บทที่ 5 ครอบครัว

37
. อุกฤษฏ์ เฉล มแสน [email protected] SOC 1003 ครั้งที3 FAMILY RELIGION &

Upload: ru

Post on 07-Apr-2023

4 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

อ. อกุฤษฏ์ เฉลิมแสน

[email protected]

SOC 1003

ครัง้ท่ี 3

FAMILY RELIGION &

บ ท ท่ี 5

ค ร อ บ ค รัว

อ. อกุฤษฏ์ เฉลิมแสน

ภาคสงัคมวิทยาและมานุษยวิทยา

คณะมนุษยศาสตร ์มหาวิทยาลยัรามคาํแหง

ป ร ะ เ ด็น ก า ร บ ร ร ย า ย

ครอบครวักบัสงัคม

ความจาํเป็นท่ี

ต้องมี ลักษณะเฉพาะ

นิยาม

แนวทางการศึกษา

การเกิด

ครอบครัว

ประเภท

หน้า ท่ี

การส้ิน

สภาพ การสมรส

สถานะ

การสมรส

การเลือก

คู่ครอง

ข้อห้าม

การสมรส

1. ครอบครัวกับสังคม

มนุษย์เ ป็นสัตว์สังคม

ครอบครัวเ ก่ียวข้องกับมนุษย์ตั ้งแต่เ กิด

ความสัมพันธ์ เ ป็นแบบปฐมภูมิและทุติยภูมิ

มุมมองของสังคมวิทยาต่อครอบครัว

ครอบครวัมีความเป็นสถาบนั 3 ประการ

1 ) เ ป็นสถาบันทางสังคม

2 ) เ ป็นสถาบันท่ี เ ก่าแก่ ท่ีสุดของสังคม

3 ) เ ป็นสถาบันสากล

ครอบครัวเป็นวัฒนธรรมสากล

2. นิยามของครอบครัว

เป็นโครงสร้างทางสงัคม เกิดจากความสมัพนัธ์ทาง

สายเลือด การสมรส และการรบับุตรบุญธรรม

เป็นปรากฏการณ์ทางสงัคม และมีรปูแบบเฉพาะ

เป็นสมาชิกของสถาบนัทางสงัคมขัน้มูลฐาน

3. แนวทางการศึกษาของครอบครวั

มี 2 แนวทาง

3.1 แนวทางสงัคมศาสตร ์ประกอบด้วย 3 มุมมอง

แนวมานุษยวิทยา – ศึกษาการอยู่รวมกนัของชาย

หญิงในรปูสามีภรรยา การมีบุตรสืบสกลุ

แนวสงัคมวิทยา – การสร้างหมู่คณะในกลุ่มย่อย โดย

การสมรส เพ่ือการอยู่รอด

แนวจิตวิทยา – เน้นความสมัพนัธ์ระหว่างสมาชิก

ตามความสมัพนัธด้์านจิตใจ

3.2 แนวสุขศาสตร์ ประกอบด้วย 2 มุมมอง

เพศศึกษา – ศึกษาด้านกายวิภาค สรีรวิทยา

จิตวิทยา สงัคมวิทยา

เพศสมัพนัธ ์– ศึกษาการอยู่ร่วมกนัฉันสามีภรรยา

4. ลักษณะของครอบครัว

ระบบสงัคมท่ีเลก็ท่ีสดุ แต่มีอิทธิพลต่อสมาชิกมากท่ีสดุ

มีความสมัพนัธด้์านคู่ครอง

มีรปูแบบการแต่งงาน

มีการขนานนาม

ครอบครวัตามทศันะของ Maclver & Page

มีการจดัการทางเศรษฐกิจ

อยู่รวมกนัในลกัษณะ “ร่วมชีวิต”

สถาบันขัน้มูลฐาน

5. การเกิดครอบครัว

ระบบการสืบพนัธุ ์

การพิทกัษ์ปกป้อง

ด้านจิตใจ

6. ความจาํเป็นท่ีต้องมีครอบครวั

ด้านชีววิทยา

ความต้องการทางเพศ

ระยะการเป็นทารกนาน

ช่วงทารกไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้

โครงสร้างทางร่างกาย

ด้านสังคม

มนุษย์เ ป็นสัตว์สังคม

ด้านวฒันธรรม

ต้องการเรียนรู้และกาํหนดรปูแบบแห่งพฤติกรรม

ด้านอารมณ์

ด้านการปรบัตวั

เพ่ือความอยู่รอด

ต้องการความรกั ความอบอุ่น

7 . ป ร ะ เ ภ ท ข อ ง ค ร อ บ ค รัว

แบ่งเป็น 2 ประเภท

7 .1 ตามลักษณะและหน้า ท่ี มี 2 รูปแบบ

ครอบครัวปฐมนิเทศ – อาศัยเกิด

ครอบครัวสร้างสมาชิกใหม่ – เ กิดจากตัวเอง

7 .2 ตามขนาดและรูปแบบ

ครอบครัวเดี ่ยว – เ ป็นครอบครัวพื้นฐาน

ครอบครัวขยาย – ครอบครัวเ ด่ียวตั ้งแต่

2 ครอบครัว มีระบบผู้อาวุโส

ครอบครัว ซ้อน – เ ป็นครอบครัว ท่ีชายหญิงมีคู่ สมรสได้เ กินกว่า 1 คน

ค ร อ บ ค รัว แ บ บ พ หุภ ร ร ย า – ค รอ บ ค ร ัว ท่ี

ชายสามารถมีภรรยาได้มากกว่า 1 คน

ค ร อ บ ค ร ัว พ หุส า มี – ค ร อบ ค ร ัว ท่ี ส ัง ค ม

ยอมให้หญิงมีสามีได้มากกว่าหน่ึงคน

8 . ห น้ า ท่ี ข อ ง ค ร อ บ ค รัว

ทาํหน้า ท่ีแทนสถาบันทางสังคมอ่ืนๆ

สร้างสมาชิกให้สังคม

หล่อมหลอมสมาชิกให้สังคม

ปลูกฝังบุคลิกภาพ

9. การส้ินสภาพของครอบครวั

โดยธรรมชาติ – ความตาย

โดยกติกาทางสังคม มี 2 รูปแบบ

การหย่า

ศาลสัง่

10. การสมรส

ทศันะทางสงัคมวิทยา – ก าร ท่ีช าย หญิงใ ห้สังค ม

เป็นพยานว่าทั ้งคู่ จะอยู่ ร่ วมกัน

ก่อให้เกิดสภาพครอบครวั

ทศันะทางมานุษยวิทยา – สัญญาระ หว่างชา ย

หญิงท่ีจะมีบุตรและร่วมเ ล้ียงดูบุตร

11. สถานะการสมรส

องคก์ารสหประชาชาติกาํหนดไว้ 6 ประเภท

โสด – ยังไม่แต่งงานเป็นทางการหรือทางนิตินัย

สมรสกนั – ชายหญิงแต่งงานกนัทัง้ทางนิตินัยและพฤตินัย

แยกกนัอยู่ – ไม่ ไ ด้จดทะเบียนหย่า

ร้าง – คู่ สมรสถูกฝ่ายใดฝ่ายหน่ึงทอดท้ิง

หย่า - จดทะเบียนหย่า

ม่าย – คู่ สมรสท่ี ฝ่ายหน่ึงฝ่ายใดตายไป

12. การเลือกคู่ครอง

คู่สมรสเป็นวงศว์านเดียวกนั (endogamy)

คู่สมรสต่างวงศว์าน (exogamy)

รสนิยมตรงกนั (homogamy)

โดยทัว่ ไปมี 2 ลักษณะ

บิดา มารดา หรือผู้ปกครองเลือก

เลือกโดยเสรี

เกณฑ์ในการเลือกคู่ครองอาจพิจารณาจาก

ความสมัพนัธแ์ละรสนิยมของคู่สมรส

รสนิยมต่างกนั (heterogamy)

13. ข้อห้ามการสมรส (incest taboo)

ญาติแนวดิง่ – ญาติท่ี สืบสายเลือดกันโดยตรง

โดยสมาชิกมีช่วงวัยแตกต่างกัน

ญาติแนวราบ – ส่วนใหญ่เป็นญาติร่วมสายโลหิต

กติกาสงัคม

ข้อห้ามการสมรสระหว่างวงศญ์าติ (incest taboo)

สรปุ

สถาบนัครอบครวัแตกต่าง

จากสถาบนัอ่ืนอย่างไร

สถาบันครอบครัวนิยาม

ความหมายไว้ว่า...

แ น ว ท า ง ก า ร ศึ ก ษ า

สถาบนัครอบครวั

ประเภทของครอบครวั

มี 2 รปูแบบ อย่างไรบ้าง

การสมรสก่อให้เกิด…

การส้ินสภาพครอบครวั

สถานะการสมรส

การเลือกคู่ครอง

แบบฝึกหดัท้ายบท

37