ึกษา 2548 isbn 974-464-293-9 ัมหาวิทยาลัิยศล ... · 2010. 3....

157
การสรางสรรคจิตรกรรมเพื่อการตกแตงโรงแรมเพชรรัชตการเดน จังหวัดรอยเอ็ด เรื่อง ชนบทอีสานกับจินตนาการแหงความสงบสุขโดย นางสาวอําพร แสงไชยา วิทยานิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาศิลปมหาบัณฑิต สาขาวิชาประยุกตศิลปศึกษา ภาควิชาประยุกตศิลปศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร ปการศึกษา 2548 ISBN 974-464-293-9 ลิขสิทธิ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร

Upload: others

Post on 27-Jan-2021

2 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

  • การสรางสรรคจิตรกรรมเพื่อการตกแตงโรงแรมเพชรรชัตการเดน จังหวัดรอยเอ็ด เร่ือง “ชนบทอีสานกับจินตนาการแหงความสงบสุข”

    โดย นางสาวอําพร แสงไชยา

    วิทยานิพนธนีเ้ปนสวนหนึง่ของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาศิลปมหาบัณฑิต สาขาวิชาประยุกตศิลปศึกษา ภาควชิาประยุกตศิลปศึกษา

    บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร ปการศึกษา 2548

    ISBN 974-464-293-9 ลิขสิทธ์ิของบณัฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร

  • “E-SAN RURAL AREA : A PEACEFUL PLACE” A PAINTING PROJECT FOR PETCHARATGARDEN HOTEL, ROI-ET

    By Amporn Sangchaiya

    A Thesis Submitted in Partial Fulfillment of the Requirements for the Degree MASTER OF FINE ARTS

    Department of Applied Art Studies Graduate School

    SILPAKORN UNIVERSITY 2005

    ISBN 974-464-293-9

  • บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร อนุมัติใหวิทยานิพนธเรื่อง การสรางสรรคจิตรกรรมเพื่อการตกแตงโรงแรมเพชรรัชตการเดน จังหวัดรอยเอ็ด เรื่อง “ชนบทอีสานกับจินตนาการแหงความสงบสุข” เสนอโดย นางสาวอําพร แสงไชยา เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาศิลปมหาบัณฑิต สาขาวิชาประยุกตศิลปศึกษา

    ……………………………………………. (รองศาสตราจารย ดร. วิสาข จัติวัตร)

    รองอธิการบดีฝายวิชาการ รักษาราชการแทน คณบดีบัณฑิตวิยาลัย วันที่ .…......เดือน........................พ.ศ.........….....

    ผูควบคุมวิทยานิพนธ 1. อาจารยพรพรม ชาววัง 2. อาจารยสมพงษ แสงอรามรุงโรจน คณะกรรมการตรวจสอบวิทยานิพนธ ...................................................ประธานกรรมการ (อาจารยอิทธิพล วิมลศิลป) ............./..................../.........…... ....................................................กรรมการ ............................................……….กรรมการ (รองศาสตราจารยอิทธิพล ตั้งโฉลก) (อาจารยพรพรม ชาววัง) ............./..................../..........….. ............./..................../..........….. ....................................................กรรมการ ............................................………กรรมการ (อาจารยสมพงษ แสงอรามรุงโรจน) (อาจารย ดร. น้ําฝน ไลสัตรูไกล) ............./..................../..........….. ............./..................../..........…..

  • K 47152320 : สาชาวิชาประยุกตศิลปศึกษา คําสําคัญ : ชนบทอีสานกับจินตนาการแหงความสงบสุข

    อําพร แสงไชยา : การสรางสรรคจิตรกรรมเพื่อการตกแตงโรงแรมเพชรรัชตการเดน จังหวดัรอยเอด็ เร่ือง “ชนบทอีสานกับจนิตนาการแหงความสงบสุข” (“E-SAN RURAL AREA : A PEACEFUL PLACE” A PAINTING PROJECT FOR PETCHARATGARDEN HOTEL, ROI-ET) อาจารยผูควบคุมวทิยานิพนธ : อ.พรพรม ชาววัง และ อ.สมพงษ แสงอรามรุงโรจน 143 หนา. ISBN 974-464-293-9.

    วิทยานิพนธระดับศิลปมหาบัณฑิตนี้ เปนการสรางสรรคผลงานจิตรกรรม เพื่อประดับตกแตงโรงแรมเพชรรัชตการเดน จังหวัดรอยเอ็ด เรื่อง “ชนบทอีสานกับจินตนาการแหงความสงบสุข” ที่มีแนวความคิดในการสรางสรรคผลงานเกี่ยวกับวิถีชีวิตพื้นบานของคนอีสานในการดํารงชีวิตที่เรียบงาย มีศิลปวัฒนธรรมอันดีงามมากมาย ทั้งการกิน การอยู การละเลน การประกอบพิธีกรรมตางๆที่หลากหลายเปนประเพณีที่ดีงาม มีคุณคา มีเสนห ตลอดจนมีภูมิปญญาที่แสดงออกมาจากพฤติกรรมของคนในชนบท เนื่องจากไดมีการเรียนรูจากสิ่งแวดลอมที่มีอิทธิพลสูงตอการดํารงชีวิตและตอความรูสึกนึกคิดของคนอีสาน มีความผูกพันกับธรรมชาติแบบพ่ึงพาอาศัยซึ่งกันและกัน มีความงามของธรรมชาติในแตละฤดูกาลที่กอเกิดพืชพันธุนานาชนิดอยางสวยงามและมีสภาพแวดลอมเปนสวนชวยสรางบรรยากาศที่อบอุน รวมไปถึงความมีน้ําใจเอื้อเฟอเผื่อแผของคนในชนบท เปนเสนหที่นาจดจํายิ่ง

    จากความดีงามเหลานี้ ขาพเจาเกิดความประทับใจและมีความทรงจําที่ดีตอการดํารงชีวิตของคนอีสาน จึงตองการที่จะถายทอดเนื้อหาเรื่องราวจากความประทับใจในประสบการณจริง และจากการศึกษาคนควาขอมูลในเอกสารตําราวิชาการ รวมไปถึงขอมูลจากภาพถายจากคําบอกเลาตางๆ ผานกระบวนการคิดวิเคราะห ผสมผสานกับจินตนาการในการสรางสรรค เกิดเปนผลงานจิตรกรรมที่มีรูปแบบกึ่งนามธรรม โดยใชเทคนิคการจุดแตงแตมสีอะครีลิคบนพื้นผาใบ เพื่อสรางบรรยากาศที่สื่อแสดงออกใหเห็นถึงวิถีชีวิตที่มีความสงบสุขและความงามของธรรมชาติสภาพแวดลอมในชนบทอีสาน

    ในการแสดงออกทั้งนี้ก็เพื่อที่จะประยุกตผลงานจิตรกรรมใหมีความสอดคลองกับแนวความคิดในการออกแบบตกแตง ทั้งภายในและภายนอกอาคารของโรงแรมเพชรรัชตการเดน จังหวัดรอยเอ็ด ใหมีความสัมพันธ กลมกลืน และเหมาะสมกับสภาพแวดลอมภายในบริเวณที่ติดตั้งผลงาน อันจะกอใหเกิดคุณคาความงามความสมบูรณกับอาคารสถานที่เพิ่มมากขึ้น ภาควิชาประยกุตศิลปศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร ปการศึกษา 2548 ลายมือช่ือนักศึกษา........................................................... ลายมือช่ืออาจารยผูควบคุมวทิยานิพนธ 1............................................. 2............................................

  • K 47152320 : MAJOR : APPLIED ART STUDIES KEY WORD : E-SAN AREA : AN IMAGINATION OF A PEACEFUL PLACE AMPORN SANGCHIYA : “E-SAN RURAL AREA : A PEACEFUL PLACE” A PAINTING PROJECT FOR PETCHARATGARDEN HOTEL, ROI-ET THESIS ADVISORS : PORNPROM CHAWWANG AND SOMPONG SEANGARAMROUNGROJ. 143 pp. ISBN 974-464-293-9. The thesis entitled “E-San rueal area : a peaceful place” a painting project for Petcharatgarden hotel, Roi-Et. is inspired by not only simple and plain but also attractive lifestyle of the North - Eastern people of Thailand. The variety of their fine and meaningful culture with local wisdoms reflect in their dwellings, traditional plays and ritual ceremonies which suggest the close relationship between North–Eastern or E–San people and nature. The nature from which beautiful plants and pleasant atmosphere have originated has much influence on their living and awareness accordingly as well as the unforgetable generosity of E-san people. My semi-abstract paintings are created by acrylic on canvas to represent natural environment of rustic north-eastern area. The objective of the project is to apply the paintings into the interior and exterior decoration of Petcharatgarden hotel, Roi-Et, as well as to divisibly comform with the surrounding inside the installed site in order to complete the perfect beauty of the construction.

    Department of Applied Art Studies Graduate School, Slipakorn University Academic Year 2005 Student’s signature .................................................. Thesis Advisors’ signature 1. ............................................... 2 ......................................................

  • กิตติกรรมประกาศ ความสําเร็จในการศึกษาโครงการวิทยานิพนธ เร่ือง “ชนบทอีสานกับจินตนาการแหงความสงบสุข” เพื่อนําไปประดับตกแตงโรงแรมเพชรรัชตการเดน จังหวัดรอยเอ็ด ซ่ึงขาพเจาไดรับการสนับสนุน สงเสริม และไดรับคําแนะนําที่เปนประโยชนจากหลายทาน เร่ิมตั้งแตการเก็บรวบรวมขอมูล จนกระทั่งการนําเสนอโครงการวิทยานิพนธเสร็จสมบูรณ ขาพเจาจึงขอขอบพระคุณทุกทานที่ไดใหความชวยเหลือมาโดยตลอด ขอขอบคุณคณาจารยในภาควิชาประยุกตศิลปศึกษา คณะมัณฑนศิลป มหาวิทยาลัยศิลปากรทุกทาน ที่ไดประสิทธิ์ประสาทวิชาความรู ใหคําปรึกษาชี้แนะแนวทางในการสรางสรรคผลงานจนสําเร็จลุลวงดวยดี ขอเทิดทูนบูชาคุณบิดา มารดาและพี่ๆ ที่ใหโอกาสขาพเจาไดรับการศึกษาจนประสบความสําเร็จทุกประการ

  • สารบัญ

    หนา บทคัดยอภาษาไทย ………………………………………………………………………... ง บทคัดยอภาษาอังกฤษ …...………………………………………………………………... จ กิตติกรรมประกาศ …..……………………………………………………………………. ฉ สารบัญภาพ ………………………………………………………………………………. ญ บทที่ ………………………………………………………………………………………. 1 1 บทนํา ……………………………………………………………………………… 1 ความเปนมาและความสําคัญของปญหา ……………………………………… 4

    ความมุงหมายและวัตถุประสงคของการศึกษา ……………………………….. 6 สมมุติฐานของการศึกษา ……………………………………………………… 6 ขอบเขตของการศึกษา ………………………………………………………... 7 ขั้นตอนของการศึกษา ………………………………………………………… 7 ขอตกลงเบื้องตน ……………………………………………………………… 8 ความจํากดัของการศึกษา ……………………………………………………… 8 คําจํากัดความที่ใชในการศึกษา ……………………………………………….. 8

    2 ขอมูลเกี่ยวกับการศึกษา …………………………………………………………… 10 ประสบการณที่ไดสัมผัสกับวิถีชีวิตในชนบทอีสาน ..................... …………….. 11 แรงบันดาลใจจากวิถีชีวิตชนบทอีสานที่มีอิทธิพลตอการสรางสรรค …………. 11

    อิทธิพลจากธรรมชาติ …………………………………………………….. 11 อิทธิพลจากการดํารงชีวิต ……………………………………………….... 13 อิทธิพลจากสถาปตยกรรม ……………………………………………….. 18 อิทธิพลจากสิ่งของเครื่องใช ……………………………………………… 24 อิทธิพลจากสัตว ………………………………………………………….. 26 อิทธิพลจากความเชื่อ …………………………………………………….. 27 อิทธิพลจากศาสนา ………………………………………………………. 28

    เอกสารวิชาการที่เกี่ยวของกบัศิลปะ …………………………………………… 30 สุนทรียภาพในผลงานศิลปะ ……………………………………………… 30 องคประกอบศิลปะในการสรางสรรค ……………………………………. 34

  • บทที่ หนา ศิลปะการออกแบบตกแตง ………………………………………………. 49

    อิทธิพลจากงานศิลปกรรมตอการสรางสรรค …………………………………. 60 ศิลปะอิมเพรสชันนิสต ………………………………………………….. 60

    ศิลปะนีโอ – อิมเพรสชันนสิต …………………………………………… 61 ศิลปะโพสต – อิมเพรสชันนสิต …………………………………………. 61

    อิทธิพลจากศิลปนจอรจ เชอราท ………………………………………… 63 ศิลปนธีระวัฒน คะนะมะ ………………………………………………. 65 3 วิธีดําเนนิงาน ……………………………………………………………………….. 69

    ขั้นตอนในการสรางสรรค ................................................................................... 69 กําหนดแนวความคิดในการสรางสรรค ………………………………….. 69 รวบรวมขอมลูที่เกี่ยวของกบัการสรางสรรค …………………………….. 70 จัดหมวดหมูของกลุมขอมูล …………………………………………….... 70 วิเคราะหขอมูลเกี่ยวกับสถานที่ติดตั้งผลงานโดยรวม ……………………. 71 วิเคราะหผลงานการสรางสรรคกอนการทําวิทยานพินธ …………………. 72

    ผลงานระยะที ่ 1 ภาคการศกึษา 1/2547 ............................................ 72 ผลงานระยะที ่ 2 ภาคการศกึษา 2/2547 ............................................ 75 ผลงานระยะที ่ 3 ภาคการศกึษา 1/2548 ............................................ 78

    สรุปผลวิเคราะหแนวทางการสรางสรรค ………………………………… 82 เนื้อหา ................................................................................................. 82 รูปแบบ ............................................................................................... 82 เทคนิควิธีการ ..................................................................................... 83

    ปฏิบัติการทําภาพรางตนแบบ …………………………………………… 84 แกไขปรับปรงุและพัฒนาผลงาน ………………………………………… 84 4 สถานที่ในการติดตั้งผลงาน ………………………………………………………… 85

    สถานที่ตั้ง ……………………………………………………………………... 85 ลักษณะทั่วไป …………………………………………………………………. 86 บทบาทและหนาที่ของโรงแรม ……………………………………………….. 96 แนวความคิดในการสรางและออกแบบตกแตง .................................................. 97 วิเคราะหขอมูลเกี่ยวกับบริเวณที่จะติดตั้งผลงาน ................................................ 98

  • บทที่ หนา 5 ผลงานการสรางสรรคและการนําไปติดตั้งภายในสถานที ่ ………………………….. 106

    ผลงานการสรางสรรค ......................................................................................... 106 การทดลองติดตั้งภายในอาคาร ………………………………………………… 114 การจําลองการติดตั้งสามมิติ …………………………………………………… 119 การติดตั้งผลงานจิตรกรรมภายในสถานที่ .......................................................... 124

    6 สรุปผลการสรางสรรค ……………………………………………………………… 138 บรรณานุกรม ………………………………………………………………………………. 140 ประวัติผูวจิัย ……………………………………………………………………………….. 142

  • สารบัญภาพ ภาพที ่ หนา

    1 ภาพชุดความเปลี่ยนแปลงจากอดีตสูปจจุบนั ………………………………… 8 2 3 4 5 6 7 8 9

    10 11

    ดอกทองกวาว ………………………………………………………………... ดอกพะยอม ...................................................................................................... ตนตาล .............................................................................................................. ทองทุงนา ......................................................................................................... ตนสะแบง ......................................................................................................... ดอกกระถินทุง .................................................................................................. รวงขาว ............................................................................................................. ตนกลวย ........................................................................................................... ตนมะละกอ ...................................................................................................... ตนออย .............................................................................................................

    11 11 12 12 12 12 12 12 12 12

    12 13

    ภาพชุดริมร้ัวบริเวณหมูบานที่มีการปลูกพืชผักไวกิน ……………………...... ภาพชุดลักษณะของการทํามาหากินที่ตองพึ่งพาอาศัยซ่ึงกันและกันแบบ

    พื้นบานชนบทอีสาน …………………………………………………....

    13

    13 14

    ภาพชุดการดํารงวิถีชีวิตที่ตองพึ่งพาอาศัยธรรมชาติสภาพแวดลอมเพื่อให

    ไดมาซึ่งความอยูรอด ................................................................................

    14 15 ภาพชุดวิถีชีวติที่จัดทําเครื่องมือเครื่องใชขึ้นเองจากวัสดุที่มีอยูในพื้นถ่ิน …… 15 16 ภาพชุดวิถีชีวติของหญิงในชนบทอีสาน ที่เสร็จสิ้นจากการทําไรไถนาก็จะทอ

    ผา เปนเครื่องนุงหมไวใช ……………………………………………...

    16 17 วิถีชีวิตของเดก็ชนบทอีสานในอดีตเมื่อ 20 ปที่ผานมา ................................... 17 18 ภาพชุดลักษณะเรือนอีสานในอดีต …………………………………………... 18 19 20

    เรือนแฝดทรงไทย ............................................................................................. เรือนหลังคาจัว่ทรงต่ํา มีเรือนโขง ....................................................................

    19 19

    21 22

    เรือนทรงจั่วต่าํไมมีเรือนโขง ............................................................................ เรือนช่ัวคราวที่เรียกวา “ออกเรือนใหม” ……………………………………..

    20 20

    23 24

    สวนประกอบของเรือนอีสาน ………………………………………………... สีหนาหรือหนาจั่วเฮือนอีสาน ...........................................................................

    21 22

  • ภาพที่25

    ภาพชุดตําแหนงครัวโดยอาศัยทายดานทิศตะวนัตกของระเบียง ซ่ึงใกลกับที่

    ตั้งโองน้ํา...................................................................................................

    หนา

    23 26 27

    โองน้ํา อาศัยสวนทายสุดของชาน …………………………………………... ใตถุนเรือนมีแครนั่งจักสาน ..............................................................................

    23 23

    28

    ภาพชุดบริเวณใตถุนและลานบาน เปนตวัเชื่อมติดตอระหวางเรือนและยัง เปนทางสัญจรภายในคุมไดตลอด ............................................................

    23

    29

    ภาพชุดกระตบิขาวในภาคอสีานที่มีเอกลักษณและความงามแสดงถึงความประณีตของชางพื้นบาน ...........................................................................

    24

    30 ภาพชุดลักษณะของครุตักน้ํา และแองน้ํา ที่จะเห็นอยูไดทั่วไปตามใตถุนบานและบริเวณชานบานในภาคอีสาน ............................................................

    24

    31 ภาพชุดของใสปลาเปนหัตถกรรมที่ทําขึ้นจากชางพื้นบาน ............................... 24 32 33

    สุมจับปลา ……………………………………………………………………. ไซจับปลา .........................................................................................................

    25 25

    34 ภาพชุดไกกําลังหากินตามลานบานที่ชาวชนบทอีสานนิยมเล้ียงไกไวเปน อาหาร ......................................................................................................

    26

    35

    สัตวใหญ เชน วัว ควาย ชาวบานนยิมเลี้ยงไวเพื่อทําการเกษตร เปนยานพาหนะ และเปนอาหาร ....................................................................

    26

    36 37

    ขบวนแหเจาบาวในพิธีแตงงาน ……………………………………………… ภาพชุดลักษณะของสถาปตยกรรมทางศาสนา .................................................

    27 28

    38 39

    ภาพชุดการทําบุญตักบาตร ............................................................................... Georges Seurat ; La Grande Jatte .................................................................

    29 64

    40 41 42 43 44 45

    พริกพัฒนาพนัธุ ……………………………………………………………… ผาสุกสถาน …………………………………………………………………... เดือนประดับ ..................................................................................................... รมไมชายคา ...................................................................................................... ถ่ินดินดํา ........................................................................................................... กอนฟาราตรี .....................................................................................................

    66 66 67 67 67 67

    46 47

    บานเฮา ………………………………………………………………………. สวรรคบานนา ๑ ..............................................................................................

    73 73

  • ภาพที่48 49 50 51 52 53 54 55

    สวรรคบานนา ๒ ............................................................................................. ทุงสีทอง ๑ ....................................................................................................... สีสันในชนบท ……………………………………………………………….. วิถีชนบท ๑ ...................................................................................................... วิถีชนบท ๒ ..................................................................................................... วิถีชนบท ๓ ..................................................................................................... จินตนาการแหงความสงบสุข ๑ ....................................................................... จินตนาการแหงความสงบสุข ๒ .......................................................................

    หนา 73 74 74 75 76 76 77 77

    56 57 58 59 60 61 62

    งานวัด ๑ ........................................................................................................... งานวัด ๒ …………………………………………………………………….. อบอุน ๑ ............................................................................................................ อบอุน ๒ ........................................................................................................... ริมสายธาร ........................................................................................................ แสงไฟดวงนอย ................................................................................................ แดนสวรรค อันอบอุน .....................................................................................

    78 79 79 80 80 81 81

    63 64

    แผนที่ทางไปโรงแรมเพชรรัชตการเดน ……………………………………... ภาพชุดลักษณะสภาพแวดลอมภายนอกของโรงแรมเพชรรัชตการเดน ...........

    85 86

    65 66 67 68 69

    แปลนพื้นที่ทั้งหมดของโรงแรมเพชรรัชตการเดน …………………………... แปลนดานหนา ................................................................................................. แปลนดานหลัง ................................................................................................. แปลนดานขาง (ขวา) ....................................................................................... แปลนดานขาง (ซาย) .......................................................................................

    87 87 88 88 88

    70 71

    ภาพชุดสระวายน้ําและบรรยากาศโดยรอบ ...................................................... ภาพชุดอาคารศูนยประชุม ................................................................................

    89 90

    72 73 74 75

    ประติมากรรมพานบายศรีสูขวัญที่ทําดวยหินทราย ………………………….. ภาพจิตรกรรมไทยตรงหนาล็อบบี้ …………………………………………… มุมรับแขกที่ตกแตงดวยผาไหม หมอนขิด พานบายศรี ...................................... ภาพชุดบรรยากาศภายในหองโถงชั้นหนึ่ง .......................................................

    91 91 91 91

    76 ภาพชุดหองอาหาร หองจัดเลี้ยง ....................................................................... 93

  • ภาพที่77

    ภาพชุดบริเวณทางเดินไปยังหองพักของแตละช้ัน ...........................................

    หนา 93

    78 79 80 81

    แปลนพื้นชั้น 1 ………………………………………………………………. แปลนพื้นชั้น 2 ……………………………………………………………… แปลนพื้นชั้น 3 ……………………………………………………………… แปลนพื้นชั้น 4 ………………………………………………………………

    94 94 95 95

    82 ภาพชุดบรรยากาศภายในหองพัก ..................................................................... 96 83 84 85

    ภาพชุดบริเวณดานหนาหองโถง …………………………………………...... ดานหนาล็อบบี้ ................................................................................................. ดานหนาเคานเตอรหองโถง ..............................................................................

    98 99

    100 86 87 88 89

    ภายในหองโถงซึ่งติดกับดานหนาหองน้ําเพชร ................................................ ดานหนาเคานเตอรหองน้ําเพชร ....................................................................... ภายในหองพกั .................................................................................................. ภาพชุดภายในหองสูท ......................................................................................

    101 102 102 104

    90 91

    บุญผะเหวด ………………………………………………………………….. ภาพชุดยามเยน็ ๑, ๒ ........................................................................................

    107 108

    92 93 94 95 96

    บานไรชายทุง ................................................................................................... บุปผาอีสาน ๑ ................................................................................................... บุปผาอีสาน ๒ .................................................................................................. บุปผาอีสาน ๓ .................................................................................................. บุปผาอีสาน ๔ ..................................................................................................

    109 110 111 112 113

    97 98

    ภาพชุดการทดลองติดตั้งผลงานบริเวณล็อบบี้ ……………………………….. ภาพชุดการทดลองติดตั้งผลงานบริเวณเคานเตอรหองโถง …………………..

    114 115

    99 100

    ภาพชุดการทดลองติดตั้งผลงานบริเวณภายในหองโถง ……………………… ภาพชุดการทดลองติดตั้งผลงานบริเวณเคานเตอรหองน้ําเพชร ………………

    116 117

    101 102

    ภาพชุดการทดลองติดตั้งผลงานบริเวณภายในหองนอน …………………….. ภาพชุดการจําลองบริเวณภายนอกและภายในอาคาร …………………………

    118 119

    103 104 105

    ภาพชุดการจําลองพื้นที่ช้ัน 1 ……………………………………………….. ภาพชุดการจําลองพื้นที่ติดตัง้ผลงาน …………………………………………. ภาพชุดการจําลองแสดงการติดตั้งผลในมมุตางๆ …………………………….

    120 121 122

  • ภาพที่106

    ภาพชุดการจําลองแสดงการติดตั้งผลในหองโถงและหองน้ําเพชร …………...

    หนา 123

    107 108 109 110 111 112

    แปลนพื้นทีแ่สดงบริเวณตดิตั้งผลงานตรงล็อบบี้ …………………………….. การติดตั้งผลงาน “บุญผะเหวด” ……………………………………………... แปลนพื้นทีแ่สดงบริเวณตดิตั้งผลงานตรงเคานเตอรหองโถง ………………. การติดตั้งผลงาน “ยามเย็น ๑” ……………………………………………….. แปลนพื้นทีแ่สดงบริเวณตดิตั้งผลงานภายในหองโถง ………………………. การติดตั้งผลงาน “ยามเย็น ๒” ……………………………………………….

    125 126 127 128 129 130

    113 114 115 116 117 118 119

    แปลนพื้นทีแ่สดงบริเวณตดิตั้งผลงานตรงเคานเตอรหองน้ําเพชร ……………. การติดตั้งผลงาน “บานไรชายทุง” …………………………………………... แปลนพื้นทีแ่สดงบริเวณตดิตั้งผลงานภายในหองนอน ……………………... การติดตั้งผลงาน “บปุผาอีสาน ๑” …………………………………………... แปลนพื้นทีแ่สดงบริเวณตดิตั้งผลงานภายในหองสูท ……………………….. การติดตั้งผลงาน “บุปผาอีสาน ๓” ………………………………………….. การติดตั้งผลงาน “บุปผาอีสาน ๔” …………………………………………..

    131 132 133 134 135 136 137

  • 1 สุชาติ เถาทอง, ศิลปะกับมนุษย (กรุงเทพมหานคร : โฮ.เอส.พริ้นต้ิง เฮาส, 2532), 1. 1

    บทท่ี 1 บทนํา

    หากจะกลาวถึงคําวาศิลปะ มนุษยทุกคนตางก็มีความเกี่ยวของกับศิลปะ เพราะศิลปะ

    เขามามีบทบาทในการดําเนินชีวิตจากอดีตจนถึงปจจุบัน นับตั้งแตมนุษยรูจักสรางสรรคส่ิงตางๆ ขึ้นมาในโลก ศิลปะก็เปนอีกสิ่งหนึ่งที่มนุษยไดสรางสรรคขึ้นจากความรูสึกนึกคิด จากจินตนาการ เพื่อตอบสนองความตองการทางดานรางกายและจิตใจ ซ่ึงเปนความตองการของมนุษยที่จะสรางสรรคผลงานศิลปะใหเกิดความงาม ความประทับใจ และในความงามของศิลปะทางดานจิตใจนั้น เปนความตองการอันลึกซึ้งที่มีคุณคาทางดานสุนทรียภาพสูง ละเอียดออน กลาวคือ ในการสรางสรรคผลงานศิลปะเพื่อตอบสนองความตองการทางดานจิตใจ เปนการแสดงออกเพื่อใหเกิดความพึงพอใจ ความปติยินดี รูสึกดีใจ รูสึกเสียใจ เปนความงามที่ปะทะอารมณความรูสึก ซ่ึงแสดงออกใหเห็นถึงความสําคัญของศิลปะที่มีผลตอสภาวะจิตใจของมนุษย และยังเปนการแสดงออกถึงความคิดริเร่ิมสรางสรรค จินตนาการ และภูมิปญญาตางๆ จึงเปนบอเกิดแหงการพัฒนาของมนุษย จากสมัยหนึ่งสูอีกสมัยหนึ่ง ดังจะเห็นไดจากความเปลี่ยนแปลงของยุคสมัยตางๆในประวัติศาสตร ที่มีการพัฒนามาเรื่อยๆจนถึงปจจุบัน

    ศิลปะเปนสิ่งที่มนุษยสรางสรรคขึ้น ซ่ึงแสดงออกจากความรูสึกนึกคิด อารมณและจากมโนภาพที่ไดจากความจริงหรือจินตนาการที่คิดฝนขึ้นมาเอง โดยใชภาษาของศิลปะ เปนส่ือกลางเพื่อที่จะใหผูอ่ืนเชื่อกันวา “มนุษยเทานั้นที่มีสติปญญาจนถึงขั้นแกไขปญหาการสรางสรรคงานศิลปะได” ทั้งนี้เพราะมนุษยสามารถปรับปรุงแกไขปญหาในดานตางๆได เชน การใชวัสดุและเครื่องมือ ตลอดจนการสรางสรรคส่ิงเหลานี้ใหมีคุณคาทางความงามเหมาะสมกับหนาที่ในดานการใชสอย จิตใจและอารมณ จนกระทั่งมนุษยสามารถสรางสรรคใหผลงานมีวิวัฒนาการเจริญตอเนื่องเปนลําดับมา1

    ดังนั้นการแสดงออกทางดานศิลปะที่มนุษยไดสรางสรรคขึ้นมาจากประสบการณ ความประทับใจ ความเชื่อ ศาสนา วัฒนธรรม จารีตประเพณีตางๆ ลวนเปนการบันทึกเรื่องราวการแสดงออกทางดานความคิด โดยถายทอดเปนผลงานศิลปะดวยเทคนิควิธีการผานสื่อตางๆที่หลากหลายกลายเปนผลงานศิลปะแตละประเภทที่สะทอน อารมณ ความรูสึก ความคิดของศิลปน

  • 2

    อาจกลาวไดวา ศิลปะเปนสิ่งที่มนุษยสรางขึ้นตามทักษะความสามารถของแตละบุคคล โดยการสรางสรรคนั้น ไดรับแรงบันดาลใจมาจากธรรมชาติ จากสภาพแวดลอมและเกิดความประทับใจ จึงถายทอดผานสื่อตางๆใหปรากฏความงาม ความประทับใจ หรือ ความสะเทือนใจของผูที่ไดพบเห็นกับศิลปะนั้นๆ

    การที่จะทําใหผูที่ไดสัมผัสกับผลงานศิลปะไดล้ิมรสความงามและเขาใจถึงการแสดงออกของศิลปน ผูช่ืนชมผลงานศิลปะจะตองรับรูเขาใจในสุนทรียภาพหรือความงามที่ปรากฏอยูในผลงานศิลปะ ซ่ึงความงามหรือสุนทรียภาพ (Aesthetic) นั้น เปนศาสตรที่ละเอียดออน โดยเฉพาะความงามทางดานศิลปะที่นึกคิด นักปรัชญาไดกลาวถึงความหมายของสุนทรียภาพ ซ่ึงจะไดกลาวถึงรายละเอียดของความงามที่เกี่ยวกับการสรางสรรคในบทตอไป แตทั้งนี้ที่ไดกลาวถึงความงามในขางตน ก็เพราะความงามนั้นเปนสวนสําคัญอีกปจจัยหนึ่งตอการสรางสรรคผลงานศิลปะ การที่จะรับรูรสคุณคาทางความงามของศิลปะก็ขึ้นอยูกับประสบการณพื้นฐานของแตละบุคคล ซ่ึงความงามในศิลปะเปนความงามที่สรางสรรคขึ้นตามลักษณะสวนตัวของศิลปนไมใชความงามที่เกิดขึ้นในธรรมชาติ ความงามในศิลปะที่เกี่ยวของกับความงามของรูปทรง (form) ตางๆในเนื้อหา (content) เร่ืองราวท่ีกําหนดเปนโครงสรางหลักในการสรางสรรคที่เกิดจากการ จัดวางประสานกันของทัศนธาตุ (visual Elements) ทางศิลปะ

    ดังนั้นการสรางสรรคผลงานศิลปะของมนุษยจึงมีเจตนาในการแสดงออกซึ่งอารมณ ความรูสึก ความคิด ความงาม โดยผานสื่อในรูปลักษณตางๆกัน เกิดเปนผลงานทางศิลปะที่มีหลายประเภท เชน จิตรกรรม (painting) ประติมากรรม (sculpture) ภาพพิมพ (print-mating) ภาพถาย (photography) งานสื่อผสม (mixed Media) ศิลปะการจัดวาง (Installation) ศิลปะ การแสดง (performing) และหัตถศิลป (craft) เปนตน จิตรกรรมก็เปนผลงานศิลปะอีกประเภทหนึ่งที่มนุษยไดสรางสรรคขึ้น และมีการพัฒนามาเปนลําดับ ที่มุงแสดงออกซึ่งอารมณ ความรูสึก ความคิดและความงาม ที่มีคุณคาทางสุนทรียภาพ โดยการสรางสรรคจะใชเทคนิคการวาดเสน การระบายสีลงบนพื้นผิวของวัตถุ เพื่อใหเกิดรูปรางรูปทรง ซ่ึงในอดีตมักมีลักษณะเปนงาน 2 มิติ โดยใชกระดาษผาใบ พูกัน แปรง และสี เปนตน แตในปจจุบันไดมีการพัฒนา โดยมีลักษณะทั้ง 2 มิติ และ 3 มิติ ที่มีทั้งรูปแบบเหมือนจริง (Realism) กึ่งนามธรรม (semi - Abstract) นามธรรม (Abstract) เปนตน

    การแสดงออกในผลงานจิตรกรรมของศิลปนในแตละยุคสมัยตางไดรับแรงบันดาลใจจากสภาพแวดลอม เทคโนโลยีรอบๆตัวดวยรูปแบบและเทคนิควิธีการมากมาย ผานกระบวนการคิด การวางแผน เพื่อใหเกิดความลงตัวในชิ้นงานจึงสามารถกลาวไดวาการวางแผนในการสรางสรรคก็เปนการออกแบบการจัดวางใหมีความสัมพันธกัน ดังนั้นการจัดระบบระเบียบความคิด

  • 3

    ถือไดวาเปนการวางแผนหรือการออกแบบในการสรางสรรคผลงานศิลปะอีกวิธีการหนึ่งที่เรียกวา แบบราง (Sketch)

    การออกแบบ (Design) อาจจะออกแบบในความคิดคํานึง เชน การวางแผนงานตางๆ การกําหนดความคิดหรือออกแบบเปนรูปแผนงานที่จะสราง เชน การออกแบบเครื่องจักรกล โตะ เกาอี้ หรือการออกแบบไปพรอมกับการสรางสรรคอารมณความรูสึกนึกคิดเลยก็ได เชน การออกแบบทางจินตนาการ ประติมากรรม เปนตน อยางไรก็ตาม โดยทั่วไปแลวการออกแบบทางทัศนศิลป (visual Art) ยอมตองปรากฏเปนผลงานหรือส่ือสารที่รับรูไดดวยประสาทตาไมใชเปนเพียงความคิดคํานึง

    การดํารงชีวิตประจําวันของเราตองผูกพันกับโลกของวัตถุ เมื่อโลกวัตถุไดรับการพัฒนาการมากเทาใด คนเราก็ยิ่งตองผูกพันกับงานออกแบบมากขึ้นเปนเงาตามตัว เพราะการกาวหนาหรือเจริญเติบโตทางวัตถุยอมตองกาวหนาหรือเติบโตไปพรอมกับการออกแบบ ซ่ึงอาจจะกลาวไดวาไมมีวัตถุส่ิงของเครื่องใชหรือเครื่องอํานวยความสะดวกใดๆที่เราสรางขึ้นมาแลวไมเปนผลมาจากการออกแบบ ไมวาจะเปนบานเรือน โตะ เกาอี้ เครื่องบิน จอบ งอบ ยอมตองผานการออกแบบ ลักษณะใดลักษณะหนึ่งมาแลวทั้งสิ้น เมื่อเปนเชนนี้ การออกแบบจึงมีสภาพเปนตัวการสําคัญอยางหนึ่งในสังคมในอันที่จะผลักดันใหสังคมมีการพัฒนาอยูตลอดเวลา จากแนวความคิดหนึ่งเปลี่ยนไปสูอีกแนวความคิดหนึ่ง และจากรูปแบบหนึ่งไปสูอีกรูปแบบหนึ่ง2

    การออกแบบตกแตง (Decorative Design) เปนการออกแบบเพื่อการเปนอยูในชีวิต ประจําวัน โดยเฉพาะอยางยิ่งการออกแบบเพื่อเสริมแตงความงามใหกับอาคารบานเรือนและบริเวณที่อยูอาศัย ซ่ึงจะตองคํานึงถึงลักษณะและคุณภาพของวัตถุ บริเวณวาง พรอมเปาประสงคหรือบรรยากาศที่ตองการ

    การสรางสรรคผลงานศิลปะเพื่อการตกแตงก็เปนความงามอีกรูปแบบหนึ่งในการประดับตกแตงอาคารสถานที่ใหเกิดความสอดคลองสัมพันธกันระหวางอาคารกับตัวงานศิลปะ จึงจําเปนจะตองมีการออกแบบผลงานใหมีความเหมาะสมกับตัวอาคาร เพื่อเสริมสรางบรรยากาศภายในและภายนอกอาคารสถานที่ใหสวยงามยิ่งขึ้น ศิลปะตกแตง (Decorative Arts) จึงเปนผลงานที่มีคุณคาในดานของความงามอันบริสุทธิ์และความงามในการประดับตกแตงอาคารที่สอดคลองสมดุลเหมาะสมกับสถานที่นั้นๆ สรางสุนทรียภาพทั้งในตัวงานและสภาพแวดลอมไดอีกดวย

    2 วิรุณ ต้ังเจริญ, การออกแบบ (กรุงเทพมหานคร : โอ.เอส.พริ้นต้ิง เฮาส, 2539), 2-3.

  • 4

    ความเปนมาและความสําคัญของปญหา ความงามทางดานศิลปะกับการตกแตงสถานที่ เปนอีกปจจัยหนึ่งที่มีความสําคัญ

    กอใหเกิดบรรยากาศความสุนทรียภาพที่หลีกเล่ียงไมได เพราะความงามในการตกแตงนั้น มีผลตอความรูสึกของผูพบเห็น โดยเฉพาะสถานที่ที่เปนที่อยูอาศัย จึงจําเปนจะตองไดรับการตกแตงใหมีความงาม ความเหมาะสม เพื่อสรางความสบายชวยผอนคลายอารมณความเครียดใหรูสึกดีขึ้น เมื่อไดสัมผัสกับความงามของศิลปะตกแตงนั้น

    โรงแรมเพชรรัชตการเดน นับเปนโรงแรมหนึ่งที่มีช่ือเสียงของจังหวัดรอยเอ็ดที่ยังขาดความงามทางดานศิลปะในการตกแตงใหสอดคลองกับสถานที่ โดยเฉพาะความงามของจิตรกรรมตกแตงในสวนตางๆที่จะสื่อถึงความเปนโรงแรมพื้นถ่ินอีสานและความเหมาะสมสรางความงามความโดดเดนใหกับสถานที่ อันจะสามารถสรางความประทับใจใหกับผูมาเยือนไดเห็นถึงศิลปวัฒนธรรมการดํารงชีวิตที่ดีงามของชาวอีสาน

    ขาพเจาจึงไดสรางสรรคจิตรกรรมเพื่อการตกแตงโรงแรมเพชรรัชตการเดน ในเรื่อง “ชนบทอีสานกับจินตนาการแหงความสงบสุข” โดยมีที่มาของแนวความคิดดังนี้

    จากประสบการณที่ขาพเจาเติบโตมาในสิ่งแวดลอม ชนบทอีสาน ไดซึมซับกับวิถีชีวิตของคนอีสานอยางเต็มเปยม ในการดํารงชีวิตนั้น กอเกิดวัฒนธรรมอันดีงามมากมาย ทั้งการกิน วิถีการดําเนินชีวิต การละเลน การประกอบพิธีกรรมตางๆที่เรียบงาย อบอุน มีเสนห ตลอดจนภูมิปญญาที่แสดงออกมาจากพฤติกรรมของคนอีสาน เนื่องจากไดมีการเรียนรูจากสิ่งแวดลอม ที่มีอิทธิพลสูงตอการดํารงชีวิตและตอความรูสึกนึกคิดของคนอีสาน จากประสบการณที่ไดสัมผัสทําใหขาพเจาประทับใจ สภาพแวดลอมตางๆ การดํารงชีวิตที่อยูใกลชิดกับธรรมชาติ มีความเปนอยูที่เรียบงาย พึ่งพาอาศัยกัน มีการแลกเปลี่ยนสิ่งของซึ่งกันและกัน มีการประดิษฐคิดคนเครื่องมือเครื่องใชขึ้นเองตามแบบฉบับของภูมิปญญาทองถ่ินอีสาน ซ่ึงปจจุบันสิ่งตางๆเหลานี้กําลังแปรเปลี่ยนไปตามกาลเวลา เนื่องจากความกาวหนาทางเทคโนโลยี การสื่อสารกาวไกลทําใหความเจริญทางดานวัตถุเขามามีบทบาทในทองถ่ินชนบทอีสาน เกิดการดิ้นรนตอสู เพื่อใหไดมาซึ่งความสะดวกสบายและสิ่งแปลกใหมกับสิ่งของเครื่องใชในการดํารงชีวิตทําใหวัฒนธรรมและภูมิปญญาอันดีงามแบบดั้งเดิมตางๆที่มีคุณคา ควรแกการอนุรักษและจดจํากําลังจะถูกลืมเลือนไปกับกาลเวลาของคนอีสาน ยิ่งความเจริญของสังคมเมืองเขามามีบทบาทมากเทาใด ความสําคัญของภูมิปญญาทองถ่ินก็จะถูกลืมเลือนมากเทานั้น ดั้งจะเห็นจากความเปลี่ยนแปลงดังตอไปนี้

  • 5

    ภาพที่ 1 ภาพชุดความเปลี่ยนแปลงจากอดีตสูปจจุบัน

    อดีต (พ.ศ.2520 ) ปจจุบัน (พ.ศ.2548) สภาพแวดลอม

    ส่ิงปลูกสราง

    พาหนะ

    การแตงกาย

  • 6

    จากความเปลี่ยนแปลงตางๆ ทําใหขาพเจานึกถึงวันเวลาที่ผานมาที่ขาพเจามีความสุขกับการดํารงชีวิต มีความผูกพันกับวิ ถี ชีวิตการเกษตรแบบพึ่งพาธรรมชาติ มีความงามของสถาปตยกรรมพื้นถ่ิน รวมทั้งหัตถกรรม ภาชนะสิ่งของเครื่องใชและวัฒนธรรมประเพณีที่ดีงาม เกิดความทรงจําที่ดีกับประสบการณตางๆไดหลอหลอมใหขาพเจามีจิตสํานึกที่ดีตอคนอีสาน คือ รูจักคุณคาของวัฒนธรรมประเพณีอีสาน รูจักคุณคาความมีน้ําใจของคนอีสาน คุณคาของถิ่นฐานบานเกิดที่ไดสะสมประสบการณอันดีงามแกขาพเจา จึงทําใหขาพเจาเกิดความประทับใจในวิถีชีวิตของชนบทอีสานในอดีตและความผูกพันอันแนนแฟน เปนแรงบันดาลใจสําคัญทําใหขาพเจาตองการที่จะถายทอดวิถีชีวิตที่เรียบงาย แตทรงคุณคา ของคนอีสานในการสรางสรรคผลงานจิตรกรรม โดยถายทอดจาก จุด เสน สี รูปราง รูปทรง ผานกระบวนการคิดที่ผสมผสานกับจินตนาการในการสรางสรรคเปนผลงาน เร่ือง “ชนบทอีสานกับจินตนาการแหงความสงบสุข” ความมุงหมายและวัตถุประสงคของการศึกษา

    1. เพื่อออกแบบสรางสรรคผลงานจิตรกรรมสําหรับการตกแตงใหสัมพันธและสอดคลองสรางความงามใหกับโรงแรมเพชรรัชตการเดน จังหวัดรอยเอ็ด

    2. เพื่อสรางสรรคงานจิตรกรรมที่แสดงออกใหเห็นถึงความสงบสุข ความอบอุน เรียบงายในวิถีชีวิตชนบทอีสานโดยผานกระบวนการคิดวิเคราะหเปนผลงาน เร่ือง “ชนบทอีสานกับจินตนาการแหงความสงบสุข”

    3. ตองการถายทอดความประทับใจในวิถีชีวิตชนบทอีสาน โดยอาศัยส่ือจากสภาพแวดลอมทางธรรมชาติ เครื่องนุงหม ส่ิงของเครื่องใชตางๆตลอดจนสถาปตยกรรมอันเปนรูปแบบของทองถ่ินที่แสดงใหเห็นถึงความเปนชนบทอีสานในจินตนาการ สมมติฐานของการศึกษา

    การสรางสรรคผลงานจิตรกรรมเพื่อการตกแตงโรงแรมเพชรรัชตการเดน จังหวัดรอยเอ็ด เร่ือง “ชนบทอีสานกับจินตนาการแหงความสงบสุข” ก็เพื่อความงามและความสัมพันธที่จะสอดคลองกับบทบาทหนาที่ประโยชนใชสอยของสถานที่อันจะเปนการเสริมสรางบรรยากาศทางสุนทรียภาพภายในอาคารและยังเปนการเผยแพรความงามในวิถีชีวิตของชนบทอีสานรวมไปถึงความสมบูรณของสภาพแวดลอมทางธรรมชาติตางๆที่จะสามารถสรางความประทับใจใหกับผูพบเห็นไดล้ิมรสสัมผัสกับเนื้อหาเรื่องราวในผลงานจิตรกรรมตามรูปแบบเทคนิควิธีการของการสรางสรรค

  • 7

    ขอบเขตของการศึกษา 1. สถานที่ในการติดตั้งผลงาน

    1.1 ศึกษาขอมูลที่เกี่ยวของกับการสรางสรรคของโรงแรมเพชรรัชตการเดน จังหวัดรอยเอ็ด

    1.1.1 ศึกษาการออกแบบตกแตงภายในและภายนอกของโรงแรม เชนบริเวณหองโถงรับรองแขก หองนอนและทางเดิน เปนตน

    1.1.2 ศึกษาแนวความคิดของสถานที่ที่สัมพันธกับแนวความคิดของผลงานในการติดตั้ง

    1.1.3 ศึกษาจุดติดตั้ง ขนาดและการจัดวางของผลงาน 1.1.4 ศึกษาบรรยากาศและทิศทางการสัญจรของคนทั้งภายในและภายนอก

    โรงแรมเพชรรัชตการเดน 2. ผลงานการสรางสรรค

    2.1 นําเสนอเนื้อหาเรื่องราว เกี่ยวกับการดํารงวิถีชีวิตและสภาพแวดลอมของคนในชนบทอีสานถึงความสงบ อบอุน รมเย็น และเรียบงาย โดยนํารูปทรงของสถาปตยกรรม หัตถกรรมภาชนะสิ่งของเครื่องใชและสภาพแวดลอมทางธรรมชาติของอีสาน

    2.2 รูปแบบของผลงานที่ถายทอดเปนลักษณะงานจิตรกรรมกึ่งนามธรรม โดยเนนการออกแบบสรางสรรครูปทรงและสีสันขึ้นใหมตามจินตนาการ เพื่อใหเกิดภาพที่เนนความฝนในชนบทอีสานเปนรูปแบบเฉพาะตน

    2.3 ลักษณะของเทคนิค คือการใชสีอะครีลิคระบายลงบนพื้นระนาบผาใบ

    ขั้นตอนของการศึกษา 1. เก็บรวบรวมขอมูลที่ไดศึกษาจากแหลงขอมูล

    1.1 ศึกษาขอมูลท่ีเกี่ยวของกับการตกแตงภายในและภายนอกของโรงแรมเพชรรัชตการเดน

    1.2 ศึกษาขอมูลในเอกสาร ตํารา รูปถาย ส่ือส่ิงพิมพจากโรงแรมเพชรรัชตการเดน อินเตอรเน็ต (www.petcharatgardenhotel.com) และหองสมุด เปนตน

    1.3 ศึกษาจากพิพิธภัณฑศิลปวัฒนธรรมอีสาน จังหวัดรอยเอ็ดและจังหวัดมหาสารคาม

    1.4 ศึกษาจากสภาพแวดลอมจริงในธรรมชาติ และวิถีชีวิตจริงในชนบทอีสาน 1.5 ศึกษาจากการสัมภาษณประธานและพนักงานในโรงแรมเพชรรัชตการเดน

  • 8

    1.6 ศึกษาจากประสบการณของตนเองที่ไดสัมผัสกับวิถีชีวิตจริงในชนบท 2. วิเคราะห ตั้งขอสังเกตและจัดหมวดหมูของขอมูลท่ีไดศึกษาใหเปนกลุมเพื่องายตอ

    การสรางสรรค 3. สรุปผลวิเคราะหขอมูลเพื่อกําหนดรูปแบบของการสรางสรรครวมไปถึงเทคนิค

    วิธีการตางๆ 4. ปฏิบัติการทดลองคนควา โดยการทําแบบรางพรอมสรุปแนวทางการสรางสรรค 5. ขยายแบบรางตนฉบับและแกปญหาเพื่อใหผลงานตรงตามจุดมุงหมายและชัดใน

    เนื้อหาที่จะนําเสนอ 6. สรางสรรคและพัฒนาผลงานใหไปสูจุดมุงหมาย 7. นําเสนอผลงานสูกระบวนการวิจารณ สัมมนา เพื่อปรับปรุงแกไขใหดียิ่งขึ้น 8. สรุปผลการทํางาน เพื่อพัฒนาในครั้งตอไป

    ขอตกลงเบื้องตน

    1. การศึกษาขอมูลเกี่ยวกับสรางสรรคไมวาจะเปนสภาพแวดลอมทางธรรมชาติที่มีอยูในอีสาน รวมทั้งลักษณะของสิ่งของเครื่องใชตลอดจนสถาปตยกรรมพื้นถ่ิน ไดนํามาวิเคราะหในบางสวนบางพื้นที่เทานั้น ไมใชทั้งหมด คือกรณีศึกษาสวนใหญมาจากจังหวัดมหาสารคามและจังหวัดรอยเอ็ด เพราะฉะนั้นรูปทรงตางๆ จึงมีรูปแบบเฉพาะพื้นถ่ินในบางพื้นที่แตไมใชของภาคอีสานทั้งหมด และในบางพื้นถ่ินก็มีความแตกตางในการดํารงชีวิตถึงแมวาจะอยูในภาคอีสานเหมือนกัน แตผูสรางสรรคไดคัดสรรรูปทรงที่เห็นไดทั่วไปและชัดเจนในการนําเสนอ

    2. ลักษณะของการสรางสรรคผลงานนั้น จะใชทัศนธาตุในการแสดงออกใหเห็นถึงความสงบ อบอุน ไมวาจะเปน จุด เสน สี รูปรางรูปทรง เปนตน ความจํากัดของการศึกษา โครงการนี้เปนเพียงโครงการสมมุติเทานั้นไมสามารถนําผลงานไปติดตั้งไดจริงในบางชิ้น เพราะกระบวนการสรางสรรคอาจจะมีการเปลี่ยนแปลง เชน ขนาดของผลงานที่ไมใชขนาดจริงเนื่องจากพื้นที่บริเวณติดตั้งกวางมากจะทําใหผลงานมีขนาดใหญ จึงไดลดขนาดลงตามสัดสวนความเหมาะสม เพื่อความสะดวกในการสรางสรรค และอาจมีการเพิ่มเติมเทคนิควิธีการ เพื่อใหเกิดความสมบูรณในผลงานและบรรลุวัตถุประสงคตามที่ตองการ ซ่ึงจะอยูในขั้นตอนของการพัฒนารูปแบบของการสรางสรรค

  • 9

    คําจํากัดความที่ใชในการศึกษา วิถีชีวิตในชนบทอีสาน หมายถึง ลักษณะการดําเนินชีวิตในประจําวันของคนในชนบท

    อีสาน สภาพแวดลอมทางธรรมชาติ หมายถึง พืชพันธุตางๆที่เกิดขึ้นในพื้นที่ภาคอีสาน เชน

    ตนทองกวาว ตนสะแบง ตนพะยอม เปนตน ความอบอุน หมายถึง บรรยากาศที่สะทอนใหเห็นถึงความสุข ดวยการใชสีสราง

    บรรยากาศใหเกิดความอบอุน ความเรียบงาย หมายถึง การดําเนินวิถีชีวิตที่เปนไปตามครรลอง ตามแบบฉบับของ

    คนในพื้นถ่ินนําเสนอโดยรูปราง รูปทรงของคน สัตว สถาปตยกรรมและสิ่งของเครื่องใชในพื้นถ่ิน ความสงบสุข หมายถึง วิถีชีวิตที่รมเย็นเปนสุขนําเสนอโดยนําเนื้อหาเรื่องราวบางตอน

    ของการดํารงชีวิตมาสรางสรรค เนื้อหาเรื่องราวในการสรางสรรค หมายถึง เนื้อเร่ืองที่นํามาถายทอดในผลงาน

    จิตรกรรมจากประสบการณที่ไดสัมผัสกับวิถีชีวิตจริงมานําเสนอ

  • 10

    บทท่ี 2

    ขอมูลเก่ียวกับการสรางสรรค ขอมูลเกี่ยวกับการศึกษาคนควาในการออกแบบสรางสรรคผลงานจิตรกรรม เพื่อประดบั

    ตกแตงโรงแรมเพชรรัชตการเดน มาจากการไดศึกษาในเอกสารตําราวิชาการ การไดรับอิทธิพลตางๆ จากประสบการณตรงและจากแหลงขอมูล ที่เปนบอเกิดของแรงบันดาลใจในความรูสึกนึกคิด ที่ผสมผสานกับจินตนาการแลวนํามาสรางสรรค

    1. ประสบการณที่ไดสัมผัสกับวิถีชีวิตในชนบทอีสาน 2. แรงบันดาลใจจากวิถีชีวิตชนบทอีสานที่มีอิทธิพลตอการสรางสรรค

    2.1 อิทธิพลจากธรรมชาติ 2.2 อิทธิพลจากการดํารงชีวิต 2.3 อิทธิพลจากสถาปตยกรรม 2.4 อิทธิพลจากสิ่งของเครื่องใช 2.5 อิทธิพลจากสัตว 2.6 อิทธิพลจากความเชื่อ 2.7 อิทธิพลจากศาสนา

    3. เอกสารวิชาการที่เกี่ยวของกับศิลปะ 3.1 สุนทรียภาพในผลงานศิลปะ 3.2 องคประกอบศิลปะในการสรางสรรค 3.3 ศิลปะการออกแบบตกแตง

    4. อิทธิพลจากงานศิลปกรรมตอการสรางสรรค 4.1 ศิลปะอิมเพรสชินนิสต 4.2 ศิลปะนีโอ – อิมเพรสชินนิสต 4.3 ศิลปะโพสต – อิมเพรสชินนิสต 4.5 ศิลปนจอรจ เซอราท 4.6 ศิลปนธีระวัฒน คะนะมะ

    10

  • 11

    ประสบการณท่ีไดสัมผัสกับวิถีชีวิตในชนบทอีสาน ประสบการณเปนผลมาจากการที่ขาพเจาไดเติบโตมาจากวิถีชีวิตในชนบทอีสาน ที่อยู

    ใกลชิดกับธรรมชาติสภาพแวดลอมที่สวยงาม ซ่ึงเปนประสบการณโดยตรงที่ไดรับจากวัยเด็กเรื่อยมาจนถึงปจจุบัน ไดรับรูถึงอารมณ ความรูสึก คติความเชื่อของคนอีสานในการประกอบพิธีกรรม การดําเนินชีวิตที่มีความสุขสนุกสนานตามฤดูกาลของประเพณีตางๆ ทําใหขาพเจาได ซึมซับวัฒนธรรมอันดีงามที่ยากจะลืมเลือน ซ่ึงเปนบรรยากาศที่มีความสุขอยางเต็มเปยม แรงบันดาลใจจากวิถีชีวิตชนบทอีสานที่มีอิทธิพลตอการสรางสรรค

    1. อิทธิพลจากธรรมชาติ เนื่องจากธรรมชาติมีความงามที่ไมไดปรุงแตง โดยเฉพาะความสวยงามของ

    สภาพแวดลอมที่เกิดขึ้นในชนบทอีสาน มีสีสันและบรรยากาศที่มีความงามแตกตางกันในแตละฤดูกาล ฤดูฝนก็จะเห็นทองทุงที่เขียวขจีดวยมวลพฤกษา ดอกหญาเริ่มเบงบาน ตนกลาก็ปลิวไสว เสียงสัตวเล็กใหญ ไมวาจะเปนกบ เขียด จิ้งหรีด รองล่ันทุง สายลมโชยพัดผานไรสารมลพิษ ชีวิตของคนในชนบทก็สุขสม ส่ิงตางๆเหลานี้เกิดขึ้นในชนบทอีสาน และยังมีพืชพันธุที่มีความโดดเดนเปนเอกลักษณ มีเสนหชวนใหศึกษาควรคาแกการอนุรักษ เชน ไมดอก ประกอบดวย ตนทองกวาว ตนคูน ตนพะยอม ตนสะแบง เปนตน ประเภทผักผลไม ประกอบดวย กระถิน กลวย มะละกอ ขนุน ตําลึง เปนตน

    ในความงามของธรรมชาติที่ไดกลาวมานี้ เปนสวนประกอบในการสรางสรรค ทําใหรูปแบบของผลงานสื่อถึงความเปนชนบทอีสาน ที่มีสภาพแวดลอมทางธรรมชาติเปนลักษณะเฉพาะที่เห็นไดอยางชัดเชน

    ภาพที่ 2 ดอกทองกวาว ภาพที่ 3 ดอกพะยอม

  • 12

    ภาพที่ 4 ตนตาล

    ภาพที่ 5 ทองทุงนา

    ภาพที่ 7 ดอกกระถินทุง ภาพที ่8 รวงขาว

    ภาพที ่