newsletter nvi (5/1/54)

12
จดหมายขาว สถาบันวัคซีนแหงชาติ กรมควบคุมโรค ปที่ 5 ฉบับที่ 1 เดือนธันวาคม 2554 à¹×éÍËÒÀÒÂã¹àÅ‹Á á¹Ç·Ò§ºÒ§»ÃСÒÃ㹡ÒÃʹѺʹع ¡ÒôíÒà¹Ô¹§Ò¹´ŒÒ¹ÇѤ«Õ¹ º·ºÒ·¢Í§ÇѤ«Õ¹ã¹ÁËÒÍØ·¡ÀÑ Recombinant DNA Technology ÊÙ‹¡ÒþѲ¹ÒÇѤ«Õ¹Çѳâ䪹ԴãËÁ‹ ¡ÒÃÈÖ¡ÉÒÇԨѷҧ¤ÅÔ¹Ô¡ÃÐÂÐ IIB ¢Í§ÇѤ«Õ¹ Çѳâ䪹ԴãËÁ‹ ã¹»ÃЪҡ÷ÕèµÔ´àª×éÍ àͪäÍÇÕ A Word A Day Ç‹Ò´ŒÇ¤íÒ “Tuberculosis” »ÃСÒÈÃÒª×èͼٌࢌÒÃͺµÑ´ÊÔ¹¡ÒûÃСǴÍ͡ẺµÃÒÊÑÞÅѡɳʶҺѹÇѤ«Õ¹áË‹§ªÒµÔ

Upload: national-vaccine-institute

Post on 22-Feb-2016

225 views

Category:

Documents


0 download

DESCRIPTION

จดหมายข่าว สถาบันวัคซีนแห่งชาติ ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 เดือนธันวาคม 2554

TRANSCRIPT

Page 1: newsletter NVI (5/1/54)

จดหมายขาวสถาบันวัคซีนแหงชาติ กรมควบคุมโรค

ปที่ 5 ฉบับที่ 1 เดือนธันวาคม 2554

à¹×éÍËÒÀÒÂã¹àÅ‹Áá¹Ç·Ò§ºÒ§»ÃСÒÃ㹡ÒÃʹѺʹع¡ÒôíÒà¹Ô¹§Ò¹´ŒÒ¹ÇѤ«Õ¹

º·ºÒ·¢Í§ÇѤ«Õ¹ã¹ÁËÒÍØ·¡ÀÑÂ

Recombinant DNA TechnologyÊÙ‹¡ÒþѲ¹ÒÇѤ«Õ¹Çѳâ䪹ԴãËÁ‹

¡ÒÃÈÖ¡ÉÒÇÔ̈ Ñ·ҧ¤ÅÔ¹Ô¡ÃÐÂÐ IIB ¢Í§ÇѤ«Õ¹Çѳâ䪹ԴãËÁ‹ ã¹»ÃЪҡ÷ÕèµÔ´àª×éÍàͪäÍÇÕ

A Word A Day Ç‹Ò´ŒÇ¤íÒ “Tuberculosis”

»ÃСÒÈÃÒª×èͼٌࢌÒÃͺµÑ´ÊÔ¹¡ÒûÃСǴÍ͡ẺµÃÒÊÑÞÅѡɳ�ʶҺѹÇѤ«Õ¹áË‹§ªÒµÔ

Page 2: newsletter NVI (5/1/54)

จดหมายขาว “สถาบันวัคซีนแหงชาติ”

ปที่ 5 ฉบับที่ 1 เดือนธันวาคม 2554

ที่ปรึกษา :

นพ.ศุภชัย ฤกษงาม

นพ.ศุภมิตร ชุณหสุทธิวัฒน

บรรณาธิการ :

ดร.นพ.จรุง เมืองชนะ

ผูชวยบรรณาธิการ :

วรวรรณ กลิ่นสุภา เกศินี มีทรัพย

กฤษณา นุราช นันทะภร แกวอรุณ

ภาพปกและภาพประกอบ :

ณัฐ จินดาประชา

มัญชุรัศมิ์ เถื่อนสุคนธ

ประสานการพิมพและเผยแพร :

สุรเดช คําเอี่ยม

อรอุมา อาจปกษา

ติดตอ :

สถาบันวัคซีนแหงชาติ อาคาร 4 ชั้น 2

กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข

ถนนติวานนท ต. ตลาดขวัญ อ. เมือง

จ. นนทบุรี 11000

โทรศัพท 0 2590 3196−8

โทรสาร 0 2965 9152

www.nvco.go.th

พิมพที่ :

สํานักงานกิจการโรงพิมพองคการสงเคราะหทหารผานศึก

ในพระบรมราชูปถัมภ

º·ºÃóҸԡÒà มหาอุทกภัยที่ผ านมาทําให เครือข ายวัคซีนได รับผลกระทบกันทั่วหนา โดยเฉพาะอยางยิ่งบริษัทไบโอเนท-เอเชีย จํากัด ก็ตองขอแสดงความเสียใจและเอาใจชวยใหกาวลวงอุปสรรคในครั้งนี้ไดอยางเขมแข็ง และอีก ไมถึง 5 เดือน ก็จะครบรอบปของการประกาศ “วาระแหงชาติดานวัคซีน” เพื่อการพึ่งตนเองและความมั่นคงของประเทศดานวัคซีน สิ่งสําคัญที่พวกเราสถาบันวัคซีนแหงชาติและเครือขาย ไดเรียนรูในหวงเวลาที่ผานมา คือ เชื่อวานักการเมืองและผู บริหารระดับสูงในประเทศไดหันมาใหการสนับสนุนการวิจัยพัฒนาวัคซีนกันมากยิ่งขึ้น แตอยางไรก็ตาม “กลไกสนับสนุนที่สอดคลอง กับเจตนารมณเหล านี้อย างจริงจังและปฏิบัติ ได จริง” เป นสิ่ งจําเป นโดยเฉพาะอยางยิ่งด านงบประมาณและการสนับสนุนการลงทุน ผู อ านคนหาคําตอบไดในบทความที่นําเสนอ ซึ่งเปนสวนหนึ่งของความพยายามที่ สถาบันฯ ได ดํ า เนินการเพื่ อสร างความชัด เจน และเป นแนวทางในการจัดทําขอเสนอเพื่อเปนกลไกในการสนับสนุนการดําเนินการดานวัคซีน ใหเปนรปูธรรมตอไป รวมถงึการทบทวนเอกสารบทบาทของวคัซนีในภาวะนํา้ทวม ตลอดจนเทคโนโลยีในการพัฒนาวัคซีนวัณโรคชนิดใหม หวังเปนอยางยิ่งวาบทความและข าวสารที่ เสนอคงจะเป นประโยชน และขอความกรุณาผูอานไดทาํแบบประเมนิจดหมายขาวทางเวบ็ไซตของสถาบนั www.nvco.go.th เพื่อการพัฒนาปรับปรุงตอไปดวย จักขอบพระคุณเปนอยางสูงครับ

บรรณาธิการธันวาคม 2554

เย็นศิระ เพราะพระบริบาล ศิระเกลา บังคม บรมบาท ภูวนาถ จอมบดินทร ปินไอศูรย ธ ปกเกศ พสกไทย พนอาดูร ธ เป็นศูนย รวมใจ ไทยนิรันดร แปดสิบสี่ พระวสา มหามาส ไทยทั้งชาติ นอมมโน เชิญพระขวัญ พระมิ่งฟา ฉัตรแกว จอมราชันย ขอพระองค เกษมสันต ทิวาวาร

ดวยเกลาดวยกระหมอมขอเดชะ ขาพระพุทธเจา สถาบันวัคซีนแหงชาติ

Page 3: newsletter NVI (5/1/54)

จดหมายข่าวสถาบันวัคซีนแห่งชาติ 1

ารด�าเนนิงานด้านวคัซนีในปัจจบุนัมคีวามเคลือ่นไหว

และก้าวหน้าในหลายด้าน บทความนี้ขอน�าเสนอ

เกีย่วกบัค�าแนะน�าของวฒุสิภาในการพฒันาวคัซนี ตลอดจน

ค�าชี้แจงของส�านักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน

และส�านักงบประมาณต่อการด�าเนินงานด ้านวัคซีน

ซึ่งผู้ท�าการวิจัยพัฒนาวัคซีนควรทราบ

ในปีที่ผ่านมา คณะกรรมาธิการการสาธารณสุข

วุฒิสภา ได้มีการจัดประชุมเกี่ยวกับการพัฒนาวัคซีน

โดยเชญิหน่วยงานบางหน่วยงานไปชีแ้จงรวมทัง้สถาบนัวคัซนี

แห่งชาติ และมีการศึกษาดูงานหน่วยผลิตบางหน่วย แล้วจึง

ส่งจดหมายถึงสถาบันวัคซีนแห่งชาติ เพื่อให้ข้อเสนอแนะ

ในการด�าเนินงานด้านวัคซีนต่าง ๆ สรุปได้ดังนี้

• ประเทศไทยควรมจีดุยนืในการผลติวคัซนีเพือ่การพึง่พา

ตนเองได้อย่างชัดเจน โดยต้องมีกลไกต่าง ๆ ที่ต้อง

มีความเข้มแข็ง บุคลากรต้องมีความเชี่ยวชาญ และ

กระบวนการผลิตที่ต้องมีมาตรฐาน

• การน�าวัคซีนไปใช ้ เป ็นกระบวนการที่ส� าคัญและ

ต้องมีระบบที่เกี่ยวข้องที่ได้มาตรฐาน มีการติดตาม

ประสิทธิภาพ ความมั่นคงอย่างต่อเนื่องทั้งระบบ

• การด�าเนินงานด้านวิชาการควรเป็นไปในรูปแบบ

กรรมการ โดยความร่วมมือระหว่างหน่วยงานต่าง ๆ

ที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งสถาบันการศึกษาด้วย

• การบริหารจัดการในการด�าเนินการด้านวัคซีน ต้องมี

กลไกกลางในการประสานกับภาคส่วนต่างๆ โดยต้อง

มีหน่วยงานกลางท�าหน้าที่หลักของประเทศ อาจเป็น

หน่วยงานอสิระภายใต้พระราชบญัญตั ิหรอื เป็นองค์การ

มหาชนภายใต้พระราชกฤษฎีกา ซึ่งมีสถานะที่ถูกต้อง

ตามกฎหมาย อนัจะท�าให้เกดิการจดัสรรปัจจยัสนบัสนนุ

อืน่ๆ เช่น งบประมาณ บคุลากร ฯลฯ

• การด�าเนนิการในลกัษณะบรษิทัร่วมค้ายงัมคีวามจ�าเป็น

และควรมีอยู่ แต่ต้องพิจารณาการผูกขาดตลาด และ

การก�าหนดรายละเอยีดของการต่อรองแลกเปลีย่นต่างๆ

เนื่องจากอาจเกิดสงครามราคายาที่จะกระทบต่อผู้ผลิต

วัคซีนในประเทศ แต่หากยังเป็นบริษัทร่วมทุนกันอยู่

นั้น รัฐต้องมีนโยบายให้บริษัทฯ สามารถพัฒนาวัคซีน

จนผลติวคัซนีได้ทัง้ระบบ (Upstream to downstream)

ทั้งนี้การพิจารณาลงทุนผลิตวัคซีนโดยทางเลือกอื่น

ที่นอกเหนือไปจากการใช้งบประมาณของรัฐ เช่น

การกู้เงินจากธนาคารโลก การเข้าซื้อกิจการของบริษัท

ที่มีความพร้อม ก็เป็นสิ่งที่ควรพิจารณาด้วย

• ปัญหาส�าคญัอืน่ ๆ เช่น การผลกัดนัให้มกีารแก้ไขปัญหา

ที่เกี่ยวข้องกับมาตรฐานโรงงานผลิตวัคซีน ในด้านการ

สนับสนุนการลงทุนด้านวิจัยพัฒนาและผลิตวัคซีน

ในประเทศ

แนวทางบางประการในการสนับสนุนการด�าเนินงานด้านวัคซีน

เกศินี มีทรัพย์

Page 4: newsletter NVI (5/1/54)

จดหมายข่าวสถาบันวัคซีนแห่งชาติ2

ส่วนส�านกังานคณะกรรมการส่งเสรมิการลงทนุ

ได้ตอบข้อหารือของสถาบันวัคซีนแห่งชาติเกี่ยวกับเรื่องนี้

โดยสรุปดังนี้

• หน่วยงานที่จะขอรับการสนับสนุนการลงทุนต้องเป็น

บรษิทั มลูนธิ ิหรอืสหกรณ์ เท่านัน้ ในกรณสีถานเสาวภา

และองค์การเภสัชกรรม หากมีความประสงค์ขอรับ

การลงทุนสามารถด�าเนินโดยการจัดตั้งกิจการในรูป

บริษัท มูลนิธิ หรือสหกรณ์ได้

• นโยบายในปัจจุบันได้ให้ความส�าคัญแก่การวิจัยพัฒนา

และผลิตวัคซีนอยู่แล้ว โดยเป็นการส่งเสริมในกิจการ

เทคโนโลยีชีวภาพ โดยได้รับสิทธิประโยชน์ เช ่น

การยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลเป็นเวลา 8 ปี นับแต่

วันที่มีรายได้ครั้งแรก ซึ่งรวมถึงกรณีที่มีการท�าวิจัย

และพัฒนาวัคซีนด้วย

• การขยายเวลาการยกเว้นภาษเีงนิได้นติบิคุคลให้มากกว่า

8 ปี เป็นเรื่องระดับนโยบายที่ต้องได้รับความเห็นชอบ

จากคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน จึงต้องศึกษา

ความเหมาะสมโดยรอบคอบ คาดว่าต้องใช้ระยะเวลา

พอสมควร

นอกจากนี้ในเรื่องของงบประมาณ สถาบันวัคซีน

แห่งชาติ ได้หารือส�านักงบประมาณเกี่ยวกับการสนับสนุน

โครงการใน “วาระแห่งชาติด้านวัคซีน” ได้ข้อแนะน�า

สรุปแนวทางการด�าเนินการในเรื่องนี้ได้ดังนี้

• บรรจุโครงการเหล่านี้ในแผนยุทธศาสตร์การจัดสรร

งบประมาณโดยไม่รวมอยู ่ในงบประมาณปกติของ

หน่วยงาน หรือ

• พิจารณาให้สถาบันวัคซีนแห่งชาติเป ็นหน่วยงาน

ทีเ่สนอของบประมาณในภาพรวมทัง้หมด ตัง้แต่ พ.ศ.2556

และเมือ่อนมุตังิบประมาณแล้ว ให้สถาบนัวคัซนีแห่งชาติ

เป็นผู ้จัดสรรงบประมาณให้หน่วยงานผู ้รับผิดชอบ

แต่ละโครงการ

จากการที่หน่วยงานของรัฐที่จะสามารถตั้ง

งบประมาณได้ ต้องเป็นหน่วยงานทีม่สีถานะเป็นส่วนราชการ

ตั้งแต่ระดับกรมหรือเทียบเท่าขึ้นไป หรือรัฐวิสาหกิจตาม

พระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ พ.ศ.2502 ประกอบกับ

การทีร่ฐับาลจะเสนอขอตัง้งบประมาณให้แก่หน่วยงานต่างๆ

ต ่อรัฐสภาจะต ้องเป ็นกรณีที่มี เหตุผลความจ�า เป ็น

ในการใช้จ ่ายงบประมาณตามภารกิจและความพร้อม

ที่จะด�าเนินการ โดยจะต้องระบุวัตถุประสงค์ แผนงาน

โครงการในแต่ละรายการเพือ่ให้ส่วนราชการหรอืรฐัวสิาหกจิ

ต่าง ๆ ทีไ่ด้รบัการจดัสรรงบประมาณไปใช้จ่ายให้ชดัเจนด้วย

กรณทีีห่น่วยงานต่าง ๆ ในวาระแห่งชาตด้ิานวคัซนี

ไม่สามารถขอตั้งงบประมาณใน พ.ศ.2555 ได้ทัน เนื่องจาก

กระบวนการภายในของหน่วยงานและการจัดท�าแผน

งบประมาณในเชิงบูรณาการได้ จึงไม่สามารถใช้เป็นเหตุผล

ในการเสนอขอตั้งงบประมาณไว้ที่สถาบันวัคซีนแห่งชาติได้

และการบรรจุโครงการด้านวัคซีนไว้ในแผนยุทธศาสตร์

การจดัสรรงบประมาณ โดยไม่รวมอยูใ่นงบประมาณปกตขิอง

หน่วยงาน เนื่องจากแผนยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณ

จะถูกก�าหนดโดยเชื่อมโยงกับแผนบริหารราชการแผ่นดิน

หรอืนโยบายของรฐับาลเป็นส�าคญั และต้องผ่านความเหน็ชอบ

จากคณะรัฐมนตรีก่อน

Page 5: newsletter NVI (5/1/54)

จดหมายข่าวสถาบันวัคซีนแห่งชาติ 3

ภาพของน�้ าท ่วมขังในมหาอุทกภัยอาจท�าให ้

การด�าเนินชีวิตของผู ้คนขาดการสุขาภิบาลที่ดี

น�า้ประปาทีใ่ช้อปุโภคบรโิภคอาจไม่สามารถควบคมุคณุภาพ

ได้ตามมาตรฐาน การจัดเก็บขยะท�าได้ล�าบาก จึงอาจเป็น

สาเหตุให้เกิดการเพาะพันธ์ุและแพร่กระจายของเชื้อ

จุลินทรีย์ก่อโรคและพาหะน�าโรคได้เป็นอย่างดี โรคติดต่อ

ที่มักเกิดในช่วงน�้าท่วมและหลังน�้าลด มีทั้งโรคที่ติดต่อ

จากอาหารและน�้าเป็นสื่อ เช่น อุจจาระร่วงอาหารเป็นพิษ

ไข้ทยัฟอยด์ บดิ ตบัอกัเสบเอ โรคมอืเท้าปาก และโรคฉีห่นหูรอื

เลปโตสไปโรซิส, ส่วนโรคระบบทางเดินหายใจที่พบบ่อย

ที่ส�าคัญ คือ โรคไข้หวัดใหญ่และปอดอักเสบ นอกจากนี้ยังมี

โรคตาแดง ไข้เลือดออก เป็นต้น

โรคตดิต่อในสภาวะน�า้ท่วมดงักล่าวข้างต้นบางโรค

มีวัคซีนป้องกัน เกือบทั้งหมดเป็นวัคซีนนอกแผนงาน

สร้างเสรมิภมูคิุม้กนัโรค (EPI) โดยทัว่ไปวคัซนีป้องกนัโรคเหล่านี้

ยังไม่มีที่ใช้ในสภาวะน�้าท่วมอย่างชัดเจน โดยในบทความนี้

จะยกตัวอย่างวัคซีนบางตัว

วัคซีนอหิวาตกโรค – เป็นวัคซีนเชื้อตายชนิดกิน

ทีม่จี�าหน่ายในวงกว้าง คอื Dukoral และ Shanchol/mOR-

CVAX 2 โดส ห่างกัน 14 วัน ใช้ได้ในอายุ > 1 และ > 2 ปี

ตามล�าดับ แนะน�าให้กระตุ ้นทุก 2 ปี วัคซีนกระตุ ้น

ภมูคิุม้กนัและป้องกนัโรคได้ 7-10 วนั หลงัได้รบัวคัซนี โดสที ่2

ประสิทธิผลทางคลินิก (efficacy) เมื่อ 4-6 เดือน 1 ปี

และ 2 ป ี คือ 86-66%, 62-45% และ 77-58%

ตามล�าดับ ขณะนี้ยังไม่มีรายงานอาการข้างเคียงที่รุนแรง

การใช้วคัซนีอหวิาตกโรคในภาวะฉกุเฉนิพบว่าต้องใช้ทรพัยากร

และเวลามาก ตัวอย่างเช่น ในจังหวัดอาเจะห์ อินโดนีเซีย

หลงัสนึาม ิ(พ.ศ. 2548) การให้วคัซนีในประชากร 79,000 คน

ต้องใช้เวลาในการให้วัคซีน 6 เดือน ต้องละลายวัคซีน

กับบัฟเฟอร์ด้วยน�้าสะอาด บรรจุภัณฑ์วัคซีนมีขนาดใหญ่

ประมาณ 30 เท่าเมื่อเทียบกับวัคซีนชนิดอื่น จึงต้องการ

พืน้ทีใ่นเกบ็วคัซนีมากกว่าปกต ิและครอบคลมุกลุม่เป้าหมาย

ท�าได้เพียง 69% ส่วนในประเทศไทยในปัจจุบันพบว่า

ºทºาทของวัคซีนในมหาอØทกÀัย วรวรรณ กลิ่นสุภา

บริการฉีควัคซีนไข้หวัดใหญ่แก่ผู้สูงอายุ

ในพิ้นที่ประสบภัยน�้าท่วม

Page 6: newsletter NVI (5/1/54)

จดหมายข่าวสถาบันวัคซีนแห่งชาติ4

การระบาดของอหิวาตกโรคมักเกิดในแรงงานต่างชาติหรือ

ผู ้อพยพเขตชายแดนซึ่งความเป็นอยู ่และการสุขาภิบาล

ไม่ดี พบในประชากรไทยน้อย ยังพบโรคนี้มากในประเทศ

ที่การสุขาภิบาลยังไม่ดี เช่น อินเดีย บังคลาเทศ หรือใน

ทวีปอัฟริกาหลายประเทศ เป็นต้น

วัคซีนทัยฟอยด์ – วัคซีนรุ่นใหม่มี 2 ชนิด คือ

วัคซีนเชื้อเป็นชนิดกิน และวัคซีนเชื้อตายชนิดฉีด ใช้ได้ทั้ง

ผูใ้หญ่และเดก็ทีม่อีาย ุ2 ปีขึน้ไป ประเทศไทยมกีารขึน้ทะเบยีน

เฉพาะชนิดฉีด โดยฉีดหนึ่งโดส สามารถป้องกันโรคได้

เมื่อได้รับวัคซีนแล้วประมาณ 7 วัน มีประสิทธิผลทางคลินิก

ประมาณร้อยละ 70 ป้องกันโรคได้ประมาณ 3 ปี ส่วนวัคซีน

ชนดิกนิมทีัง้แบบแคปซลูและแบบน�า้ มปีระสทิธภิาพใกล้เคยีง

กับชนิดฉีด แตกต ่างที่ จ� านวนโด ส วัคซีนเหล ่านี้มี

ความปลอดภัยสูง ยังไม ่พบอาการข้างเคียงที่รุนแรง

ส�าหรับโรคทัยฟอยด์ในปัจจุบันในประเทศไทยมีรายงาน

การเกิดโรคน้อย พบโรคนี้มากในประเทศที่การสุขาภิบาล

ยังไม่ดีดังที่ได้กล่าวข้างต้นแล้ว

วัคซีนไวรัสตับอักเสบเอ – ปัจจุบันมีวัคซีนใน

ท้องตลาดหลายบริษัท ส่วนใหญ่เป็นวัคซีนเชื้อตายชนิดฉีด

ซึ่งขึ้นทะเบียนในประเทศไทยแล้ว ประสิทธิผลทางคลินิก

ประมาณ 94−100% หลงัจากได้รบัวคัซนีประมาณ 3 สปัดาห์

และควรได้รับการกระตุ้นอีกครั้งประมาณ 6−12 เดือน

หลังได้รับวัคซีนเข็มแรก ขณะนี้ยังไม ่พบรายงานของ

อาการข้างเคียงที่รุนแรง ในประเทศไทยพบว่าเด็กเล็กเริ่มมี

การติดเชื้อตามธรรมชาติลดลงเมื่อเทียบกับในอดีต

ส่วนผู้ใหญ่มักมีภูมิคุ้มกันโรคแล้ว

วัคซีนเลปโตสไปโรซิส – มีวัคซีนป้องกันส�าหรับ

สตัว์และคน หลายประเทศรวมทัง้ประเทศไทยมกีารใช้วคัซนี

ชนิดนี้ในปศุสัตว์และสัตว์เลี้ยง เช่น สุนัข วัว ควาย และ

หมู เป็นต้น ส�าหรับการใช้วัคซีนในคนยังไม่เป็นที่แพร่หลาย

มีการใช้เฉพาะในบางประเทศที่มีการผลิตวัคซีนนี้ ได้แก่

จีน ญี่ปุน คิวบา ฝรั่งเศส เวียดนาม และเกาหลีใต้ ส่วนมาก

เป็นวัคซีนเชื้อตายจ�าเพาะส�าหรับสายพันธ์ุที่ระบาดใน

ประเทศดังกล่าว ในประเทศไทยยังไม่มีวัคซีนชนิดนี้ในคน

โดยพบว่าโรคนี้มีความสัมพันธ์กับภาวะน�้าท่วมและการปวย

มีความรุนแรงสูง

วัคซีนไวรัสโรตา – เชื้อไวรัสโรต้า เป็นสาเหตุ

ส�าคัญของโรคอุจจาระร่วงในเด็กเล็กเป็นวัคซีนเชื้อเป็น

ชนดิกนิ ปัจจบุนัม ี2 บรษิทั วคัซนีโดสแรกให้ในเดก็อาย ุ6-12

สัปดาห์ และโดสสุดท้ายอายุไม่ควรเกิน 24 สัปดาห์ วัคซีนมี

สาธารณสขุอ�าเภอศรรีาชาจดัเจ้าหน้าทีฉ่ดีวคัซนีไข้หวดัใหญ่ในผูท้ีพ่กั

อาศัยในศูนย์พักพิงชั่วคราวค่ายลูกเสือ

Page 7: newsletter NVI (5/1/54)

จดหมายข่าวสถาบันวัคซีนแห่งชาติ 5

ประสิทธิผลทางคลินิกป้องกันโรคอุจจาระร่วงอาการรุนแรง

ได้มากกว่า 95% โดยมีภูมิคุ้มกันจ�าเพาะต่อสายพันธ์ุ และ

วัคซีนสามารถป้องกันการเกิดโรคหรือลดความรุนแรงของ

โรคข้ามสายพันธ์ุได้ อย่างไรก็ตามถึงแม้ในประเทศไทย

จะพบโรคนี้ในสัดส่วนที่สูงของโรคอุจจาระร่วงในเด็กเล็ก

แต่ไม่พบว่ามีความสัมพันธ์กับภาวะน�้าท่วม

โดยทัว่ไปถงึแม้จะเป็นทีย่อมรบักนัว่าการใช้วคัซนี

จะมปีระสทิธภิาพและมคีวามคุม้ทนุสงูในการควบคมุป้องกนั

โรค แต่แนวทางการพิจารณาการใช้วัคซีนในภาวะฉุกเฉิน

ส�าหรับประชาชนในภาพกว้างมีรายละเอียดแตกต่างจาก

การพิจารณาน�าวัคซีนมาใช้ในภาวะปกติทั่วไป และการใช้

วัคซีนอาจไม่ใช่ทางเลือกที่ดีที่สุดในภาวะฉุกเฉินเพราะ

มกัมข้ีอจ�ากดัด้านต่างๆ อยูม่าก ส�าหรบัสถานการณ์น�า้ท่วม

ในครั้งนี้ การใหความรู ด านสุขอนามัยแก่ประชาชน

การปรับปรุงสุขาภิบาลอาหาร น�้า ขยะมูลฝอยและ

สิ่งปฏิกูลใหถูกสุขลักษณะ รวมทั้งการเฝาระวังและ

การสอบสวนโรคอย่างทันท่วงที ถือเปนหัวใจส�าคัญ

ส่วนการใชวัคซีนเปนเพียงมาตรการเสริมเท่านั้น

ในเหตุการณ์น�้าท่วมที่ผ่านมากรมควบคุมโรค

กระทรวงสาธารณสุข ไม่ได้แนะน�าให้ใช้วัคซีนดังกล่าว

แต่ก็ได้มีการให้ค�าแนะน�าการใช้วัคซีนบาดทะยักและ

ไข้หวัดใหญ่ในบางกลุ่ม คือ 1) การให้วัคซีนบาดทะยัก

แบบล่วงหน้า (pre-exposure) แก่อาสาสมคัร ทหาร ต�ารวจ

ที่ปฏิบัติหน้าที่ช ่วยเหลือผู ้ประสบอุทกภัยเนื่องจากมี

ความเสีย่งทีจ่ะเกดิบาดแผล แต่ควรตรวจสอบประวตักิารได้รบั

วัคซีนที่มีส่วนประกอบของบาดทะยักก่อน เพื่อป้องกัน

การได้รับภูมิคุ้มกันมากเกินได้ และ 2) รณรงค์การให้วัคซีน

ไข้หวัดใหญ่ตามฤดูกาลแก่ประชาชนที่อาศัยในศูนย์พักพิงที่

มีขนาดใหญ่ตั้งแต่ 1,000 คนขึ้นไป โดยศูนย์พักพิงแห่งนั้น

จะต ้องมีแพทย์อยู ่ประจ�าเพื่อดูแลหากผู ้ ได ้รับวัคซีน

เกิดอาการไม่พึงประสงค์ภายหลังได้รับวัคซีน และกลุ่ม

ประชากรเป้าหมายในการให้วัคซีนเป็นกลุ ่มเดียวกับ

ที่กระทรวงสาธารณสุขแนะน�าทุกปี

การฉีควัคซีนบาดทะยักให้กับทหาร

Page 8: newsletter NVI (5/1/54)

จดหมายข่าวสถาบันวัคซีนแห่งชาติ6

Recombinant DNA Technology หรือที่

เรียกว่าเทคโนโลยีดีเอ็นเอสายผสม เป็นกระบวนการทาง

พันธุวิศวกรรม (Genetic engineering) โดยการตัดต่อ

ชิ้นส่วนดีเอ็นเอที่ต้องการเข้าไปเชื่อมกับดีเอ็นเอพาหะ เช่น

bacterial plasmid หรือ viral vector ท�าให้ได้ดีเอ็นเอ

โมเลกุลใหม่ซึ่งเรียกว่าดีเอ็นเอสายผสม จากนั้นน�าไปโคลน

เข้าสู่ระบบ expression system ที่เหมาะสม เช่น ใน

แบคทเีรยี ยสีต์ หรอืเซลล์เพาะเลีย้ง เพือ่ให้มกีารสร้างชิน้ส่วน

ดีเอ็นเอหรือสารที่ต้องการออกมา โดยวัตถุประสงค์ของ

เทคโนโลยดีเีอน็เอสายผสมคอื การน�าไปสูค่วามเปลีย่นแปลง

หรือปรับปรุงลักษณะทางพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิตให้ที่มี

คุณสมบัติในการสร้างการที่ต้องการได้ นอกจากนี้ยังเป็นวิธี

Recombinant DNA Technology ÊÙ่การ¾ั²นาวัคซีนวัณโรคชนิดใหม่

นันทะภร แกวอรุณ

ที่ เหมาะส� าหรับการเพิ่ มปริมาณผลผลิต หรือ เป ็น

การปรับปรุงคุณภาพของผลผลิตให้ดียิ่งขึ้นอีกด้วย จึงมี

การน�าเอาเทคโนโลยีนี้มาใช้ส�าหรับผลิตสารทางชีวภาพ

(Biological products) ที่ใช้ในทางการแพทย์มากมาย

หลายชนิด อาทิเช่น ฮอร์โมน (Erythropoietin, Insulin,

Human growth hormone ฯลฯ) และวัคซีน (Rabies,

Hepatitis B ฯลฯ) เป็นต้น

ป ัจจุบันวัคซีนหลายชนิดถูกพัฒนาโดยใช ้

เทคโนโลยีดีเอ็นเอสายผสม ซึ่งถือเป็นเทคโนโลยีใหม่

ที่สามารถพัฒนาให้ได้วัคซีนที่มีประสิทธิภาพสูงและมี

ความปลอดภยัมากขึน้ วคัซนีวณัโรคชนดิใหม่กเ็ป็นอกีวคัซนี

ชนดิหนึง่ทีม่กีารพฒันาโดยเทคโนโลยนีี ้โดยมุง่หวงั ทีจ่ะพฒันา

Page 9: newsletter NVI (5/1/54)

จดหมายข่าวสถาบันวัคซีนแห่งชาติ 7

ให้ได้วัคซีนที่มีประสิทธิภาพสูงขึ้นมากกว่าวัคซีนที่ใช้อยู ่

ในปัจจุบันคือ วัคซีนบีซีจีที่มีประสิทธิภาพในการป้องกัน

วัณโรคได้ในเด็กเท่านั้น ตัวอย่างการพัฒนาวัคซีนวัณโรค

ชนิดใหม่ หรือ Recombinant BCG มีดังนี้

1. การพัฒนาโดยการท�าโคลนนิ่งยีนที่สร้าง

แอนติเจนหรือโปรตีนที่จ�าเพาะต่อเชื้อ M. tuberculosis

ที่เป็นสาเหตุของการก่อโรค เข้าไปในเชื้อ M. bovis (BCG)

ซึ่งเป็นเชื้อที่ไม่ก่อโรคในคน ท�าให้แบคทีเรีย M. bovis

มีการสร้างแอนติเจนหรือโปรตีนที่จ�าเพาะนั้นออกมา

ยกตัวอย่างวัคซีน rBCG30 ที่พัฒนาโดย UCLA (University

of California Los Angeles) เป็นวัคซีนเชื้อเป็น ซึ่งปัจจุบัน

อยู่ในระหว่างการทดสอบทางคลินิกระยะที่ 3

2. การดัดแปลงพันธุกรรมของเชื้อ M. bovis

(BCG) โดยท�าให้มีคุณสมบัติในการกระตุ้นระบบภูมิคุ้มกัน

ให้ดขีึน้ ยกตวัอย่างเช่น VPM1002 ทีม่กีารดดัแปลงพนัธกุรรม

ของเชือ้ M. bovis (BCG) โดยกระบวนการทางพนัธวุศิวกรรม

ท�าให้ได้วัคซีนเชื้อเป็นอ่อนฤทธิ์ที่คาดว่าจะกระตุ้นระบบ

ภูมิคุ ้นกันได้ดียิ่งขึ้น ซึ่งปัจจุบันวัคซีนชนิดนี้อยู ่ระหว่าง

การทดสอบทางคลินิกระยะที่ 1-2

จะเห็นได้ว่าเทคโนโลยีดีเอ็นเอสายผสมนั้นได้

ถูกน�ามาใช้ประโยชน์อย่างกว้างขวางและแพร่หลาย และ

ถือเป็นเทคโนโลยีใหม่ที่ได้รับความสนใจจากนักวิจัยพัฒนา

ทั่วโลกในการน�ามาใช้ผลิตและพัฒนาวัคซีนชนิดต่างๆ

ซึง่ล้วนแล้วแต่เป็นวคัซนีทีส่�าคญั โดยเฉพาะการพฒันาวคัซนี

วัณโรค ซึ่งถือเป็นโรคติดต่อที่มีความร้ายแรง แต่อย่างไร

ก็ตามการพัฒนาวัคซีนป้องกันวัณโรคขนิดใหม่ยังมีอีกหลาย

รูปแบบ และการพัฒนาโดย Recombinant technology

ถอืเป็นเพยีงทางเลอืกในการพฒันาวคัซนีรปูแบบหนึง่เท่านัน้

แถบชิ้นส่วนดีเอ็นเอบนแผ่นเจลอะกาโรส

การเชื่อมต่อชิ้นส่วนระหว่างดีเอ็นเอต่างสายพันธ์ุในขั้นตอนการท�าดีเอ็นเอลูกผสม

Page 10: newsletter NVI (5/1/54)

จดหมายข่าวสถาบันวัคซีนแห่งชาติ8

ปัจจุบันมีผู้เสียชีวิตจากวัณโรคจ�านวน 1.7 ล้านคนต่อปี และประชากรทั่วโลกจ�านวน 2,000 ล้านคน อยู่ในภาวะติดเชื้อวัณโรคแล้ว ทั้งนี้ผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่อาศัยอยู่ในประเทศที่มีความชุกของวัณโรคสูง มีความเสี่ยงในการติดเชื้อมากกว่าคนที่ไม่ติดเชื้อเอชไอวีถึง 20 เท่าอีกด้วย ทั้งนี้วัณโรคเกี่ยวข้องกับการเสียชีวิตของผู้ติดเชื้อเอชไอวีประมาณร้อยละ 23 แม้ว่าองค์การอนามัยโลกแนะน�าให้ฉีดวัคซีนวัณโรคที่ได้ขึ้นทะเบียนแล้ว อย่างไรก็ตามวัคซีนที่มีอยู่ในปัจจุบันยังไม่มีประสิทธิภาพเพียงพอในการป้องกันโรคส�าหรับผู้ใหญ่ได้ องค์กร Aeras และ Oxford-Emergent Tubercu-losis Consortium (OETC) ได้ประกาศเมือ่เดอืนสงิหาคม 2011 ว่าได้เริ่มการศึกษาวิจัยเพื่อศึกษาประสิทธิผลของวัคซีนวัณโรค ในประชากรที่มีการติดเชื้อเอชไอวีแล้ว “วัคซีนตัวเลือกชนิดนี้ นบัได้ว่ามคีวามก้าวหน้าทางด้านคลนิกิมากทีส่ดุในวคัซนีรุน่ใหม่ ที่พัฒนาเพื่อต่อสู ้กับเชื้อวัณโรคและการระบาดร่วมของเชื้อวัณโรคและเอชไอวี” การวิจัยนี้ด�า เนินการในประเทศเซเนกัลและแอฟรกิาใต้ เป็นการวจิยัทางคลนิกิระยะ IIB (Proof of concept) โดยได้รบัทนุสนบัสนนุเบือ้งต้นจาก European and Developing

Countries Clinical Trial Partnership (EDCTP) นับเป็น การศึกษาประสิทธิผลในประชากรที่ติดเชื้อเอชไอวีครั้งแรก ด้วยวคัซนี MVA85A ซึง่วจิยัและพฒันาโดย OETC และคาดหวงัว่า การศกึษานีจ้ะได้ข้อมลูความปลอดภยั การกระตุน้ ระบบภมูคิุม้กนั และประสิทธิภาพของวัคซีน การศกึษาจะทดสอบในอาสาสมคัรผูใ้หญ่ 1,400 ราย อายุ 18−50 ปี ที่ติดเชื้อเอชไอวี โดยหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ UK Medical Research Council in the Gambia องค์กร Aeras และมหาวิทยาลัยอ็อกฟอร์ด ใน 2 พื้นที่วิจัย คือ University of Capetown (UCT) Institute of Infectious Disease and Molecular Medicine เมือง Khayelitsha ประเทศแอฟริกาใต้ และ Laboratoire de Bacteriologie-Virologie du Centre Hospitalier Universitaire Arictide Le Dantec เมือง Dakar ประเทศเซเนกลั โดยทีก่�าลงัจะมผีลการศกึษาวจิยัทางคลนิกิของวคัซนีวณัโรคตวัเลอืกชนดินี ้ในอาสามคัรเดก็ทารกจ�านวน 3,000 รายที่เข้าร่วมโครงการด้วย การพัฒนาวัคซีนวัณโรคตัวเลือกนี้ นับเป็นเรื่องที่มีความส�าคัญเร่งด่วน ทั้งนี้การพัฒนาวัคซีนให้ส�าเร็จต้องการความร่วมมือระดับนานาชาติ โดยองค์กร Aeras เป็นผู้สนับสนุนการวิจัยทางคลินิกและทุน ส่วน EDCTP สนับสนุนโครงการ multicenter ซึ่งมีทั้งการศึกษาวิจัยทางคลินิก การพัฒนาศักยภาพของบุคลากรและเครือข่ายอื่น ๆ รวมทั้ง Scientist Institute of Public Health (WIV-ISP) ประเทศเบลเยียม ซึ่งเป็นผู้ค้นพบแอนติเจน 85A ซึ่งใช้วิจัยพัฒนาวัคซีนตัวเลือก การพฒันาวคัซนีตวัเลอืกชนดินีน้บัเป็นความหวงัของชาวโลกทีจ่ะมเีครือ่งมอืใหม่ในการป้องกนัควบคมุโรค โดยเฉพาะในประชากรกลุ่มเสี่ยงและความฝันที่จะท�าให้โลกนี้ปราศจากวัณโรคให้ได้ในที่สุด

การศกึษาวจิยัทางคลนิกิระยะ IIB ของวคัซนีวณัโรคชนดิใหม่ ในประชากรที่ติดเชื้อเอชไอวี

เกศินี มีทรัพย์

Page 11: newsletter NVI (5/1/54)

»ÃСÒÈÃÒª×èͼٌࢌÒÃͺµÑ´ÊÔ¹¡ÒûÃСǴÍ͡ẺµÃÒÊÑÞÅѡɳ� “ʶҺѹÇѤ«Õ¹áË‹§ªÒµÔ”

ตามที่สถาบันวัคซีนแหงชาติ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ไดจัดใหมีการประกวดออกแบบ

ตราสัญลักษณประจําสถาบันฯ ในระหวางวันที่ 15 สิงหาคม – 15 ธันวาคม 2554 ขณะนี้ คณะกรรมการ

ตัดสินการประกวดฯ ไดลงมติเลือกผลงานที่ผานเขารอบ จํานวน 3 ผลงาน ไดแก

นายปริญญา บุญชัย จังหวัดเชียงใหม

นายสมชาย นิลแกว จังหวัดปทุมธานี

นายอดิศร ฟาสาง กรุงเทพมหานคร

เมื่อเจาของผลงานทั้งสามไดปรับแกไขผลงานเรียบรอยแลว จะนํามาพิจารณาผลงานชนะเลิศในเดือน

มกราคม 2555 ผลงานที่ไดรับรางวัลจะนําไปจัดทําตราสัญลักษณสําหรับใชในกิจกรรมของสถาบันตอไป

Page 12: newsletter NVI (5/1/54)

การศึกษาที่มาของคําศัพท โดยอาศัยเอกสาร

โบราณ การเปรียบเทียบกับภาษาอื่น ๆ การสืบสรางประวัติ

ของคํา วาคํานั้นมีการใชในภาษานั้น ๆ เมื่อใด มาจาก

แหลงใด และมีการพัฒนาและเปลี่ยนแปลงความหมาย

อยางไร นักภาษาศาสตร (Linguist) เรียกการศึกษาดังกลาว

วา Etymology หรือ ศัพทมูลวิทยา ซึ่งบางครั้งศาสตรนี้

ยังมีความเกี่ยวของกับวิชา นิรุกติศาสตร หรือ Philology

อีกดวย สําหรับจดหมายขาวฉบับนี้จะกลาวถึง Etymology

และ Philology ของคํา Tuberculosis

Tuberculosis [ ] ในความหมาย

ของ Oxford Dictionary คือ an infectious bacterial

disease characterized by the growth of nodules

(tubercles) in the tissues, especially the lungs. The

disease is caused by the bacterium Mycobacterium

tuberculosis or (especially in animals) a related

species; Gram-positive acid-fast rods

คํา Tuberculosis ปรากฏในพจนานุกรมเปน

ครั้งแรก ในป ค.ศ. 1860 มีวิวัฒนาการมาจากคําในภาษา

ละตินโบราณ (Classical Latin : ภาษาในกลุม Romance

โบราณ ไดแก อติาล ีฝรัง่เศส สเปน โปรตกุสี และโรมาเนยีน)

คอื tuberculum หมายถงึ small swelling (การพองบวม

ขนาดเล็กๆ) / pimple (ตุมสิว)/ lump (กอน) + คําปจจัย

จากภาษากรีก (suffix) – osis เปน suffix แสดงสภาวะของ

คาํนาม ซึง่ตอมาไดมาใชใันทางการแพทยหมายถงึ “a state

of disease” ดังนั้น Tuberculosis ในทางภาษาศาสตร

จึงหมายถึง สภาวะของโรคที่ทําใหเกิดอาการพองบวม

เปนกอน และใน ค.ศ. 1882 นายแพทยชาวเยอรมันนาม

Robert Koch ไดคนพบเชื้อโรคที่ทําใหเกิดวัณโรคและ

ใหชือ่วา Mycobacterium tuberculosis คาํ Tuberculosis

จึงเปนที่แพรหลายในวงการแพทยจนถึงปจจุบัน

A Word A Day Ç‹Ò´ŒÇ¤íÒ “Tuberculosis”ชินภัศมิ์ ลีจิโรภาสน