chapter 2 literature review (บทที่ 2...

21
บทที2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ ในการศึกษาเรื่องความพึงพอใจของผูใชบริการหองสมุดวิทยาลัยพยาบาลเกื้อ การุณยนีผูวิจัยไดรวบรวมแนวคิดทฤษฎีตลอดจนงานวิจัยที่เกี่ยวของ เพื่อเปนแนวทางใน การศึกษา พอสรุปไดดังนี1. ทฤษฎีและแนวคิดเกี่ยวกับความพึงพอใจและความตองการ 2. ขอมูลเกี่ยวกับหองสมุดวิทยาลัยพยาบาลเกื้อการุณย 3. งานวิจัยที่เกี่ยวของ ทฤษฎีและแนวคิดเกี่ยวกับความพึงพอใจและความตองการ ทฤษฎีและแนวคิดเกี่ยวกับความพึงพอใจ ความพึงพอใจ (Satisfaction) เปนทัศนคติที่เปนนามธรรมไมสามารถมองเห็นเปน รูปรางได การที่เราจะทราบวาบุคคลมีความพึงพอใจหรือไม สามารถสังเกตโดยการแสดงออกทีคอนขางสลับซับซอน จึงเปนการยากที่จะวัดความพึงพอใจโดยตรง แตสามารถวัดไดโดยทางออม โดยการวัดความคิดเห็นของบุคคลเหลานั้น และการแสดงความคิดเห็นนั้นจะตองตรงกับความรู สึก ที่แทจริงจึงสามารถวัดความพึงพอใจนั้นได พจนานุกรมฉบับบัณฑิตยสถาน .. 2525 กลาวไววา "พึง" เปนคําชวยกริยาอื่น หมายความวา "ควร" เชน พึงใจ หมายความวา พอใจ ชอบใจ และ คําวา "พอ" หมายความวา เทาที่ตองการ เต็มความตองการ ถูกชอบ เมื่อนําคําสองคํามาผสมกัน "พึงพอใจ" จะหมายถึง ชอบใจ ถูกใจตามที่ตองการ ซึ่งสอดคลองกับ Wolman (1973) อางโดย ภนิดา ชัยปญญา (2541) กลาวถึง ความพึงพอใจวาเปนความรู สึกที่ไดรับความสําเร็จตามมุงหวัง และความตองการ ความหมายของความพึงพอใจ นักวิชาการไดใหความหมายของความพึงพอใจตางๆ พอสรุปไดดังนีทวีพงษ หินคํา (2541:8) ไดใหความหมายของความพึงพอใจวาเปนความชอบของ บุคคลที่มีตอสิ่งหนึ่งสิ่งใด ซึ่งสามารถลดความตึงเครียดและตอบสนองตามความตองการของบุคคล ได ทําใหเกิดความพึงพอใจตอสิ่งนั้น

Upload: -

Post on 29-Jul-2015

200 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: Chapter 2 Literature review (บทที่ 2 วรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง)

บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยท่ีเกี่ยวของ

ในการศึกษาเรื่องความพึงพอใจของผูใชบริการหองสมุดวิทยาลัยพยาบาลเกื้อการุณยนี้ ผูวิจัยไดรวบรวมแนวคิดทฤษฎีตลอดจนงานวิจัยที่เกี่ยวของ เพื่อเปนแนวทางในการศึกษา พอสรุปไดดังนี้

1. ทฤษฎีและแนวคิดเกี่ยวกับความพึงพอใจและความตองการ 2. ขอมูลเกี่ยวกับหองสมุดวิทยาลัยพยาบาลเกื้อการุณย 3. งานวิจัยที่เกี่ยวของ

ทฤษฎีและแนวคิดเกี่ยวกับความพึงพอใจและความตองการ

ทฤษฎีและแนวคิดเกี่ยวกับความพึงพอใจ ความพึงพอใจ (Satisfaction) เปนทัศนคตทิี่เปนนามธรรมไมสามารถมองเห็นเปน รูปรางได การที่เราจะทราบวาบุคคลมีความพึงพอใจหรือไม สามารถสังเกตโดยการแสดงออกที่ คอนขางสลับซับซอน จึงเปนการยากที่จะวัดความพึงพอใจโดยตรง แตสามารถวัดไดโดยทางออม โดยการวัดความคิดเห็นของบุคคลเหลานั้น และการแสดงความคิดเห็นนั้นจะตองตรงกับความรูสึกที่แทจริงจึงสามารถวัดความพึงพอใจนั้นได พจนานุกรมฉบับบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 กลาวไววา "พึง" เปนคําชวยกริยาอื่น หมายความวา "ควร" เชน พึงใจ หมายความวา พอใจ ชอบใจ และ คําวา "พอ" หมายความวา เทาที่ตองการ เต็มความตองการ ถูกชอบ เมื่อนําคําสองคํามาผสมกัน "พึงพอใจ" จะหมายถึง ชอบใจ ถูกใจตามที่ตองการ ซ่ึงสอดคลองกับ Wolman (1973) อางโดย ภนิดา ชัยปญญา (2541) กลาวถึง ความพึงพอใจวาเปนความรูสึกที่ไดรับความสําเร็จตามมุงหวังและความตองการ ความหมายของความพงึพอใจ นักวิชาการไดใหความหมายของความพึงพอใจตางๆ พอสรุปไดดังนี ้ ทวีพงษ หินคาํ (2541:8) ไดใหความหมายของความพึงพอใจวาเปนความชอบของบุคคลที่มีตอส่ิงหนึ่งสิ่งใด ซ่ึงสามารถลดความตึงเครียดและตอบสนองตามความตองการของบุคคลได ทําใหเกิดความพึงพอใจตอส่ิงนั้น

Page 2: Chapter 2 Literature review (บทที่ 2 วรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง)

6

ธนียา ปญญาแกว (2541:12) ไดใหความหมายวา ส่ิงที่ทําใหเกิดความพึงพอใจ จะเกีย่วกันกับลักษณะของงาน ปจจัยเหลานี้นําไปสูความพอใจในงานที่ทํา ไดแก ความสําเร็จ การยกยอง ลักษณะงาน ความรับผิดชอบ และความกาวหนา เมื่อปจจัยเหลานี้อยูต่ํากวา จะทําใหเกิดความไมพอใจงานที่ทํา ถาหากวางานใหความกาวหนา ความทาทาย ความรับผิดชอบ ความสําเรจ็ และการยกยองแกผูปฏิบัติงานแลว พวกเขาจะพอใจและมแีรงจูงใจในการทํางานเปนอยางมาก วิทย เที่ยงบูรณธรรม (2541:754) ใหความหมายของความพึงพอใจวา หมายถึง ความพอใจ การทําใหพอใจ ความสาแกใจ ความหนําใจ ความจุใจ ความแนใจ การชดเชย การไถบาป การแกแคน สิ่งที่ชดเชย วิรุฬ พรรณเทว ี (2542:11) ใหความหมายไววา ความพึงพอใจเปนความรูสึกภายในจิตใจของมนุษยที่ไมเหมือนกนั ซ่ึงขึ้นอยูกับแตละบุคคลวาจะคาดหมายกับสิ่งหนึ่ง ส่ิงใด อยางไร ถาคาดหวังหรือมีความตั้งใจมากและไดรับการตอบสนองดวยด ี จะมีความพึงพอใจมาก แตในทางตรงกันขามอาจผิดหวังหรือไมพึงพอใจเปนอยางยิ่ง เมื่อไมไดรับการตอบสนองตามที่คาดหวังไว ทั้งนี้ขึ้นอยูกับสิ่งที่ตนตั้งใจไววาจะมีมากหรอืนอย กาญจนา อรุณสุขรุจี (2546:5) กลาววา ความพึงพอใจของมนุษย เปนการแสดง ออกทางพฤติกรรมที่เปนนามธรรม ไมสามารถมองเห็นเปนรูปรางได การที่เราจะทราบวา บุคคลมีความพึงพอใจหรือไม สามารถสังเกตโดยการแสดงออกที่คอนขางสลับซับซอน และตองมีส่ิงเราที่ตรงตอความตองการของบุคคล จึงจะทําใหบุคคลเกิดความพึงพอใจ ดังนั้นการสรางสิ่งเราจึงเปน แรงจูงใจของบุคคลนั้นใหเกิดความพึงพอใจในงานนั้น Phillip B. Applewhite (1965:6) ไดใหความหมายของความพึงพอใจไววา เปน ความสุข ความสบายที่ไดรับจากสภาพแวดลอมทางกายภาพ เปนความสุขความสบายที่เกิดจากการเขารวม ไดรูไดเห็นในกิจกรรมนั้นๆ Benjamin B. Wolman (1973:384) ไดใหความหมายของความพึงพอใจไววาหมายถึง ทาทีทั่วๆ ไปที่เปนผลมาจากทาทีที่มีตอส่ิงตางๆ 3 ประการ คือ 1. ปจจัยที่เกี่ยวกับกจิกรรม 2. ปจจัยที่เกี่ยวกับบุคคล

Page 3: Chapter 2 Literature review (บทที่ 2 วรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง)

7

3. ลักษณะความสัมพันธระหวางกลุม Risser (1975:45-51) กลาววา ความพึงพอใจของแตละคนเกิดจากการไดรับประสบการณ หรือบรรลุในสิ่งที่คาดหวัง Campbell (1976:117-124) กลาววา ความพึงพอใจเปนความรูสึกภายในที่แตละคนเปรียบเทยีบระหวางความคิดเห็นตอสภาพการณที่อยากใหเปนหรือคาดหวัง หรือรูสึกวาสมควรจะไดรับ ผลที่ไดจะเปนความพึงพอใจหรอืไมพึงพอใจเปนการตัดสินของแตละบุคคล Donabedian (1980) กลาววา ความพึงพอใจของผูรับบริการ หมายถงึ ผูบริการประสบความสําเร็จในการทาํใหสมดุลระหวางสิ่งที่ผูรับบริการใหคากบัความคาดหวงัของผูรับ บริการ และประสบการณนัน้เปนไปตามความคาดหวัง จากความหมายที่กลาวมาทั้งหมด สรุปความหมายของความพึงพอใจไดวา เปน ความรูสึกของบุคคลในทางบวก ความชอบ ความสบายใจ ความสุขใจตอสภาพแวดลอมในดาน ตางๆ หรือเปนความรูสึกที่พอใจตอสิ่งที่ทําใหเกิดความชอบ ความสบายใจ และเปนความรูสึกที่บรรลุถึงความตองการ การวัดความพงึพอใจ ในการวัดความพึงพอใจนั้น บุญเรือง ขจรศิลป (2529) ไดใหทรรศนะเกีย่วกับเร่ืองนี้วา ทัศนคติหรือเจตคติเปนนามธรรมเปนการแสดงออกคอนขางซับซอน จึงเปนการยากที่จะวัดทัศนคตไิดโดยตรง แตเราสามารถที่จะวดัทัศนคตไิดโดยออม โดยวดัความคดิเห็นของบุคคล เหลานั้นแทน ฉะนั้น การวดัความพึงพอใจก็มีขอบเขตทีจ่ํากัดดวย อาจมีความคลาดเคลื่อนขึ้น ถาบุคคลเหลานั้นแสดงความคิดเห็นไมตรงกับความรูสึกที่จริง ซ่ึงความคลาดเคลื่อนเหลานี้ยอมเกิดขึ้นไดเปนธรรมดาของการวัดโดยทัว่ ๆ ไป ภณดิา ชัยปญญา (2541) ไดกลาวไววา การวัดความพึงพอใจนั้น สามารถทําไดหลายวิธ ี ดังตอไปนี ้ 1. การใชแบบสอบถาม โดยผูออกแบบสอบถาม เพื่อตองการทราบความคิดเหน็ ซ่ึงสามารถกระทําไดในลักษณะกําหนดคําตอบใหเลือก หรือตอบคําถามอิสระ คําถามดังกลาว อาจ

Page 4: Chapter 2 Literature review (บทที่ 2 วรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง)

8

ถามความพอใจในดานตาง ๆ 2. การสัมภาษณ เปนวิธีการวัดความพงึพอใจทางตรง ซ่ึงตองอาศัยเทคนิคและวิธีการที่ดีจะไดขอมูลที่เปนจริง 3. การสังเกต เปนวิธีวัดความพึงพอใจ โดยการสังเกตพฤติกรรมของบุคคล เปาหมาย ไมวาจะแสดงออกจากการพดูจา กริยา ทาทาง วิธีนี้ตองอาศัยการกระทําอยางจริงจัง และสังเกตอยางมีระเบียบแบบแผน ความพึงพอใจในบริการ ความพึงพอใจ (Satisfaction) หมายถึง ระดับความรูสึกของผูใชที่มีผลมาจากการเปรียบเทียบระหวางสิ่งที่ไดรับกับสิ่งที่คาดหวัง ระดับความพึงพอใจของผูใชเกิดจากความแตกตางระหวางสิ่งที่ไดรับกับสิ่งที่คาดหวัง (สมิต สัชฌุกร, 2542:18) ซ่ึงหากพิจารณาถงึความพึงพอใจของการบริการวาจะเกิดความพึงพอใจมากนอยเพยีงใด ถาไดรับการบริการต่ํากวาความคาดหวัง ทําใหเกดิความไมพอใจ แตถาระดับผลของการบริการสูงกวาความคาดหวัง ก็จะทาํใหเกดิความพึงพอใจ แตถาผลที่ไดรับจากบริการสูงกวาความคาดหวัง ผูใชก็จะเกิดความประทับใจ ก็จะสงผลใหผูใชกลับไปใชบริการซ้ําอีก จึงกลาวไดวา ความพึงพอใจในบรกิาร หมายความถึง ภาวะการณแสดงออก ถึงความรูสึกในทางบวกของบุคคลอันเปนผลมาจากการเปรียบเทียบ การรับรูส่ิงที่ไดรับจากการบริการ ไมวาจะเปนการรับบริการหรือการใหบริการในระดับที่ตรงกบัการรับรูส่ิงที่คาดหวังเกี่ยวกับการบริการนั้น ซ่ึงจะเกีย่วของกบัความพึงพอใจของผูรับบริการและความพึงพอใจในงานของผูใหบริการ ระดับความพงึพอใจของผูรับบริการ สามารถแบงออกเปน 2 ระดับ คือ ระดับท่ี 1 ความพึงพอใจทีต่รงกับความคาดหวัง เปนการแสดงความรูสึกยินดีมีความสุขของผูรับบริการ เมื่อไดรับการบริการที่ตรงกับความคาดหวังทีม่ีอยู เชน ผูใชจองหนังสือช่ือ สูแลวรวย ก็ไดรับหนังสือช่ือดังกลาวตามเวลาทีก่ําหนด พรอมทั้งเจาหนาที่ก็ใหบริการไดรวดเร็ว ระดับท่ี 2 ความพึงพอใจทีเ่กินความคาดหวัง เปนการแสดงความรูสึกปลาบปลื้มใจหรือประทบัใจของผูรับบริการ เมื่อไดรับการบริการที่เกินความคาดหวังที่มีอยู

Page 5: Chapter 2 Literature review (บทที่ 2 วรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง)

9

แนวทางการสรางความพึงพอใจในการบริการ ความพึงพอใจของผูรับบริการและผูใหบริการ ตางมีความสําคัญตอความสําเร็จของการดําเนนิงานบริการ ดังนั้น การสรางความพึงพอใจในการบริการ จําเปนที่จะตองดําเนินการควบคูกันไปทัง้ตอผูรับบริการและผูใหบริการ ดังนี ้ ก. การตรวจสอบความคาดหวังและความพึงพอใจของผูรับบริการและผูใหบริการอยางสม่ําเสมอ ผูบริหารการบริการจะตองใชเครื่องมือตางๆ ที่มีในการสํารวจความตองการ คานิยม และความคาดหวังของผูใชทีม่ีตอการบริการขององคการซึ่งสามารถกระทําไดโดยการใชบัตรแสดง ความคิดเหน็ของผูบริหารและผูปฏิบัติงานในองคการบรกิาร เพื่อใหไดขอมูลที่ครบถวนทั้งจากภายนอกและภายในองคการในการสะทอนภาพ ประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการดําเนินงานบริการ ซ่ึงจะเปนตัวช้ีขอบกพรอง ขอไดเปรียบขององคการ เพื่อการปรับปรุงแกไขและพัฒนาคุณภาพของการบริการใหสอดคลองกับความคาดหวังของผูรับบริการ อันจะนํามาซึง่ความพึงพอใจตอการบริการ ข. การกําหนดเปาหมายและทิศทางขององคการใหชัดเจน ผูบริหารการบริการจําเปนที่จะตองนําขอมูลที่ระบุถึงความตองการและความคาดหวังของผูใช ขอบกพรอง ขอได เปรียบขององคการ ตนทุนของการดําเนินการ แนวโนมของการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของผู บริโภคและขอมูลอ่ืนที่เปนประโยชนมาประกอบการกาํหนดนโยบาย เปาหมายและทิศทางขององคการ ซ่ึงจะสงผลตอลักษณะของการใหบริการและคณุภาพของการบริการตอผูรับบริการ ค. การกําหนดกลยุทธการบริการที่มีประสิทธิภาพ ผูบริหารการบริการตองปรับ เปลี่ยนการบรกิารที่มีอยูใหสอดคลองกับเปาหมาย ทิศทางขององคการ โดยใชกลยุทธสมัยใหม ทั้งในดานการบริหารการตลาด และการควบคมุคุณภาพการบริการ รวมทัง้การนําเทคโนโลยีสมัยใหมเขามาใชในการอํานวยความสะดวกในการบริการดานตางๆ เชน การจัดเก็บขอมูลเกี่ยวกับผูใชดวยระบบฐานขอมูล โดยใชเครื่องคอมพิวเตอร การใชระบบโทรศัพทอัตโนมัติในการตอสายเชื่อมโยงการติดตอกับหนวยงานภายในองคการบรกิาร เปนตน ปจจุบันผูบริการการบริการนิยมนําแนวคิดดาน “การบริหารเชิงกลยุทธ” ที่คํานึงถึงการใหความสําคัญกับบรรยากาศการทํางานระหวางพนักงานบรกิารภายในองคการ เชนเดยีวกันกับการสรางสายสัมพันธกับผูใชภายนอกใหเปนไปในรูปแบบเดียวกนั

Page 6: Chapter 2 Literature review (บทที่ 2 วรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง)

10

ทฤษฎีและแนวคิดเกี่ยวกับความตองการ สมพงษ เกษมสิน (2526) ไดกลาวถึงแรงจูงใจของ Maslow วา A.H.Maslowได เสนอทฤษฏีเกีย่วกับการจูงใจ ซ่ึงเปนที่ยอมรับกันแพรหลายและไดตั้งสมมุติฐานเกี่ยวกับพฤติกรรม ของมนุษยไวดังนี ้ 1. มนุษยมีความตองการ ความตองการมีอยูเสมอและไมมีส้ินสุด ความตองการใดที่ไดรับการตอบสนองแลว ความตองการอยางอื่นจะเขามาแทนที ่ขบวนการนี้ไมมีที่ส้ินสุดและเกดิจนตาย 2. ความตองการที่ไดรับการตอบสนองแลว จะไมเปนสิ่งจูงใจของพฤติกรรมอีก ตอไป ความตองการที่ไมไดรับการตอบสนองเทานั้นที่เปนสิ่งจูงใจของพฤติกรรม 3. ความตองการของมนุษยมีลําดับขั้น ตามความสําคัญ (A Hierarchy of needs) กลาวคือ เมื่อความตองการในระดับต่ํา ไดรับการตอบสนองแลว ความตองการในระดับสูงก็จะเรียกรองใหมีการตอบสนอง Abraham H. Maslow ไดตั้งสมมติฐานเกี่ยวกบัพฤตกิรรมไววา มนุษยมีความตองการอยูเสมอไมมีที่ส้ินสุด ขณะที่ความตองการใดไดรับการตอบสนองแลว ความตองการอยางอ่ืนจะเขามาแทนที่ ความตองการที่ยังไมไดรับการตอบสนองก็จะเปนสิ่งจูงใจใหไปสูความตองการ อ่ืนตอไป Abraham H. Maslow ไดลําดับความตองการของมนุษยจากระดับต่ําถึงระดับสูง 5 ขั้น ดังนี ้ (อางในสมยศ นาวีการ, 2522:366-369) 1. ความตองการทางดานรางกาย (Physiological Needs) เปนความตองการขั้นพื้นฐานของมนุษย เปนความตองการเพื่อความอยูรอดของชีวิต ไดแก ความตองการ อาหาร อากาศ น้ําดื่ม ที่อยูอาศัย เครื่องนุงหม ยารักษาโรค การพักผอน ความตองการทางเพศ เปนตน 2. ความตองการทางดานความปลอดภัย (Safety Needs) ความตองการทางกาย เชน ความปลอดภัยจากอุบัติเหตุอันตรายและความปลอดภัยหรือความมั่นคงทางจิตใจ ไดแก ความมั่นคงในอาชพีและชวีิต 3. ความตองการดานสังคม (Belonging Needs) ไดแก ความตองการที่จะเขารวม และรับการยอมรับในสังคม ความเปนมิตรและความรกัจากเพื่อนรวมงาน

Page 7: Chapter 2 Literature review (บทที่ 2 วรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง)

11

4. ความตองการที่จะไดรับความยกยองในสังคม (Esteem Needs) ไดแก ความตองการอยากเดนในสังคม รวมถึงความสําเร็จ ความรู ความสามารถ ความนับถือตนเอง ความเปนอิสระ เปนเสรีภาพและการเปนที่ยอมรับนับถือของคนทั้งหลาย 5. ความตองการที่จะไดรับความสําเร็จตามความนกึคิด (Self - Actualization Needs) เปนลําดับขั้นความตองการที่สูงสุดของมนุษยที่คนสวนมากนึกอยากจะเปน อยากจะได แตยังไมสามารถแสวงหาได ลําดับขั้นความตองการของ Abraham H. Maslow จะมีผลตอการสรางแรงจูงใจ ในการประเมนิผลงานขององคกรที่มีผลกระทบตอการตอบสนองตอความตองการของบุคคล

ขอมูลเก่ียวกับหองสมุดวิทยาลัยพยาบาลเกื้อการุณย ประวัติ หองสมุดไดดาํเนินการพัฒนาระบบการสบืคนขอมูลรายการหนังสือและวารสารของวิทยาลัยฯ เปนระบบหองสมุดอัตโนมัติ หรือหองสมุดอิเล็กทรอนิกส (Electronic Library) ทําใหการทํางานของหองสมุดมีประสิทธภิาพมากขึน้ โดยจดัทําฐานขอมูลหนังสือ ฐานขอมูลวารสารภาษาไทย และฐานขอมูลสารสนเทศอื่นๆ ของวิทยาลัยฯ ผานเครือขายอินเตอรเน็ต ปจจุบันหองสมุดไดเปดบริการยืม-คืนดวยระบบคอมพิวเตอรเพื่ออํานวยความสะดวกรวดเรว็ของผูใชบริการ บุคลากรหองสมุด

หองสมุดวิทยาลัยพยาบาลเกื้อการุณย มีบุคลากรปฏิบัติงาน จํานวน 7 คน ดังนี้ ขาราชการ จํานวน 5 คน

- บรรณารักษ 2 คน - เจาหนาที่หองสมุด 3 คน

ลูกจางประจํา จํานวน 2 คน การดําเนินงาน หองสมุดวิทยาลัยพยาบาลเกื้อการุณย มีการแบงสวนราชการออกเปน 4 หนวยงาน คือ 1. หนวยงานบริหาร 2. หนวยงานบริการ

Page 8: Chapter 2 Literature review (บทที่ 2 วรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง)

12

3. หนวยงานจัดหาทรัพยากรหองสมุด 4. หนวยงานวารสารและหนังสือพิมพ ทรัพยากรสารสนเทศของหองสมุดและการจัดหนังสือ 1. หนังสือและวัสดุหองสมุด 1.1 หนังสืออานทั่วไป 1.2 หนังสืออางอิง

1.3 หนังสือจอง 1.4 ส่ิงพิมพรัฐบาล 1.5 หนังสือหลักสูตรมหาวิทยาลัย 1.6 วารสารและนิตยสาร 1.7 หนังสือพิมพ 1.8 จุลสาร 1.9 กฤตภาค 1.10 วัสดุไมตีพิมพ

2. การจัดหนังสือ ปจจุบันหองสมุดวิทยาลัยพยาบาลเกื้อการุณย ไดจัดหมวดหมูหนังสือตามระบบแพทยแหงชาติอเมริกัน (National Library of Medicine Classification หรือ NLM) สําหรับหนังสือที่มีเนื้อหาทางดานการแพทยและการพยาบาล และระบบรัฐสภาอเมริกัน (Library of Congress Classification) หรือเรียกยอๆ วา L.C หรือ L.C.C สําหรับหนังสือทั่วไป งานบริการของหองสมุดวิทยาลัยพยาบาลเกื้อการุณย 1. บริการใหอานหนังสือ คือบริการใหผูใชเขามาอานหนังสือไดโดยเสรี หองสมุดจึงจัดหนังสือแบบชั้นเปดใหผูใชสามารถเลือกหยิบหนังสือไดตามความสนใจของแตละบุคคล 2. บริการจาย-รับ คือ การบริการใหยืมหนังสือในหองสมุด ผูใชสามารถยืมหนังสือหรือวัสดุอ่ืนๆออกไปใชนอกหองสมุดโดยปฏิบัติตามระเบียบขอบังคับของหองสมุด โดยมีระบบหองสมุดอัตโนมัติเปนเครื่องมือในการคนหา

Page 9: Chapter 2 Literature review (บทที่ 2 วรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง)

13

3. บริการตอบคําถามและชวยการศึกษาคนควา หรือบริการสารสนเทศ คือ บริการตอบคําถาม ดานวิชาการและเรื่องทั่วไปภายในหองสมุด ทางโทรศัพท บริการชวยเหลือแนะนําการศึกษาคนควาในการทํารายงานแกนักศึกษา และผูใชหองสมุดทั่วไป และชวยบริการศึกษาคนควา ในเรื่องตางๆ ที่ผูใชบริการตองการจะคนหาจากหนังสือ วารสาร เอกสาร หรือวัสดุอ่ืนๆ 4. บริการสอน หรือแนะนําการใชหองสมุด คือ บริการที่จัดขึ้นเพื่อสอนใหผูใชสามารถใชประโยชนจากหองสมุดไดอยางเต็มที่ดวยตนเอง นอกจากนี้ วิทยาลยัพยาบาลเกือ้การณุย ไดบรรจุไวในวิชาวิธีการศึกษาคนควา สําหรับหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิตในปการศึกษา 2542-2546 กําหนดไว 1 หนวยกิต สอนนักศึกษาปที่ 1 ในชั้นเรียน และตอมาในปการศึกษา 2547-2548 ไดบรรจุไวในวิชาสารสนเทศและการคนคืน สําหรับหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต (ตอเนื่อง) กําหนดไว 1 หนวยกิต สอนนักศึกษาชั้นปที่ 1 ในชั้นเรียน 5. บริการแนะแนวการอาน คือ บริการที่ชวยแนะแนวทางและใหคําปรึกษารวมทั้งใหความชวยเหลือผูใชหองสมุดที่มีปญหาเกี่ยวกับการเลือกหนังสือและการอานหนังสือ 6. บริการรวบรวมบรรณานุกรม คือ การรวบรวมรายชื่อหนังสือ ส่ิงพิมพ หรือวัสดุอ่ืนๆ ที่นาสนใจในสาขาวิชาตางๆ เพื่อชวยอํานวยความสะดวกในการคนควาวิจัยของผูใชหองสมุด 7. บริการขาวสารทันสมัย เปนบริการที่ชวยใหผูใชหองสมุดไดทราบขอเท็จจริงขาวสารหรือวิทยาการใหม ๆ เร็วที่สุด 8. บริการถายเอกสาร เปนบริการที่จัดตั้งขึ้นเพื่ออํานวยความสะดวกใหแกผูใชหองสมุด เปนการประหยัดเวลาในการคัดลอก ลดปญหาการฉีกทําลายสิ่งพิมพของหองสมุด วิทยาลัยฯ ไดจัดสถานที่บริเวณหนาหองสมุด ใหรานคามาบริการถายเอกสาร คิดคาบริการแผนละ 50 สตางค

9. บริการหนังสือจอง เปนบริการของหองสมุดในสถาบันการศึกษา หนังสือจอง คือหนังสือที่ครูอาจารยกําหนดใหนักศึกษา อานประกอบการเรียน โดยจัดหนังสือนั้น ๆ แยกไวตางหาก กําหนดระยะเวลาการยืมหนังสือจองจะสั้นกวาหนังสือทั่วไป

10. บริการจัดนิทรรศการหองสมุด เปนการประชาสัมพันธใหผูอานไดสนใจทราบเหตุการณ ความเคลื่อนไหวตางๆ และจูงใจใหผูใชมาใชหองสมุดและยืมหนังสือ

11. บริการรับฝกงานหองสมุด เปนการบริการใหแกนักศึกษาวิชาเอกบรรณารักษศาสตรจากสถาบันการศึกษาตาง ๆ 12. บริการซีดี-รอม (CD-ROM) เปนการบริการคนหาขอมูลทางการแพทยและการพยาบาลในระบบคอมพิวเตอร

Page 10: Chapter 2 Literature review (บทที่ 2 วรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง)

14

13. บริการโสตทัศนศึกษา เปนการบริการใหยืมซีดีรอม / แผนดิสก และวิดีทัศน ทางวิชาการที่มีอยูในหองสมุด 14. บริการสืบคนขอมูล เปนการบริการสืบคนขอมูลหนังสือและวารสารของวิทยาลัยพยาบาลเกื้อการุณย จากฐานขอมูลหนังสือและวารสารในระบบหองสมุดอัตโนมัติ นักศึกษาและประชาชนที่สนใจ สามารถศึกษาดวยตนเองทางเว็บไซดของวิทยาลัยฯ ไดที่ http://www.kc.bma.go.th

ระเบียบการยืมหนังสือ 1. เวลาเปดบริการ

วันจนัทร – ศุกร เวลา 07.00-19.00 น. วันเสาร เวลา 08.00-16.00 น ปดบริการวันอาทิตยและวันหยุดนกัขัตฤกษ

2. ผูมีสิทธิใชบริการหองสมุด 2.1 อาจารย เจาหนาที่ ของวิทยาลัยพยาบาลเกื้อการุณย 2.2 นักศึกษาวิทยาลัยพยาบาลเกื้อการุณย

2.3 บุคคลภายนอก แตไมอนุญาตใหยืมหนังสือ 3. การยืม-คืน

3.1 มีบัตรสมาชิกของหองสมุด 1) อาจารยยืมหนังสือไวครอบครองไดไมเกิน 10 เลมในกําหนด 30 วัน 2) ขาราชการและเจาหนาทีอ่ื่นๆ ยืมหนังสือไดไมเกิน 5 เลมในกําหนด 15 วัน

3) นักศกึษาสามารถยืมหนังสือไดไมเกิน 3 เลม ในกําหนด 7 วัน 3.2 หามใชบัตรผูอ่ืนยืมหนังสือ

3.3 การยืมหนังสือตอ ใหยมืติดตอกันไดไมเกิน 2 คร้ัง หากหนังสือ

ดังกลาวมีผูอ่ืนจองไว ผูยืมจะตองคืนหนังสอืดังกลาวทันที

3.4 หนังสือสํารอง รายงานการวิจยั และวทิยานพินธ ยืมได 1 วัน หลังจาก

15.00 น. และสงคืนกอน 09.00 น. ของวันทีก่าํหนดสง

Page 11: Chapter 2 Literature review (บทที่ 2 วรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง)

15

4. การปรับและลงโทษ 4.1 หนังสือทั่วไปปรับวันละ1 บาท / หนังสือ 1 เลม

4.2 หนังสือสํารอง รายงานวจิยัและวิทยานิพนธ ปรับวันละ 5 บาท / หนังสือ 1 เลม

4.3 หนังสือหายตองแจงเจาหนาที่ทราบทันทีเมื่อครบกําหนดวันสงคืนและ ซ้ือหนังสือช่ือเร่ืองเดิมมาคืนหองสมุด

4.4 คางสงหนังสือเกิน 2 เดือน งดยืมหนังสือจนกวาจะนําหนังสือมาคืน

4.5 ยืมหนังสือออกไปถายเอกสารแลวไมนํามาคืนภายในวันนั้น โดยไมได แจงใหเจาหนาที่ทราบ จะถูกตัดสิทธิ์ยืมหนังสือ 1 เดือน

4.6 หามใชบัตรผูอ่ืนยืมหนังสือ

4.7 เจาหนาทีจ่ะตดิประกาศทวงหนังสือคางสงของทุกๆ เดือนไวทีห่นา หองสมุด

งานวิจัยท่ีเก่ียวของ

จากการสํารวจงานวิจยัที่เกีย่วของกับความพึงพอใจของผูใชบริการหองสมุดในสถาบันอุดมศึกษา ผูวิจัยไดรวบรวมผลงานวิจัยทีเ่กีย่วของดังนี ้ ตางประเทศ การศึกษาวิจยัเกี่ยวกับความพึงพอใจโดย Survey Research Center มหาวิทยาลัยมิชิแกน ประเทศสหรัฐอเมริกา (อางในอรณุ รักธรรม, 2538) ผลการศึกษาพบวามีปจจัย 4 ประการที่กอใหเกิดความพึงพอใจ คือ

1. ความพึงพอใจในกิจกรรมทีท่ําอยู 2. ความพึงพอใจในงานทีก่ระทาํ 3. ความผูกพันกบัหนวยงาน 4. ความพอใจในตําแหนงหนาที่ในกลุมกจิกรรม รวมทั้งผลตอบแทนที่ไดรับ

Page 12: Chapter 2 Literature review (บทที่ 2 วรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง)

16

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วรรณิภา รพีพัฒนา (2532) ไดศึกษาเรื่อง ความตองการใชบริการหอสมุดกลางของนิสิตระดบัปริญญาตรี มหาวิทยาลยัเกษตรศาสตร วิทยาเขตกําแพงแสน โดยมีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาการใชหองสมุด ความตองการใช และปญหาในการใชบริการหอสมุดกลาง มหาวิทยาลยัเกษตรศาสตร วิทยาเขตกําแพงแสน ผลการศึกษาพบวา นิสิตเขาใชหองสมุดมากกวา 1 คร้ัง /สัปดาห นิสิตรูจักวิธีใชหองสมุดจากการศึกษาดวยตนเอง วัตถุประสงคในการใชหองสมุด คือ ใชวารสาร นติยสารหรือหนังสือพิมพ ประเภทของสิ่งพิมพที่ใชมาก คือ หนังสือพิมพภาษาไทย หนังสือทั่วไปภาษาไทย บริการที่ใชมาก คือ บริการถายเอกสาร และบริการจาย – รับ ปญหา ที่ประสบมาก ไดแก จํานวนหนังสือสํารองและหนังสอือางอิงเฉพาะสาขาวิชามีนอย ระยะเวลาที่ใหยืมหนังสอืสํารองสั้นไป หนังสือทั่วไปชื่อเรื่องที่ตองการไมมีในหองสมุด หรือมีนอยฉบับ หนังสือใหมนาํออกบริการชา นอกจากนี้รูปแบบและวิธีการประชาสัมพันธของหองสมุดยังไมเหมาะสม จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ชนิดดา โกวิทวท ี (2530) ไดทําการศึกษาความตองการของนิสิตอักษรศาสตรในการใชบริการหองสมุดคณะอักษรศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย พบวา นิสิตมีวตัถุประสงคในการเขาใชหองสมุดเพื่อใชหนังสือ ทําการบาน และทบทวนบทเรยีน บริการที่ใชมาก คือ บริการ ถายเอกสารและบริการจาย-รับ ประเภทสิ่งพิมพที่ใชมากคือ หนังสือทั่วไปภาษาไทย นอกจากนี้พบวา ฐานะชัน้ปและสาขาวชิาที่นิสิตเลือกเรียนเปนวิชาเอก มีสวนทําใหนิสิตใชหองสมุดแตกตางกัน สวนบรกิารที่นิสิตตองการมากคือ บริการถายเอกสารและบริการจาย-รับ บริการที่ตองการใหหองสมุดจัดเพิม่ขึ้น คือ มุมสบายสําหรับนั่งอานหนังสือ บริการโสตทัศนวัสด ุ ที่นั่งอานเฉพาะบุคคล บริการรวบรวมบรรณานุกรมเฉพาะเรื่อง บริการจัดทําสาระสังเขป และบริการทํากฤตภาค ประเภทของสิง่พมิพที่ตองการมาก คือ พจนานุกรม หนังสือทั่วไปภาษาไทย นวนิยายหรือเร่ืองสั้น หนังสือทั่วไปภาษาตางประเทศ วารสารเพื่อความบันเทิงภาษาไทยและภาษาตางประเทศ หนังสือพิมพภาษาไทย สวนปญหาที่นิสิตพบมาก คือ การมผูีอ่ืนยืมหนังสอืทั่วไป และหนังสืออานนอกเวลาไปอานกอน การรอถายเอกสารนาน และที่นั่งอานมีนอย

Page 13: Chapter 2 Literature review (บทที่ 2 วรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง)

17

อุไรวรรณ พะมณ ี (2534) ไดทําการสํารวจความพึงพอใจและความตองการของอาจารยและนสิิตคณะครุศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ในการใชบริการหองสมุดของคณะ พบวา นิสิตมาใชหองสมุดในชวงเวลาที่ตองการคนควา และในวันทีไ่มมีช่ัวโมงเรียน เพื่ออานและคน วิทยานพินธ โดยรูจักวิธีใชหองสมุดดวยตนเองในการคนเรื่องที่ตองการนั้น โดยนิสิตใชส่ิงพิมพและเอกสารเพือ่ทํารายงานประกอบการเรียน และใหความสําคัญกับหนังสือภาษาไทย ทั้งนี้ภาษาของสิ่งพิมพที่ผูใชใชมากที่สุด คือ ภาษาไทย ปญหาการใชหองสมุดที่อยูในระดับมากคือ หนังสือทั่วไปอยูในสภาพเกาและชํารุด เนื้อหาไมทันสมัย หนังสืออางอิงมีเนื้อหาไมทันสมัย วารสารฉบับใหมจัดบริการลาชามาก เครื่องคอมพิวเตอรสําหรับคนฐานขอมูลมีจํานวนนอย และขาดบรรณารักษประจํางานบริการตอบคําถามชวยการคนควา สวนความพึงพอใจและความตองการนั้น ผูใชบริการทุกกลุมพึงพอใจตอบริการยืม - คืน สูงกวาบริการอื่น ๆ นอกจากนี้ผูใชทุกกลุมมีความตองการบริการสืบคนฐานขอมูลตางๆ บริการขาวสารการศึกษารวมทั้งฐานขอมูล CD-ROM และการขยายเวลาเปดบริการถึง 21.00 น. มหาวิทยาลัยเชียงใหม จรินทร สกุลถาวร (2526)ไดทําการวิจยัเร่ืองการศึกษาปญหาหองสมุดมหาวิทยาลัย เชียงใหม ผลการวิจัยพบวาหองสมุดมหาวทิยาลัยเชยีงใหม สวนมากมีปญหาในเรื่องความเงียบสงบ ภายในหองสมุด การจัดปายนิเทศของหองสมุด จํานวนโตะ เกาอี้ในหองสมุด จาํนวนหนังสือ ตําราภาษาไทย บริเวณที่อานและคนควาหนังสือ กําหนดเวลาที่ใหยืมและสงหนังสือจอง ระยะเวลา ที่ใหยืมหนังสือจองในแตละครั้ง บริเวณทีน่ั่งอานวารสารฉบับใหม บริเวณทีน่ั่งอาน วารสารเย็บเลม บริเวณทีน่ั่งอานหนังสอืพิมพ จํานวนวารสารวชิาการภาษาไทย จํานวนวารสารวิชาการภาษาอังกฤษ จํานวนหนังสือพิมพภาษาอังกฤษ บานชื่น ทองพันชั่ง (2536) ไดทําการวิจัยเร่ืองการใชบริการหองสมุดของนักศึกษา บัณฑิตศึกษาภาคพิเศษ คณะสังคมศาสตร มหาวิทยาลยัเชียงใหม ผลการวิจัยพบวา นักศกึษา สวนใหญเห็นวาหองสมุดมีความสําคัญและมีความจําเปนตอการศึกษามาก และเขาใชหองสมุดมากโดยเขาใชหองสมุดบอยที่สุดในวนัเสารและวันอาทติยในชวงพักกลางวนั ซ่ึงวัตถุประสงคในการใชหองสมุด เพื่อตองการคนควาเรื่องใดเรื่องหนึ่ง นักศกึษารูจักวิธีใชหองสมุดเพราะเคยเรยีนวิธีใช หองสมุด เมื่อคร้ังเปนนักศกึษาระดับปริญญาตรี นักศึกษามีวิธีคนเรื่องที่ตองการจากคูมือชวยคน ของหองสมุดและสอบถามเจาหนาที่หองสมุด การใชหองสมุดของนักศึกษาสวนใหญ เพื่อใช

Page 14: Chapter 2 Literature review (บทที่ 2 วรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง)

18

ทรัพยากรสารนิเทศหองสมุดประเภทหนังสือตํารา และใหบริการจาย - รับ ปญหาที่นักศึกษาประสบมาก ไดแก ปญหาในดานการใชหนังสือ คือหนงัสือมีนอยไมเพียงพอ หนังสือที่ตองการมีในบัตรรายการแตหาตวัเลมไมพบ ทรัพยากรสารนิเทศที่นักศึกษาตองการใชมากคือ หนังสือตํารา ภาษาไทย หนงัสือทั่วไปภาษาไทย วารสารวิชาการภาษาไทย หนังสือพิมพภาษาไทย วิทยานพินธ และรายงานการวิจัย สําหรับบริการและสิ่งอํานวยความสะดวกตาง ๆ ที่นักศึกษาตองการใชมากคือ บริการจาย – รับ บริการหนังสือสํารอง บริการถายเอกสาร บริการรับฝากของที่บริเวณทางเขา - ออกหองสมุด บริการน้ําดื่ม บริการหองน้ํา บริการจัดมุมสบายสําหรับนั่งอานหนังสอื และบริการชั้นแสดงหนังสือใหม ผองพรรณ แยมแขไข (2536) ไดทําการวิจัยเร่ือง ความตองการใชทรัพยากรและบริการหองสมุดของนักศึกษาระดับบณัฑติศึกษา ณ หองสมุดกลาง มหาวทิยาลัยเชยีงใหม ผลการวิจัย พบวา นักศกึษาใชหองสมุดคณะมากกวาสํานักหอสมุดเนื่องจากการเดินทางสะดวก ใกลที่เรียนและมีหนังสือประกอบการคนควาที่ตรงกับหลักสูตรมากกวา นักศึกษาทุกสาขาวิชา เขาใชสํานักหอสมุดเพื่อคนหาเอกสารประกอบการเขยีนรายงานและวิทยานพินธมากที่สุด โดยใชหนังสือตําราภาษาไทยมากทีสุ่ด รองลงมาคือวิทยานพินธและใชวารสารภาษาไทยมากกวาวารสารภาษาตางประเทศ ในดานการใชบริการของสํานักหอสมุด ปรากฏวานักศึกษาใชบริการยืม - คืน หนังสือมากทีสุ่ด จิราภรณ จนัทรคํา (2538) ไดทําการวิจยัเร่ืองความตองการใชบริการและทรัพยากรสารนิเทศของผูใชหองสมุดคณะเทคนิคการแพทย มหาวิทยาลัยเชยีงใหม ผลการวิจยั พบวา ผูใชสวนใหญเขาใชหองสมุดสัปดาหละ 2 - 4 คร้ัง ในชวงเวลาที่วางจากการเรียนการสอน วัตถุประสงคในการใชหองสมุดคือ คนหาและอานหนังสือเอกสารเพื่อใชประกอบการเรียนการสอน ใชวิธีคนหาทรัพยากรสารนิเทศจากบตัรรายการ บริการที่ใชอยูในระดับปานกลาง คือ บริการยืม – คืนหนังสือเอกสาร สวนบริการอื่น ๆ ใชในระดับนอยและไมเคยใช สาเหตุที่ไมเคยใชบริการ บางประเภท คือ ยังไมมีความจําเปนตองใช ผูใชพึงพอใจตอบริการทุกประเภทในระดับปานกลาง บริการที่ผูใชตองการ ใหหองสมุดจัดใหมีขึ้นในระดับมาก คือ บริการถายเอกสาร นอกจากนี้ นักศึกษายังตองการใหจัดที่นั่งอานเฉพาะบุคคลในระดับมากเชนกัน ทรัพยากรสารนิเทศที่ผูใช ใชอยูในระดับปานกลาง เปนอันดับแรก คือ หนังสือตําราภาษาอังกฤษ และผูใชเห็นวาทรัพยากร สารนิเทศตางๆ ของหองสมุดมีความพึงพอใจในระดับปานกลางและนอย สวนปญหาในการ ใชบริการและทรัพยากรสารนิเทศที่ผูใชประสบมากกวาปญหาอื่นๆ ไดแก ปญหาเรื่องไมมี

Page 15: Chapter 2 Literature review (บทที่ 2 วรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง)

19

เครื่องถายเอกสารในหองสมุด ไมมีหนังสือช่ือเร่ืองที่ตองการในหองสมุด ไมทราบวิธีใชโสตทัศน วัสดุและอุปกรณ โสตทัศนวัสดุแตละประเภทมนีอย และหองสมุดไมมีวารสารชื่อที่ตองการ จีราพรรณ สวสัดิพงษ (2538) ทําการวิจัย การใชบริการสํานักหอสมุดของนักศึกษาปริญญาตรี มหาวิทยาลัยเชยีงใหม มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาสภาพการใชปญหาและความ ตองการในการใชบริการหองสมุดของนักศึกษา ผลการศึกษา พบวา นักศึกษาที่เขาใชหองสมุด สวนใหญเปนนักศึกษาคณะมนุษยศาสตร นักศึกษาเห็นวา หองสมุดมีความสําคัญตอการศึกษา นักศึกษาสวนใหญเขาใชหองสมุดไมแนนอน และมีวัตถุประสงคในการใชหองสมุดเพื่อศึกษา คนควาเอกสารสําหรับทํารายงานวิจัย บริการที่นักศึกษาใชในระดับมากคือ บริการยมื – คืนหนังสือ รองลงมาคือ บริการถายเอกสาร ทรัพยากรหองสมุดที่ใชมากคือส่ิงพิมพภาษาไทย และใชวิธีการ คนหาเรื่องที่ตองการจากบัตรรายการในระดับมาก รองลงมาคือ ใชบัตรดัชนีวารสารไทยและการ คนดวยเครื่องคอมพิวเตอร (OPAC) สวนปญหาในการใชหองสมุดที่นกัศึกษาประสบในระดับมากคือ เครื่องถายเอกสารมีนอย สําหรับทรัพยากรหองสมุดที่นักศึกษาตองการในระดับมากคือ หนังสือทั่วไปภาษาไทย หนังสือพิมพภาษาไทย วารสารภาษาไทย และบริการยืม – รับคืนหนังสือ บริการถายเอกสารเปนบริการที่นักศึกษาตองการมากเชนกัน นวลลออ จุลพุปสาสน (2542) ไดทําการวิจยัเร่ืองการใชบริการหองสมุดและทรัพยากรสารนิเทศของผูใชหองสมุดคณะสัตวแพทยศาสตร มหาวทิยาลัยเชยีงใหม ผลการวิจยัพบวา ผูใชสวนใหญเขาใชหองสมุดเฉลี่ยสัปดาหละ 2-4 คร้ัง ในชวงเวลาที่วางจากการเรยีนการสอน วัตถุประสงคของการเขาใชหองสมุด คือ คนควาหาความรู เพื่อใชประกอบการเรียนการสอนและเลือกหยิบหนังสือที่ช้ันโดยไมใชเครื่องมอืชวยคน บริการที่ใชในระดับปานกลาง เปนอันดับแรก คือ บริการยืม - คืนหนังสือและเอกสาร สาเหตุที่ไมเคยใชบริการบางประเภท เปนเพราะยังไมมีความจําเปนตองใช ทั้งนี้ ผูใชพึงพอใจตอบริการทุกประเภทในระดบัปานกลาง โดยพอใจบริการตอบคําถามและชวยการคนควาเปนอันดับแรก บริการที่ผูใชตองการใหหองสมุดจัดใหมีขึ้นในระดับมาก คือ บริการเครื่องถายเอกสาร ทรัพยากรสารนิเทศที่ผูใชใชโดยเฉลี่ยในระดับปานกลางเปนอันดับแรก คือ หนังสือ ตําราภาษาอังกฤษ สาเหตุที่ไมเคยใชทรัพยากร สารนิเทศบางประเภท คือ เห็นวายังไมมีความจําเปนตองใช สวนความทันสมยัของทรัพยากร สารนิเทศในขอบเขตวิชาตาง ๆ ที่ผูใชตองการมากที่สุด คือ ไมเกิน 3 ปที่ผานมา ปญหาในการใชบริการและทรพัยากรสารนิเทศที่มีผูประสบมากกวาปญหาอื่น ๆ คือ ปญหาเรื่องไมมีเครื่องถาย เอกสารในหองสมุดหรือบริเวณใกลเคียง จํานวนหนังสือและเอกสารที่ใหยืมนอยไป เจาหนาที่

Page 16: Chapter 2 Literature review (บทที่ 2 วรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง)

20

ที่ใหบริการมีจํานวนนอย ปญหาเรื่องเครื่องปรับอากาศไมเย็นพอ หนังสือและวารสารชื่อเร่ืองที่ตองการไมมีในหองสมุด และปญหาเรื่องจํานวนวดีีทศันมีนอย ซ่ึงปญหาเหลานี้ผูใชประสบโดยเฉลี่ยในระดับนอยถึงปานกลาง คัทลียา ปริชานิ (2544) ไดทําการวจิัยเร่ือง ความตองการของนักศึกษาในการใชบริการหองสมุดคณะมนุษยศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม ผลการวิจัยพบวา นักศกึษาเขาใชหองสมุดโดยเฉลี่ยมากกวา 1 คร้ังตอสัปดาห วัตถุประสงคในการเขาใชเพือ่คนและอานหนังสือ/เอกสารเพื่อใชประกอบการเรียนการสอน รูจักวิธีการใชหองสมุดโดยเรียนรูดวยตนเอง โดยการลองผิดลองถูก นักศึกษาใชวิธีคนหาขอมูลจากฐานขอมูลคอมพิวเตอร บางครั้งนักศึกษาไมสามารถหาหนังสือและเอกสารได มีสาเหตุมาจากหนงัสือและเอกสารมีรายการในฐานขอมูลแตไมพบหนังสือและเอกสารบนชั้น และนกัศึกษาจะสอบถามบรรณารักษหรือเจาหนาที่เมื่อมีปญหา นักศึกษามีความพึงพอใจในบริการยืม-คืนหนังสือ/เอกสารโดยใชคอมพิวเตอร และมีความตองการใชหนังสือทั่วไปภาษาไทยมากที่สุด วรารักษ พัฒนเกียรตพิงศ (2544) ไดทําการวิจยัเร่ือง การใชบริการหองสมุดและทรัพยากรสารนิเทศของผูใชหองสมุดคณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลยัเชียงใหม พบวา ผูใช หองสมุดสวนใหญเขาหองสมุดโดยเฉลี่ยมากกวา 1 คร้ัง ตอสัปดาห เขาใชหองสมุดเพื่อคนหาและ อานหนังสือ/ เอกสาร เพื่อใชประกอบการเรียนการสอน รูจักวิธีการใชหองสมุดโดยเรยีนรูดวยตนเอง คนหาหนังสือ/เอกสารที่ตองการไดเปนสวนมาก กรณีที่ไมสามารถคนหาหนังสือที่ตองการ ไดเนื่องจากมรีายการในฐานขอมูลแตไมพบหนังสือบนช้ัน สอบถามบรรณารักษเมื่อมีปญหาในการใชหองสมุด ไมเคยใชบริการบางประเภทเนื่องจากทราบวามีบริการ แตไมมีเวลาใช ตองการให หองสมุดจัดบริการเพิ่มขึ้นคอื บริการใหยืม - รับคืนหนังสือ/เอกสาร บริการเคเบิลทีวี บริการโสตทัศนวัสด ุ บริการมัลติมีเดีย และบริการซีดี-รอม หรือฐานขอมูลออนไลนทางเศรษฐศาสตร ผูใชหองสมุดใชและตองการบริการวารสาร/หนังสือพิมพ หนังสือพิมพภาษาไทยและหนังสือภาษาไทย สวนปญหาในการใชบริการและทรัพยากรสารนิเทศ ไดแก หนังสือที่ตองการไมมีใน หองสมุด หนังสือที่ตองการมนีอยฉบับ หนังสือเกาและลาสมัย หนังสืออางอิงมีนอย วิทยานิพนธ/การคนควาแบบอิสระของสถาบันอื่นมีนอยไมเพียงพอกบัความตองการ จํานวนเครือ่งคอมพิวเตอร ที่ใชคน OPAC ไมเพียงพอกับความตองการ มีเสียงรบกวนจากผูใชขางเคียง ที่นั่งอานมีจํานวน นอยและพื้นทีห่องสมุดคับแคบ

Page 17: Chapter 2 Literature review (บทที่ 2 วรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง)

21

ขจรวรรณ คมนา (2545) ไดทําการวิจัยเร่ืองความพึงพอใจและความตองการของอาจารยในการใชบริการหองสมุดคณะเกษตรศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม ผลการวิจยั พบวา อาจารยสวนใหญใชหองสมุดเทอมละครั้ง โดยใชเวลาวางจากการสอนมาเขาใชหองสมุด โดยมี วัตถุประสงคในการใชหองสมุดเพื่อคนหาและยืมหนังสือมากที่สุด วิธีการคนหาเอกสารที่ตองการ สวนใหญใชวิธีคนจากเครื่องคอมพิวเตอร ที่หองสมุดจัดไวใหบริการผานระบบเครือขาย OPAC อาจารยมีความตองการมาก ในการใชบริการสืบคนขอมูลจากระบบเครือขายอินเตอรเน็ต และมีความพึงพอใจตอบริการทุกบริการของหองสมุดในระดบัมากเชนกัน สําหรับความตองการในการใชทรัพยากรสารนิเทศของหองสมุดนั้น อาจารยสวนใหญ มีความตองการใชในระดับปานกลาง สวนสาเหตุที่ไมเคยใชทรัพยากรสารนิเทศบางประเภทของหองสมุดเพราะยังไมจําเปนตองใช เรณุกา สันธิ ประกายมาส มิยะ และ พิสมัย กัลยาวงค (2545) ไดทําการวจิัย เร่ือง ความพึงพอใจและความตองการของนักศึกษา ในการใชบริการหองสมุดคณะสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม ผลการวิจัย พบวา นักศึกษาเขาใชหองสมุดมากกวา 1 คร้ังตอสัปดาห โดยมี วัตถุประสงคในการเขาใชเพือ่คนและอานหนังสือ/เอกสารเพื่อใชประกอบการเรียน และทํารายงาน/วิจัย นักศึกษามีความพึงพอใจในการใชบริการของหองสมุดในระดับมากคือ บริการคนเอกสารใน หองสมุดดวยเครื่องคอมพิวเตอร (OPAC)และบริการยืม - คืน หนังสือ/เอกสาร ทรัพยากรสารนิเทศของหองสมุดที่นักศึกษามีความพึงพอใจในระดับมากคอื หนังสือทั่วไปภาษาไทย วิทยานิพนธ/การคนควาแบบอิสระ และหนังสือพิมพภาษาไทย สําหรับความตองการของนักศึกษาที่มีตอบริการของหองสมุดในระดับมาก คือ บริการคนหาเอกสารในหองสมุดดวยเครื่องคอมพิวเตอร (OPAC) บริการยืม - คืนหนังสือ/เอกสาร และบริการวารสาร/หนังสือพิมพ นักศกึษามีความตองการทรัพยากรสารนิเทศของหองสมุดในระดับมาก คือ หนังสอืทั่วไปภาษาไทย หนังสือพิมพภาษาไทย หนังสืออางอิงภาษาไทย และวิทยานิพนธ/การคนควาแบบอิสระ สวนปญหาในการใชหองสมุดที่นักศึกษาประสบ ไดแก หนังสือที่มีในหองสมุดเกาและลาสมัย วิทยานิพนธ/การคนควาแบบอิสระของสถาบันมีนอย โสตทัศนวัสดุมีนอย เครื่องคอมพิวเตอรที่ใหบริการ มีไมเพียงพอ เวลาเปด บริการไมเพียงพอ และมีเสยีงรบกวนจากผูใชขางเคียง

Page 18: Chapter 2 Literature review (บทที่ 2 วรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง)

22

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร สุจิตรา อุตมวาทิน และพูลสุข ปริวัตรวรวุฒ ิ (2530) ไดทําการวจิัย เร่ือง ความ ตองการในบรกิารหองสมุดของนักศึกษาระดับปริญญาตรี คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร ผลการวิจัยพบวา จุดมุงหมายที่นักศกึษาใชหองสมุดคือ เพื่อยืม - คืนหนังสือ และ ส่ิงพิมพตาง ๆ คนควาประกอบการเรยีนตามหลักสูตร เพื่อทํารายงานตามที่คณาจารยมอบหมาย และเพื่ออานหนังสือ และสิ่งพิมพตาง ๆ ของหองสมุด นักศึกษาสวนใหญเขาใชหองสมุดเปน ประจําทุกวัน โดยเฉพาะในชวงทีว่างจากการเรยีน และกอนสอบ โดยรูจักวิธีใชหองสมุดจากการศึกษาดวยตนเองและเพือ่นแนะนํา นักศกึษามีความตองการใชบริการยืม – คืนหนังสือและ ส่ิงพิมพตางๆ หนังสือตําราทางเศรษฐศาสตรภาษาไทยอยูในระดับมาก และตองการใหหองสมดุจัดทําคูมืออธิบายวิธีใชหนังสืออางอิงและคูมือชวยคนที่ยากแกการใช เชน ดรรชนีวารสารซึ่งนักศึกษามีความตองการอยูในระดับมาก สวนปญหาในการใชบริการที่อยูในระดับมากคือ หนังสือเลมที่ตองการมีผูอ่ืนยืมไป หองสมุดไมใหยืมวารสารออกนอกหองสมุด จุฑาทิพย โอสถานนท (2532) ไดศึกษาเรื่อง ปญหาในการใชหองสมุดของนักศึกษามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ศูนยรังสิต โดยมวีัตถุประสงคเพื่อศึกษาการใช ปญหาและความตองการในการใชหองสมุดของนักศกึษาชั้นปที่ 1 ผลการศึกษาพบวา นักศึกษาจํานวนสูงสุด เขาใชหองสมุดมากกวาสัปดาหละครั้งในชวงเวลาวางจากการเรียน เพื่อทํารายงานตามที่อาจารยมอบหมาย นักศึกษาสวนใหญใชบัตรรายการในการคนหาเรื่องที่ตองการ บริการที่ใชในระดับมากคือ บริการยืม-คืน วัสดุการอานที่ใชในระดับมากคือหนังสือทั่วไปภาษาไทย วารสารเพื่อความบันเทิงภาษาไทย และหนังสือพิมพภาษาไทย ปญหาในการใชหองสมุดที่นักศกึษาประสบในระดับมากไดแก จํานวนหนังสือสํารองและเอกสารสิ่งพิมพตาง ๆ มีจํานวนนอย ระยะเวลาที่ใหยืมไมเหมาะสม รวมทั้งไมใหยืมวารสารออกนอกหองสมุดดวย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒฯ เฉลิมศักดิ ์ ชุปวา (2534) ไดทําการวจิัยเร่ือง การศึกษาปญหาและความตองการในการใชบริการหองสมุดของสํานักวิทยบริการ ผลการวิจัย พบวา ผูใชบริการเขาใชบริการสัปดาหละ 3-4 คร้ัง วัตถุประสงคของนิสิตปริญญาตรี เพื่ออานหนงัสือทั่วไป นิสิตปริญญาโทมีวัตถุประสงค เพื่ออานวิทยานิพนธ และอาจารยเพื่ออานวารสารและหนังสือพิมพ การยืม-คืนตรงตามกําหนดเวลา

Page 19: Chapter 2 Literature review (บทที่ 2 วรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง)

23

การคนหาโดยใชบัตรรายการและดัชน ี เพราะสามารถคนหาทรัพยากรหองสมุดไดเปนสวนมาก บริการที่มีผูใชมากที่สุด คือ บริการหนังสือทั่วไป ในดานปญหาของการใชบริการที่มีปญหาในระดับปานกลาง ไดแก หนงัสือทั่วไป หนังสืออางอิง วารสาร ปริญญานิพนธ และงานวจิัย และวัสดุอ่ืน ๆ สวนที่มีปญหาในระดับนอย ไดแก หนังสือพิมพ เอกสารอีสาน และวัสดุไมตีพิมพ สวนในดานความตองการของผูใชบริการไดแก ใหเพิ่มเนือ้ที่หองสมุด โตะเกาอี้ หนังสืออางอิง และ เครื่องถายเอกสาร และใหจัดตกแตงสถานที่ พรอมทั้งจัดรวบรวมบรรณานุกรมเพื่อการคนควาวิจยั สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล ประภารัตน นววภิาพันธ (2540) ไดทําการศึกษาความตองการใชหอสมุดกลางของนักศึกษาระดับปริญญาตรี สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล พบวา นกัศึกษาสวนใหญใชหองสมุด คณะ สัปดาหละ 2 คร้ัง โดยมีวัตถุประสงคในการใชหองสมุด เพื่อการศึกษาคนควาประกอบการทํา รายงานภาคนพินธ และสวนใหญเขาถึงสารนิเทศ 2 วิธี สํารวจตามชัน้หนังสือและใชบัตรรายการ เรียนรูวิธีการ เขาถึงสารนิเทศดวยตนเอง นักศึกษาสวนใหญประสบปญหาไมมีเวลาไปใชหองสมุด และหองสมุดไมมีเทคโนโลยีทันสมัยชวยคนสารนิเทศไมสะดวกรวดเร็ว วัสดุตพีิมพที่นักศึกษา สวนใหญใชและตองการในระดับมาก ไดแก พจนานุกรม สารานุกรม หนังสือความรูทั่วไป หนังสือ ตําราวิชาการ บันเทิงคด ี วารสารวิชาการในแขนงที่ศึกษา นิตยสารหนังสือพิมพเนน ขาวความรู ความเขาใจ วัสดุไมตีพิมพที่นกัศึกษาสวนใหญใช ไดแก แผนที่ และแผนโปรงใส แตตองการ วดิีทัศน และฐานขอมูลซีดีรอมในระดับมาก นักศึกษาตองการบริการทุกประเภทในระดับมาก ไดแก สืบคนขอมูลบัตรรายการดวยเครื่องคอมพิวเตอร คูมือแนะนําการใชหองสมุด บริการถาย เอกสาร บริการเผยแพรขาวสารผานทางคณะ/ภาควิชา หองอานหนงัสือที่มีโตะรวม ที่นั่งสบาย และปายแผนผังหองสมดุ ความตองการในระดับมากที่สุด คือ บริการยืม-คืนหนังสือ และสภาพแวดลอมของหองสมุดที่มีระเบยีบ สะอาด แสงสวางเพียงพอ เงียบสงบ และมีเครือ่ง ปรับอากาศ มหาวิทยาลัยรามคําแหง อัญชลี ภูมิดษิฐ และวีรวรรณ คงมั่น (2530) ไดทําการสํารวจความตองการและความสามารถในการเขาถึงแหลงวัสด ุ เพื่อการคนควาและบริการสืบคนสารนิเทศของผูใชบริการ ในสํานักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยรามคาํแหง พบวา ผูเขาใชบริการมีวัตถุประสงคในการเขาใช

Page 20: Chapter 2 Literature review (บทที่ 2 วรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง)

24

บริการเพื่อขอรับบริการตอบคําถามจากบรรณารักษ บริการตอบคําถาม และใชหนงัสืออางอิงทาง ดานกฎหมาย และในขณะเดียวกัน ผูใชบริการก็มีความตองการที่จะใหบรรณารักษตอบคําถาม เปนผูใหคําแนะนําวิธีการคนควาที่ถูกตอง และใหความชวยเหลือแกผูใชในการคนหาหนังสือและ วัสดุเพื่อการคนควาอื่นๆ ตามที่ผูใชตองการ ผูใชบริการมีความสามารถสูงในการเขาถึงแหลงวัสดฯุ โดยวิธีการเดนิคนหา ตามชั้นที่เก็บหนังสือไปเรื่อย ๆ มากกวาที่จะใชเครื่องมือในการชวยคนที่ หองสมุดจัดไวให และยังประสบความสําเร็จในการเขาถึงดวยวิธีดังกลาวถึงรอยละ 43.13 สวนการสอบถามและขอรับบริการจากบรรณารักษตอบคําถามมีเพียงสวนนอยเทานั้น โดยเฉลี่ยแลวผูใชบริการมีความพึงพอใจในการเขาใชบริการในฝายบริการชวยการคนควาและวจิัยในระดับมาก และมีขอเสนอแนะในเรื่องการจดัหาหนังสืออางอิงภาษาไทยใหม ๆ เพิ่มเติม การจัดทําปายชี้นําหรือแนะนําแหลงวัสด ุ และการดูแลการเขาใชแหลงวัสดุ เพื่อการคนควาใหจํากัดเฉพาะวัตถุประสงคแหงการคนควาและวจิัยของ ผูใชบริการเทานั้น รุงรัตนา เจริญจิตต (2533) ไดทําการวิจยัเร่ือง ศึกษาความตองการของนักศึกษาปริญญาโทที่เขาใชบริการในสํานักหอสมดุกลาง มหาวิทยาลัยรามคําแหง ผลการวิจยั พบวา นักศึกษาเหน็ความสําคัญของหองสมุดที่มีตอการศึกษามากที่สุด โดยเขาใชบริการมากกวา 1 คร้ัง ตอสัปดาห ชวงเวลาที่ตองการเขาใช คือ เมื่อมีเวลาวาง โดยมีวัตถุประสงคในการเขาใชเพื่อใชบริการยืม – คืน หนังสือทัว่ไป และนักศึกษาสามารถคนหาหนังสือจากบัตรรายการหนังสือและวัสดุการอานอื่น ๆ ที่ตองการไมพบ เนื่องจากสิ่งที่ตองการไมมีในสํานักหอสมุดกลาง ฯ และสําหรับประเภทของหนังสือและวัสดุอ่ืน ๆ ของหองสมุดที่นักศึกษาสวนใหญเคยใช ไดแก หนังสือทั่วไปภาษาไทย ในดานความตองการใชบริการ สวนใหญนักศึกษาปริญญาโทเขาใชบริการในสํานักหอสมุดกลางในดานบริการดานตาง ๆ อยูในระดบัมาก โดยมีความตองการในเรื่องของการขยายเวลาในการยืม – คืนหนังสือทั่วไปมากที่สุด สวนดานบุคลากรมีความตองการอยูในระดับมาก ในเรื่องความตองการใหบุคลากรผูใหบริการเปนผูที่มีความตื่นตัว และรับผิดชอบงานรวมทั้งการบริการดวยความยิ้มแยมแจมใสอยูเสมอมากที่สุด และสําหรับดานอาคารสถานที่ มีความตองการมากในเรื่องการจัดสถานที่ เพื่อการศึกษาคนควาสําหรับนักศึกษาปริญญาโทโดยเฉพาะเปนกลุม เพื่อจะไดศึกษาจัดอภิปรายกลุมและทํารายงานและการวจิัย

Page 21: Chapter 2 Literature review (บทที่ 2 วรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง)

25

จากทฤษฎีและแนวคิดขางตน ผูวิจยันํามาสรางกรอบแนวคิดในการวจิยัเพื่อศึกษาความพึงพอใจของผูใชบริการที่มีตอการใหบริการของหองสมุดวิทยาลัยพยาบาลเกื้อการุณยนี้ ดังนี ้

ตัวแปรอิสระ - ขอมูลพื้นฐาน : เพศ อายุ สถานภาพผูตอบ วุฒิการศึกษา อายุการทํางาน - ลักษณะการใชหองสมุด ความถี่ในการใชหองสมุด ชวงเวลาในการใช จุดประสงค ในการใช วิธีการคนหาหนังสือ - ปญหาและอุปสรรค ปญหา อุปสรรคในการใหบริการ และการใชทรัพยากรสารสนเทศ

ตัวแปรตาม

- ความพึงพอใจและความตองการของผูใชบริการ