€¦ · web view4. การประเม นก จกรรมกล...

126
วววว วววววววววว วววววววว วววววววววว วววววววว วววววววว ววว วววววววว ววว ววววววววว วววววววววววววววววววววววววว ววววววววววววววววววววววววววว วววววววววววววววววววววว วววววววว

Upload: others

Post on 01-Jan-2020

14 views

Category:

Documents


1 download

TRANSCRIPT

( วิชา เครื่องส่งวิทยุ)

(รหัสวิชา 2105 2010)

(กู้เกียรติ ดวงพลพรมตำแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชำนาญการแผนกวิชาช่างอิเล็กทรอนิกส์วิทยาลัยการอาชีพวังไกลกังวลสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ)

รหัสวิชา

2105–2010

ชื่อวิชา

เครื่องส่งวิทยุ

ท–ป–น

1–3–2

เพื่อให้

1. เข้าใจหลักการทำงานของเครื่องส่งวิทยุ AM, FM และสายอากาศ

2. เข้าใจในกฎระเบียบข้อบังคับสากลในการรับ - ส่งวิทยุกระจายเสียง

3. มีทักษะในการสร้างและทดสอบการทำงานของเครื่องส่งวิทยุ AM, FM และสายอากาศ

4. มีกิจนิสัยในการทำงานด้วยความประณีต รอบคอบและปลอดภัย

1. แสดงความรู้เกี่ยวกับการใช้งานเครื่องส่งวิทยุระบบ AM, FM และสายอากาศ

2. ประกอบ ทดสอบ ปรับแต่งและใช้งานวงจรเครื่องส่งวิทยุระบบ AM, FM และสายอากาศ

ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับย่านความถี่ คุณลักษณะของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า คุณสมบัติของ R, L, C ในเครื่องส่งวิทยุ วงจรกรองความถี่วิทยุแบบ RC, RL, LC, RLC วงจร จูนแบบต่างๆ และการหาค่า Impedance dB Attenuation ratio Band width gain (Q) โดยใช้ Response Curve วงจรเครื่องส่งวิทยุภาคต่างๆ เช่น วงจร Oscillator แบบต่างๆ วงจรขยายความถี่สูง วงจรขยายกำลังความถี่สูง วงจรทวีคูณความถี่วิทยุ วงจรผสมคลื่นความถี่วิทยุแบบ AM, FM การวัดและทดสอบการทำงานของเครื่องส่งวิทยุด้วยเครื่องมือต่างๆ เช่น Dip Meter Wattmeter SWR Meter Impedance Meter dB Meter Field Strength Meter กฎระเบียบข้อบังคับเกี่ยวกับอุปกรณ์ที่ใช้ในงานส่งวิทยุและระบบสายอากาศ

คำนำ

คู่มือการใช้เอกสารประกอบการสอน วิชา เครื่องส่งวิทยุ รหัสวิชา 2105–2010 เล่มนี้

เรียบเรียงขึ้นเพื่อใช้ประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ตรงตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556 สาขาวิชาไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ สาขางานอิเล็กทรอนิกส์ ของสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ

คู่มือการใช้นี้ประกอบด้วย ส่วนหน้ามีคำนำ สารบัญ รายละเอียดจุดประสงค์รายวิชา มาตรฐานรายวิชาและคำอธิบายรายวิชา ตารางวิเคราะห์หลักสูตรรายวิชา ตารางวิเคราะห์จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม และโครงการสอน ส่วนแผนการจัดการเรียนรู้มีหัวข้อเรื่อง สาระสำคัญ จุดประสงค์ การเรียนรู้ เนื้อหาสาระ กิจกรรมการเรียนรู้ การวัดผลและประเมินผล งานที่มอบหมาย เอกสารอ้างอิง และบันทึกหลังการสอน ส่วนภาคผนวก ประกอบด้วยแบบทดสอบก่อนเรียน-หลังเรียน เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน-หลังเรียน เฉลยแบบฝึกหัด เฉลยใบกิจกรรม เฉลยใบงาน แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ และจะใช้ร่วมกับเอกสารประกอบ การสอน (ภาคทฤษฎี) ซึ่งประกอบด้วยเนื้อหาภาคทฤษฎีทั้งหมด 9 หน่วย คือ หน่วยที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบการส่งวิทยุ หน่วยที่ 2 วงจรกรองความถี่ หน่วยที่ 3 วงจรจูนความถี่วิทยุ หน่วยที่ 4 เครื่องส่งวิทยุ หน่วยที่ 5 วงจรผสมคลื่นความถี่วิทยุแบบ AM – FM หน่วยที่ 6 เครื่องส่งวิทยุ AM หน่วยที่ 7 เครื่องส่งวิทยุ FM หน่วยที่ 8 เครื่องมือวัดที่ใช้ในงานเครื่องรับวิทยุ หน่วยที่ 9 กฎระเบียบข้อบังคับเกี่ยวกับอุปกรณ์ที่ใช้ในงานส่งวิทยุ เอกสารประกอบการสอน (ภาคปฏิบัติ) ซึ่งประกอบด้วย ใบงานที่สอดคล้องกับภาคทฤษฎี 9 ใบงาน คือ ใบงานที่ 1 การใช้เครื่องกำเนิดสัญญาณ วิทยุและการวัดค่า ใบงานที่ 2 วงจรกรองความถี่ ใบงานที่ 3 วงจรจูนความถี่วิทยุ ใบงานที่ 4 เครื่องส่งวิทยุ ใบงานที่ 5 วงจรผสมคลื่นความถี่วิทยุแบบ AM – FM ใบงานที่ 6 เครื่องส่งวิทยุ AM ใบงานที่ 7 เครื่องส่งวิทยุ FM ใบงานที่ 8 เครื่องมือวัดที่ใช้ในงานเครื่องรับวิทยุ ใบงานที่ 9 กฎระเบียบข้อบังคับเกี่ยวกับอุปกรณ์ที่ใช้ในงานส่งวิทยุ

ผู้จัดทำขอขอบพระคุณ ท่านที่ได้อ้างถึงในการจัดทำเอกสาร ท่านผู้ทรงคุณวุฒิท่านผู้เชี่ยวชาญ ที่ได้ให้คำปรึกษา ข้อเสนอแนะและแนวทางในการพัฒนาเอกสาร จนคู่มือการใช้เล่มนี้เสร็จสมบูรณ์ หากมีข้อผิดพลาดประการใด ผู้จัดทำขอรับคำติชมด้วยความขอบคุณยิ่ง

นายกู้เกียรติ ดวงพลพรม

ครูชำนาญการ

วิทยาลัยการอาชีพวังไกลกังวล

สารบัญ

คำนำ ..........................................................................................................................................ก

สารบัญ .......................................................................................................................................ข

จุดประสงค์รายวิชา มาตรฐานรายวิชาและคำอธิบายรายวิชา ...................................................จ

ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้องของเนื้อหากับจุดประสงค์รายวิชา มาตรฐานรายวิชาและคำอธิบาย

รายวิชา.......................................................................................................................................ฉ

ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้องของเนื้อหากับจุดประสงค์รายวิชาและมาตรฐานรายวิชา..........ช

ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้องของเนื้อหากับจุดประสงค์รายวิชาและมาตรฐานรายวิชา

และคำอธิบายรายวิชา……………………………………………………………………………………………………ซ

ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้องของเนื้อหารายวิชากับจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม.......................ฎ

ตารางวิเคราะห์หลักสูตรรายวิชา................................................................................................ต

ตารางวิเคราะห์จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม...................................................................................ธ

โครงการสอน .............................................................................................................................น

การวัดผลและประเมินผล ..........................................................................................................ผ

แผนการจัดการเรียนรู้ ………………………………………………………………………………………………….1

หน่วยที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบการส่งวิทยุ

แบบทดสอบก่อนเรียน หน่วยที่ 1 .............................................................................................2

คลื่น (WAVE)..............................................................................................................................5

คลื่นเสียง (AUDIO WAVE) ......................................................................................................7

คลื่นวิทยุ (RADIO WAVE)..........................................................................................................9

แบบฝึกหัดที่ 1.1 …………………..................................................................................................15

ชั้นบรรยากาศ (ATMOSPHERE)…………………………………….......................................................16

การแพร่กระจายคลื่นวิทยุ ..........................................................................................................17

สรุปสาระสำคัญ ……………………………………………………………………………………………………………21

แบบฝึกหัดที่ 1.2 ………………………………………..........................................................................23

กิจกรรมที่ 1 ……………………………………………..........................................................................24

ใบงานที่ 1 ………………………………………………………………………………......................................25

แบบทดสอบหลังเรียน …………..................................................................................................30

เฉลยแบบฝึกหัดที่ 1.1 …………………………………………………………………………………………….. 32

เฉลยแบบฝึกหัดที่ 1.2 …………………………………………………………………………………………….. 34

เฉลยกิจกรรมที่ 1 …………………………………………………………………………………………………….. 35

เฉลยใบงานที่ 1 ……………………………………………………………………………………………………….36

เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน …………...........................................................................................40

แบบประเมินผลงานที่ 1 ………………………………………………………………………………………………...41

แบบประเมินคุณธรรมจริยธรรมและค่านิยม …………………………………………………………………….42

บรรณานุกรม ………………………………………………………………………………………………………………43

สารบัญภาพ

ภาพที่หน้า

ภาพที่ 1.1คลื่น....................................................................................................................5

ภาพที่ 1.2การสะบักเชือก...................................................................................................5

ภาพที่ 1.3พลังงานถ่ายโอนผ่านคลื่น …………………………...................................................6

ภาพที่ 1.4แสดงส่วนประกอบต่าง ๆ ของคลื่นตามขวาง....................................................6

ภาพที่ 1.5การเดินทางของคลื่น ……………………………………………………………………...........7

ภาพที่ 1.6แสดงการเคลื่อนที่ของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า …………………………….......................8

ภาพที่ 1.7แสดงลักษณะการสะท้อนแสดงเปรียบเทียบระหว่างวัตถุต่างชนิดกันที่ช่วงคลื่น ต่าง ๆ กัน ตารางวิเคราะห์จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม........................................9

ภาพที่ 1.8แสดงช่วงความถี่ของคลื่นวิทยุ ..........................................................................9

ภาพที่ 1.9แสดงการสะท้อนคลื่น …....................................................................................11

ภาพที่ 1.10แสดงมุมการสะท้อนคลื่น ..................................................................................12

ภาพที่ 1.11การหักเหของคลื่น ............................................................................................12

ภาพที่ 1.12แสดงการเบี่ยงเบนของคลื่น .............................................................................13

ภาพที่ 1.13แสดงการเบี่ยงเบนของคลื่นผ่านวัตถุ….…….......................................................14

ภาพที่ 1.14แสดงชั้นบรรยากาศ...........................................................................................16

ภาพที่ 1.15คลื่นฟ้าและคลื่นดิน .........................................................................................18

ภาพที่ 1.16การส่งคลื่นดิน ……………………..........................................................................18

ภาพที่ 1.17การแพร่กระจายคลื่นฟ้า ..……………………………………......................................19

ภาพที่ 1.18คลื่นตรง (DIRECT WAVE) …………………………………………………………………….20

สารบัญตาราง

ตารางที่หน้า

ตารางที่ 1.1แสดงย่านความถี่ ............................................................................................10

ตารางที่ 1.2แสดงย่านความถี่ .............................................................................................11

จุดประสงค์รายวิชา มาตรฐานรายวิชา และคำอธิบายรายวิชา

ชื่อวิชา เครื่องส่งวิทยุ รหัสวิชา 2105–2010

ระดับชั้น ปวช. หน่วยกิต 2 จำนวนคาบสอน 4 คาบ: สัปดาห์

หน้าที่

1/1

จุดประสงค์รายวิชา

1. เข้าใจหลักการทำงานของเครื่องส่งวิทยุ AM, FM และสายอากาศ

2. เข้าใจในกฎระเบียบข้อบังคับสากลในการรับ - ส่งวิทยุกระจายเสียง

3. มีทักษะในการสร้างและทดสอบการทำงานของเครื่องส่งวิทยุ AM, FM และสายอากาศ

4. มีกิจนิสัยในการทำงานด้วยความประณีต รอบคอบและปลอดภัย

สมรรถนะรายวิชา

1. แสดงความรู้เกี่ยวกับการใช้งานเครื่องส่งวิทยุระบบ AM, FM และสายอากาศ

2. ประกอบ ทดสอบ ปรับแต่งและใช้งานวงจรเครื่องส่งวิทยุระบบ AM, FM และสายอากาศ

คำอธิบายรายวิชา

ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับย่านความถี่ คุณลักษณะของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า คุณสมบัติของ R, L, C ในเครื่องส่งวิทยุ วงจรกรองความถี่วิทยุแบบ RC, RL, LC, RLC วงจร จูนแบบต่าง ๆ และการหาค่า Impedance dB Attenuation ratio Band width gain (Q) โดยใช้ Response Curve วงจรเครื่องส่งวิทยุภาคต่างๆ เช่น วงจร Oscillator แบบต่างๆ วงจรขยายความถี่สูง วงจรขยายกำลังความถี่สูง วงจรทวีคูณความถี่วิทยุ วงจรผสมคลื่นความถี่วิทยุแบบ AM, FM การวัดและทดสอบการทำงานของเครื่องส่งวิทยุด้วยเครื่องมือต่างๆ เช่น Dip Meter Wattmeter SWR Meter Impedance Meter dB Meter Field Strength Meter กฎระเบียบข้อบังคับเกี่ยวกับอุปกรณ์ที่ใช้ในงานส่งวิทยุและระบบสายอากาศ

ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้องของเนื้อหา

กับจุดประสงค์รายวิชา มาตรฐานรายวิชาและคำอธิบายรายวิชา

ชื่อวิชา เครื่องส่งวิทยุ รหัสวิชา 2105–22010

ระดับชั้น ปวช. หน่วยกิต 2 จำนวนคาบสอน 4 คาบ: สัปดาห์

หน้าที่

1/1

ชื่อหน่วย

ที่มา

จุดประสงค์รายวิชา

มาตรฐานรายวิชา

คำอธิบายรายวิชา

1. ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบการส่งวิทยุ

2. วงจรกรองความถี่วิทยุ

3.วงจรจูนความถี่วิทยุ

4. วงจรผสมคลื่นความถี่วิทยุแบบ AM – FM

5. เครื่องส่งวิทยุ

6. เครื่องส่งวิทยุ AM

7. เครื่องส่งวิทยุ FM

8. เครื่องมือวัดที่ใช้ในงานเครื่องส่งวิทยุ

9. กฎระเบียบข้อบังคับเกี่ยวกับอุปกรณ์ที่ใช้ในงานส่งวิทยุ

ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้องของเนื้อหา

กับจุดประสงค์รายวิชา มาตรฐานรายวิชาและคำอธิบายรายวิชา

ชื่อวิชา เครื่องส่งวิทยุ รหัสวิชา 2105–2010

ระดับชั้น ปวช. หน่วยกิต 2 จำนวนคาบสอน 4 คาบ: สัปดาห์

หน้าที่

1/5

ลำดับ

ชื่อหน่วยการเรียนรู้

จุดประสงค์การเรียนรู้

สมรรถนะรายวิชา

1

2

3

4

1

2

1.

หน่วยที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบการส่งวิทยุ

1.1 คลื่น

1.2 คลื่นเสียง

1.3 คลื่นวิทยุ

1.4 ชั้นบรรยากาศ

1.5 การแพร่คลื่นวิทยุ

1.6 สรุปสาระสำคัญ

ใบงานที่ 1 การใช้เครื่องกำเนิดสัญญาณ

วิทยุและการวัดค่า

2.

หน่วยที่ 2 วงจรกรองความถี่วิทยุ

2.1 คุณสมบัติของ RLC

2.2 วงจรกรองความถี่วิทยุแบบ R-C

2.3 วงจรกรองความถี่วิทยุแบบ R-L

2.4 วงจรกรองความถี่วิทยุแบบ L-C

2.5 วงจรกรองความถี่วิทยุแบบ R-RL-C

2.6 คริสตอลฟิลเตอร์

2.7 สรุปสาระสำคัญ

ใบงานที่ 2 วงจรกรองความถี่

ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้องของเนื้อหา

กับจุดประสงค์รายวิชา มาตรฐานรายวิชาและคำอธิบายรายวิชา

ชื่อวิชา เครื่องส่งวิทยุ รหัสวิชา 2105–2010

ระดับชั้น ปวช. หน่วยกิต 2 จำนวนคาบสอน 4 คาบ: สัปดาห์

หน้าที่

1/5

ลำดับ

ชื่อหน่วยการเรียนรู้

จุดประสงค์การเรียนรู้

สมรรถนะรายวิชา

1

2

3

4

1

2

3.

หน่วยที่ 3 วงจรจูนความถี่วิทยุ

3.1 คุณสมบัติเบื้องต้นของวงจร TUN

3.2 วงจรจูนออสซิเลเตอร์

3.3 วงจรขยายสัญญาณแบบซิงเกิลจูน

3.4 วงจรขยายสัญญาณแบบดับเบิลจูน

3.5 สแตกเกอร์จูน

3.6 หน่วยวัดต่าง

3.7 สรุปสาระสำคัญ

ใบงานที่ 3 วงจรจูนความถี่วิทยุ

4.

หน่วยที่ 4 วงจรผสมคลื่นวิทยุแบบ

AM-FM

4.1 การผสมคลื่นทางแอมปลิจูด( AM )

4.2 การผสมคลื่นทางความถี่( FM )

4.3 การผสมคลื่นทางเฟส( PM )

4.3 สรุปสาระสำคัญ

ใบงานที่ 4 วงจรผสมคลื่นวิทยุแบบ AM-FM

ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้องของเนื้อหา

กับจุดประสงค์รายวิชา มาตรฐานรายวิชาและคำอธิบายรายวิชา

ชื่อวิชา เครื่องส่งวิทยุ รหัสวิชา 2105–2010

ระดับชั้น ปวช. หน่วยกิต 2 จำนวนคาบสอน 4 คาบ: สัปดาห์

ลำดับ

ชื่อหน่วยการเรียนรู้

จุดประสงค์การเรียนรู้

สมรรถนะรายวิชา

1

2

3

4

1

2

5.

หน่วยที่ 5 เครื่องส่งวิทยุ

5.1 เครื่องส่งวิทยุ

5.2 วงจรออสซิเลเตอร์

5.3 วงจรมัลติพลาย

5.4 วงจรขยายกำลัง

5.5 สรุปสาระสำคัญ

ใบงานที่ 5 เครื่องส่งวิทยุ

6.

หน่วยที่ 6 เครื่องส่งวิทยุ AM

6.1 เครื่องส่งวิทยุ AM แบบ DSB-SC

6.2 เครื่องส่งวิทยุ AM แบบ DSB-LC

6.3 เครื่องส่งวิทยุ AM แบบ SSB-SC และ SSB-LC

6.4 เครื่องส่งวิทยุ AM แบบ STEREO

6.5 สรุปสาระสำคัญ

ใบงานที่ 6 เครื่องส่งวิทยุ AM

ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้องของเนื้อหา

กับจุดประสงค์รายวิชา มาตรฐานรายวิชาและคำอธิบายรายวิชา

ชื่อวิชา เครื่องส่งวิทยุ รหัสวิชา 2105–2010

ระดับชั้น ปวช. หน่วยกิต 2 จำนวนคาบสอน 4 คาบ: สัปดาห์

หน้าที่

1/5

ลำดับ

ชื่อหน่วยการเรียนรู้

จุดประสงค์การเรียนรู้

สมรรถนะรายวิชา

1

2

3

4

1

2

7.

หน่วยที่ 7 เครื่องส่งวิทยุ FM

7.1 วิทยุกระจายเสียงระบบ FM

7.2 เครื่องส่งวิทยุสื่อสาร

7.3 ระบบ SCA

7.4 การนำระบบดิจิตอลมาใช้ในงานวิทยุกระจายเสียง

7.5 สรุปสาระสำคัญ

ใบงานที่ 7 เครื่องส่งวิทยุ FM

8.

หน่วยที่ 8 เครื่องมือวัดที่ใช้ในงานเครื่องส่งวิทยุ

8.1 วัตต์มิเตอร์

8.2 SWR METER

8.3 ดิฟมิเตอร์

8.4 อิมพีแดนซ์มิเตอร์

8.5 dB METER

8.6 FIELD STRENGTH METER

8.7 สรุปสาระสำคัญ

ใบงานที่ 8 เครื่องมือวัดที่ใช้ในงานเครื่องส่งวิทยุ

ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้องของเนื้อหา

กับจุดประสงค์รายวิชา มาตรฐานรายวิชาและคำอธิบายรายวิชา

ชื่อวิชา เครื่องส่งวิทยุ รหัสวิชา 2105–2010

ระดับชั้น ปวช. หน่วยกิต 2 จำนวนคาบสอน 4 คาบ: สัปดาห์

หน้าที่

3/5

ลำดับ

ชื่อหน่วยการเรียนรู้

จุดประสงค์การเรียนรู้

สมรรถนะรายวิชา

1

2

3

4

1

2

9.

หน่วยที่ 9 กฏระเบียบข้อบังคับเกี่ยวกับอุปกรณ์ที่ใช้ในงานส่งวิทยุ

9.1 กฎระเบียบข้อบังคับเกี่ยวกับอุปกรณ์ที่ใช้ในงานส่งวิทยุและระบบสายอากาศ9.2 กฎกระทรวง

9.3 กฎระเบียบข้อบังคับเกี่ยวกับอุปกรณ์ที่ใช้ในวิทยุสื่อสาร

9.4 พระราชบัญญัติวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2502

9.5 กฎระเบียบข้อบังคับเกี่ยวกับอุปกรณ์ที่ใช้ในวิทยุสื่อสาร

9.4 สรุปสาระสำคัญ

9.5 ระเบียบคณะกรรมการบริหารวิทยุ

กระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์

9.6 สรุปสาระสำคัญ

ใบงานที่ 9 กฏระเบียบข้อบังคับเกี่ยวกับอุปกรณ์ที่ใช้ในงานส่งวิทยุ

ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้องของเนื้อหารายวิชา

กับจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม

ชื่อวิชา เครื่องส่งวิทยุ รหัสวิชา 2105–2010

ระดับชั้น ปวช. หน่วยกิต 2 จำนวนคาบสอน 4 คาบ: สัปดาห์

หน้าที่

1/11

หน่วยที่ 1 ย่านความถี่และคุณลักษณะของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า

เนื้อหารายวิชา

จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม

1.1 คลื่น

1. อธิบายส่วนประกอบของคลื่นได้

1.2 คลื่นเสียง

2. อธิบายส่วนประกอบของคลื่นได้

1.3 คลื่นวิทยุ

3. อธิบายคุณสมบัติของคลื่นวิทยุได้

1.4 ชันบรรยากาศ

5. อธิบายการจำแนกชั้นบรรยากาศได้

1.5 การแพร่กระจายคลื่นวิทยุ

6. อธิบายการกระจายคลื่นวิทยุแบบต่างๆได้

1.6 ใบงานที่ 1.การใช้เครื่องกำเนิด สัญญาณวิทยุและการวัดค่า

7. ใช้เครื่องมือวัดหาค่าต่างของคลื่นวิทยุได้

หน่วยที่ 2 วงจรกรองความถี่ ( FILTER CIRCUIT )

เนื้อหารายวิชา

จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม

2.1 คุณสมบัติของ RLC

1. อธิบายคุณสมบัติของ RLC ได้

2.2 วงจรกรองความถี่วิทยุแบบ R-C

2. อธิบายการทำงานวงจรกรองความถี่วิทยุแบบ R-C ได้

2.3 วงจรกรองความถี่วิทยุแบบ R-L

3. อธิบายทำงานวงจรกรองความถี่วิทยุแบบ R-L ได้

2.4 วงจรกรองความถี่วิทยุแบบ L-C

4. อธิบายการทำงานวงจรกรองความถี่วิทยุแบบ L-C

2.5 วงจรกรองความถี่วิทยุแบบ R-L-C

6. อธิบายการทำงานวงจรกรองความถี่วิทยุแบบ R-L-C

2.6 คริสตอลฟิลเตอร์

7. อธิบายการทำงาน คริสตอลฟิลเตอร์ได้

2.7 ใบงานที่ 2 วงจรกรองความถี่

(FILTER CIRCUIT)

8. ใช้เครื่องมือวัดค่าความถี่ในวงจรกรองความถี่ได้

ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้องของเนื้อหารายวิชา

กับจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม

ชื่อวิชา เครื่องส่งวิทยุ รหัสวิชา 2105–2010

ระดับชั้น ปวช. หน่วยกิต 2 จำนวนคาบสอน 4 คาบ: สัปดาห์

หน้าที่

2/11

หน่วยที่ 3 วงจรจูนความถี่วิทยุ

เนื้อหารายวิชา

จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม

3.1 คุณสมบัติเบื้องต้นของวงจร TUNE

1. อธิบายคุณสมบัติเบื้องต้นของวงจร TUNE ได้

3.2 วงจรจูนออสซิเลเตอร์

2. อธิบายการทำงาน วงจรจูนออสซิเลเตอร์ ได้

3.3 วงจรขยายสัญญาณแบบซิงเกิลจูน

3. อธิบายการทำงานวงจรขยายสัญญาณแบบซิงเกิลจูนได้

3.4 วงจรขยายสัญญาณแบบดับเบิลจูน

4. อธิบายการทำงานวงจรขยายสัญญาณแบบดับเบิลจูนได้

3.5 สแตกเกอร์จูน

5. อธิบายการทำงานวงจรสแตกเกอร์จูนได้

3.6 หน่วยวัดต่าง

6. อธิบายหน่วยวัดต่างได้

3.7 ใบงานที่ 3 วงจรเรโซแนนซ์

8. ใช้เครื่องมือวัดค่าความถี่ในวงจรวงจรเรโซแนนซ์ได้

หน่วยที่ 4 การผสมคลื่นวิทยุแบบ AM-FM

เนื้อหารายวิชา

จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม

4.1 การผสมคลื่นวิทยุทางแอมปลิจู(AM )

1. อธิบายการผสมคลื่นวิทยุทางแอมปลิจูด( AM ) ได้

4.2 การผสมคลื่นวิทยุทางความถี่( FM )

2. อธิบายการผสมคลื่นวิทยุทางความถี่( FM ) ได้

4.2 การผสมคลื่นวิทยุทางเฟส( PM )

2. อธิบายการผสมคลื่นวิทยุทางเฟส( PM )ได้

4.3 ใบงานที่ 4 การผสมคลื่นวิทยุแบบ

AM, FM

3. ใช้เครื่องมือวัดค่าสัญญาณความถี่ในวงจรการผสมคลื่น

AM, FM ได้

ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้องของเนื้อหารายวิชา

กับจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม

ชื่อวิชา เครื่องส่งวิทยุ รหัสวิชา 2105–2010

ระดับชั้น ปวช. หน่วยกิต 2 จำนวนคาบสอน 4 คาบ: สัปดาห์

หน้าที่

3/11

หน่วยที่ 5 เครื่องส่งวิทยุ

เนื้อหารายวิชา

จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม

5.1 เครื่องส่งวิทยุ

1. อธิบายการทำงาน เครื่องส่งวิทยุ ได้

5.2 วงจรออสซิเลเตอร์

2. อธิบายการทำงานวงจรออสซิเลเตอร์แบบต่างๆได้

5.3 วงจรมัลติพลาย

3. อธิบายการทำงานวงจรมัลติพลายได้

5.4 วงจรขยายกำลัง

5. อธิบายการทำงานวงจรขยายกำลังได้

5.5 ใบงานที่ 5 เครื่องส่งวิทยุ

6. วัดทดสอบสัญญาณในวงจรเครื่องส่งวิทยุได้

หน่วยที่ 6 เครื่องส่งวิทยุ AM

เนื้อหารายวิชา

จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม

6.1 เครื่องส่งวิทยุ AM แบบ DSB-SC

1. อธิบายการหลักการทำงานเครื่องส่งวิทยุ AM แบบ DSB-SC ได้

6.2 เครื่องส่งวิทยุ AM แบบ DSB-LC

2. อธิบายการหลักการทำงานเครื่องส่งวิทยุ AM แบบ DSB-LC ได้

6.3 เครื่องส่งวิทยุ AM แบบ SSB-SC และSSB-LC

3. อธิบายการหลักการทำงานเครื่องส่งวิทยุ AM แบบ SSB-SC และ SSB-LC ได้

6.4 เครื่องส่งวิทยุ AM แบบ STEREO

4. อธิบายการหลักการทำงานเครื่องส่งวิทยุ AM แบบ STEREO

6.5 ใบงานที่ 6 เครื่องส่งวิทยุ AM

5. ประกอบเครื่องส่งวิทยุ เครื่องส่งวิทยุ AM ได้

6. วัดทดสอบการทำงานภาคต่างในเครื่องส่งวิทยุ

เครื่องส่งวิทยุ AM ได้

ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้องของเนื้อหารายวิชา

กับจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม

ชื่อวิชา เครื่องส่งวิทยุ รหัสวิชา 2105–2010

ระดับชั้น ปวช. หน่วยกิต 2 จำนวนคาบสอน 4 คาบ: สัปดาห์

หน้าที่

3/11

หน่วยที่ 7 เครื่องส่งวิทยุ FM

เนื้อหารายวิชา

จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม

7.1 วิทยุกระจายเสียงระบบ FM

1. อธิบายการทำงาน วิทยุกระจายเสียงระบบ FM ได้

7.2 เครื่องส่งวิทยุสื่อสาร

2. อธิบายการทำงาน เครื่องส่งวิทยุสื่อสารได้

7.3 ระบบ SCA

3. อธิบายการทำงาน ระบบ SCA ได้

7.4 การนำระบบดิจิตอลมาใช้ในงานวิทยุกระจายเสียง

4. อธิบายการถึงความสำคัญของการนำระบบดิจิตอลมาใช้ในงานวิทยุกระจายเสียงได้

7.5 ใบงานที่ 7 เครื่องส่งวิทยุ FM

5. ประกอบเครื่องส่งวิทยุ เครื่องส่งวิทยุ FM ได้

6. วัดทดสอบการทำงานภาคต่างในเครื่องส่งวิทยุ

เครื่องส่งวิทยุ FM ได้

หน่วยที่ 8 เครื่องมือวัดที่ใช้ในงานเครื่องส่งวิทยุ

เนื้อหารายวิชา

จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม

8.1 วัตต์มิเตอร์

1. อธิบายการใช้งาน วัตต์มิเตอร์ ได้

8.2 SWR METER

2. อธิบายการใช้งาน SWR METER ได้

8.3 ดิฟมิเตอร์

3. อธิบายการใช้งาน ดิฟมิเตอร์ได้

8.4 อิมพีแดนซ์มิเตอร์

4. อธิบายการใช้งาน อิมพีแดนซ์มิเตอร์ได้

8.5 dB METER

5. อธิบายการใช้งาน dB METER ได้

8.6 FIELD STRENGTH METER

6. อธิบายการใช้งาน FIELD STRENGTH METER ได้

8.7 ใบงานที่ 8 เครื่องมือวัดที่ใช้ในงาน

เครื่องส่งวิทยุ

7. ใช้เครื่องมือวัดทดสอบการแมตซ์ของเครื่องส่งวิทยุกับ

สายอากาศได้

ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้องของเนื้อหารายวิชา

กับจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม

ชื่อวิชา เครื่องส่งวิทยุ รหัสวิชา 2105–2010

ระดับชั้น ปวช. หน่วยกิต 2 จำนวนคาบสอน 4 คาบ: สัปดาห์

หน้าที่

3/11

หน่วยที่ 9 กฎระเบียบข้อบังคับเกี่ยวกับอุปกรณ์ที่ใช้ในงานส่งวิทยุ

เนื้อหารายวิชา

จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม

9.1 กฎระเบียบข้อบังคับเกี่ยวกับอุปกรณ์ที่ใช้ในงานส่งวิทยุและระบบสายอากาศ

1. สามารถอธิบายกฎระเบียบข้อบังคับเกี่ยวกับอุปกรณ์ที่ใช้ในงานส่งวิทยุและระบบสายอากาศได้

9.2 กฎกระทรวง

2.สามารถอธิบายกฎกระทรวงที่เกียวข้องกับ

วิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ได้

9.3 กฎระเบียบข้อบังคับเกี่ยวกับอุปกรณ์ที่ใช้

ในวิทยุสื่อสาร

3.สามารถอธิบายกฎระเบียบข้อบังคับเกี่ยวกับอุปกรณ์ที่ใช้ในวิทยุสื่อสารได้

9.4 พระราชบัญญัติวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2502

4. สามารถอธิบาพระราชบัญญัติวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2502

9.5 ระเบียบคณะกรรมการบริหารวิทยุ

กระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์

5. สามารถอธิบาระเบียบคณะกรรมการบริหารวิทยุ

กระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์

9.6 ใบงานที่ 9 กฎระเบียบข้อบังคับเกี่ยวกับ

อุปกรณ์ที่ใช้ในงานส่งวิทยุ

6.แสดงถึงลำดับขั้นตอนการของการจัดตั้งสถานีวิทยุ

ตารางวิเคราะห์หลักสูตรรายวิชา

ชื่อวิชา เครื่องส่งวิทยุ รหัสวิชา 2105–2010

ระดับชั้น ปวช. หน่วยกิต 2 จำนวนคาบสอน 4 คาบ: สัปดาห์

หน้าที่

1/3

ภาคทฤษฎี

ภาคปฏิบัติ

ชื่อหน่วย

หัวข้อเรื่อง

หน่วยที่ 1

ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบการส่งวิทยุ

1.1 คลื่น

1.2 คลื่นเสียง

1.3 คลื่นวิทยุ

1.4 ชั้นบรรยากาศ

1.5 การแพร่คลื่นวิทยุ

1.6 สรุปสาระสำคัญ

ใบงานที่ 1

การใช้เครื่องกำเนิดสัญญาณวิทยุและการวัดค่า

หน่วยที่ 2

วงจรกรองความถี่( FILTER CIRCUIT )

2.1 คุณสมบัติของ RLC

2.2 วงจรกรองความถี่วิทยุแบบ R-C

2.3 วงจรกรองความถี่วิทยุแบบ R-L

2.4 วงจรกรองความถี่วิทยุแบบ L-C

2.5 วงจรกรองความถี่วิทยุแบบ R-RL-2.6 คริสตอลฟิลเตอร์

2.6 สรุปสาระสำคัญ

ใบงานที่ 2

วงจรกรองความถี่( FILTER CIRCUIT)

หน่วยที่ 3

วงจรจูนความถี่วิทยุ

3.1 คุณสมบัติเบื้องต้นของวงจร TUNE

3.2 วงจรจูนออสซิเลเตอร์

3.3 วงจรขยายสัญญาณแบบซิงเกิลจูน

3.4 วงจรขยายสัญญาณแบบ

ดับเบิลจูน

3.5 สแตกเกอร์จูน

3.6 หน่วยวัดต่าง

3.7 สรุปสาระสำคัญ

ใบงานที่ 3

วงจรเรโซแนนซ์

ตารางวิเคราะห์หลักสูตรรายวิชา

ชื่อวิชา เครื่องส่งวิทยุ รหัสวิชา 2105–2010

ระดับชั้น ปวช. หน่วยกิต 2 จำนวนคาบสอน 4 คาบ: สัปดาห์

หน้าที่

2/3

ภาคทฤษฎี

ภาคปฏิบัติ

ชื่อหน่วย

หัวข้อเรื่อง

หน่วยที่ 4

การผสมคลื่นวิทยุแบบ

AM-FM

4.1 การมอดูเลชั้นทางแอมปลิจูด

( AM )

4.2 การมอดูเลชั้นทางความถี่( FM )

4.3 สรุปสาระสำคัญ

ใบงานที่ 4

การผสมคลื่นวิทยุแบบ

AM-FM

หน่วยที่ 5

เครื่องส่งวิทยุ

5.1 เครื่องส่งวิทยุ

5.2 วงจรออสซิเลเตอร์

5.3 วงจรมัลติพลาย

5.4 วงจรขยายกำลัง

5.5 สรุปสาระสำคัญ

ใบงานที่ 5

เครื่องส่งวิทยุ

หน่วยที่ 6

เครื่องส่งวิทยุ AM

6.1 เครื่องส่งวิทยุ AM แบบ DSB-SC

6.2 เครื่องส่งวิทยุ AM แบบ DSB-LC

6.3 เครื่องส่งวิทยุ AM แบบ SSB-SC

และ SSB-LC

6.4 เครื่องส่งวิทยุ AM แบบ STEREO

6.5 สรุปสาระสำคัญ

ใบงานที่ 6

เครื่องส่งวิทยุ AM

หน่วยที่ 7

เครื่องส่งวิทยุ FM

7.1 วิทยุกระจายเสียงระบบ FM

7.2 เครื่องส่งวิทยุสื่อสาร

7.3 ระบบ SCA

7.4 การนำระบบดิจิตอลมาใช้ในงาน

วิทยุกระจายเสียง

7.5 สรุปสาระสำคัญ

ใบงานที่ 7

เครื่องส่งวิทยุ FM

ตารางวิเคราะห์หลักสูตรรายวิชา

ชื่อวิชา เครื่องส่งวิทยุ รหัสวิชา 2105–2010

ระดับชั้น ปวช. หน่วยกิต 2 จำนวนคาบสอน 4 คาบ: สัปดาห์

หน้าที่

3/3

ภาคทฤษฎี

ภาคปฏิบัติ

ชื่อหน่วย

หัวข้อเรื่อง

หน่วยที่ 8

เครื่องมือวัดที่ใช้ในงานเครื่องส่งวิทยุ

8.1 วัตต์มิเตอร์

8.2 SWR METER

8.3 ดิฟมิเตอร์

8.4 อิมพีแดนซ์มิเตอร์

8.5 dB METER

8.6 FIELD STRENGTH METER

8.7 สรุปสาระสำคัญ

ใบงานที่ 8

เครื่องมือวัดที่ใช้ในงานเครื่องส่งวิทยุ

หน่วยที่ 9

กฏระเบียบข้อบังคับเกี่ยวกับอุปกรณ์ที่ใช้ในงานส่งวิทยุ

9.1 กฎระเบียบข้อบังคับเกี่ยวกับอุปกรณ์ที่ใช้ในงานส่งวิทยุและระบบสายอากาศ9.2 กฎกระทรวง

9.3 กฎระเบียบข้อบังคับเกี่ยวกับอุปกรณ์ที่ใช้ในวิทยุสื่อสาร

9.4 พระราชบัญญัติวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2502

9.5 กฎระเบียบข้อบังคับเกี่ยวกับอุปกรณ์ที่ใช้ในวิทยุสื่อสาร

9.4 สรุปสาระสำคัญ

9.5 ระเบียบคณะกรรมการบริหารวิทยุ

กระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์

9.6 สรุปสาระสำคัญ

ใบงานที่ 9

9 กฏระเบียบข้อบังคับเกี่ยวกับอุปกรณ์ที่ใช้ในงานส่งวิทยุ

ตารางวิเคราะห์จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม

ชื่อวิชา เครื่องส่งวิทยุ รหัสวิชา 2105–2010

ระดับชั้น ปวช. หน่วยกิต 2 จำนวนคาบสอน 4 คาบ: สัปดาห์

หน้าที่

1/1

พฤติกรรม

ชื่อหน่วย

พุทธิพิสัย

ทักษะพิสัย

จิตพิสัย

รวม

ลำดับความสำคัญ

ความรู้-ความจำ

ความข้าใจ

นำไปใช้

วิเคราะห์

สังเคราะห์

ประเมินค่า

จำนวนคาบ

1. ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบการส่งวิทยุ

1

2

2

6

5

16

6

4

2. วงจรกรองความถี่

1

2

4

7

5

19

4

8

3. วงจรจูนความถี่วิทยุ

2

2

4

7

5

20

3

8

4. วงจรผสมคลื่นความถี่วิทยุแบบ AM – FM

1

2

3

7

5

18

5

8

5. เครื่องส่งวิทยุ

2

3

5

7

5

22

1

12

6. เครื่องส่งวิทยุ AM

2

3

5

1

7

5

22

1

12

7. เครื่องส่งวิทยุ FM

2

3

5

1

7

5

22

1

8

8. เครื่องมือวัดที่ใช้ในงาน

เครื่องรับวิทยุ

1

2

3

1

7

5

18

5

8

9.กฎระเบียบข้อบังคับเกี่ยวกับอุปกรณ์ที่ใช้ในงานส่งวิทยุ

1

2

2

6

5

16

6

4

รวม

13

21

33

3

61

45

176

72

ร้อยละ

39.77

34.66

25.57

ลำดับความสำคัญ

1

2

3

โครงการสอน

ชื่อวิชา เครื่องส่งวิทยุ รหัสวิชา 2105–2010

ระดับชั้น ปวช. หน่วยกิต 2 จำนวนคาบสอน 4 คาบ: สัปดาห์

หน้าที่

1/3

สัปดาห์ที่

คาบที่

ชื่อหน่วย/หัวข้อเรื่อง

ชื่อใบงาน

1

1–4

หน่วยที่ 1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบการส่งวิทยุ

1.1 คลื่น

1.2 คลื่นเสียง

1.3 คลื่นวิทยุ

1.4 ย่านความถี่วิทยุ

1.5 ชั้นบรรยากาศ

1.6 การแพร่คลื่นวิทยุ

1.7 สรุปสาระสำคัญ

ใบงานที่ 1

การใช้เครื่องกำเนิดสัญญาณวิทยุและการวัดค่า

2–3

5–12

หน่วยที่ 2 วงจรกรองความถี่( FILTER CIRCUIT )

2.1 คุณสมบัติของ RLC

2.2 วงจรกรองความถี่วิทยุแบบ R-C

2.3 วงจรกรองความถี่วิทยุแบบ R-L

2.4 วงจรกรองความถี่วิทยุแบบ L-C

2.5 วงจรกรองความถี่วิทยุแบบ R-RL-C

2.6 คริสตอลฟิลเตอร์

2.7 สรุปสาระสำคัญ

ใบงานที่ 2

วงจรกรองความถี่( FILTER CIRCUIT)

4 - 5

13 - 20

หน่วยที่ 3 วงจรจูนความถี่วิทยุ

3.1 คุณสมบัติเบื้องต้นของวงจร TUNE

3.2 วงจรจูนออสซิเลเตอร์

3.3 วงจรขยายสัญญาณแบบซิงเกิลจูน

3.4 วงจรขยายสัญญาณแบบดับเบิลจูน

3.5 สแตกเกอร์จูน

3.6 หน่วยวัดต่าง

3.7 สรุปสาระสำคัญ

ใบงานที่ 3

วงจรเรโซแนนซ์

โครงการสอน

ชื่อวิชา เครื่องส่งวิทยุ รหัสวิชา 2105–2010

ระดับชั้น ปวช. หน่วยกิต 2 จำนวนคาบสอน 4 คาบ: สัปดาห์

หน้าที่

2/3

สัปดาห์ที่

คาบที่

ชื่อหน่วย/หัวข้อเรื่อง

ชื่อใบงาน

6–7

21–28

หน่วยที่ 5 การผสมคลื่นวิทยุแบบ AM-FM5.1 การมอดูเลชั้นทางแอมปลิจูด( AM )5.2 การมอดูเลชั้นทางความถี่( FM )5.3 สรุปสาระสำคัญ

ใบงานที่ 5

การผสมคลื่นวิทยุแบบ

AM-FM

8–10

29–40

หน่วยที่ 4 เครื่องส่งวิทยุ

4.1 เครื่องส่งวิทยุ

4.2 วงจรออสซิเลเตอร์

4.3 วงจรมัลติพลาย

4.4 วงจรขยายกำลัง

4.5 สรุปสาระสำคัญ

ใบงานที่ 4

เครื่องส่งวิทยุ

11–13

41–52

หน่วยที่ 6 เครื่องส่งวิทยุ AM

6.1 เครื่องส่งวิทยุ AM แบบ DSB-S

6.2 เครื่องส่งวิทยุ AM แบบ DSB-LC

6.3 เครื่องส่งวิทยุ AM แบบ SSB-SC และ SSB-LC

6.4 เครื่องส่งวิทยุ AM แบบ STEREO

6.5 สรุปสาระสำคัญ

ใบงานที่ 6

เครื่องส่งวิทยุ AM

14-15

53–60

หน่วยที่ 7 เครื่องส่งวิทยุ FM

7.1 วิทยุกระจายเสียงระบบ FM

7.2 เครื่องส่งวิทยุสื่อสาร

7.3 ระบบ SCA

7.4 การนำระบบดิจิตอลมาใช้ในงานวิทยุกระจายเสียง

7.5 สรุปสาระสำคัญ

ใบงานที่ 7

เครื่องส่งวิทยุ FM

โครงการสอน

ชื่อวิชา เครื่องส่งวิทยุ รหัสวิชา 2105–2010

ระดับชั้น ปวช. หน่วยกิต 2 จำนวนคาบสอน 4 คาบ: สัปดาห์

หน้าที่

2/3

สัปดาห์ที่

คาบที่

ชื่อหน่วย/หัวข้อเรื่อง

ชื่อใบงาน

15–16

61–68

หน่วยที่ 8เครื่องมือวัดที่ใช้ในงานเครื่องส่งวิทยุ

8.1 วัตต์มิเตอร์

8.2 SWR METER

8.3 ดิฟมิเตอร์

8.4 อิมพีแดนซ์มิเตอร์

8.5 dB METER

8.6 FIELD STRENGTH METER

8.7 สรุปสาระสำคัญ

ใบงานที่ 8

เครื่องมือวัดที่ใช้ในงานเครื่องส่งวิทยุ

17-18

69–72

หน่วยที่ 9 กฏระเบียบข้อบังคับเกี่ยวกับอุปกรณ์ที่ใช้ในงานส่งวิทยุ

9.1 ประกาศคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์และกิจการโทรคมนาคาแห่งชาติ เรื่องหลักเกณฑ์การอนุญาตและการกำกับดูแลให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นใช้คลื่นความถี่ พ.ศ. 2554

9.2 ระเบียบคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ ว่าด้วยกิจการวิทยุสมัครเล่น พ.ศ. 2550

9.3 กฎระเบียบข้อบังคับเกี่ยวกับอุปกรณ์ที่ใช้ในวิทยุสื่อสาร

9.4 สรุปสาระสำคัญ

ใบงานที่ 9

ขั้นตอนการของการจัดตั้งสถานีวิทยุ

19

สอบปลายภาค (ทฤษฎี)

สอบปลายภาค (ปฏิบัติ)

การวัดผลและประเมินผล

ชื่อวิชา เครื่องส่งวิทยุ รหัสวิชา 2105–2010

ระดับชั้น ปวช. หน่วยกิต 2 จำนวนคาบสอน 4 คาบ: สัปดาห์

หน้าที่

1/2

การวัดผลและประเมินผลการเรียน มีจุดมุ่งหมาย 2 ประการ คือ

1. การวัดผลและประเมินผลการเรียนให้สอดคล้องกับจุดประสงค์ในการเรียนแต่ละครั้ง โดยเน้นว่าผู้เรียนสามารถบรรลุจุดประสงค์ของการเรียนรู้ได้มากน้อยเพียงใด

2. การวัดผลและประเมินผลเพื่อปรับปรุงการเรียนการสอน โดยกระทำอย่างต่อเนื่อง ตลอดการสอนและนำผลการเรียนมาวิเคราะห์เพื่อใช้เป็นข้อมูลในการปรับปรุงการเรียนการสอน ครั้งต่อไป

ก่อนการเรียนการสอนแต่ละครั้ง ครูควรชี้แจงให้นักเรียนได้รู้ถึงจุดประสงค์เพื่อให้นักเรียน ได้รู้ว่าต้องได้รับความรู้อะไรบ้าง เช่น

1. ก่อนเรียนให้สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนแต่ละคน เช่น เข้าเรียนตรงเวลา มีเอกสารเนื้อหาและสมุดพร้อม เป็นต้น

2. หลังการเรียนการสอนจะทดสอบความรู้โดยวัดตามจุดประสงค์

3. ในการเรียนการสอนจะมีการสังเกตการเรียนในด้านต่าง ๆ เช่น การถาม–ตอบ การใช้เหตุผล การเสนอความคิดเห็น ความสนใจในการเรียนเพื่อนำมาประเมินขั้นต้นและเป็นคะแนนด้านจิตพิสัย

4. การประเมินกิจกรรมกลุ่มจากผลงานจะทำให้รู้ว่านักเรียนมีความรู้ความเข้าใจมากน้อยเพียงใด การส่งงานตรงเวลาที่กำหนด ความเป็นระเบียบเรียบร้อยในการทำงาน ความถูกต้องของเนื้อหา ความร่วมมือในการทำงานมากน้อยเพียงใด

5. การวัดผลและประเมินขั้นสุดท้ายรวมทั้งภาคเรียน โดยวัดตามจุดประสงค์ ใช้อัตราส่วนคะแนนระหว่างภาคและปลายภาค 70 : 30 แบ่งสัดส่วนคะแนน ดังนี้

คะแนนระหว่างภาค 70 คะแนน

- ทดสอบประจำหน่วย20 คะแนน

- ปฏิบัติตามใบงาน20 คะแนน

- งานที่มอบหมาย10 คะแนน

- จิตพิสัย20 คะแนน

คะแนนปลายภาค 30 คะแนน

- สอบปลายภาค (ทฤษฎี)20 คะแนน

- สอบปลายภาค (ปฏิบัติ)10 คะแนน

รวม100 คะแนน

การวัดผลและประเมินผล

ชื่อวิชา เครื่องส่งวิทยุ รหัสวิชา 2105–2010

ระดับชั้น ปวช. หน่วยกิต 2 จำนวนคาบสอน 4 คาบ: สัปดาห์

หน้าที่

2/2

เกณฑ์การประเมิน

ช่วงคะแนน ระดับคะแนน ความหมาย

80–1004.0ผลการเรียนอยู่ในเกณฑ์ดีเยี่ยม

75–793.5ผลการเรียนอยู่ในเกณฑ์ดีมาก

70–743.0ผลการเรียนอยู่ในเกณฑ์ดี

65–692.5ผลการเรียนอยู่ในเกณฑ์ดีพอใช้

60–642.0ผลการเรียนอยู่ในเกณฑ์พอใช้

55–591.5ผลการเรียนอยู่ในเกณฑ์อ่อน

50–541.0ผลการเรียนอยู่ในเกณฑ์อ่อนมาก

0–490ผลการเรียนต่ำกว่าเกณฑ์ขั้นต่ำ

ในการเรียนการสอน ใช้เครื่องมือในการวัดระดับพฤติกรรมตามจุดประสงค์ ดังนี้

1) แบบทดสอบก่อนเรียน (ประจำหน่วย)

2) แบบทดสอบหลังเรียน (ประจำหน่วย)

3) แบบฝึกหัด

4) ใบกิจกรรม

5) แบบประเมินผล จากการปฏิบัติตามใบงาน

6) แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรมและค่านิยมที่พึงประสงค์

7) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ปลายภาคเรียน

หน่วยที่ 1

ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบการส่งวิทยุ

แบบทดสอบก่อนเรียน

หน่วยที่ 1

หน้าที่ 1/2

วิชา เครื่องส่งวิทยุ 2105–2010

เวลาเรียนรวม 72 คาบ

ชื่อหน่วย ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบการส่งวิทยุ

สอนครั้งที่

1/18

ทฤษฎี1 คาบ

ปฏิบัติ 3คาบ

คำสั่ง จงเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคำตอบเดียว

1. จากรูปรูปข้างบนที่จุด (a)มีชื่อเรียกว่าอย่างไร

((b))

(F) (A) ((a))

(C) (I) (H) (E)

(B)

(G) (D)

((c))

รูปที่ 1 แสดงองค์ประกอบต่าง ๆ ของสัญญาณคลื่น

ก. คลื่นไซน์ข. แอมพลิจูด

ค. คาบเวลาง. ความยาวคลื่น

2. จากรูปที่ 1 ที่จุด (b) มีชื่อเรียกว่าอย่างไร

ก. คลื่นไซน์ข. แอมพลิจูด

ค. คาบเวลาง. ความยาวคลื่น

3. คลื่นสามารถเคลื่อนที่ได้โดยอาศัยอะไร

ก. มนุษย์พาไปข. พาหะพาไป

ค. เดินทางไปเองง. การหมุนของโลก

4. เสียงของหูที่มนุษย์ได้ยินดีที่สุดอยู่ที่ประมาณความถี่เท่าใด

ก. 20 Hzข. 2,000 Hz

ค. 3,400 Hzง. 20,000Hz

5. การคำนวณหาค่าความยาวคลื่นหาได้จากสูตร

ก. λ =Vxfข.f =

ค.  f = V xλง. λ =

เครื่องส่งวิทยุ (2105–2010)

แบบทดสอบก่อนเรียน หน่วยที่ 1

หน้าที่ 2/2

6. คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเคลื่อนที่ด้วยความเร็วเท่าไร

ก. 3 103 เมตร/วินาทีข. 3 106 เมตร/วินาที

ค. 3 108 เมตร/วินาทีง. 3 1010 เมตร/วินาที

7. ความยาวคลื่นของความถี่ 200 เมกะเฮิรตซ์ มีค่าเท่ากับกี่เมตร

ก. 1 เมตรข. 1.5 เมตร

ค. 2 เมตรง. 2.5 เมตร

8. การที่คลื่นวิทยุเกิดการเปลี่ยนแปลงทิศทางการเคลื่อนที่โดยทันทีทันใดเรียกว่าอะไร

ก. การหักเหข. การเลี้ยวเบน

ค. การสะท้อนง. การสอดแทรก

9. การส่งวิทยุกระจายเสียงในระบบ AM ใช้ความถี่วิทยุในย่านใด

ก. MFข. HF

ค. VHFง. UHF

10. การส่งวิทยุกระจายเสียงในระบบ FM ใช้ความถี่วิทยุในย่านใด

ก. MFข. HF

ค. VHFง. UHF

11.การแพร่กระจายคลื่นออกไปในอากาศของแถบคลื่นในย่านต่างๆ ได้กี่ประเภท

ก. 1 ประเภทข. 2 ประเภท

ค. 3 ประเภทง. 4 ประเภท

12. ชั้นบรรยากาศของโลกชั้นใดที่ใช้ในการสะท้อนคลื่นวิทยุมากที่สุด คือ

ก. ชั้นโทรโพสเฟียร์ข. สตาร์โทสเฟียร์

ค. ชั้นไอโอโนสเฟียร์ง. ชั้น E –Layer

13. อุปสรรค์ของการสื่อสารคลื่นดินคือ

ก. ความชื้นข. อุณหภูมิ

ค. สิ่งกีดขวางง. สัญญานรบกวน

14.ภูมิประเทศแบบใดที่คลื่นดินสามารถเดินทางได้ดี

ก. สภาพชุ่มชื่นและเป็นน้ำข. ขั้วโลก

ค. สภาพภูมิประเทศแห้งแล้งง. สภาพภูมิประเทศเป็นภูเขา

15. การส่งคืนวิทยุ FM จะใช้การแพร่กระจ่ายคลื่นวิทยุประเภทใด

ก. คลื่นดินข. คลื่นตรง

ค. คลื่นฟ้าง. ทุกประเภทคลื่น

ใบเนื้อหา

หน่วยที่ 1

หน้าที่ 1/18

วิชาเครื่องส่งวิทยุ รหัสวิชา 2105-2010

เวลาเรียนรวม 72 คาบ

ชื่อหน่วย ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบการส่งวิทยุ

สอนครั้งที่

1/18

ทฤษฎี 1 คาบ

ปฏิบัติ 3คาบ

หน่วยที่ 1

ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบการส่งวิทยุ

หัวข้อเรื่อง (Topics)

1.1 คลื่น (WAVE)

1.2 คลื่นเสียง (AUDIO WAVE)

1.3คลื่นวิทยุ(RADIO WAVE)

1.4 ชั้นบรรยากาศ (ATMOSPHERE)

1.5 การแพร่กระจายคลื่น;วิทยุ

1.6สรุปสาระสำคัญ

แนวคิดสำคัญ (Main Idea)

คลื่น คือพลังงานรูปหนึ่ง ที่เกิดขึ้นจากแหล่งกำเนิดต่างกัน แพร่กระจายออกไปในทุกทิศทางคลื่นมนุษย์นำเอาคลื่นมาใช้ในการสื่อสารและใช้ประโยชน์ส่งข้อมูลข่าวสาร

ในชีวิตประจำวัน ส่วนประกอบของคลื่นประกอบด้วยความแรงคลื่นและความยาวคลื่น คลื่นเสียงที่หูมนุษย์สามารถที่จะรับฟังได้จะอยู่ที่ความถี่ 20 – 20,000 Hz ส่วนความถี่วิทยุเป้นคลื่นที่มนุษย์สร้างขึ้นมาใช้งายจะมีความถี่ 10 KHz – 3,000,000 MHz

สมรรถนะย่อย (Element of Competency)

1.แสดงความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคลื่นวิทยุได้

2.ใช้เครื่องมือวัดหาค่าต่างของคลื่นวิทยุได้

จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม (Behavioral Objectives)

1. อธิบายส่วนประกอบของคลื่นได้

2. อธิบายคุณสมบัติของคลื่นวิทยุได้

3.อธิบายการจำแนกชั้นบรรยากาศได้

4. อธิบายการกระจายคลื่นวิทยุแบบต่างๆได้

เครื่องส่งวิทยุ (2105–2010)

ใบเนื้อหา หน่วยที่ 1

หน้าที่ 2/18

เนื้อหาสาระ

การศึกษาความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการส่งวิทยุประกอบไปด้วยเนื้อหาเรื่อง คลื่น (WAVE)คลื่นเสียง (AUDIO WAVE) คลื่นวิทยุ (RADIO WAVE) ย่านความถี่ ชั้นบรรยากาศ (ATMOSPHERE) การแพร่กระจายคลื่น

1.1 คลื่น (WAVE)

รปที่ 1.1 คลื่น

(ที่มา : https://wwwth.wikipedia.org)

การจำแนกคลื่นตามลักษณะการสั่นของอนุภาคตัวกลางกับทิศทางการเคลื่อนที่ของคลื่นที่เกิดขึ้นในตัวกลางถ้าพิจารณาตามลักษณะการสั่นของอนุภาคของตัวกลางกับทิศทางการเคลื่อนที่ของคลื่นจะแบ่งออกได้เป็น  2  ประเภท  ได้แก่

ก.คลื่นตามขวาง (Transverse wave)เป็นคลื่นที่เกิดขึ้นโดยอนุภาคของตัวกลางสั่นในแนวตั้งฉากกับทิศทางการเคลื่อนที่ของคลื่นเช่น คลื่นน้ำ คลื่นบนเส้นเชือก คลื่นบนสปริง

รปที่ 1.2 การสะบัดเชือก

(ที่มา: https://www.slideplayer.in.th)

เครื่องส่งวิทยุ (2105–2010)

ใบเนื้อหา หน่วยที่ 1

หน้าที่ 3/18

ข. คลื่นตามยาว (Longitudinal wave )เป็นคลื่นที่เกิดขึ้นเมื่ออนุภาคของตัวกลางสั่นในแนวเดียวกับทิศทางการเคลื่อนที่ของคลื่นเช่น คลื่นเสียง  ซึ่งบางครั้งเราอาจจะเรียกว่า คลื่นลูกอัด ลูกขยาย     ลักษณะการสั่นของอนุภาคของตัวกลางของคลื่นเสียงเราไม่สามารถสังเกตเห็นได้แต่เราสามารถทดลองได้โดยใช้ลวดสปริง โดยปลายหนึ่งตรึงไว้กับที่แล้วใช้มือจับอีกลายหนึ่งดึงสปริงเข้าออกจะเห็นว่าระยะห่างระหว่างขดลวดสปริงบางช่วงชิดกันบางช่วงห่างกันและเปลี่ยนแปลงไปตามทิศทางการเคลื่อนที่ของคลื่น ดังภาพ

รูปที่ 1.3พลังงานถ่ายโอนผ่านคลื่นจะมีทิศทางไปทางเดียวกับทิศทาง

ของคลื่นสังเกตลูกศรสีน้ำเงิน

(ที่มา: https://www.slideplayer.in.th)

จำแนกส่วนประกอบของคลื่นตามขวาง (คลื่นผิวน้ำ) 

((b))

(A)

(F) ((a))

(H)

(E) (C) (I)

(B)

(G) (D)

((c))

รูปที่ 1.4แสดงส่วนประกอบต่าง ๆของคลื่นตามขวาง

(ที่มา: ผู้เรียบเรียง)

ก.สันคลื่น ( Crest )  คือ  ตำแหน่งสูงสุดของคลื่น  จากภาพ คือจุด Aและ F

ข.ท้องคลื่น (Trough) คือ  ตำแหน่งต่ำสุดของคลื่น  จากภาพ คือจุด D

ค.การกระจัด ( Displacement , d)  คือระยะทางตั้งฉากที่วัดจากตำแหน่งสมดุลไปยังตำแหน่งบนคลื่นมีเครื่องหมายเป็น  + และ  -   แทนทิศทางการกระจัด

เครื่องส่งวิทยุ (2105–2010)

ใบเนื้อหา หน่วยที่ 1

หน้าที่ 4/18

ง.แอมพลิจูด (Amplitude,A)  คือระยะการกระจัดที่วัดจากแนวสมดุลไปยังตำแหน่งสูงสุดหรือต่ำสุดของคลื่น�