวกิรมาทิตยใหตอบคําถาม

แสดงความคิดเห็นไมตรงกัน

ตวาด

-

Page 104: วิเคราะห รสวรรณคด ีที่ปรากฏในน ...kb.tsu.ac.th/jspui/bitstream/123456789/483/1/101310.pdfว เคราะห รสวรรณคด

99

ตารางที่ 5 องคประกอบของวีรรสในนิทานเวตาลฉบับพระนิพนธกรมหมื่นพิทยาลงกรณ

เร่ืองท่ี เหตุการณ วิภาวะ อนุภาวะ สาตตวิกภาวะพระวกิรมาทิตยตอสูกับอสูรปถพีบาล

ตองการเอาชนะศัตรู

ทาทีที่มั่นคงและเขมแข็ง

-

พระวกิรมาทิตยไปพาเวตาลมาใหโยคีศานติศลีตามที่รับปากไว

ระลึกไดในสัญญา ความรับผิดชอบความกลาหาญไมเกรงกลัวตอศัตรูหรือปศาจ

สะกดความรูสึก ทาทีที่คงมั่นไมหวั่นไหว

-

ตนเรื่อง

พระวกิรมาทิตยเดินทางไปหา เวตาลในปาชา

กลาในการบังคับใจตน

ทาทีมั่นคงไมไหวหวัน่

-

ความกลาหาญของสุรเสน แมทัพของพระราชารูปเสน

รับผิดชอบในหนาที่ มีความกลาหาญในการรบ

กลาหาญ เฉลียวฉลาดในการทํางาน มีความเขมแข็ง

-

ความกลาหาญของวีรพลในการสูรบ

แสดงพละกําลังใหเห็นถึงความกลาเกง เขมแข็ง ไมขลาดกลัว

ทาทีมั่นคง เขมแข็ง ไมหวาดหวั่น

-

บุตรและภรรยาของวีรพลยอมสละชีวิตของตนเพื่อปกปองพระราชา

ยอมตายเพื่อตอบแทนบุญคุณ

เขมแข็งกลาสละชีวิตของตน

-

วีรพลมีความจงรักภักดี ยอมสละชีวิตลูกเพือ่ปกปองพระราชา

มุงมั่นตอบแทนคุณแผนดนิ

ยอมสละชีวิตบุตร

-

3

พระรูปเสนแอบดูเหตุการณที่วีรพลยอมสละชีวิตบุตรชาย

ระลึกในความดีของวีรพล

สละชีวิตตน ฆาตัวตายตาม

อาการตะลึงงัน

Page 105: วิเคราะห รสวรรณคด ีที่ปรากฏในน ...kb.tsu.ac.th/jspui/bitstream/123456789/483/1/101310.pdfว เคราะห รสวรรณคด

100

ตารางที่ 5 ( ตอ )

เร่ืองท่ี เหตุการณ วิภาวะ อนุภาวะ สาตตวิกภาวะ3 พระวกิรมาทิตยอธิบายความ

กลาหาญของพระรูปเสนใหเวตาลฟง

คุณธรรมประจําใจของตัวละคร

ยอมสละชีวิตตนเอง

-

พระรันธีระปลอมตัวไปจับโจร

ความสงสารเห็นใจประชาชนซึง่ถือเปนความรับผิดชอบ

ความมั่นคงเขมแข็ง ขะมักเขมน

-

การสูรบระหวางพระรันธีระกับนายโจร

มุงมั่นที่จะเอาชนะศัตรู

ทาทีมั่นคงเขมแข็ง

-

5

การสูรบระหวางพระรันธีระกับนายโจร

ตองการเอาชนะ แสดงไหวพรบิในการตอสู

ทาทีมั่นคงเขมแข็ง

-

10 การตอสูระหวางทาวมหาพลกับพวกภิลล

ตอสูเอาชนะศัตรูที่ปองราย

ทาทีมั่นคง เขมแข็ง

-

Page 106: วิเคราะห รสวรรณคด ีที่ปรากฏในน ...kb.tsu.ac.th/jspui/bitstream/123456789/483/1/101310.pdfว เคราะห รสวรรณคด

101

ตารางที่ 6 องคประกอบของภยานกรสในนิทานเวตาลฉบับพระนิพนธกรมหมื่นพิทยาลงกรณ

เร่ืองท่ี เหตุการณ วิภาวะ อนุภาวะ สาตตวิกภาวะ

ตนเรื่อง

บรรยายปาชาที่อยูของโยคีศานติศีล

ไดยินเสียงที่ผิดปกติ การเห็นภูตผีปศาจสัตวราย

อาการหยุดชะงัก

ภาวะตะลึงงัน

2 ปศาจกัดจมกูนางชัยศิริตอนหนีไปหาชายชู

เห็นภูตผีปศาจ

อาการตกใจ

ภาวะตะลึงงัน

7

ทาวสุพิจารกลวัคําสาปของพราหมณเฒา

ทําผิดสัญญา

การตกประหมา สงเสียงรองหาม

ภาวะตะลึงงน ตัวส่ัน หนาและเสียงเปลี่ยน

ผีมหาเสนีตามมาหลอกหลอน

ไดเหน็ภูตผีปศาจ

ตื่นตระหนกตกใจ วิ่งหนีหลบซอน

ภาวะขนลุก สีหนาเปลี่ยน

รัตนทัตตและคุณากรตามนางมุกดาวลีที่ถูกผีมหาเสนีหอบไปซอน

เดินทางในปาเปลี่ยวมีสัตวราย สภาพอากาศนากลัว

อาการเดี๋ยวรอนเดี๋ยวหนาว เดีย๋วแดดเดี๋ยวฝน

-

นางมุกดาวลีเลาความฝน ฝนถึงสิ่งที่นากลัว ผิดจากธรรมดา

สงเสียงปลอบประโลมและขูเกรี้ยวกราด

-

9

รัตนทัตต คุณากร และนางมุกดาวลี โดนโจรกิราตะดกัทําราย

เจอกับโจรรายจํานวนมาก

วิ่งหนไีปหลบเพื่อตั้งหลัก

-

พระวกิรมาทิตยพาเวตาลไปพบโยคีศานติศีล

ไดยินเสียงผิดปกติ การเห็นภูตผีปศาจ

นิ่งสงบ

-

ปลายเรื่อง

พระวกิรมาทิตยพาเวตาลไปพบโยคีศานติศีล

เห็นภูตผีปศาจ

นิ่งสงบ

-

Page 107: วิเคราะห รสวรรณคด ีที่ปรากฏในน ...kb.tsu.ac.th/jspui/bitstream/123456789/483/1/101310.pdfว เคราะห รสวรรณคด

102

ตารางที่ 7 องคประกอบของพีภตัสรสในนิทานเวตาลฉบับพระนิพนธกรมหมื่นพิทยาลงกรณ

เร่ืองท่ี เหตุการณ วิภาวะ อนุภาวะ สาตตวิกภาวะ

พระวกิรมาทิตยเกิดความเบื่อในการเปนโยคีอยูตามปา

ใชชีวิตอยูส่ิงที่ไมตองประสงค

กลับบานเมืองตามเดิม

-

ตนเรื่อง

บรรยายความนารังเกียจของปาชา

เห็นและสัมผัสส่ิงสกปรก ส่ิงที่ชวนสลดใจ

นิ่วหนา ขยะแขยง

ภาวะตะลึงงัน

7

นางจันทรประภาและมนัสวตีางก็เบื่อกันและกนั

ไดอยูและเหน็คนเดิมๆ

นั่งหาว ทําอะไรใหกันก็ไมพอใจ

-

Page 108: วิเคราะห รสวรรณคด ีที่ปรากฏในน ...kb.tsu.ac.th/jspui/bitstream/123456789/483/1/101310.pdfว เคราะห รสวรรณคด

103

ตารางที่ 8 องคประกอบของอัทภูตรสในนิทานเวตาลฉบับพระนิพนธกรมหมื่นพิทยาลงกรณ

เร่ืองท่ี เหตุการณ วิภาวะ อนุภาวะ สาตตวิกภาวะ เทวทูตลงมามอบผลอํามฤตใหพราหมณเฒา

ไดรับในสิ่งที่เปนทิพย

ความยินดีที่ไดรับผลไม

-

โยคีศานติศีลปลอมตัวเปนพอคามาถวายผลไมที่มีทับทิมเม็ดใหญอยูขางใน

ไดเหน็ในสิ่งทีม่ีคานาร่ืนรมย

ประหลาดใจในขนาดและความงดงามของเม็ดทับทิม

-

ตนเรื่อง

ลักษณะรูปรางของเวตาล

ไดเหน็ในสิ่งแปลกใหม นาพิศวง

ทําทาประหลาดใจ

-

3 วีรพลใชเงินคาจางแจกจายทาํทาน

แบงทรัพยที่คนสวนใหญพึงเก็บมาแจกจาย

ทาทางแปลกใจของผูรับรู

-

5

อธิบายความวิเศษที่มีอยูในตําราโจร

ไดเหน็สิ่งที่เปนมายา เวทมนตร

ทาทางประหลาดใจ

ภาวะตะลึงงัน

การใชตําราสังชีวนวีิทยาชุบชีวิต

ไดเหน็การชุบชีวิตคนตายใหฟน

ทําทาประหลาดใจ

ภาวะตะลึงงัน เหงื่อออก ขนลุก

6

การใชตําราชบุชีวิตคนตายใหฟน

ไดเหน็การชุบชีวิตคนตายใหฟน

ทําทาประหลาดใจ

ภาวะตะลึงงัน เหงื่อออก ขนลุก

7

อมลูกอมแลวกลายเปนหญิงสาวกับคนแก

ไดเหน็ในสิ่งที่เปนทิพย และนาปรารถนา

ทาทางประหลาดใจ

-

8 ตนกัลปพฤกษและนางทิพยผุดขึ้นจากทะเล

ไดเหน็ในสิ่งทิพยนาร่ืนรมย

ทาทางประหลาดใจ

ภาวะตะลึงงัน

Page 109: วิเคราะห รสวรรณคด ีที่ปรากฏในน ...kb.tsu.ac.th/jspui/bitstream/123456789/483/1/101310.pdfว เคราะห รสวรรณคด

104

ตารางที่ 8 ( ตอ )

เร่ืองท่ี เหตุการณ วิภาวะ อนุภาวะ สาตตวิกภาวะ พระยศเกตุกระโจนลงทะเลตามหานางทิพย

ไดเจอสถานที่งดงามนาร่ืนรมย

ทาทางประหลาดใจ

-

นางทิพยออกจากปากของอสูรที่กลืนนางเขาไปตามคําสาป

เห็นในสิ่งที่เปนอภินิหาร

ยินดวีิ่งเขาสวมกอด

ภาวะขนลุก น้ําตาไหล

8

พระยศเกตุพานางทิพยกระโจนลงอางใตทะเลและโผลที่สระในพระราชวัง

พบเห็นในสิ่งที่เปนทิพย

ทาทางประหลาดใจ

ภาวะตะลึงงัน

รถวิเศษที่พาคณุากรและ รัตนทัตตเหาะตามนางมุกดาวลี

พบเห็นในสิ่งที่เปนทิพย อภินิหารและเปนมายา

แปลกใจ

ประหลาดใจ

-

9

รัตนทัตตสอนเวทมนตรใหคุณากรและนางมุกดาวล ี

ชุบชีวิตคนตายใหฟนได

ประหลาดใจ

-

ปลายเรื่อง

พระวกิรมาทิตยฆาโยคี ศานติศีล

ไดเหน็ในสิ่งที่เปนทิพย ไดยนิเสียงพูด เสียงดนตรี เสียงอวยพร ดอกไมทิพยตกจากฟา

ประหลาดใจ

-

Page 110: วิเคราะห รสวรรณคด ีที่ปรากฏในน ...kb.tsu.ac.th/jspui/bitstream/123456789/483/1/101310.pdfว เคราะห รสวรรณคด

105

ตารางที่ 9 องคประกอบของศานตรสในนทิานเวตาลฉบบัพระนิพนธกรมหมื่นพิทยาลงกรณ

เร่ืองท่ี เหตุการณ วิภาวะ อนุภาวะ สาตตวิกภาวะตนเรื่อง พระภรรตฤราชเสียใจที่โดน

มเหสีหลอกเรือ่งผลอํามฤต เจอความหลอกลวงไมจริงใจในรัก

ทิ้งสมบัติ ออกบวช

-

6

ชายสามคนที่หมายปองหญงิคนเดียวกันและหญิงนั้นตายจากไป

สูญเสียหญิงผูเปนที่รัก

รักษาศีล ประพฤติตนเปนคนดีมีคุณธรรม

-

Page 111: วิเคราะห รสวรรณคด ีที่ปรากฏในน ...kb.tsu.ac.th/jspui/bitstream/123456789/483/1/101310.pdfว เคราะห รสวรรณคด

บทท่ี 4

บทยอ สรุปผล อภิปรายผล และขอเสนอแนะ บทยอ

วรรณคดีเร่ืองนิทานเวตาล ฉบับพระนิพนธกรมหมื่นพทิยาลงกรณ จดัเปนบทประพันธประเภทนิทานที่แสดงถึงความรูสึกนึกคิดและจินตนาการ กอใหเกิดความสนุกสนานเพลิดเพลินแฝงไวดวยคตสิอนใจ ผูประพันธเลือกเฟนถอยคําที่ทําใหเกิดสุนทรยีะทางอารมณ และเนื่องจากนิทานเวตาลเปนวรรณคดีทีไ่ดรับอิทธิพลจากอินเดีย เพราะเดิมนัน้มีอยูในหนังสือสันสกฤตเรื่องเวตาลปญจะวศึติ ถึงแมกรมหมื่นพิทยาลงกรณจะแปลจากฉบับภาษาอังกฤษของเซอร ริชารด เบอรตัน ก็ตาม แตกย็ังมีรสวรรณคดีตามแบบวรรณคดีสันสกฤตอยางสมบูรณ ผูวิจัยจึงสนใจทีจ่ะวิเคราะหรสทั้ง 9 รสที่ปรากฏในนิทานเวตาล ฉบับพระนิพนธกรมหมื่นพิทยาลงกรณ ตามแนวทางทฤษฎีรสวรรณคดสัีนสกฤต

ความมุงหมายของการศึกษาคนควา เพื่อวิเคราะหรสและองคประกอบของรสวรรณคดีที่ปรากฏในนิทานเวตาลฉบับพระนพินธกรมหมื่นพิทยาลงกรณ โดยใชทฤษฎีรสวรรณคดีสันสกฤต

ขอบเขตของการศึกษาคนควา

ในการวิเคราะหทฤษฎีรสวรรณคดีสันสกฤตในนิทานเวตาลฉบับพระนพินธกรมหมื่นพิทยาลงกรณ ผูวิจัยไดกําหนดขอบเขตของการวิเคราะหดังตอไปนี ้

ขอบเขตดานขอมูล ในการวิเคราะหคร้ังนี้ ผูวิจัยจะวิเคราะหขอมูลดานรสวรรณคดีและองคประกอบของรสวรรณคดีจากวรรณคดเีร่ืองนิทานเวตาลฉบับพระนิพนธกรมหมื่นพทิยาลงกรณ โดยจะวเิคราะหนิทานทั้ง 10 เร่ืองรวมทั้งตนเรื่องและปลายเรื่องดวย

ขอบเขตดานเนื้อหา การวิเคราะหรสวรรณคดีที่ปรากฏในนิทานเวตาล ฉบับพระนพินธกรมหมื่นพิทยา-ลงกรณ จะวิเคราะหตามทฤษฎีรสวรรณคดีสันสกฤต โดยวเิคราะหองคประกอบดานวภิาวะ ดานอนุภาวะ และดานสาตตวกิภาวะ ตามลําดบัรสวรรณคดดีังนี ้

Page 112: วิเคราะห รสวรรณคด ีที่ปรากฏในน ...kb.tsu.ac.th/jspui/bitstream/123456789/483/1/101310.pdfว เคราะห รสวรรณคด

107

1. ศฤงคารรส (รสแหงความรัก) 2 หาสยรส (รสแหงความสนุกสนาน) 3 กรุณารส (รสแหงความสงสาร) 4 เราทรรส (รสแหงความแคนเคือง) 5 วีรรส (รสแหงความชื่นชมในความกลาหาญ) 6 ภยานกรส (รสแหงความเกรงกลวั) 7 พีภัตสรส (รสแหงความเบื่อระอา ชิงชัง) 8 อัทภูตรส (รสแหงความอัศจรรยใจ) 9 ศานตรส (รสแหงความสงบใจ)

วิธีดําเนินการศึกษาคนควา ในการวิเคราะหคร้ังนี้ ผูวิจยัไดดําเนนิการตามขั้นตอนตอไปนี ้

1. ขั้นรวบรวมขอมูล 1.1 ศึกษารวบรวมเอกสารและงานวิจยัที่เกีย่วกบัรสและองคประกอบของรสวรรณคด ี 1.2 ศึกษารวบรวมเอกสารและงานวิจยัที่เกีย่วกบัวรรณคดีเร่ืองนิทานเวตาล

2. ขั้นศึกษาวิเคราะห ผูวิจัยไดวิเคราะหรสวรรณคดีสันสกฤตในนิทานเวตาลฉบับพระนิพนธกรมหมื่นพิทยาลงกรณ โดยดําเนินการดังนี ้ 2.1 พิจารณาคัดเลือกเนื้อหาในนทิานแตละเรื่อง เพื่อวิเคราะหแยกเปนรสตางๆ ตามทฤษฎีรสวรรณคดีสันสกฤต 2.2 พิจารณาเนื้อหาในแตละรส แลววิเคราะหองคประกอบในดานวภิาวะ อนุภาวะ และสาตตวิกภาวะของแตละรส

3. ขั้นสรุปผล อภปิรายผลและเสนอแนะ 3.1 สรุปผลการวิเคราะหและอภปิรายผล 3.2 เสนอผลการวิเคราะหโดยวิธีพรรณนาวเิคราะห

Page 113: วิเคราะห รสวรรณคด ีที่ปรากฏในน ...kb.tsu.ac.th/jspui/bitstream/123456789/483/1/101310.pdfว เคราะห รสวรรณคด

108

สรุปผล การวิเคราะหรสวรรณคดีที่ปรากฏในนิทานเวตาล ฉบับพระนิพนธกรมหมื่นพิทยาลงกรณ ตามทฤษฎีรสวรรณคดีสันสกฤต ปรากฏผลการวิเคราะหดังนี ้

1. ศฤงคารรส ผูวิจัยไดวเิคราะหศฤงคารรสและองคประกอบดานวภิาวะ อนภุาวะ และสาตตวิกภาวะ ปรากฏผลดังตอไปนี้ ศฤงคารรสในนิทานเวตาลมีครบทั้ง 2 ความรักของผูที่ไดอยูดวยกัน ( สัมโภคะ) ซ่ึงปรากฏอยูในตนเรือ่ง รวมทั้งในเรื่องที่ 1 , 2 , 4 , 7 , 8 , 9 มีวิภาวะตลอดถึงอนุภาวะในลักษณะดังนี้ เหตุของภาวะ ( วภิาวะ ) คือ การอยูกับผูที่ถูกตาตองใจ การอยูในบานเรือนหรือสถานที่ที่สวยงามเอื้อตอการแสดงความรัก การแตงตวังดงาม การลูบทาดวยของหอม การเที่ยวชมสวนหรือเลนสนุกสนาน การดูหรือฟงสิ่งที่เจริญหูเจริญตา สวนการแสดงผลของภาวะ ( อนุภาวะ) ไดแก พูดจาออนหวาน จริตกิริยาแชมชอย ชมายชายตา แชมชื่นมีความสุข ยิ้มแยมแจมใส และความรักของผูที่อยูหางกัน (วิประลัมภะ ) ซ่ึงปรากฏในเรื่องที่ 1 , 2 , 4 , 5 , 7 , 8 และ9 มีวภิาวะตลอดถึงอนุภาวะในลักษณะดังนี้ เหตุของภาวะ ( วภิาวะ ) คือ การตกหลุมรัก การไมสมหวังในรัก การพลัดพรากจากกนั มีการแสดงผลของภาวะ ( อนุภาวะ ) ไดแก ทาทางหมดอาลัยตายอยาก ซึมเซา สงสัย วิตกกังวล กระสับกระสาย พรํ่าเพอรําพัน ขาดสติ มีสาตต วิกภาวะ คือ ภาวะตะลึงงัน จากการตกหลุมรักซึ่งกันและกัน ความนาพิศวงของผูเปนที่รัก ภาวะตัวส่ัน เสียงสัน่ จากความตืน่ตระหนกกลวัไมสมหวังในรัก ความทุกขโศก ภาวะเปนลม ความเสียใจที่ตองสญูเสียคนรัก มคีวามทุกขโศก และภาวะน้ําตาไหลจากการสูญเสียคนรัก และบางเหตุการณไมปรากฏสาตตวิกภาวะ ซ่ึงศฤงคารรสนี้นับวาเปนรสวรรณคดีที่ปรากฏอยูมากที่สุด

2. หาสยรส ผูวิจัยไดวเิคราะหหาสยรสและองคประกอบดานวภิาวะ อนุภาวะ และสาตตวิกภาวะ ปรากฏผลดังตอไปนี้ หาสยรสที่เกิดจากการรบัรูความขบขันในนิทานเวตาลมีครบทั้ง 2 ลักษณะ ลักษณะแรกคือ ความขบขันที่เกดิจากผูอ่ืน กลาวคือการพดูหรือทําใหผูอ่ืนขบขัน ซ่ึงปรากฏอยูในตนเรื่อง กับเรื่องที่ 5 และ 7 ซ่ึงแสดงวิภาวะ ไดแก การพูด และการทาํกิริยาที่แปลกๆ ตลกๆ อีกลักษณะหนึ่งคือ ภาวะความขบขันที่เกิดแกตัวละครเอง ตัวละครรูสึกขันขึ้นมาเอง ซ่ึงปรากฏอยูในเรื่องที่ 1 และ 9 มีวภิาวะ คือ การหัวเราะในตัวละครจากการสนทนากัน ซ่ึงทั้ง 2 ลักษณะมีอนุภาวะเหมอืนกันไดแก การยิ้มหรือการหัวเราะ และไมปรากฏสาตตวิกภาวะในหาสยรส

3. กรุณารส ผูวิจัยไดวเิคราะหกรุณารสและองคประกอบดานวภิาวะ อนุภาวะ และสาตตวิกภาวะ ปรากฏผลดังตอไปนี้ กรุณารสในนิทานเวตาลนั้นมีความสงสารที่เกิดจากความทุกขโศก

Page 114: วิเคราะห รสวรรณคด ีที่ปรากฏในน ...kb.tsu.ac.th/jspui/bitstream/123456789/483/1/101310.pdfว เคราะห รสวรรณคด

109

เพียง 2 อยางจาก 3 อยาง คือ ความทุกขที่เกิดจากการเสือ่มทรัพย ซ่ึงปรากฏในเรื่องที่ 2 และความทุกขโศกที่เกดิจากเหตุวิบัตใินตนเรื่อง และเรื่องที่ 2 , 3 , 5 , 7 , 8 , 9 มีการแสดงวภิาวะและ อนุภาวะในลักษณะดังนี้ วภิาวะคือ การพลัดพรากพรากจากคนรักโดยไมมีโอกาสกลับมาพบกัน ทรัพยสมบัติเสียหาย ถูกฆา ถูกลงโทษ กักขังจองจํา ประสบเคราะหกรรม ตกทุกขไดยาก สวน อนุภาวะของความทกุขโศกแสดงออกโดย การรองไหครํ่าครวญ มีทั้งลักษณะของคนชั้นต่ําหรือสตรีที่ตีโพยตีพาย แบบคนชั้นสูงและชั้นกลางเมื่อประสบทุกขโศกจะตองกล้ันไวในใจไมรองไหครํ่าครวญ การทอดถอนใจ ทุมทอดตัว ตีอกชกหวั การตรอมใจตายหรือการฆาตัวตาย สวนสาตตวิกภาวะที่แสดงออกคอื ภาวะตะลึงงัน ภาวะสีหนาและเสยีงเปลี่ยน ภาวะน้ําตาไหล จากการพลัดพรากจากคนรัก ประสบเคราะหกรรม พบกับความทุกขโศก

4. เราทรรส ผูวิจัยไดวเิคราะหเราทรรสและองคประกอบดานวภิาวะ อนุภาวะ และสาตตวิกภาวะ ปรากฏผลดังตอไปนี้ เราทรรสในนิทานเวตาลนั้น เปนการรับรูความโกรธที่มักเกิดจากการทีผู่อ่ืนทําใหแคนเคืองหรือโกรธ ดังที่อธิบายไปแลวขางตนวาความโกรธนั้นมีหลายอยาง ไดแก ความโกรธที่เกิดจากศัตรู เกิดจากผูใหญ เกิดจากเพื่อนรัก เกิดจากคนรับใช และเกิดขึ้นเอง เราทรรสหรือรส แหงความโกรธแคนที่ปรากฏในนิทานเวตาลมากที่สุดคือ ความโกรธที่เกิดจากคนใช ถัดมาคือความโกรธที่เกิดจากศัตรู และความโกรธที่เกิดขึ้นเอง ทั้งหมดนี้มวีิภาวะของความโกรธสรุปไดคือ การพูดจาที่ทําใหเจ็บใจ การพูดดูหมิน่ การทะเลาะทุมเถยีงกัน ความอิจฉาริษยา และอาฆาตจองเวร และอนภุาวะทีแ่สดงออกมาคือ การตวาด การสาปแชง การใชกําลังฉุดกระชาก หรือการขมขูใหสํานึก ซ่ึงมักมีสาตตวิกภาวะหรือปฏิกิริยาคือ ภาวะตวัส่ัน ภาวะสีหนาและเสียงเปลี่ยน ภาวะเหงื่อออกและน้ําตาไหล ซ่ึงเกิดจากความโกรธแคน การดูหมิน่ และความกลัว และบางเหตกุารณไมปรากฏสาตตวิกภาว รสแหงความโกรธแคนหรือเราทรรสนี้ปรากฏอยูในนิทานเวตาลตอนตนเรื่อง นทิานเรื่องที่ 1 , 2 , 7 , 8 และ 9

5. วีรรส ผูวิจัยไดวิเคราะหวรีรสและองคประกอบดานวภิาวะ อนภุาวะ และ สาตตวิกภาวะ ปรากฏผลดังตอไปนี้ วีรรสที่ปรากฏในนิทานเวตาล มีความกลาหาญครบทั้ง 3 อยาง คือ ธรรมวีระ ( กลาประพฤติธรรมหรือหนาที่ ) ซ่ึงปรากฏมากที่สุด รองลงมาคือ รณวีระ ( กลารบ ) นอยที่สุดคือ ทานวีระ ( กลาให ) ธรรมวีระนี้ปรากฏอยูในตนเรื่อง ในเรื่องที่ 3 , 5 , 10 รณวีระปรากฏอยูในตอนตนเรื่อง ในเรื่องที่ 3 และ 5 สวนทานวีระปรากฏอยูในเรือ่งที่ 3 ซ่ึง วีรรสทั้งหมดนี้แสดงวิภาวะคือ ความมุงมั่นเอาชนะศตัรู ความสามารถในการบังคับใจตน ความมุงมั่นในการตอบแทนคุณแผนดิน ความสงสาร ระลึกไดตอความรับผิดชอบ รักษาสัญญา และการแสดงพละกําลัง อนุภาวะของความมุงมั่นในความกลาหาญคือ ทาทีที่มั่นคง ความเฉลียวฉลาดในการรบ ความเขมแข็งเด็ดเดีย่วไมหวั่นไหว การยอมสละชีวิตตนเอง มีสาตตวิกภาวะคือ

Page 115: วิเคราะห รสวรรณคด ีที่ปรากฏในน ...kb.tsu.ac.th/jspui/bitstream/123456789/483/1/101310.pdfว เคราะห รสวรรณคด

110

ภาวะตะลึงงัน จากการไดเหน็ความกลาหาญเสียสละของขาราชบริพาร และบางเหตุการณไมปรากฏสาตตวิกภาวะ 6. ภยานกรส ผูวิจัยไดวเิคราะหภยานกรสและองคประกอบดานวิภาวะ อนุภาวะ และสาตตวิกภาวะ ปรากฏผลดังตอไปนี้ ภยานกรสที่ปรากฏในนิทานเวตาล เกิดจากการรับรูความกลัวครบทั้ง 3 ประเภท คือ ความกลัวที่เกดิจากการหลอกลวง ซ่ึงปรากฏในตนเรื่อง เร่ืองที่ 9 และปลายเรื่อง สวนความกลวัที่เกิดจากการลงโทษนั้นปรากฏอยูในเรื่องที่ 2 และความกลัวที่เกิดจากการขมขูซ่ึงปรากฏอยูในเรื่องที่ 7 และ 9 ทั้งหมดนี้มวีิภาวะของความนากลัวคือ การเห็นภูตผีปศาจ สัตวราย การไปปาชา การไดเดนิทางในที่เปลี่ยวหรือปารก การกระทําความผิด อนุภาวะของความนากลวั คือ การตกใจตกประหมา การวิ่งหนี การสงเสียงดัง และมีสาตตวิกภาวะ คือ ภาวะตะลึงงัน เหงือ่ออก ขนลุก ตัวส่ัน สีหนาเปลี่ยน และเสียงเปลี่ยน จากการไดยนิเสียงผิดปกติ ไดเห็นภูตผีปศาจหรือสัตวราย และบางเหตุการณไมปรากฏสาตตวิกภาวะ 7. พีภัตสรส ผูวิจัยไดวเิคราะหพภีัตสรสและองคประกอบดานวภิาวะ อนุภาวะ และสาตตวิกภาวะ ปรากฏผลดังตอไปนี้ พีภตัสรสหรือรสที่เกิดจากการรับรูความนาเบื่อ นารังเกียจ แบงไดเปน 2 ประเภท คือเกิดจากสิ่งนารังเกียจที่ไมสกปรก ซ่ึงปรากฏอยูในตนเรื่อง และในเรื่องที่ 7 มีวิภาวะคือ การอยูกับสิ่งที่ไมสบอารมณ ไมถูกใจ อยูกับใครนานๆ มีอนุภาวะ คือ การกลับบานเมือง การนั่งหาว หรือไมพอใจพฤติกรรมของผูที่อยูดวย และ เกิดจากสิ่งนารังเกียจที่สกปรก ซ่ึงปรากฏอยูในตอนตนเรื่องตอนเดียว มีวภิาวะคือ การเห็นในสิ่งที่สกปรกชวนขยะแขยง มีอนุภาวะคือ การทําหนาทาทางขยะแขยงหรือนิ่วหนา แตก็ไมมาก เพราะเปนพระราชาจึงตองเก็บอาการไว สวนสาตตวกิภาวะคือ ภาวะตะลึงงัน จากการไดเห็นในสิ่งที่นาขยะแขยง และบางเหตุการณไมปรากฏสาตตวิกภาวะ 8. อัทภูตรส ผูวิจัยไดวเิคราะหอัทภูตรสและองคประกอบดานวภิาวะ อนุภาวะ และสาตตวิกภาวะ ปรากฏผลดังตอไปนี้ อัทภตูรสในนิทานเวตาลนี้ เกดิจากการรับรูความนาพิศวง 2 ประเภทคือ เกิดจากสิ่งที่เปนทิพยหรืออภนิิหาร ซ่ึงปรากฏอยูในตนเรือ่ง เร่ืองที่ 6 , 7 , 8 , 9 และปลายเรื่อง มีวภิาวะคือ การพบเห็นสิ่งที่เปนทิพย เปนปาฏิหาริยหรืออภินิหาร ไดไปพบเห็นสถานที่ที่งดงามนาร่ืนรมยการไดเห็นเวทมนตรมายาตางๆ สวนประเภทที่ 2 เกิดจากสิ่งที่นาร่ืนรมย ซ่ึงปรากฏอยูในเรื่องที่ 3 และ 8 ทั้ง 2 มีวิภาวะคอื การไดใหและรับในสิ่งทีพ่ึงปรารถนา ทั้งสองประเภทนี้มีอนุภาวะเหมือนกนัคือ ทาทางประหลาดใจ หรือเผลออุทาน แสดงปฏิกิริยา ( สาตตวิกภาวะ ) คือ ภาวะตะลึงงัน ภาวะเหงื่อออก ภาวะขนลุก และภาวะน้ําตาไหล จากการพบเห็นในสิ่งที่เปนทิพย อภินิหาร ปาฏิหาริย เวทมนตร และบางเหตกุารณไมปรากฏสาตตวิกภาวะ

Page 116: วิเคราะห รสวรรณคด ีที่ปรากฏในน ...kb.tsu.ac.th/jspui/bitstream/123456789/483/1/101310.pdfว เคราะห รสวรรณคด

111

9. ศานตรส ผูวิจัยไดวเิคราะหศานตรสและองคประกอบดานวภิาวะ อนุภาวะ และสาตตวิกภาวะ ปรากฏผลดังตอไปนี้ ศานตรสซึ่งปรากฏในนิทานเวตาลนี้ เปนภาวะสงบที่ทําใหคนออกบวช เพื่อแสวงหาความสงบที่ทําใหสบายใจ มักมีวิภาวะมาจาก ความผิดหวงั ความเศราเสียใจในรัก ซ่ึงแสดงอนุภาวะออกมาโดยการออกบวช การรักษาศีล 5 และศีล 8 และการประพฤติตัวใหดีมีคุณธรรม และไมปรากฏสาตตวิกภาวะ อภิปรายผล

การศึกษาครั้งนี้ทําใหเขาใจถึงรสวรรณคดีสันสกฤตและองคประกอบของแตละรสวรรณคดีที่ปรากฏในนิทานเวตาล ฉบับพระนิพนธกรมหมื่นพิทยาลงกรณไดอยางลกึซึ้ง อันนําไปเปนแนวทางการศึกษารสวรรณคดีตามทฤษฎีรสวรรณคดีสันสกฤตที่ปรากฏในวรรณคดีไทยเรื่องอ่ืนๆ เชน ศฤงคารรสที่ปรากฏระหวางอิเหนากับจินตหราวาตี และวหิยาสกําคลั่งไคลบุษบาในเร่ืองอิเหนา หาสยรส ที่ปรากฏจากบทบาทของเจาเงาะและทาวสามนตในเรื่องสังขทอง กรุณารสที่ปรากฏในกณัฑชูชก ซ่ึงพระชาลีกับพระกัณหาตองตกไปเปนทาสของชูชก จากรายยาวเรื่องมหาเวสสันดรชาดก เราทรรส ที่ปรากฏจากบทบาทของคเนาที่ถูกซมพลาแยงคนรัก จากเรื่องเงาะปา วีรรส จากบทบาทของหนุมานในเรื่องรามเกียรติ์ ภยานกรส ที่ปรากฏในตอนสุดสาครเขาเมืองผีดิบในเรื่องพระอภยัมณี พภีตัสรส ที่ปรากฏในความรูสึกของสุนทรภูเมื่อเห็นชาวเมอืงแกลงปรุงอาหารดวยอ่ึงอางและคาง ในนิราศเมืองแกลง อัทภูตรส ที่ปรากฏในตอนที่นางละเวงวณัฬาพบดินถนัน ซ่ึงกค็ือถันของพระธรณีเปนผลไมวิเศษทีเ่มื่อรับประทานแลวทําใหคงความเปนสาวไดถึง 300 ป จากเรือ่งพระอภยัมณ ี ศานตรสทีป่รากฏในการบรรลุนิพพานของเจาชายสิทธัทถะ จากเร่ืองปฐมโพธิกถา ซ่ึงสามารถนําลักษณะของวิภาวะ อนุภาวะ และสาตตวิกภาวะไปวิเคราะหรสวรรณคดีที่ปรากฏในวรรณคดีไทยเรื่องดงักลาวเหลานีไ้ด

นอกจากใชวเิคราะหวรรณคดีดังกลาวแลว งานวิจยัเร่ืองนี้ยังเปนแนวทางใหนําไปปรับปรุงประยุกตใชในการเรียนการสอน การศึกษาเรื่องทฤษฎีรสวรรณคดีตามทฤษฎีรสวรรณคดีสันสฤตที่ปรากฏในวรรณคดีสําหรับนักเรยีนและผูที่สนใจศึกษาคนควา เชน ศฤงคารรสในเรื่องมัทนะพาธา ของนักเรียนชวงชั้นที่ 4 เราทรรสในเรื่องขุนชางขุนแผน ของนักเรียนชวงชั้นที่ 4 วีรรสในเรื่องรามเกียรติ์ ของนักเรียนชวงชัน้ที่ 3 อัทภูตรสในเรื่องพระอภยัมณี ของนักเรียนชวงช้ันที่ 3 เปนตน

นอกจากนั้น ผลของการศึกษาคนควาทําใหเขาใจอารมณความรูสึกทีก่วีถายทอดออกมาพรอมทั้งเขาใจปฏิกิริยาทางอารมณที่เกิดขึน้ในใจของผูอานอยางละเอยีดและมหีลักเกณฑแนนอน

Page 117: วิเคราะห รสวรรณคด ีที่ปรากฏในน ...kb.tsu.ac.th/jspui/bitstream/123456789/483/1/101310.pdfว เคราะห รสวรรณคด

112

เชน เมื่อศึกษาวิภาวะและอนุภาวะ จะทําใหเขาใจเหตุการณที่เปนเหตแุละผลที่กวีตองการถายทอดใหเห็นภาพโดยละเอียด สวนสาตตวิกภาวะ ก็ชวยใหเขาใจถึงการแสดงออกที่เกิดขึน้ตามธรรมชาติ ไมสามารถควบคุมปฏิกิริยาเหลานั้นไมใหเกิดขึ้นได นับวาการศึกษาครั้งนี้ไดประโยชนจากทฤษฎีรสอยางเต็มที่ในการศึกษาอารมณความรูสึกของกวีและผูอานวรรณคดไีทยเรื่องอื่นๆ

จากการที่ผูวจิยัไดอานวรรณคดีเร่ืองนิทานเวตาล ฉบบัพระนิพนธกรมหมื่นพิทยาลงกรณ โดยละเอยีดเพือ่ศึกษารสวรรณคดีสันสกฤตนั้น ผูวิจยัไดรับความเพลิดเพลินและมีอารมณคลอยตามเนื้อเร่ืองในวรรณคดี มคีวามสุข สนุกขบขัน เศรา ซาบซึ้ง ไปตามการดําเนนิเรือ่งของนิทานในแตละตอน ทั้งนี้ อารมณที่เกิดหลากหลายนั้น เปนเพราะวรรณคดีฉบับนี้แปลจากวรรณคดีอินเดีย ซ่ึงถือวาเปนแหลงอารยธรรมและแหลงความรูสําคัญของวรรณคดีตะวันออก โดยเฉพาะตอนที่พระภรรตฤราชรูสึกเจ็บปวดกับความรกัจนตองออกบวช กวีบรรยายถึงความมายาของความรักและไมมีส่ิงอื่นใดสุขเทาความสงบ ผูอานจึงไดรับรูรสแหงความสงบหรือศานตรสลึกซึ้งขึ้น รวมทั้งโวหารของผูแปลที่ถายทอดออกมา เพื่อแสดงถึงลักษณะยัว่ลอและเจาคารมของเวตาล เปนตน นับวาวรรณคดีเร่ืองนี้มีคณุคาดวยความเดนดานรสวรรณคดีเปนสําคัญ

ผูวิจัยเห็นวาผลการวิเคราะหคร้ังนี้จะชวยใหผูสนใจไดประจักษในคณุคาของวรรณคดีไทยในแงของรสวรรณคดีมากขึน้ เนื่องจากรสวรรณคดีนั้นนับวาเปนสวนสําคัญที่ทําใหเนื้อเร่ืองติดใจคน การรับรูรสวรรณคดีโดยความรูสึกเพยีงอยางเดียว เปนไดแตการซาบซึ้งเฉพาะตัวบุคคล แตการพิจารณารสวรรณคดีอยางมีหลักเกณฑ โดยรูจักแยกองคประกอบทําใหความซาบซึ้งในรสวรรณคดีนัน้ เปนไปอยางมแีงมุมพิจารณา สามารถเขาใจเรื่องไดลึกซึ้งยิ่งขึ้น ชวยอธิบายใหผูอ่ืนเขาใจความไดชัดเจนขึ้น และเปนแนวทางในการวิเคราะหวิจารณอยางเปนระบบ ขอเสนอแนะ

ขอเสนอแนะทั่วไป นําหลักการวิเคราะหไปปรบัปรุงประยุกตใชในการเรียนการสอน การศึกษาเรื่องทฤษฎีรส

วรรณคดีตามทฤษฎีรสวรรณคดีสันสฤตที่ปรากฏในวรรณคดีเร่ืองอื่นๆ สําหรับนักเรียนและผูที่สนใจศึกษาคนควา

ขอเสนอแนะสําหรับการวิจัย 1. วิเคราะหรสวรรณคดีในวรรณคดีที่ไดรับอิทธิพลจากวรรณคดตีะวันออกเรื่องอืน่ๆ 2. วิเคราะหขอคิด คําคม หรือโวหารดีเดน ที่ไดจากวรรณคดีเร่ืองนิทานเวตาล ฉบบั

พระนิพนธกรมหมื่นพิทยาลงกรณ

Page 118: วิเคราะห รสวรรณคด ีที่ปรากฏในน ...kb.tsu.ac.th/jspui/bitstream/123456789/483/1/101310.pdfว เคราะห รสวรรณคด

บรรณานุกรม

Page 119: วิเคราะห รสวรรณคด ีที่ปรากฏในน ...kb.tsu.ac.th/jspui/bitstream/123456789/483/1/101310.pdfว เคราะห รสวรรณคด

114

บรรณานุกรม กระแสร มาลยาภรณ. วรรณคดีเปรียบเทยีบเบื้องตน. กรุงเทพฯ : โรงพิมพเนติศกึษา, 2516. กัลยา พลายชุม. วิเคราะหอุเทนคําฉันทของพระสมุหหนู ฉบับศูนยวฒันธรรมภาคใต. ปริญญานิพนธ กศ.ม. สงขลา : มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒภาคใต, 2538. ถายเอกสาร. กุสุมา รักษมณ.ี การวิเคราะหวรรณคดีไทยตามทฤษฎวีรรณคดีสันสกฤต. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยศลิปากร, 2534. กุหลาบ มัลลิกะมาส. ความรูทั่วไปทางวรรณคดีไทย. พิมพคร้ังที่ 6. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ ชวนพิมพ, 2531. จิตรลดา สุวัตถิกุล. “องคประกอบทางสุนทรียศาสตร สุนทรียภาพในความ,” ใน

เอกสารประกอบการสอนชุดภาษาไทย 7 (หนวยที่ 1 – 8). หนา 189-244. พิมพคร้ังที่ 3 นนทบุรี : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2538.

ชลธิรา สัตยาวัฒนา. “ นิทานเวตาลเพชรน้ําเอกในวรรณกรรมไทย,” ใน น.ม.ส.อัจฉริยะกวีศรี รัตนโกสินทร. หนา 20-28. กรุงเทพฯ : กรมวิชาการ, 2541.

ธนันต พิสัยสวัสดิ์. การวิเคราะหวรรณคดีอีสานเรื่อง ขุนทึง. ปริญญานิพนธ กศ.ม. พิษณุโลก : มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ พิษณุโลก, 2531. อัดสําเนา. นงลักษณ แชมโชติ. หาสยรสในวรรณกรรมรอยกรองของไทย สมัยรัตนโกสินทร พ.ศ. 2325 – พ.ศ. 2475. ปริญญานิพนธ กศ.ม. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, 2521. อัดสําเนา. นิตยา แกวคัลนา. “เวตาลปกรณัมกับการนํามาสรางสรรควรรณกรรมรอยกรองของไทย, ” ใน ภาษาและวรรณคดีไทย. หนา 29 – 46. นครปฐม : มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2546. เบญจมาศ พลอินทร. พื้นฐานวรรณคดแีละวรรณกรรมไทย. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร, 2526. เบญจวรรณ สงสมบูรณ. บทละครเสภาเรื่อง ขุนชางขุนแผน : การศึกษาในเชิงวรรณคดีวเิคราะห. ปริญญานิพนธ กศ.ม. ชลบุรี : มหาวิทยาลัยบูรพา, 2540. ถายเอกสาร. ปรมินท จารุวร. “ องคประกอบของนิทานซอนนิทานในนิทานเวตาล, ” ภาษาและวรรณคดีไทย.

17 : 38 - 62 ; ธันวาคม 2543. ประภาพร สุวรรณไตรย. อวัจนสารที่ปรากฎในวรรณคดีจากหนังสือเรียนภาษาไทยชุด วรรณวจิักษณและชุดภาษาพจิารณ. ปริญญานิพนธ กศ.ม. มหาสารคาม : มหาวิทยาลัย มหาสารคาม, 2536. ถายเอกสาร.

Page 120: วิเคราะห รสวรรณคด ีที่ปรากฏในน ...kb.tsu.ac.th/jspui/bitstream/123456789/483/1/101310.pdfว เคราะห รสวรรณคด

115

ประสิทธิ์ กาพยกลอน. แนวทางการศึกษาวรรณคด ี ภาษากว ี การวจิกัษณและวิจารณ. พิมพคร้ังที่ 2. กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานชิ, 2518.

ปญญา บริสุทธิ์. วิเคราะหวรรณคดีไทยโดยประเภท. พิมพคร้ังที่ 2. กรุงเทพฯ : ราชบัณฑิตยสถาน, 2542.

ภาวณิ ี โชติมณ.ี การวิเคราะหวีรรสในรามเกียรติ์ฉบับพระราชนิพนธในรัชกาลที่ 2. ปริญญานิพนธ กศ.ม. สงขลา : มหาวิทยาลัยทักษณิ, 2543. ถายเอกสาร. ร่ืนฤทัย สัจจพันธุ. “ อิทธิพลวรรณคดีอินเดีย, ” ใน เอกสารการสอนชุดภาษาไทย 4 ( หนวยที ่8 – 15 ). หนา 308-327. พิมพคร้ังที่ 2 นนทบุรี : มหาวิทยาลัย สุโขทัยธรรมาธิราช, 2526. วงเดือน สุขบาง. การศึกษาพระปฐมโพธกิถาในแนวสนุทรียะ. ปริญญานิพนธ กศ.ม. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, 2524. อัดสําเนา. วาคภฏ. อลังการศาสตร. แปลโดย ป.ส. ศาสตรี. ม.ป.ท. , ม.ป.ป. ศศิธร แสงเจรญิ. การวิเคราะหศฤงคารรสในพระนลคําหลวง สาวิตรี ศกุนตลา มัทนะพาธา. วิทยานพินธ ศศ.ม. ปตตานี : มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร, 2537. ถายเอกสาร. สายทิพย นุกลูกิจ. เอกสารประกอบการสอนวิชาภาษาไทย 321 : วรรณคดีวจิารณ. กรุงเทพฯ :

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ บางเขน, 2523. อนุมานราชธน, พระยา. การศึกษาวรรณคดีแงวรรณศิลป. พิมพคร้ังที่ 5. กรุงเทพฯ : ศยาม, 2546.

Page 121: วิเคราะห รสวรรณคด ีที่ปรากฏในน ...kb.tsu.ac.th/jspui/bitstream/123456789/483/1/101310.pdfว เคราะห รสวรรณคด

บทคัดยอ

Page 122: วิเคราะห รสวรรณคด ีที่ปรากฏในน ...kb.tsu.ac.th/jspui/bitstream/123456789/483/1/101310.pdfว เคราะห รสวรรณคด

117

วิเคราะหรสวรรณคดีท่ีปรากฏในนิทานเวตาล ฉบับพระนิพนธกรมหมื่นพิทยาลงกรณ ตามทฤษฎีรสวรรณคดีสันสกฤต

บทคัดยอ ของ

ภัสรธีรา ฉลองเดช

เสนอตอมหาวิทยาลัยทักษิณ เพื่อเปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตร

ปริญญาการศึกษามหาบัณฑติ วิชาเอกภาษาไทย ธันวาคม 2548

ลิขสิทธ์ิเปนของมหาวิทยาลัยทักษิณ

Page 123: วิเคราะห รสวรรณคด ีที่ปรากฏในน ...kb.tsu.ac.th/jspui/bitstream/123456789/483/1/101310.pdfว เคราะห รสวรรณคด

118

วิทยานิพนธฉบับนี้มีจุดมุงหมายเพื่อวิเคราะหรสและองคประกอบของวรรณคดีที่ปรากฏในนิทานเวตาล ฉบับพระนพินธกรมหมื่นพิทยาลงกรณ โดยใชทฤษฎรีสวรรณคดีสันสกฤต ซ่ึงมี 9 รส รวมทั้งวิเคราะหองคประกอบดานวิภาวะ ดานอนุภาวะ และดานสาตตวิกภาวะรวมในแตละรสดวย และเสนอผลการวิเคราะหโดยวิธีการพรรณนาวเิคราะห ผลการวิเคราะหปรากฏวา รสวรรณคดีที่ปรากฏอยูมากที่สุด คือ ศฤงคารรส รองลงมาคือ เราทรรส กรุณารส อัทภูตรส วีรรส ภยานกรส หาสยรส พีภัตสรส และศานตรส ตามลําดับ เมื่อวิเคราะหองคประกอบดานวภิาวะ ดานอนภุาวะ และดานสาตตวิกภาวะ ในแตละรส พบวา ในรสทั้ง 9 รสนี้ ไดแสดงวภิาวะ อนุภาวะ รวมประกอบของภาวะทั้ง 2 ไวครบทุกรส สวนองคประกอบดานสาตตวิกภาวะจะปรากฏอยูในบางเหตุการณของรสเพียง 7 รส โดยไมปรากฏเลยในหาสยรสและศานตรส

Page 124: วิเคราะห รสวรรณคด ีที่ปรากฏในน ...kb.tsu.ac.th/jspui/bitstream/123456789/483/1/101310.pdfว เคราะห รสวรรณคด

119

AN ANALYSIS OF RASA IN BIDYALANKARANA’S VERSION OF TALES OF VETALA WITH SANSKRIT RASA THEORY

AN ABSTRACT

BY PARSTHEERA CHALONGDET

Presented in partial fulfillment for the requirements of the Master Of Education degree in Thai

At Thaksin University December, 2005

Copyrighted by Thaksin University

Page 125: วิเคราะห รสวรรณคด ีที่ปรากฏในน ...kb.tsu.ac.th/jspui/bitstream/123456789/483/1/101310.pdfว เคราะห รสวรรณคด

120

This Thesis is aimed to analyze the rasa and its literary components as appeared in Bidyalankaran’s version of Tales of Vetala by means of Sanskrit Rasa theory. The Rasa theory comprises nine kinds of rasa, each of whose components consists of vibhava ( a cause or causes of conditions given to each character by the poet or author ), anubhava ( results of conditions or expressions as expressed through a given character ), and satatavigabhava ( natural or uncontrolled expressions placed upon a given character ) Through a descriptive analysis, it is found that in a descending order the topmost is Love Rasa ( sa-ring-kaan-ra-rasa ) ; and the next are Anger Rasa ( rau-ta-ra-rasa ), Mercy Rasa ( ka-ru-na-rasa ), Astonishment Rasa ( at-bhu-ta-rasa), Bravery - Praise Rasa ( vi-ra-sara ), Fear Rasa ( bha-ya-na-ga-rasa ), Amusement Rasa ( ha-sa-ya-rasa ), Hatred Rasa ( phi-bha-sa-rasa ), and Peace Rasa ( sa-na-ta-rasa ), respectively. It is also found that among three given conditions the first two are found in full in all nine kinds of rasa while the last one is somewhat found in seven kind, but it is neither found in Amusement Rasa ( ha-sa-ya-rasa ) nor in Peace Rasa ( sa-na-ta-rasa )

Page 126: วิเคราะห รสวรรณคด ีที่ปรากฏในน ...kb.tsu.ac.th/jspui/bitstream/123456789/483/1/101310.pdfว เคราะห รสวรรณคด

121

ประวัติยอของผูวิจัย ช่ือ นางสาวภัสรธีรา ฉลองเดช วัน เดือน ปเกดิ 24 มกราคม 2519 สถานที่เกิด อําเภอหาดใหญ จังหวดัสงขลา สถานที่อยูปจจุบัน 14 ซอย 4 ถนนรัตนอุทิศ อําเภอหาดใหญ จังหวดัสงขลา ตําแหนงหนาที่การงานปจจบุัน ครูโรงเรียนบานวังสายทอง สถานที่ทํางานปจจุบัน โรงเรียนบานวังสายทอง ตาํบลน้ําผุด อําเภอละงู จังหวัดสตูล ประวัติการศึกษา พ.ศ. 2537 ช้ันมัธยมศึกษาปที่ 6 จากโรงเรียนมหาวชริาวุธ จังหวัดสงขลา พ.ศ. 2541 ครุศาสตรบัณฑิต ( ภาษาไทย ) จากสถาบันราชภัฏสงขลา

จังหวดัสงขลา พ.ศ. 2548 การศึกษามหาบัณฑิต ( ภาษาไทย ) จากมหาวิทยาลัยทักษิณ

จังหวดัสงขลา