การประยุกต์ใช้หลักบรรษัทภิบาลในการผลิต•การน...

24
การประยุกต์ใช้หลักบรรษัทภิบาลในการผลิต อิทธิศักดิลือจรัสไชย สถาบันส่งเสริมการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี สานักงาน ก...

Upload: others

Post on 26-Jun-2020

9 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: การประยุกต์ใช้หลักบรรษัทภิบาลในการผลิต•การน าปัจจัยการผลิตชนิดต่างๆ

การประยุกต์ใช้หลักบรรษัทภิบาลในการผลิต

อิทธิศักดิ์ ลือจรัสไชยสถาบันส่งเสริมการบริหารกิจการบ้านเมืองท่ีดี ส านักงาน ก.พ.ร.

Page 2: การประยุกต์ใช้หลักบรรษัทภิบาลในการผลิต•การน าปัจจัยการผลิตชนิดต่างๆ

เนื้อหา

• ความรู้พื้นฐานด้านการผลิต• นิยาม และความหมาย• กระบวนการผลิต และห่วงโซ่การผลิต (Supply chain)• การวางแผน และควบคุมการผลิต• การควบคุมคุณภาพในระบบการผลิต• การพัฒนาผลิตภัณฑ์• การสร้างมูลค่าเพิ่ม

• การประยุกต์ใช้หลกับรรษัทภิบาลส าหรับการผลิต• หลักบรรษัทภิบาลท่ีดีส าหรับ SMEs• ประโยชน์ของการมีหลักบรรษัทภิบาลที่ดี

• กรณีศึกษา GIANT bike factory ประเทศไต้หวัน• การสร้างมูลค่าเพิ่มในกระบวนการผลิตกับความสามารถในการแข่งขันของธุรกิจ• ถอดบทเรียนกรณีศึกษาสู่ SMEs ไทย

Page 3: การประยุกต์ใช้หลักบรรษัทภิบาลในการผลิต•การน าปัจจัยการผลิตชนิดต่างๆ

ความรู้พื้นฐานด้านการผลิตนิยาม และความหมาย

• การผลิตในเชิงวิศวกรรม• Manufacturing หมายถึง กระบวนการเปลี่ยนแปลงวัตถุดิบหรือวัสดุ ให้กลายเป็นผลิตภัณฑ์หรือสินค้าที่

สามารถจับต้องได้• Production หมายถึง กระบวนการเปลี่ยนแปลงวัตถุดิบหรือวัสดุให้กลายเป็นผลิตภัณฑ์ส าเร็จ

เช่นเดียวกันกับค าว่า Manufacturing แต่แตกต่างกันตรงที่ Production จะรวมเอางานบริการต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการผลิตเข้าไปด้วย

• การผลิตในเชิงเศรษฐศาสตร์• การน าปัจจัยการผลิตชนิดต่างๆ ตั้งแต่สองชนิดขึ้นไป มาท าให้เกิดสินค้าและบริการต่างๆ • ปัจจัยการผลิตมี 4 ประเภท คือ ที่ดิน ทุน แรงงาน และผู้ประกอบการ

Page 4: การประยุกต์ใช้หลักบรรษัทภิบาลในการผลิต•การน าปัจจัยการผลิตชนิดต่างๆ

• การผลิตขั้นปฐมภูมิ คือ การผลิตแบบดั้งเดิมเป็นการใช้ประโยชน์จากธรรมชาติโดยตรง มีกรรมวิธีในการผลิตที่ไม่ยุ่งยากซับซ้อน เช่น การเกษตรกรรม ป่าไม้ การประมง การเลี้ยงสัตว์ การท านา เป็นต้น

• การผลิตขั้นทุติยภูมิหรือการแปรรูปขั้นต้น คือ การน าผลผลิตขั้นต้นที่ไม่ซับซ้อนมาดัดแปลงเป็นผลผลิตใหม่ หรือไม่ให้เกิดการเน่าเสียสิ้นเปลือง เช่น การน าสับปะรดมาผลิตเป็นสับปะรดกระป๋อง การน าฝ้ายมาทอเป็นผ้า การท าเหมืองแร่ การย่อยหิน เป็นต้น

• การผลิตขั้นตติยภูมิหรือการสร้างมูลค่าเพิ่มทั้งหมด คือ การน าผลผลิตขั้นปฐมภูมิและขั้นทุติยภูมิส่งไปถึงมือผู้บริโภคอย่างสะดวก ตลอดจนเป็นการให้บริการและการอ านวยความสะดวกในด้านการค้าอื่นๆ ด้วย เช่น งานราชการ การค้าส่ง การค้าปลีก งานทนายความ การแพทย์ การให้ความบันเทิง การประกันภัย การธนาคาร การบรรจุหีบห่อ เป็นต้น

ความรู้พื้นฐานด้านการผลิตกระบวนการผลิต

Page 5: การประยุกต์ใช้หลักบรรษัทภิบาลในการผลิต•การน าปัจจัยการผลิตชนิดต่างๆ

ความรู้พื้นฐานด้านการผลิตห่วงโซ่การผลิต (Supply chain)

การจัดหาวัตถุดิบ

ประกอบและแปรรูปขั้นต้น

ผลิตภัณฑ์และบริการ

การขนส่ง หรือ Logistic

ช่องทางจ าหน่ายและตอบสนองผู้บริโภคคน

สุดท้าย

เป็นกระบวนการทางธุรกิจ โดยเริ่มตั้งแต่การแยกวัตถุดิบไปจนกระทั่งถึงเสร็จสิ้นกระบวนการถึงมือลูกค้า

Page 6: การประยุกต์ใช้หลักบรรษัทภิบาลในการผลิต•การน าปัจจัยการผลิตชนิดต่างๆ

ความรู้พื้นฐานด้านการผลิตห่วงโซ่การผลิต (Supply chain) (ต่อ)

เลี้ยงกุ้งขาย แปรรูปกุ้งแช่แข็งเพื่อส่งออก

ท าข้าวผัดกุ้งในร้านอาหาร

การผลิตขั้นปฐมภูมิ การผลิตขั้นทุติยภูมิหรือการแปรรูปขั้นต้น

การผลิตขั้นตติยภูมิหรือการสร้างมูลค่าเพิ่มขั้นสูง

มูลค่าเพิ่ม 20 – 30% มูลค่าเพิ่ม 20 – 30% มูลค่าเพิ่ม 40 – 60%

Page 7: การประยุกต์ใช้หลักบรรษัทภิบาลในการผลิต•การน าปัจจัยการผลิตชนิดต่างๆ

ความรู้พื้นฐานด้านการผลิตการวางแผน และควบคุมการผลิต

การวางแผนในการผลิต คือ การก าหนดแผนงานในการน าปัจจัยการมาแปลงเป็นสินคา้และบริการ • แผนนโยบายประจ าปี คือ แผนพยากรณ์ความต้องการหรือการคาดการณ์ความต้องการของลูกค้าในการซื้อ

สินค้า• แผนกลยุทธ์การผลิตระยะกลางและระยะยาว เพื่อรองรับแผนพยากรณ์ความต้องการลูกค้า แล้วน ามาวางแผน

เพื่อก าหนดปัจจัยการผลิต• แผนปฏิบัติการ (รายวัน และตามรายการผลิต) เป็นการวางแผนระยะสั้นเพื่อให้ได้มาซึ่งผลผลิตตามค าสั่งลูกค้า

ซึ่งมีจ านวนและระยะเวลาที่ชัดเจน

Page 8: การประยุกต์ใช้หลักบรรษัทภิบาลในการผลิต•การน าปัจจัยการผลิตชนิดต่างๆ

ความรู้พื้นฐานด้านการผลิตการวางแผน และควบคุมการผลิต (ต่อ)

การควบคุมการผลิต เป็นกระบวนการที่สร้างขึ้นเพื่อท าให้ควบคุมให้การท างานเพื่อผลิตสินค้าและบริการสามารถด าเนินไปไดอ้ย่างมปีระสิทธิภาพ• การควบคุมการผลิต เพื่อให้สามารถผลิตและบริการเป็นไปตามแผนงานที่ก าหนดไว้• การควบคุมวัสดุคงคลัง ซึ่งประกอบไปด้วยคลังวัตถุดิบ คลังสินค้าระหว่างผลิต และคลังสินค้า

ส าเร็จรูป ซึ่งจะต้องมีการควบคุมไม่ให้มากเกินไป• การควบคุมให้เป็นไปตามขั้นตอนที่ถูกต้อง และมีมาตรฐานการท างาน เพื่อให้ผลผลิตหรืองาน

บริการมีคุณภาพเดียวกัน

Page 9: การประยุกต์ใช้หลักบรรษัทภิบาลในการผลิต•การน าปัจจัยการผลิตชนิดต่างๆ

กรณีศึกษา: ตัวอย่างการลดความสูญเสียในกระบวนการผลิต (defect) และลดการรอคอยงานในสายการผลิต (delay time)• บริษัท A ผู้ผลิตและประกอบรองเท้า พื้นรองเท้า ชิ้นส่วนต่างๆ ของรองเท้า

• โจทย์ ปัจจุบันสามารถผลิตได้เพียง 1,700 - 1,800 คู่ต่อวันเท่านั้น และมีปัญหางานซ่อมจ านวนมาก ต้องการปรับเป้าหมายการผลิตเป็น 2,000 คู่ต่อวัน หรือเพิ่มข้ึนประมาณ 10%

• เครื่องมือ ใช้หลัก 80/20 หรือ Pareto Principle แยกปัญหาความสูญเสียต่างๆเป็นประเด็นๆ เพื่อวิเคราะห์สาเหตุของปัญหา และแก้ปัญหา โดยการลดความสูญเสียที่เกิดขึ้น

• หลักคิดกว้างๆ ของหลักการ 80/20 ก็คือ ร้อยละ 80 ของปัญหา มักจะมาจากสาเหตุเพียงแค่ร้อยละ 20 โดยหลักการนี้ตั้งชื่อตาม Vilfredo Pareto นักเศรษฐศาสตร์ชาวอิตาเลียน ซึ่งมีที่มาจาก Pareto ได้ตั้งข้อสังเกตไว้ว่า ร้อยละ 80 ของความมั่งคั่งในประเทศอิตาลี ถูกครอบครองโดยคนกลุ่มหนึ่งที่มีเพียงร้อยละ 20 ของประชากรทั้งหมด

Page 10: การประยุกต์ใช้หลักบรรษัทภิบาลในการผลิต•การน าปัจจัยการผลิตชนิดต่างๆ

กรณีศึกษา: ตัวอย่างการลดความสูญเสียจากการผลิตของเสียและเกิดการรอคอยในสายการผลิต (ต่อ)• ใช้หลัก 80/20 หรือ Pareto Principle แยกปัญหาความสูญเสียต่างๆเป็นประเด็นๆ เพื่อวิเคราะห์

สาเหตุของปัญหา และแก้ปัญหา

Page 11: การประยุกต์ใช้หลักบรรษัทภิบาลในการผลิต•การน าปัจจัยการผลิตชนิดต่างๆ

กรณีศึกษา: ตัวอย่างการลดความสูญเสียจากการผลิตของเสียและเกิดการรอคอยในสายการผลิต (ต่อ)

กระบวนการผลิตเป็นการท างานร่วมระหว่างคนกับ

เครื่องจักร

โดยปกติถ้าสายการผลิตที่สมดุลจะต้องมีงานในช่องเตม็

ครบทุกช่อง

Page 12: การประยุกต์ใช้หลักบรรษัทภิบาลในการผลิต•การน าปัจจัยการผลิตชนิดต่างๆ

กรณีศึกษา: ตัวอย่างการลดความสูญเสียจากการผลิตของเสียและเกิดการรอคอยในสายการผลิต (ต่อ)

• จากการวิเคราะห์ของฝ่ายวางแผนและควบคุมการผลิตพบว่าปัญหาหลักเป็นปัญหาการขาดประสิทธิภาพของกระบวนการ โดยมีสาเหตุหลัก 2 ส่วน คือ (1) บาง order มีงานซ่อมจ านวนมาก และ (2) เกิดการรอคอย (คอขวด) ในกระบวนการผลิต

• แก้ปัญหา (1) โดยการพัฒนากระบวนการผลิตโดยพยายามท าสายการผลิตให้ต่อเนื่อง ไม่เปลี่ยนรุ่นการผลิตบ่อยๆ และท าการเก็บข้อมูลรุ่นที่ผลิตกับปัญหางานซ่อม (rework) แล้วท าคู่มือการผลิต (Work Instruction) ว่าจุดส าคัญใดบ้างที่ควรต้องระวังไม่ให้เกิดความผิดพลาดในการผลิต

• แก้ปัญหา (2) ปรับสมดุลกระบวนการผลิตโดยการจัดจ านวนคนท างานให้เหมาะสมให้งานไหลต่อเนื่องตลอดเวลา

• หลังจากการแก้ปัญหาแล้วพบว่าวิธีการดังกล่าวท าให้ผลผลิตที่สูงขึ้นมากกว่า 10%

Page 13: การประยุกต์ใช้หลักบรรษัทภิบาลในการผลิต•การน าปัจจัยการผลิตชนิดต่างๆ

ความรู้พื้นฐานด้านการผลิตการควบคุมคุณภาพ

• ก าหนดมาตรฐานของคุณภาพ จัดท าเกณฑ์คุณภาพของกระบวนการผลิตหรือของผลิตภัณฑ์ โดยที่เป็นการยอมรับของลูกค้าและผู้เกี่ยวข้อง เช่น ระบบมาตรฐาน ISO หรือควบคุมคุณภาพในกระบวนการผลิตตามมาตรฐานและหลักเกณฑ์ที่ก าหนดโดยหน่วยงานของรัฐที่ท าหน้าที่ก าหนด เช่น การผลิตมอเตอร์พัดลมต้องเป็นไปตามมาตรฐาน มอก.

• ก าหนดมาตรฐานของการตรวจสอบ ก าหนดมาตรฐานในการตรวจสอบคุณภาพของกระบวนการผลิตนั้นๆ โดยมาตรฐานของการตรวจสอบที่ก าหนดจะต้องเป็นการระบุคุณลักษณะ (Criteria) ของการตรวจสอบที่ชัดเจนและเป็นมาตรฐาน เช่น วิธีการตรวจสอบมอเตอรพ์ัดลมในกระบวนการผลิตว่าเป็นไปตามมาตรฐาน มอก. หรือไม่ โดยวัดความสั่นสะเทือน วัดอุณหภูมิและวิเคราะห์กระแสไฟฟ้าขณะท างาน

• ก าหนดมาตรฐานของวิธีการสุ่มตัวอย่าง การสุ่มตรวจว่าผลิตภัณฑ์ที่ได้จากกระบวนการนั้นๆ มีคุณภาพตามมาตรฐานที่ก าหนดไว้จริงหรือไม่ และผลผลิตหรืองานบริการมีคุณภาพเดียวกันหรือไม่

Page 14: การประยุกต์ใช้หลักบรรษัทภิบาลในการผลิต•การน าปัจจัยการผลิตชนิดต่างๆ

ความรู้พื้นฐานด้านการผลิตการพัฒนาผลิตภัณฑ์

• แรงผลักดันส าคัญที่ท าให้ ผู้ประกอบการ SME จ าเป็นต้องพัฒนาผลิตภัณฑ์ ได้แก่ (1) ลูกค้า ที่ได้รับอิทธิพลจากการรับรู้ข้อมูลข่าวสาร ทั้งจากสื่อต่างๆ และเครือข่ายสังคม (Social Network) และมีประสบการณ์ในการทดลองใช้สินค้าหรือบริการจากผู้ผลิตหรือผู้ให้บริการรายอื่น (2) คู่แข่งขันในตลาด ซึ่งท าให้ลูกค้ามีทางเลือกในการซื้อมากขึ้น และ (3) องค์ความรู้และเทคโนโลยีใหม่ที่เกิดขึ้น

• แนวทางการพัฒนาผลิตภัณฑ์ มีด้วยกัน 3 แนวทางด้วยกัน คือ (1) การสร้างนวัตกรรมใหม่ (Product Innovation) ซึ่งเป็นผลิตภัณฑ์ที่ไม่เคยมีวางจ าหน่ายในตลาดเลย (2) การปรับปรุงผลิตภัณฑ์ที่มีอยู่เดิมให้ดีขึ้น (Product Improvement) และ (3) การผลิตท าขึ้นมาลักษณะเหมือนผลิตภัณฑ์ของคู่แข่งขันที่มีจ าหน่ายในตลาดแล้ว (Me-too Products)

Page 15: การประยุกต์ใช้หลักบรรษัทภิบาลในการผลิต•การน าปัจจัยการผลิตชนิดต่างๆ

ความรู้พื้นฐานด้านการผลิตการสร้างมูลค่าเพิ่ม

• การเพิ่มประสิทธิภาพและลดต้นทุนในกระบวนการผลิต คือ การเพิ่มจ านวนผลิตโดยใช้ทรัพยากรเท่าเดิม หรือการลดต้นทุนลงจากการผลิตจ านวนเท่าเดิม หรือทั้งสองกรณี• การพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ คือ การพัฒนา ปรับปรุง หรือเปลี่ยนแปลง รูปแบบ

คุณสมบัติ ประโยชน์ใช้สอย ของผลิตภัณฑ์ให้ตรงตามความต้องการของผู้บริโภคมากยิ่งขึ้น จากการปรับปรุงวตัถดุิบ กระบวนการ การออกแบบสินค้าและหีบห่อ • การปรับหรือขยับต าแหน่งในห่วงโซ่มูลค่าการผลิต คือ การเปลี่ยนต าแหน่งหรือควบ

ต าแหน่งเพิ่มในห่วงโซ่การผลิต เช่น เดิมท าฟาร์มกุ้ง เพิ่มธุรกิจท ากุ้งแช่แข็งส่งออก เป็นต้น

Page 16: การประยุกต์ใช้หลักบรรษัทภิบาลในการผลิต•การน าปัจจัยการผลิตชนิดต่างๆ

ตัวอย่างการเพิ่มประสิทธิภาพและลดต้นทุนในกระบวนการผลิต

เดิม ใหม่

กระบวนการ โรงสีของนาย ก. แปรรูป ข้าวเปลือกเป็นข้าวขาวบรรจุถุง 5 กิโลกรัม สามารถผลิตได้เดือนละ 10,000 ถุง

จากเดิมท่ีมีปัญหาเครื่องจักรเสียบ่อย นาย ก. จึงได้จ้างช่างซ่อมบ ารุงมาท าแผนซ่อมบ ารุงเชิงป้องกัน ท าให้สามารถผลิตข้าวถุงได้ผลิตได้เดือนละ 12,000 ถุง (ผลผลิตเพิ่ม 20%)

รายรับและรายจ่าย

ผลิตและขายได้เดือนละ 50,000 กก.ขายราคาถุงละ 100 บาท ต้นทุนการผลิตถุงละ 70 บาท ก าไรถุงละ 30 บาท หรือ ก าไรต่อกก. เท่ากับ 6 บาท

• ผลิตและขายได้เดือนละ 12,000 ถุง ขายราคาถุงละ 100 บาท ต้นทุนการผลิตถุงละ 70 บาท

• ค่าจ้างช่างเพิ่มอีกเดือนละ 30,000 บาท

ผลตอบแทน เดือนละ 300,000 บาท เดือนละ 330,000 บาท หรือเพ่ิมขึ้นจากเดิม 10%

*การปรับปรุงวิธีการท างานให้ดีขึ้น ซึ่งได้ผลลัพธ์หลักๆ คือ ผลผลิตเพิ่มขึ้น และต้นทุนลดลง แต่ยังขายได้ในราคาเดิม

Page 17: การประยุกต์ใช้หลักบรรษัทภิบาลในการผลิต•การน าปัจจัยการผลิตชนิดต่างๆ

ตัวอย่างการพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่

เดิม ใหม่

ผลิตภัณฑ์ โรงสีของนาย ก. แปรรูป ข้าวเปลือกเป็นข้าวขาวบรรจุถุง 5 กิโลกรัม สามารถผลิตได้เดือนละ 10,000 ถุง

พัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่เพิ่มเติม จากข้าวขาวบรรจุถุงมาเป็นข้าวกล้องลดน้ าหนักบรรจุถุง โดยลงทุนจ้างนักวิจัยทางด้านโภชนาการและพัฒนาห้องปฏิบัติการ

รายรับและรายจ่าย

ผลิตและขายได้เดือนละ 50,000 กก.ขายราคาถุงละ 100 บาท ต้นทุนการผลิตถุงละ 70 บาท ก าไรถุงละ 30 บาท หรือ ก าไรต่อกก. เท่ากับ 6 บาท

• ผลิตข้าวกล้องลดน้ าหนักบรรจุถุง ถุงละ 1 กิโลกรัม ก าไรต่อกก. เท่ากับ 12 บาท และสามารถผลิตขายได้เดือนละ 50,000 กก.

• งบประมาณลงทุนห้องปฏิบัติการ 3 ล้านบาท (ค่าเสื่อมเดือนละ 5 หมื่นบาท) และจ้างนักพัฒนาผลิตภัณฑ์ ค่าตอบแทนเดือนละ 1 แสนบาท (มีกระบวนการท างานใหม่หรือเพิ่มขึ้นจากเดิม)

ผลตอบแทน เดือนละ 300,000 บาท เดือนละ 450,000 บาท หรือเพิ่มขึ้นจากเดิม 50%

***การคิดค้นและพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ ผลลัพธ์ที่ได้คือ จ านวนที่ขายได้และราคาขายเปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้นจากเดิม

Page 18: การประยุกต์ใช้หลักบรรษัทภิบาลในการผลิต•การน าปัจจัยการผลิตชนิดต่างๆ

ตัวอย่างการปรับหรือขยับต าแหน่งในห่วงโซ่การผลิต

เดิม ใหม่

ต าแหน่งในห่วงโซ่มูลค่า

โรงสีของนาย ก. แปรรูป ข้าวเปลือกเป็นข้าวขาวบรรจุถุง 5 กิโลกรัม สามารถผลิตได้เดือนละ 10,000 ถุง

จากเดิมเป็นผู้ประกอบการโรงสี ขายกิจการโรงสีข้าวให้กับน้องชาย ผันมาเป็นผู้ซื้อมาขายไป และยังคงมีสูตรผลิตภัณฑ์ข้าวกล้องลดน้ าหนักและฐานลูกค้าเดิมอยู่ แทนที่จะต้องท าดูแลการผลิตเองก็เปลี่ยนให้น้องชายมาดูแลแทน แต่ไปเน้นการพัฒนาศักยภาพของผลิตภัณฑ์ และขยายฐานลูกค้าทั้งในประเทศและต่างประเทศ

รายรับและรายจ่าย

ผลิตและขายได้เดือนละ 50,000 กก.ขายราคาถุงละ 100 บาท ต้นทุนการผลิตถุงละ 70 บาท ก าไรถุงละ 30 บาท หรือ ก าไรต่อกก. เท่ากับ 6 บาท

• ตลาดภายในประเทศ ขายได้เดือนละ 20,000 กก. โดยมีก าไรต่อ กก. เท่ากับ 6 บาท

• ตลาด ตปท. ขายได้เดือนละ 30,000 กก. และก าไรต่อ กก. เท่ากับ 12 บาท

ผลตอบแทน เดือนละ 300,000 บาท เดือนละ 480,000 บาท หรือเพิ่มขึ้นจากเดิม 60% โดยไม่ต้องมีความเสี่ยงในการผลิต การจ่ายค่าตอบแทนพนักงาน และการสต็อคสินค้า

***การขยับต าแหน่งในห่วงโซ่การผลิต ผลลัพธ์ที่ได้คือ มูลค่าเพิ่มขึ้นจากเดิมเพราะการย้ายไปสู่ต าแหน่งใหม่ที่สามารถมูลค่าเพิ่มได้มากกว่าเดิม

Page 19: การประยุกต์ใช้หลักบรรษัทภิบาลในการผลิต•การน าปัจจัยการผลิตชนิดต่างๆ

การประยุกต์ใช้หลักบรรษัทภิบาลส าหรับการผลิตหลักบรรษัทภิบาลที่ดีส าหรับ SMEs

บรรษัทภบิาลหรือการก ากับดูแลกิจการที่ดีส าหรับ SMEs เป็นกระบวนการ กิจกรรม หรือกลไกที่กระท าเพื่อให้เกิดการจัดการที่ดีในธุรกิจ เพื่อเป็นการเสริมสร้างและจัดให้มีระบบการบริหารจัดการที่ดีในวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs)

หลักบรรษัทภิบาลที่ดีส าหรับ SMEs ประกอบด้วย(1) หลักการมีส่วนร่วม (2) หลักความถูกต้อง (3) หลักความโปร่งใส(4) หลักความรับผิดชอบ

Page 20: การประยุกต์ใช้หลักบรรษัทภิบาลในการผลิต•การน าปัจจัยการผลิตชนิดต่างๆ

หลักบรรษัทภิบาลที่ดีส าหรับ SMEsหลักการมีส่วนร่วม

ธุรกิจหรือผู้บริหารควรเปิดโอกาสให้ผู้มีส่วนได้เสียของบริษัท มีส่วนร่วมรับรู้ ร่วมคิด ร่วมเสนอความเห็น และมีสิทธิที่จะเข้าร่วมในการตัดสินใจหรือได้รับทราบถึงผลของการตัดสินใจของบริษัทที่เกี่ยวกับระบบการผลิต เพื่อสร้างการมีส่วนร่วม

• ผู้บริหารมีความชัดเจนที่จะให้พนักงาน/ลูกจ้างมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการ และมีส่วนร่วมแสดงความคิดเห็น

• เปิดโอกาสของผู้มีส่วนได้เสียในการเข้าถึงข้อมูลข่าวสารของบริษัทโดยเฉพาะในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการผลิต

Page 21: การประยุกต์ใช้หลักบรรษัทภิบาลในการผลิต•การน าปัจจัยการผลิตชนิดต่างๆ

หลักบรรษัทภิบาลที่ดีส าหรับ SMEsหลักความถูกต้อง

ธุรกิจหรือผู้บริหารต้องปฏิบัติตามกฎหมาย กฎ ข้อบังคับต่างๆ อย่างถูกต้อง เคร่งครัด และควรให้ผู้มีส่วนได้เสียได้รับสิทธิที่พึงมีพึงได้อย่างยุติธรรม • มีการวางแผนในการผลิต และควบคุมให้การท างานเพื่อผลิตสินค้าและบริการสามารถด าเนินไป

ได้อย่างมีประสิทธิภาพ• ดูแลให้มีระบบงานที่ให้ความเชื่อมั่นได้ว่ากิจกรรมต่างๆ ในกระบวนการผลิตของบริษัทนั้น ต้อง

ด าเนินไปในลักษณะที่ถูกต้องตามกฎหมายและมีจริยธรรม• จัดท ารายงานการควบคุมวัสดุคงคลัง โดยประกอบไปด้วยคลังวัตถุดิบ คลังสินค้าระหว่างผลิต

และคลังสินค้าส าเร็จรูปที่ถูกต้อง พร้อมทั้งมีระบบการรายงานผลและการติดตามอย่างถูกต้องเป็นจริง

Page 22: การประยุกต์ใช้หลักบรรษัทภิบาลในการผลิต•การน าปัจจัยการผลิตชนิดต่างๆ

หลักบรรษัทภิบาลที่ดีส าหรับ SMEsหลักความโปร่งใส

ธุรกิจหรือผู้บริหารต้องโปร่งใสและตรวจสอบได้ ทั้งในด้านการด าเนินงานและการเปิดเผยข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการผลิต นอกจากนี้ ยังควรเปิดโอกาสให้บุคคลทั้งภายในและภายนอกกิจการสามารถตรวจสอบซึ่งกันและกันได้

• ไม่ปกปิดข้อมูลของบริษัท หรือจงใจบิดเบือนข้อมูล และควรปรับปรุงข้อมูลต่างๆ ของบริษัทให้เป็นปัจจุบันอย่างสม่ าเสมอ

• จัดให้มีกระบวนการตรวจสอบ เพื่อให้ผู้มีส่วนได้เสียเกิดความมั่นใจว่าการระบบการผลิตจะเป็นไปในทิศทางที่ก่อให้เกิดผลประโยชน์สูงสุด

Page 23: การประยุกต์ใช้หลักบรรษัทภิบาลในการผลิต•การน าปัจจัยการผลิตชนิดต่างๆ

หลักบรรษัทภิบาลที่ดีส าหรับ SMEsหลักความรับผิดชอบ

ธุรกิจหรือผู้บริหารควรก าหนดแนวการด าเนินงานในการบริหารจัดการธุรกิจและวิธีปฏิบัติต่อผู้บริโภคหรือผู้รับบริการในด้านต่างๆ ในขณะที่ผู้บริหารต้องตระหนักและมีความรับผิดชอบต่อภาระหน้าที่ ผลกระทบจากกระบวนการผลิต และควรมีการจัดการของเสียที่เกิดจากกระบวนการผลิตที่อาจจะเกิดขึ้นได้

• มีระบบการควบคุมการผลิตหรือบริการให้ได้มาตรฐานและมีคุณภาพที่ดี และสามารถส่งมอบทันตามก าหนด

• สร้างความคุ้มค่าของสินค้าและบริการ สร้างความพึงพอใจสูงสุดเมื่อลูกค้าได้รับสินค้าและใช้บริการ โดยการลดต้นทุนและเพิ่มประสิทธิภาพเพื่อให้ลูกค้าได้รับสินค้าและบริการที่คุ้มราคา

• พิจารณาเรื่องที่มีผลกระทบต่อการประกอบธุรกิจโดยตรงให้ครบถ้วน เพื่อให้ผู้เกี่ยวข้องมั่นใจว่า กระบวนการผลิตของบริษัทไดค้ านึงถึงปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อม ชุมชน และสังคม

• ให้การสนับสนุนช่วยเหลือและคืนก าไรแก่ชุมชนตามความเหมาะสม ไม่เอารัดเอาเปรียบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม

Page 24: การประยุกต์ใช้หลักบรรษัทภิบาลในการผลิต•การน าปัจจัยการผลิตชนิดต่างๆ

หลักบรรษัทภิบาลที่ดีส าหรับ SMEsประโยชน์ของการมีหลักบรรษัทภิบาลที่ดี

• ธุรกิจได้รับความเชื่อถือและไว้วางใจจากลูกค้าผู้บริโภคสินค้าหรือบริการ

• สามารถช่วยลดความเสี่ยงของธุรกิจลงได้ระดับหนึ่ง เพราะการบริหารความเสี่ยงเป็นส่วนหนึ่งของการประยุกต์ใช้หลักบรรษัทภิบาลที่ดี

• ช่วยให้เจ้าของกิจการเข้าถึงแหล่งเงินทุนได้ง่ายขึ้น เพราะมีระบบรายงานการควบคุมวัสดุคงคลัง โดยประกอบไปด้วยคลังวัตถุดิบ คลังสินค้าระหว่างผลิต และคลังสินค้าส าเร็จรูป ที่สามารถตรวจสอบเพื่อยืนยันความถูกต้องและโปร่งใส

• ช่วยสร้างแรงจูงใจในการท างานและรักษาพนักงานคุณภาพดีให้อยู่กับบริษัท เพราะธุรกิจได้ให้ความส าคัญกับผู้เกี่ยวข้องในทุกมิติ โดยเฉพาะการที่ผู้บริหารมีความชัดเจนที่จะให้พนักงาน/ลูกจ้างมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการ และมีส่วนร่วมแสดงความคิดเห็นในระบบการผลิต

• ช่วยเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน ตลอดจนเพิ่มประสิทธิภาพในการผลิต จากกระบวนการผลิตที่มุ่งสร้างความคุ้มค่าของสินค้าและบริการตามหลักความรับผิดชอบ