study of the contract farming for livestock production...

179
รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ โครงการ การศึกษาโครงการระบบตลาด ขอตกลงสินคาปศุสัตว (สุกร) ในประเทศไทยStudy of the contract farming for Livestock Production (Swine) in Thailand รศ.ดร.นวลจันทร พารักษา และคณะ เมษายน 2551

Upload: others

Post on 21-Oct-2020

5 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

  • รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ

    โครงการ “การศึกษาโครงการระบบตลาดขอตกลงสินคาปศุสัตว (สุกร) ในประเทศไทย” Study of the contract farming for Livestock

    Production (Swine) in Thailand

    รศ.ดร.นวลจันทร พารักษา และคณะ เมษายน 2551

  • สัญญาเลขที่ RDG5020037

    รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ

    โครงการ “การศึกษาโครงการระบบตลาดขอตกลงสินคาปศุสัตว (สุกร) ในประเทศไทย” Study of the contract farming for Livestock

    Production (Swine) in Thailand

    คณะผูวิจัย สังกัด รศ. ดร. นวลจันทร พารักษา คณะเกษตร กําแพงแสน ม.เกษตรศาสตร รศ. ดร. เอมอร อังสุรัตน คณะเกษตร กําแพงแสน ม. เกษตรศาสตร นายหนูจันทร มาตา สถาบันสุวรรณวาจกกสิกิจฯ

    ม. เกษตรศาสตร ผศ.ดร.จุฬารัตน วัฒนะ คณะศึกษาศาสตร ม.เกษตรศาสตร

    ชุดโครงการ การพัฒนาธุรกิจสินคาเกษตรและตลาดตางประเทศ

    สนับสนุนโดยสํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)

  • โครงการ “การศึกษาโครงการระบบตลาดขอตกลงสินคาปศุสัตว (สุกร) ในประเทศไทย”

    สารบัญ หนา สารบัญตาราง (4) สารบัญภาพ (6) บทท่ี 1 บทนํา 1 ความสําคัญของปญหา 1 วัตถุประสงคการวิจยั 3 ผลที่คาดวาจะไดรับ 3 ขอบเขตการศึกษา 3 หนวยงานทีจ่ะนําไปใชประโยชน 3

    นิยามศัพทเฉพาะ 4 วิธีวิจยั 5

    บทท่ี 2 สภาพการผลติสุกรของประเทศไทย 6 แหลงผลิตสุกรที่สําคัญของโลก 6 แหลงผลิตสุกรที่สําคัญของไทย 8 ตนทุนการผลิต-รายไดจากการเลี้ยงสุกรในไทย 10 รูปแบบและลกัษณะการเลีย้งสุกรของไทย 13 รูปแบบการผลิตสุกรภายใตตลาดขอตกลงลวงหนาของไทย 18 ปญหาและอุปสรรคการผลิตสุกรของไทย 19 แนวทางการแกปญหาดานการผลิตสุกรของไทย 23 ผลงานวิจัยที่เกี่ยวของ 30

  • โครงการ “การศึกษาโครงการระบบตลาดขอตกลงสินคาปศุสัตว (สุกร) ในประเทศไทย”

    สารบัญ (ตอ) หนา

    บทท่ี 3 สภาพการตลาดสุกรภายใตตลาดขอตกลง 36 แนวคดิทางทฤษฎี 36 ความหมายของการตลาด 36 ความหมายของตลาดขอตกลง 40 รูปแบบตลาดขอตกลง 42 ปจจัยที่ทําใหตลาดขอตกลงประสบผลสําเร็จ 45 ขอเท็จจริงของสัญญาขอตกลงการซื้อ- ขายสินคาเกษตรในประเทศไทย 47 สถานการณการตลาดสุกรของโลก 49 สถานการณตลาดและราคาสุกรของประเทศไทย 51 ปญหาและอุปสรรคในการดําเนินการดานการตลาดภายใตระบบตลาดขอตกลง 61 แนวทางการแกไขปญหาการผลิตสุกรภายใตตลาดขอตกลง 69 งานวิจัยที่เกี่ยวของกับสภาพการณตลาดสกุรภายใตตลาดขอตกลง 71 กรณีตัวอยางที่ประสบผลสําเร็จในการผลิตและการตลาดสุกร 71 บทท่ี 4 ผลการศึกษาสภาพการผลิตสุกรของประเทศไทยภายใตตลาดขอตกลง 90 วิถีการผลิตและวิถีการตลาดสุกรภายใตตลาดขอตกลง 90 ปญหาและวิธีการแกไขปญหาการผลิตและการตลาดสุกรภายใตตลาดขอตกลง 105 รูปแบบและแนวทางในการพัฒนาตลาดขอตกลง 122 บทท่ี 5 สรุปผลการศึกษาและขอเสนอแนะ 148 ระบบการผลิตสุกรของประเทศไทย 148 ระบบการผลิตสุกรภายใตตลาดขอตกลงของประเทศไทย 149 หลักการระบบตลาดขอตกลง และโครงสรางตลาดสุกรของไทย 149 ขอกําหนดของคุณภาพสินคาและเงื่อนไขของระบบตลาดขอตกลง 150 วิถีการผลิตสุกรภายใตระบบตลาดขอตกลงของบริษัทเอกชน 151 วิถีการผลิตสุกรภายใตระบบตลาดขอตกลงของสหกรณผูเล้ียงสุกร 151

    (2)

  • โครงการ “การศึกษาโครงการระบบตลาดขอตกลงสินคาปศุสัตว (สุกร) ในประเทศไทย”

    สารบัญ (ตอ) หนา

    บทท่ี 5 (ตอ) วิถีการผลิตสุกรภายใตระบบตลาดขอตกลงของฟารมอิสระ 152 วิถีการตลาดสุกรภายใตระบบตลาดขอตกลงของบริษัทเอกชน 152 วิถีการตลาดสุกรภายใตระบบตลาดขอตกลงของสหกรณผูเล้ียงสุกร 153 วิถีการตลาดสุกรภายใตระบบตลาดขอตกลงของฟารมอิสระ 153 จุดออน และจดุแข็งของการผลิตสุกรภายใตตลาดขอตกลง 153

    ปญหาวิถีการผลิตสุกร และวิถีตลาดสุกรภายใตตลาดขอตกลงของบริษัทเอกชน 155 ปญหาวิถีการผลิตสุกร และวิถีตลาดสุกรภายใตตลาดขอตกลง 156

    ของสหกรณผูเล้ียงสุกร ปญหาวิถีการผลิตสุกร และวิถีตลาดสุกรภายใตตลาดขอตกลงของฟารมอิสระ 157 ขอเสนอแนะ 158

    เอกสารอางอิง 166

    (3)

  • โครงการ “การศึกษาโครงการระบบตลาดขอตกลงสินคาปศุสัตว (สุกร) ในประเทศไทย”

    สารบัญตาราง

    ตารางที่ หนา

    2.1 ปริมาณการผลิตเนื้อสุกรของประเทศที่สําคัญ ปพ.ศ.2546-2550 6

    2.2 ปริมาณการสงออกเนื้อสุกรของประเทศที่สําคัญ ปพ.ศ.2545-2550 7

    2.3 จํานวนสุกรแยกตามรายภาค ปพ.ศ.2549 8

    2.4 จํานวนสุกรแยกตามรายจังหวัด ปพ.ศ.2549 9

    2.5 ปริมาณการผลิตและการบรโิภคสุกรของไทยป พ.ศ.2545-2550 10

    2.6 ตนทุนการผลิตสุกรขุนเฉลี่ยทั้งประเทศ ปพ.ศ.2545-2549 11

    2.7 ราคาสุกรขุนที่เกษตรกรขายไดเฉลี่ยทั้งประเทศ ปพ.ศ.2545-2549 12

    2.8 ราคาจําหนายลูกสุกรขุนที่น้าํหนัก 12 กิโลกรัม ปพ.ศ.2545-2549 12

    3.1 จํานวนเกษตรกรในโครงการเลี้ยงปศุสัตวที่มีสัญญาขอตกลงของCPF 48

    3.2 จํานวนเกษตรกรในโครงการที่มีสัญญาขอตกลงของ 48 บริษัท เครือเบทาโกร จํากัด ปพ.ศ. 2546

    3.3 ปริมาณการนําเขาเนื้อสุกรของประเทศที่สําคัญ ปพ.ศ.2545-2550 49

    3.4 ปริมาณการบริโภคเนื้อสุกรของประเทศที่สําคัญ ปพ.ศ.2545-2550 50

    3.5 ปริมาณการบริโภคเนื้อสุกรของประเทศที่สําคัญปพ.ศ.2545-2550 51

    4.1 ปญหาและวิธีการแกไขปญหาการผลิตและการตลาดสุกรภายใต 107 ตลาดขอตกลงของบริษัทเอกชน

    4.2 ปญหาและวิธีการแกไขปญหาการผลิตและการตลาดสุกรภายใต 112 ตลาดขอตกลงของ สหกรณผูเล้ียงสุกร

    4.3 ปญหาและวิธีการแกไขปญหาการผลิตและการตลาดสุกรภายใต 118 ตลาดขอตกลงของฟารมผูเล้ียงสุกรอิสระ

    (4)

  • โครงการ “การศึกษาโครงการระบบตลาดขอตกลงสินคาปศุสัตว (สุกร) ในประเทศไทย”

    สารบัญตาราง (ตอ)

    ตารางที่ หนา 4.4 แนวทางการพฒันาการผลิตสุกรภายใตตลาดขอตกลง 125

    4.5 แนวทางการพฒันาการตลาดสุกรภายใตตลาดขอตกลง 138

    (5)

  • โครงการ “การศึกษาโครงการระบบตลาดขอตกลงสินคาปศุสัตว (สุกร) ในประเทศไทย”

    สารบัญภาพ

    ภาพที่ หนา 2.1 โครงสรางการผลิตสุกรไทย 17

    2.2 วัฏจักรการเลี้ยงสุกรของเกษตรกรรายยอย 21

    3.1 วิถีการตลาดสุกรและผลิตภัณฑเนื้อสุกร 56

    4.1 วิถีการผลิตและวิถีการตลาดสุกรแมพันธุเพื่อผลิตลูกสุกรขุนภายใต 93 ตลาดขอตกลงของบริษัทเอกชน

    4.2 วิถีการผลิตและวิถีการตลาดสุกรขุนภายใตตลาดขอตกลงของบริษัทเอกชน 95

    4.3 โครงสราง และวิธีการผลิตสุกรภายใตตลาดขอตกลงของบริษัท 96

    4.4 วิถีการผลิตและวิถีการตลาดสุกรขุนภายใต 99 ตลาดขอตกลงของสหกรณผูเล้ียงสุกร

    4.5 โครงสราง และวิถีการผลิตสุกรภายใตตลาดขอตกลง 100 ของสหกรณผูเล้ียงสุกร

    4.6 วิถีการผลิตและวิถีการตลาดสุกรขุนภายใตตลาดขอตกลง 103 ของฟารมผูเล้ียงสุกรอิสระ

    4.7 โครงสรางและวิธีการผลิตสุกรภายใตตลาดขอตกลงของฟารมอิสระ 104

    5.1 แบบจําลองการพัฒนาการผลิตสุกรภายใตตลาดขอตกลง 159 สําหรับบริษัทเอกชน

    5.2 แบบจําลองการพัฒนาการผลิตสุกรภายใตตลาดขอตกลง 160 สําหรับสหกรณผูเล้ียงสุกร

    5.3 แบบจําลองการพัฒนาการผลิตสุกรภายใตตลาดขอตกลง 161 สําหรับฟารมผูเล้ียงสุกรอิสระ

    (6)

  • โครงการ “การศึกษาโครงการระบบตลาดขอตกลงสินคาปศุสัตว (สุกร) ในประเทศไทย”

    สารบัญภาพ (ตอ)

    ภาพที่ หนา 5.4 แบบจําลองการพัฒนาการตลาดสุกรภายใตตลาดขอตกลง 162 สําหรับบริษัทเอกชน

    5.5 แบบจําลองการพัฒนาการตลาดสุกรภายใตตลาดขอตกลง 163 สําหรับสหกรณผูเล้ียงสุกร

    5.6 แบบจําลองการพัฒนาการตลาดสุกรภายใตตลาดขอตกลง 164 สําหรับฟารมผูเล้ียงสุกรอิสระ

    5.7 แบบจําลองการพัฒนาปจจยัสนับสนุน 165

    (7)

  • บทท่ี 1

    บทนํา

    ความสําคัญของปญหา

    สุกรเปนสินคาที่มีมูลคาสูงสุดในกลุมปศุสัตว โดยมีมูลคาการผลิตที่คิดเปนตนทุนเฉลี่ยระหวางปพ.ศ. 2525-2549 ประมาณ 45.33 บาทตอกิโลกรัม จนกระทั่งในปจจุบัน ปพ.ศ. 2551 มีตนทุนการผลิตเฉลี่ยสูงถึงกิโลกรัมละ 54-58 บาท ขณะที่ราคาจําหนายกิโลกรัมละประมาณ 58-60 บาท นอกจากนี้ การเลี้ยงสุกรยังกอใหเกิดธุรกิจตอเนื่อง อาทิเชน ธุรกิจอาหารสัตว ยาสัตว โรงฆาชําแหละ โรงงานแปรรูป และอุปกรณการเลี้ยง ที่มีมูลคาไมต่ํากวา 20 ลานบาทตอป และยังเปนแหลงรองรับแรงงานในภาคการเกษตรและในภาคธุรกิจที่เกี่ยวของไมต่ํากวา 100,000 คน โดยภาพรวมลักษณะการเลี้ยงสุกรในประเทศไทยเปนการเลี้ยงแบบการคา คือ เปนฟารมขนาดกลางและขนาดใหญที่มีสุกรตั้งแต 200-30,000 ตัว มากขึ้นถึงรอยละ 80.00 ของปริมาณสุกรทั้งหมด สวนอีกรอยละ 20.00 เปนฟารมขนาดเล็ก หรือผูเล้ียงสุกรรายยอยซ่ึงกระจายอยูทั่วไปในทุกภูมิภาค

    จากขอมูลของสมาคมผูผลิตอาหารสัตวไทยประจําเดือนมกราคมถึงกุมภาพันธ พ.ศ. 2550 พบวา สถานภาพการผลิตสุกรในปพ.ศ. 2549 มีการผลิตสุกรขุน จํานวน 10.40 ลานตัว และมีแนวโนมเพิ่มขึ้น โดยคาดวาในปพ.ศ. 2550 จะมีปริมาณสุกรขุนอยูที่ 11.62 ลานตัว เนื่องจากในชวง 2 ป ที่ผานมา ราคาสุกรขุนอยูในเกณฑสูง โดยในปพ.ศ. 2547 เฉลี่ยกิโลกรัมละ 45.12 บาท และในปพ.ศ. 2548 เฉลี่ยกิโลกรัมละ 50.44 บาท เปนเหตุจูงใจใหมีการเลี้ยงสุกรเพิ่มมากขึ้น ประกอบกับเกษตรกรผูเล้ียงไกบางสวนที่ประสบปญหาการระบาดของไขหวัดนกไดหันมาทําฟารมเลี้ยงสุกร สงผลใหเกิดภาวะสุกรลนตลาดและราคาสุกรไดเร่ิมออนตัวลงในชวงปลายปพ.ศ. 2549 นอกจากนี้ จากขอมูลของคณะกรรมาธิการการเกษตรและสหกรณ วุฒิสภา พ.ศ. 2548 ไดระบุวา การเลี้ยงสุกรในประเทศไทยถึงแมจะมีพัฒนาการมายาวนาน แตเนื่องจากเกษตรกรผูเล้ียงสุกรมีอิสระในการเลือกจะเลี้ยงสุกรและขยายการเลี้ยงมากขึ้นในชวงที่สุกรมีราคาดี และเพราะแรงจูงใจในดานราคาทําใหผูเล้ียงขยายการเลี้ยงอยางไมมีขีดจํากัด เมื่อปริมาณสุกรมีมากเกินความตองการผลที่ตามมาราคาก็จะตกต่ํา จนถึงระดับที่เกษตรกรผูเล้ียงสุกรแบกรับภาระการขาดทุนไมไหว ก็จะหยุดเลี้ยงสุกรไปชั่วระยะเวลาหนึ่ง เมื่อปริมาณสุกรลดลงถึงระดับที่ไมเพียงพอที่จะสนองตอความตองการของตลาด ราคาสุกรก็จะกลับปรับตัวสูงขึ้นอีกครั้งหนึ่งจนกระทบถึงผูบริโภคซึ่งเปนคนสวนใหญของประเทศ เหตุการณจะปรับเปลี่ยนหมุนเวียนไปเชนนี้ตลอดมา กลาวคือ ราคาสุกรและปริมาณการเลี้ยงสุกรจะผันผวนเปนวัฏจักรที่เรียกกันวา “วัฏจักรสุกร” หรือ “Hog Cycle” ประกอบกับปญหาโรคระบาดสัตว โดยเฉพาะโรคปากและเทาเปอย รวมท้ังการใชสารตองหามบางชนิดในสุกรสงผลใหตลาดสุกรของ

  • โครงการ “การศกึษาโครงการระบบตลาดขอตกลงสินคาปศุสัตว(สุกร)ในประเทศไทย” 2

    ไทยไมพัฒนากาวหนาไปเทาที่ควรจะเปนไมวาตลาดภายในประเทศและตลาดตางประเทศ และการที่เนื้อสุกรของไทยไมสามารถสงออกไปขายในตลาดสําคัญๆ ในตางประเทศที่นิยมบริโภคสุกร เชน ประเทศญี่ปุน สิงคโปร ฮองกง ทําใหการแกปญหาวัฏจักรสุกรที่เกิดขึ้นเปนประจํา ไมสามารถแกไขไดโดยการใชนโยบายการสงออกเขามาเปนเครื่องมือในการแกปญหา สงผลใหอุตสาหกรรมสุกรของไทยสูญเสียโอกาสในการพัฒนาใหเจริญเติบโตอยางตอเนื่องจนถึงขีดสุดได ทั้งๆ ที่ประเทศไทยมีศักยภาพเพียงพอที่จะพัฒนาอุตสาหกรรมสุกรทุกดาน ไมวาจะเปนดานเทคโนโลยีการผลิตสุกร ความเพียงพอดานพืชอาหารสัตวที่มีหลากหลายชนิด และการสั่งสมประสบการณและทักษะในการเลี้ยงสุกรของเกษตรกรผูเล้ียงสุกรจํานวนมากที่สามารถพัฒนาไปสูการเลี้ยงสุกรเพื่อการคาได แตเพราะขอจํากัดดานการตลาดและความไมแนนอนชัดเจนในนโยบายของรัฐ ในการพัฒนาอุตสาหกรรมสุกร ทําใหอุตสาหกรรมสุกรของไทยย่ําอยูกับที่ไมมีความเจริญกาวหนาทัดเทียมประเทศคูแขงทั่วโลก เชน ประเทศจีน เนเธอรแลนด เดนมารก เบลเยี่ยม สหรัฐอเมริกาและแคนาดา เปนตน

    จากสภาพปญหาดังกลาว ภาคธุรกิจเอกชนที่เกี่ยวของไดมีการทําสัญญากับเกษตรกรรายยอย ผูเล้ียงสุกรในลักษณะไมวาจะเปนการจางเล้ียง หรือรับซื้อผลผลิตในราคาประกัน โดยมีเงื่อนไขที่เกษตรกรตองทําการผลิตสินคาใหไดคุณภาพตามมาตรฐานที่บริษัทกําหนด โดยที่บริษัทจะมีวิธีการคัดเลือกเกษตรกรเขารวมโครงการ และหากเกษตรกรรายใดมีความสามารถในการพัฒนาประสิทธิภาพการผลิต ก็จะไดรับผลตอบแทนเพิ่มขึ้นตามคุณภาพของผลผลิต นอกจากนี้ มีเกษตรกรรายยอยจํานวนมากในหลายภูมิภาค ไดรวมตัวกันจัดตั้งเปน “สหกรณผูเล้ียงสุกร” ที่ดําเนินการโดยการเอื้ออํานวยในดานการสงเสริมการผลิต และการตลาดใหกับสมาชิก ซ่ึงการดําเนินการดังกลาวนั้น เปนรูปแบบการผลิตสุกรที่เรียกวา “ระบบตลาดขอตกลง” ระหวางผูผลิตกับผูรับซื้อ อยางไรก็ตาม ปญหาที่พบในระบบการทําสัญญาขอตกลงที่รวบรวมโดยคณะกรรมาธิการเกษตรและสหกรณ วุฒิสภา และสมาคมผูเล้ียงสุกร พบวา สัญญาขอตกลงสวนใหญ เกษตรกรในฐานะผูผลิตมักจะถูกเอารัดเอาเปรียบ โดยเฉพาะปญหาคูสัญญาไมปฏิบัติตามขอตกลง ปญหาราคาไมมีเสถียรภาพ ปญหาคุณภาพพันธุสัตว และอาหารสัตว การขาดองคกรกลางเพื่อทําหนาที่กํากับการดําเนินงานในระบบตลาดขอตกลงใหเกิดความเปนธรรม และปญหาความเสียเปรียบของเกษตรกรรายยอย ที่ตองมีภาระภาษีที่ตองจายใหกับทองถ่ินที่ถูกจัดเก็บโดยองคการบริหารสวนทองถ่ิน(อบต.) ซ่ึงบางปเกษตรกรประสบปญหาขาดทุน แตยังคงตองชําระภาษีเหมือนเดิมทุกป ดังนั้น เพื่อเปนแนวทางในการศึกษาความเปนไปไดในการจัดทํารูปแบบตลาดขอตกลงที่เปนมาตรฐาน เพื่อใหเกิดความเปนธรรมตอเกษตรกรผูผลิต และเปนแนวทางในการพัฒนาทั้งดานการผลิตและการตลาดสุกรสําหรับหนวยงานที่เกี่ยวของ การศึกษาถึงการผลิตสุกรของประเทศไทยภายใตตลาดขอตกลง จึงเปนเรื่องที่สําคัญและนาสนใจ

  • โครงการ “การศกึษาโครงการระบบตลาดขอตกลงสินคาปศุสัตว(สุกร)ในประเทศไทย” 3

    วัตถุประสงคการวิจัย

    การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงคเฉพาะ ดังนี ้ 1. เพื่อศึกษาระบบการผลิตและระบบการตลาดสุกรภายใตระบบตลาดขอตกลง

    2. เพื่อศึกษาจดุออน จุดแข็ง ปญหาและแนวทางการพัฒนาวิถีการผลิต และวิถีการตลาดสุกรภายใตระบบตลาดขอตกลง

    3. เพื่อพัฒนารปูแบบการเลี้ยงสุกรภายใตระบบตลาดขอตกลง ผลท่ีคาดวาจะไดรับ

    1. วิถีการผลิตและวิถีการตลาดสุกรภายใตระบบตลาดขอตกลง

    2. แบบจําลองการพัฒนาการเลี้ยงสุกรภายใตระบบตลาดขอตกลง

    3. แบบจําลองการพัฒนาระบบตลาดขอตกลงในการเลี้ยงสุกรของประเทศไทย

    4. ขอมูลพื้นฐานของงานวจิยัที่เกีย่วของตอไปในอนาคต ขอบเขตการศกึษา

    1. ระบบการผลิตสุกรของประเทศไทย

    2. ระบบการผลิตสุกรภายใตตลาดขอตกลงของประเทศไทย

    3. หลักการและโครงสรางของระบบตลาดขอตกลงสินคา

    4. ขอกําหนดของคุณภาพสนิคาและเงื่อนไขของระบบตลาดขอตกลง

    5. สภาพการผลิตสุกรภายใตระบบตลาดขอตกลง

    6. ปญหาและอุปสรรคในการดําเนินการทั้งดานการผลิตและการตลาดภายใตระบบตลาดขอตกลง

    7. รูปแบบที่เหมาะสมของระบบตลาดขอตกลงสําหรับการเลี้ยงสุกรในประเทศไทย

    หนวยงานที่จะนําไปใชประโยชน

    1. กระทรวงเกษตรและสหกรณ

  • โครงการ “การศกึษาโครงการระบบตลาดขอตกลงสินคาปศุสัตว(สุกร)ในประเทศไทย” 4

    2. กระทรวงพาณิชย

    3. ผูประกอบการเอกชน

    4. เกษตรกร

    5. ภาคสวนที่เกี่ยวของ นิยามศัพทเฉพาะ

    ผูมีสวนไดสวนเสียในการเลี้ยงสุกร หมายถึง ผูผลิตสุกรที่เปนฟารมขนาดเล็ก ขนาดกลางและขนาดใหญ ภายใตระบบตลาดขอตกลง ทั้ง 6 ภูมิภาคของประเทศไทย ประกอบดวย ภาคเหนือ กลาง ตะวันออก ตะวันตก ตะวันออกเฉียงเหนือ และใต แบงเปน 3 ภาคสวน คือ บริษัทเอกชน สหกรณผูเล้ียงสุกร และฟารมผูเล้ียงสุกรอิสระ

    ระบบตลาดขอตกลง หมายถึง การดําเนินธุรกิจทั้งดานวิถีการผลิตและวิถีการตลาดผลิตสุกรระหวางผูผลิตกับผูซ้ือใน 6 ภูมิภาคของประเทศไทย ที่มีการทําสัญญาขอตกลงลวงหนา ที่ทําใหเกิดประโยชนสูงสุดกับผูซ้ือและผูขายทั้ง 2 ฝาย โดยแตละฝายจะไดรับประโยชนมากนอยแตกตางกันขึ้นอยูกับอํานาจการตอรอง สัญญานี้ทําใหเกิดความมั่นใจทั้งผูซ้ือและผูขาย โดยเกษตรกรในฐานะผูผลิต หรือผูขายจะไดรับประโยชนในดานความแนนอนของราคาจําหนาย และลดความเสี่ยงในดานความไมแนนอนของตลาด เนื่องจากเปนสัญญาที่มีการประกันราคาของผลผลิตในอนาคต สวนผูซ้ือมีความมั่นใจในจํานวนของสินคาที่ตองการในอนาคต ทั้งนี้ ผูผลิตอาจประกอบดวย เกษตรกรผูเล้ียงรายยอย สหกรณผูเล้ียงสุกร ฟารมผูเล้ียงสุกรอิสระ หรือบริษัทเอกชน สวนผูซ้ือ อาจประกอบดวย บริษัทเอกชน สหกรณผูเล้ียงสุกร และฟารมผูเล้ียงสุกรอิสระ

    ฟารมสุกรขนาดเล็ก หมายถึง ฟารมสุกรประเภทเกษตรกรรายยอยที่ผลิตสุกรภายใตระบบตลาดขอตกลงกับสหกรณผูเล้ียงสุกร หรือฟารมผูเล้ียงสุกรอิสระ หรือบริษัทเอกชนที่เปนคูสัญญา โดยมีจํานวนสุกรที่เล้ียงขนาด นอยกวา 500 ตัว

    ฟารมสุกรขนาดกลาง หมายถึง ฟารมสุกรประเภทฟารมผูเล้ียงสุกรอิสระ หรือบริษัทเอกชนที่ผลิตสุกรภายใตระบบตลาดขอตกลง โดยมีจํานวนสุกรที่เล้ียงขนาด 500-5,000 ตัว

    ฟารมสุกรขนาดใหญ หมายถึง ฟารมสุกรประเภทบริษัทเอกชน และฟารมผูเล้ียงสุกรอิสระที่ผลิตสุกรภายใตระบบตลาดขอตกลง โดยมีจํานวนสุกรที่เล้ียงขนาดมากกวา 5,000 ตัว

  • โครงการ “การศกึษาโครงการระบบตลาดขอตกลงสินคาปศุสัตว(สุกร)ในประเทศไทย” 5

    รูปแบบการเลี้ยงตามตลาดขอตกลง หมายถึง วิถีการผลิต และวิถีการตลาดสุกรภายใตตลาดขอตกลงระหวางผูจางกับผูเล้ียงที่เปนคูสัญญา แบงได เปน 3 รูปแบบคือ การเลี้ยงสุกรแบบประกันราคา ประกันตลาด และจางเลี้ยง

    การเลี้ยงแบบประกันราคา หมายถึง วิถีการผลิต และวิถีการตลาดสุกรภายใตตลาดขอตกลงระหวางผูจางกับผูเล้ียงที่เปนคูสัญญา โดยผูรับซื้อจะรับซื้อผลผลิตจากคูสัญญา ตามราคาประกันที่ตกลงกันไวลวงหนา

    การเลี้ยงแบบประกันตลาด หมายถึง วิถีการผลิต และวิถีการตลาดสุกรภายใตตลาดขอตกลงระหวางผูจางกับผูเล้ียงที่เปนคูสัญญา โดยผูรับซื้อจะรับซื้อผลผลิตภายใตโครงการคืนทั้งหมด ตามราคาตลาดในชวงขณะนั้น

    การเลี้ยงสุกรแบบจางเลี้ยง หมายถึง วิถีการผลิต และวิถีการตลาดสุกรภายใตตลาดขอตกลงระหวางผูจางกับผูเล้ียงที่เปนคูสัญญา โดยผูรับซื้อจายเฉพาะเงินคาจางเลี้ยงใหกับคูสัญญา ตามอัตราคาจางที่ระบุไวในสัญญา โดยจะรับผลผลิตและปจจัยการผลิตที่เหลือคืนทั้งหมดจากคูสัญญา วิธีวิจัย การวิจัยนี้เปนการศึกษาความเปนไปไดเบื้องตน (Pre-Feasibility Study) เพื่อการกําหนดรูปแบบที่เหมาะสมของระบบตลาดขอตกลงสําหรับการเลี้ยงสุกรในประเทศไทย โดยการวิจัยนี้ใชขอมูลจากแหลงขอมูลทุติยภูมิ และขอมูลปฐมภูมิที่ไดจากการสัมภาษณเชิงลึก (In-Depth Interview Schedule) จากผูมีสวนไดสวนเสีย (Stakeholders) ซ่ึงประกอบดวย 3 ภาคสวน ที่ทําธุรกิจในการผลิตและการตลาดสุกร คือ บริษัทเอกชน จํานวน 11 แหง สหกรณผูเล้ียงสุกร จํานวน 6 แหง และฟารมผูเล้ียงสุกรอิสระที่เปนผูเล้ียงสุกรรายใหญ จํานวน 9 ฟารม รวมทั้งสิ้น 26 แหง ครอบคลุมทุกภูมิภาค คือ ภาคเหนือ กลาง ตะวันออก ตะวันตก ตะวันออกเฉียงเหนือ และใต

  • โครงการ “การศึกษาโครงการระบบตลาดขอตกลงสินคาปศุสัตว (สุกร) ในประเทศไทย 6

    บทท่ี 2

    สภาพการผลติสุกรของประเทศไทย

    แหลงผลิตสุกรท่ีสําคัญของโลก

    สุกรเปนสัตวเล้ียงที่มีความยืดหยุนในการจําหนายสูง สามารถจําหนายไดตลอดเวลา จําหนายไดทุกขนาดและทุกอายุ ผลผลิตของสุกรสวนใหญจะใชบริโภคภายในประเทศ และไดรับความนิยมในการบริโภคกันมากทั่วโลก จากขอมูลในวารสารสุกรสาสน (2550) เกี่ยวกับปริมาณการผลิตเนื้อสุกรของประเทศที่สําคัญในโลก ดังแสดงในตารางที่ 2.1 ระบุวาการผลิตเนื้อสุกรของโลกป พ.ศ. 2549 มีปริมาณรวม 99.78 ลานตัน เพิ่มขึ้นจากปพ.ศ. 2548 ซ่ึงมีปริมาณ 96.23 ลานตัน คิดเปนรอยละ 3.69 จีนเปนประเทศที่ผลิตเนื้อสุกรมากที่สุด มีสัดสวนการผลิตประมาณรอยละ 53.00 ของผลผลิตรวม รองลงมาไดแก สหภาพยุโรป รอยละ 21.00 สหรัฐอเมริกา รอยละ 10.00 บราซิลและแคนนาดา รอยละ 3.00 และ 2.00 ของผลผลิตรวม ตามลําดับ ในปพ.ศ. 2550 คาดวาการผลิตเนื้อสุกรจะมีปริมาณรวม 103.39 ลานตัน เพิ่มขึ้นจากปพ.ศ. 2549 รอยละ 3.62 ประเทศผูผลิตที่สําคัญสวนใหญจะผลิตเพิ่มขึ้น เชน จีน สหรัฐอเมริกา และบราซิล เปนตน

    ตารางที่ 2.1 ปริมาณการผลิตเนื้อสุกรของประเทศที่สําคัญ ป พ.ศ. 2546-2550 (พันตันน้ําหนกัซาก)

    ประเทศ 2546 2547 2548 2549 1/ 2550 2/ จีน 45,186 47,016 50,106 50,300 55,800 สหภาพยุโรป * 21,150 21,192 21,102 21,450 21,500 สหรัฐอเมริกา 3,056 9,312 9,392 9,543 9,809 บราซิล 2,560 2,600 2,800 2,745 2,875 แคนนาดา 1,882 1,936 1,914 1,885 1,860 รัสเซีย 1,710 1,725 1,735 1,800 1,910 เวียดนาม 1,257 1,408 1,602 1,713 1,832 ญ่ีปุน 1,260 1,272 1,245 1,240 1,235 เม็กซิโก 1,100 1,150 1,195 1,200 1,250 ฟลิปปนส 1,145 1,145 1,175 1,215 1,245 เกาหลีใต 1,149 1,100 1,036 1,039 1,077 ประเทศอื่นๆ 3,033 2,945 2,925 2,946 2,993

    รวม 90,488 92,801 96,227 99,776 103,386 ที่มา: สุกรสาสน, 2550 หมายเหตุ: 1/ ขอมูลเบื้องตน 2/ ขอมูลคาดคะเน * สมาชิกทั้งหมด 25 ประเทศ

  • โครงการ “การศึกษาโครงการระบบตลาดขอตกลงสินคาปศุสัตว (สุกร) ในประเทศไทย 7

    นอกจากนี้ จากขอมูลของ USDA ของประเทศสหรัฐอเมริกา ในวารสารธุรกิจอาหารสัตว ประจําเดือนมกราคม-กุมภาพันธ พ.ศ. 2550 ดังแสดงในตารางที่ 2.2 พบวา นับตั้งแตปพ.ศ. 2545-2550 นั้น ประเทศที่สงออกเนื้อสุกรมากที่สุดตอเนื่องมาโดยตลอดไมต่ํากวา 1 ลานตันตอป คือ ประเทศกลุมสหภาพ ยุโรป รองลงมา คือ สหรัฐอเมริกา แคนาดา บราซิล จีน ชิลี เม็กซิโก ออสเตรเลีย รัสเซีย เวียดนาม และไทย ตามลําดับ โดยมีปริมาณการสงออกเพิ่มขึ้นตามลําดับ โดยเฉพาะในปพ.ศ. 2547-2548 ซ่ึงเริ่มมีการระบาดของไขหวดันก ทําใหมีความตองการบริโภคเนื้อสุกรเพิ่มขึ้น สําหรับการสงออกในปพ.ศ. 2550 มีแนวโนมขยายตวัเพิ่มขึน้โดยเพิ่มขึ้นรอยละ 2.63 เนื่องจากการขยายปริมาณการสงออกของประเทศสหรัฐอเมริกา และบราซลิ ตารางที่ 2.2 ปริมาณการสงออกเนื้อสุกรของประเทศที่สําคัญ ปพ.ศ. 2545-2550 (พันตัน)

    ประเทศ 2545 2546 2547 2548 2549 (p) 2550 (f) % สัดสวน ป 50 สหภาพยุโรป (25) 1,158 1,234 1,463 1,357 1,400 1,402 26.38 สหรัฐอเมริกา 731 779 989 1,207 1,346 1,400 26.35 แคนาดา 864 975 972 1,084 1,100 1,120 21.08 บราซิล 590 603 621 761 540 570 10.73 จีน 307 397 537 502 500 510 9.60 ชิลี 59 80 103 128 124 135 2.54 เม็กซิโก 61 48 52 59 65 70 1.32 ออสเตรเลีย 78 74 59 53 56 54 1.02 รัสเซีย 11 15 17 24 20 20 0.38 เวียดนาม 18 12 22 19 15 18 0.34 ไทย 16 14 11 12 11 12 0.23 อ่ืนๆ 5 24 15 5 1 3 0.06 รวม 3,898 4,255 4,861 5,211 5,178 5,314 100.00 เปลี่ยนแปลง (%) 20.57 9.16 14.24 7.20 -0.63 2.63 ที่มา: วารสารธุรกิจอาหารสัตว, 2550 หมายเหตุ: ขอมูลประเทศอื่นๆ จาก USDA สวนขอมูลประเทศไทยจากสมาคมผูผลิตและแปรรูปสุกรเพื่อการสงออก

    ของไทย

  • โครงการ “การศึกษาโครงการระบบตลาดขอตกลงสินคาปศุสัตว (สุกร) ในประเทศไทย 8

    แหลงผลิตสุกรท่ีสําคัญของไทย

    สําหรับสภาพการผลิตสุกรในประเทศไทยนั้น จากขอมูลสํานักงานเศรษฐกิจการเกษตรในป พ.ศ. 2549 พบวา มีการผลิตสุกรกระจายอยูทั่วทุกภาค โดยเฉพาะภาคกลางจัดไดวาเปนแหลงผลิตสกุรที่ใหญที่สุดของประเทศ รองลงมา คือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคเหนือ และภาคใต ตามลําดับ ดังแสดงในตารางที่ 2.3 เมื่อพิจารณาการผลิตสุกรเปนรายจังหวัด พบวา แหลงผลิตสุกรที่สําคัญในพื้นที่ภาคกลาง คือ จังหวัดราชบุรี นครปฐม ฉะเชิงเทรา และชลบุรี ภาคเหนือ คือ จังหวัดเชียงใหม และเชียงราย ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ คือ จังหวัดนครราชสีมา บุรีรัมย ชัยภูมิ ขอนแกน และอุบลราชธาน ีสวนภาคใต คือ จังหวัดนครศรีธรรมราช สงขลา และพัทลุง ตามลําดับ ดังแสดงในตารางที่ 2.4 โดยที่ในปพ.ศ. 2549 พบวา จังหวัดในภาคกลางที่มีการเลี้ยงสุกรมากที่สุด คือ จังหวัดราชบุรี มีสุกรจํานวน 1.51 ลานตัว สําหรับภาคเหนือ คือ จังหวัดเชียงใหม มีจํานวน 2.75 แสนตัว ขณะที่นครราชสีมาเปนจังหวัดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือที่มีการเลี้ยงสุกรมากที่สุด จํานวน 3.03 แสนตัว สวนภาคใต คือ จังหวัดนครศรีธรรมราช มีจํานวน 1.96 แสนตัว

    ตารางที่ 2.3 จาํนวนสุกรแยกตามรายภาค ปพ.ศ. 2549 (หนวย: ตัว)

    จํานวนสุกร ณ วันท่ี 1 มกราคม 2550 ภาค รวม เกิด-หยานม สุกรขุน สุกรพันธุ พอพันธุ แมพันธุ

    เหนือ 1,235,754 323,623 713,933 25,953 16,538 155,707 ตะวนัออกเฉียงเหนือ 1,493,309 321,725 950,016 27,824 21,079 172,665 กลาง 4,163,166 1,064,684 2,462,289 96,352 43,501 496,340 ใต 795,908 193,626 477,442 11,675 13,612 99,553 รวมท้ังประเทศ 7,688,137 1,903,658 4,603,680 161,804 94,730 924,265

    ที่มา: สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร, 2549 เมื่อพิจารณาถงึปริมาณการผลิตและการบรโิภคสุกรของไทยในชวงปพ.ศ. 2545-2550 ดังแสดงในตารางที่ 2.5 พบวาปริมาณการผลิตสุกรของไทยในปพ.ศ. 2549 มีจํานวนสุกรรวม 19.49 ลานตัว เปนสุกรตนป 7.69 ลานตัว และสุกรที่ผลิตไดระหวางป 11.80 ลานตัว เมือ่เปรียบเทียบกับปพ.ศ. 2548 ซ่ึงมีจํานวนสุกรที่ผลิตไดระหวางป 10.76 ลานตัว ปริมาณการผลิตสุกรเพิ่มขึ้นรอยละ 9.75 เนื่องจากราคาสุกรไดปรับตวัสูงขึ้นมากตั้งแตปพ.ศ. 2547 และอยูในเกณฑดีตลอด 2-3 ปทีผ่านมา ซ่ึงเปนผลจากการระบาดของโรคไขหวัดนกที่ทําใหความตองการบริโภคเนื้อสุกรเพิ่มขึ้น จึงมกีารขยายการผลิต

  • โครงการ “การศึกษาโครงการระบบตลาดขอตกลงสินคาปศุสัตว (สุกร) ในประเทศไทย 9

    เพิ่มขึ้น แตจากปญหาโรคความบกพรองของระบบสืบพันธุและระบบทางเดินหายใจ) ( PRRS) และโรคปากและเทาเปอยที่เกดิขึ้นในปพ.ศ. 2548 ทําใหผลผลิตสุกรสวนหนึ่งเกดิความเสียหายและสงผลใหในชวงครึ่งปแรกของปพ.ศ. 2549 มีปริมาณสุกรที่ออกสูตลาดไมมากนัก โดยผลของการขยายการผลิตจะปรากฏในชวงปลายป ซ่ึงมีปริมาณสุกรที่ออกสูตลาดเพิ่มขึ้นมากจนเกดิปญหาสุกรลนตลาด ตารางที่ 2.4 จาํนวนสุกรแยกตามรายจังหวัด ปพ.ศ. 2549 (หนวย: ตัว)

    จํานวน จังหวัด 2548 2549

    ราชบุรี 1,363,298 1,509,035 นครปฐม 977,288 1,080,099 ฉะเชิงเทรา 534,685 602,269 ชลบุรี 322,559 361,234 เชียงใหม 275,432 306,391 นครราชสีมา 303,017 341,197 สุพรรณบุรี 122,398 135,360 นครศรีธรรมราช 195,677 216,047 สงขลา 93,948 101,107 เชียงราย 96,220 102,753 ปราจีนบุรี 90,124 99,127 สระบุรี 159,824 169,717 บุรีรัมย 168,327 164,068 พัทลุง 88,022 91,845 ชัยภูม ิ 133,524 142,323 ขอนแกน 105,226 115,591 อุบลราชธานี 100,404 112,392 เพชรบุรี 53,320 57,852 ลําพูน 60,504 57,539 ประจวบคีรีขนัธ 32,069 35,063 ที่มา: สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร, 2549

  • โครงการ “การศึกษาโครงการระบบตลาดขอตกลงสินคาปศุสัตว (สุกร) ในประเทศไทย 10

    ตารางที่ 2.5 ปริมาณการผลิตและการบรโิภคสุกรของไทยป พ.ศ. 2545-2550 (หนวย: ลานตัว)

    ป สุกรตนป ปริมาณการผลิตระหวางป รวมสุกรท้ังป ปริมาณการบริโภค 2545 6.88 9.93 16.80 9.58 2546 7.64 10.30 17.36 9.97 2547 7.26 10.54 17.80 10.18 2548 7.53 10.76 18.30 10.50 2549 1/ 7.69 11.80 19.49 11.20 อัตราเพิ่มรอยละ 2.91 3.98 3.55 3.71 2550 2/ 8.20 12.38 20.58 11.44 ที่มา: สุกรสาสน, 2550 หมายเหตุ: 1/ ขอมูลเบื้องตน 2/ ขอมูลคาดคะเนของสํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร

    ตนทุนการผลติ-รายไดจากการเลี้ยงสุกรในไทย

    เกี่ยวกับตนทุนการผลิตสุกรขุนเฉลี่ยทั้งประเทศปพ.ศ. 2545-2549 ดังแสดงในตารางที่ 2.6 พบวา ตนทุนการผลิตสุกรขุนเฉลี่ยทั้งประเทศ เทากับ 45.33 บาทตอกิโลกรัม โดยเฉพาะตนทุนการผลิตนับตั้งแตป พ.ศ. 2548 สูงขึ้นโดยตลอด ขณะที่ราคาสุกรขุนที่เกษตรกรขายไดเฉลี่ยทั้งประเทศ ดังแสดงในตารางที่ 2.7 ในชวงครึ่งปแรกของปพ.ศ. 2549 อยูในเกณฑสูงที่ระดับกิโลกรัมละ 49-50 บาท ขณะที่ตนทุนการผลิตเฉลี่ยอยูที่กิโลกรัมละ 43-46 บาท ทําใหเกษตรกรกําไรเฉลี่ยอยูที่ 3-7 บาทตอกิโลกรัม แตราคาไดออนตัวลงในชวงคร่ึงปหลัง โดยปรับตัวลดลงอยางตอเนื่องตั้งแตปลายเดือนพฤศจิกายน เนื่องจากปริมาณสุกรที่ออกสูตลาดมีมาก ขณะที่ความตองการบริโภคชะลอตัวลงเพราะกําลังซื้อของผูบริโภคลดลง ซ่ึงสวนหนึ่งเนื่องจากผลของอุทกภัย โดยเฉพาะในเดือนธันวาคมราคาสุกรลดลงมาก โดยราคาสุกรมีชีวิตที่เกษตรกรขายไดเฉลี่ยทั้งประเทศอยูที่ระดับ 43-44 บาท (ฟารมเพื่อการคา) แตผูเล้ียงสุกรรายยอยจะขายสุกรไดเพียงกิโลกรัมละ 28-30 บาท ในขณะที่สุกรขุนมีตนทุนการผลิตเฉลี่ยอยูที่กิโลกรัมละ 42-47 บาท เนื่องจากมีการกดราคารับซื้อและผูเล้ียงสุกรจําเปนตองขายเพราะสุกรมีน้ําหนักเกินขนาดสงตลาด มีผลทําใหเกษตรกรขาดทุนในการเลี้ยงสุกรขุน 2-4 บาทตอกิโลกรัม (ฟารมเพื่อการคา) และ 8-19 บาทตอกิโลกรัม (ฟารมรายยอย)

  • โครงการ “การศึกษาโครงการระบบตลาดขอตกลงสินคาปศุสัตว (สุกร) ในประเทศไทย 11

    สวนราคาจําหนายลูกสุกรขุน (น้ําหนัก 12 กิโลกรัม) ดังแสดงในตารางที่ 2.8 ที่เกษตรกรขายไดราคาเฉลี่ยตัวละ 1,227 บาท ลดลงจากปพ.ศ. 2548 ซ่ึงมีราคาเฉลี่ยตัวละ 1,306 บาท เนื่องจากราคาลูกสุกรจะลดลงตามภาวะราคาสุกรขุน โดยเฉพาะตั้งแตเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2549 การซื้อขายลูกสุกร ไดปรับเปลี่ยนจากการคิดราคาที่น้ําหนักเริ่มตน 12 กิโลกรัม (บวกหรือลบน้ําหนักสวนตางตามราคาสุกรขุน) เปนการคิดราคาที่น้ําหนัก เร่ิมตน 16 กิโลกรัมแทน ตารางที่ 2.6 ตนทุนการผลิตสุกรขุนเฉลี่ยทั้งประเทศ ปพ.ศ. 2545-2549 (หนวย: บาทตอกิโลกรัม)

    เดือน 2545 2546 2547 2548 2549 มกราคม 33.61 35.30 34.94 39.76 43.74 กุมภาพนัธ 35.56 35.61 35.50 40.68 42.53 มีนาคม 34.25 35.76 34.93 42.87 45.63 เมษายน 34.63 34.65 35.35 44.02 46.53 พฤษภาคม 35.70 32.48 37.73 44.17 46.89 มิถุนายน 35.90 32.26 43.65 44.30 46.95 กรกฎาคม 35.96 28.73 47.72 44.32 47.23 สิงหาคม 35.78 30.65 46.27 44.35 46.81 กันยายน 35.73 34.75 41.91 44.39 46.34 ตุลาคม 34.72 34.32 37.43 44.41 45.43 พฤศจิกายน 34.83 33.47 36.23 44.19 42.99 ธันวาคม 35.03 33.08 37.89 43.91 42.85

    เฉล่ีย 34.98 33.42 39.13 43.45 45.33 ที่มา: สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร, 2549

  • โครงการ “การศึกษาโครงการระบบตลาดขอตกลงสินคาปศุสัตว (สุกร) ในประเทศไทย 12

    ตารางที่ 2.7 ราคาสุกรขุนที่เกษตรกรขายไดเฉลี่ยทั้งประเทศ ปพ.ศ. 2545-2549 (หนวย: บาทตอกิโลกรัม)

    เดือน 2545 2546 2547 2548 2549 มกราคม 37.13 30.80 36.19 46.46 50.01 กุมภาพนัธ 37.23 29.19 44.60 47.67 49.14 มีนาคม 37.24 28.04 49.65 49.73 48.87 เมษายน 38.42 28.68 52.67 51.67 49.09 พฤษภาคม 40.03 35.13 51.41 52.52 49.47 มิถุนายน 39.38 36.97 46.51 51.45 49.06 กรกฎาคม 38.77 35.69 42.13 51.25 47.99 สิงหาคม 39.05 34.87 43.48 51.02 46.96 กันยายน 38.40 34.96 41.61 49.69 46.29 ตุลาคม 36.62 34.65 40.35 46.10 46.49 พฤศจิกายน 36.58 34.03 42.88 47.45 43.08 ธันวาคม 35.11 33.36 45.39 49.64 40.36

    เฉล่ีย 37.83 33.03 44.74 49.55 47.07 ที่มา: สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร, 2549 ตารางที่ 2.8 ราคาจําหนายลูกสุกรขุนที่น้ําหนัก 12 กิโลกรัม ปพ.ศ. 2545-2549 (หนวย: บาทตอตัว)

    เดือน 2545 2546 2547 2548 2549 มกราคม 1,100 700 800 1,300 1,500 กุมภาพนัธ 1,100 625 1,200 1,300 1,500 มีนาคม 1,100 350 1,460 1,300 1,500 เมษายน 1,100 500 1,300 1,300 1,433 พฤษภาคม 1,100 900 900 1,300 1,400 มิถุนายน 1,100 840 625 1,300 1,325 กรกฎาคม 1,000 725 750 1,300 1,100

  • โครงการ “การศึกษาโครงการระบบตลาดขอตกลงสินคาปศุสัตว (สุกร) ในประเทศไทย 13

    ตารางที่ 2.8 (ตอ)

    เดือน 2545 2546 2547 2548 2549 สิงหาคม 1,000 700 880 1,300 1,100 กันยายน 1,000 860 800 1,275 1,100 ตุลาคม 1,000 900 1,00 1,100 1,100 พฤศจิกายน 1,000 800 1,200 1,400 1,050 1/ ธันวาคม 900 725 1,300 1,500 619 เฉล่ีย 1,041.67 718.75 1,017.92 1,306.25 1,227.25

    ที่มา: สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร, 2549 1/ คิดราคาลูกสุกรขุนที่น้ําหนักเริ่มตน 6 กิโลกรัม

    รูปแบบและลักษณะการเลี้ยงสุกรของไทย

    จากขอมูลของสถาบันวิจัยและพัฒนาแหงมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร (2538) ระบุวา รูปแบบการเลี้ยงสุกรของไทยไดพัฒนาเปลี่ยนแปลงอยางตอเนื่อง จากระบบการเลี้ยงแบบพื้นบานหรือรายยอยเปลี่ยนเปนการเลี้ยงแบบการคาหรืออุตสาหกรรมมากขึ้น ซ่ึงมีการบริหารจัดการในรูปธุรกิจเต็มรูปแบบ เปนฟารมขนาดกลาง และขนาดใหญมากขึ้น มีโรงเรือนเปนอาคารแบบถาวร การเลี้ยงแบบโรงเรือนปด และมีระบบควบคุมอุณหภูมิ จึงทําใหเกิดความแตกตางระหวางการเล้ียงแบบอุตสาหกรรม และการเลี้ยงแบบอาชีพเสริมอยางเดนชัด ทําใหลักษณะการประกอบการ การเลี้ยง ตนทุน และสภาพปญหาของทั้งสองกลุมแตกตางกันอยางชัดเจน โดยที่ปจจุบันฟารมขนาดกลาง และขนาดใหญเหลานี้ สามารถผลิตสุกรปอนตลาดไดถึงรอยละ 80.00 ของปริมาณสุกรทั้งหมด และอีกรอยละ 20.00 เปนสุกรจากฟารมของเกษตรกรรายยอย ซ่ึงกระจายอยูโดยทั่วไป ดังแสดงในภาพที่ 2.1

    สําหรับระบบการผลิตสุกรของไทยในปจจุบันสามารถแยกออกได 2 ประเภทใหญๆ ตามปริมาณการเลี้ยง คือ การเลี้ยงแบบรายยอย (subsistence farming or semi-commercial farming) และการเลี้ยงแบบการคา (commercial farming) โดยมีรายละเอียด ดังนี้

    1. การเลี้ยงสุกรแบบรายยอย หรือการเลี้ยงแบบพื้นบาน

    การเลี้ยงสุกรแบบรายยอย หรือการเลี้ยงแบบพื้นบาน หมายถึง กลุมเกษตรกรที่เล้ียงสุกรเปนอาชีพเสริมในครัวเรือนนอกเหนือจากอาชีพหลักที่ทําอยู รวมถึงการเล้ียงสุกรของสมาชิกของสหกรณผูเล้ียงสุกร มีสัดสวนการเลี้ยงประมาณรอยละ 20.00 ของปริมาณการผลิตของประเทศ แบงออกเปน 2 ลักษณะ คือ

  • โครงการ “การศึกษาโครงการระบบตลาดขอตกลงสินคาปศุสัตว (สุกร) ในประเทศไทย 14

    1.1 การเลี้ยงแบบพื้นบาน

    สําหรับการเลี้ยงสุกรแบบพื้นบาน บางครั้งนิยมเรียกวาเลี้ยงแบบ “หมูออมสิน” (subsistence farming) ซ่ึงวิธีการเลี้ยงนี้ยังไมมีการพัฒนา มีการปลูกโรงเรือนเลี้ยงสุกรแบบงายโดยใชเศษวัสดุเหลือใชจากการเกษตรหรือที่หาไดจากทองที่ อาหารที่ใชเล้ียงไดแก รํา เศษอาหาร และวัสดุที่เหลือใชจากการเกษตร หรือที่จะหาไดจากทองที่ เชน หยวกกลวย และผักตางๆ ซ่ึงเปนการเลี้ยงแบบลาหลัง มีการพัฒนาปรับปรุงวิธีการเลี้ยงและคุณภาพของสุกรใหดีขึ้นนอยมาก การปองกันโรคแทบไมมีเลย ปอนตลาดในทองที่ เพราะมีคุณภาพซากต่ํา เนื้อแดงนอย มันมาก และขายไดในราคาต่ํา ซ่ึงมีปริมาณการเลี้ยงไมเกินรายละ 10-20 ตัว มีเล้ียงกระจายอยูทั่วทุกภาคของประเทศ

    1.2 การเลี้ยงแบบสหกรณ

    ในสวนของการเลี้ยงแบบสหกรณ เปนการเลี้ยงสุกรที่มีการพัฒนาปรับปรุงวิธีการเล้ียงใหมีประสิทธิภาพเพื่อเปนการคาอยางมากขึ้น มีการปลูกโรงเรือนเลี้ยงสุกร โดยใชวัสดุที่หาไดจากทองถ่ิน อาหารที่ใชเล้ียงไดแก รํา เศษอาหาร และวัสดุที่เหลือใชจากการเกษตร และมีการใหอาหารสําเร็จรูปที่อาจจะซื้อจากสหกรณ หรือตลาดทองที่เสริมดวย มีการพัฒนาปรับปรุงวิธีการเลี้ยงและคุณภาพของสุกรใหดีขึ้น มีการปองกันโรคใหกับสุกรบาง สวนใหญจะเลี้ยงเพื่อปอนตลาดในทองที่หรือขายใหกับสหกรณ มีปริมาณการเลี้ยงไมเกินรายละ 50-100 ตัว ทั้งนี้ ในปจจุบัน การเลี้ยงแบบสหกรณสามารถยกฐานะตามสภาพการเลี้ยงที่เปนแบบพื้นบาน (subsistence farming) มาเปนแบบกึ่งการคา (semi-commercial farming) ที่มีศักยภาพในการแขงขันภายในประเทศไดเปนอยางดี

    2. การเลี้ยงสุกรแบบการคา (commercial farming)

    การเลี้ยงสุกรแบบการคา หมายถึง กลุมเกษตรกรที่มีการเลี้ยงสุกรในรูปธุรกิจ มีทั้งเปนบุคคลธรรมดา และนิติบุคคล มีปริมาณการเลี้ยงตั้งแต 50 ตัวขึ้นไป ลักษณะการเลี้ยงเปนแบบอุตสาหกรรม เล้ียงในโรงเรือนที่ทันสมัย สวนมากจะเลี้ยงทั้งกลุมพอพันธุ-แมพันธุ และสุกรขุน ผูเล้ียงสวนใหญมีประสบการณ มีความรู ดานวิชาการพอสมควรถึงมีความรูมาก สวนผูเล้ียงรายใหญมีการจางผูเชี่ยวชาญเฉพาะดาน เพื่อควบคุมดูแลการผลิตโดยตรง ฟารมสุกรประเภทนี้จึงมีการลงทุนคอนขางสูงเมื่อเปรียบเทียบกับฟารมผูเล้ียงประเภทพื้นบานหรือรายยอย และเปนฟารมที่มีการพัฒนาและปรับปรุงการผลิตสุกรของตน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตอยูเสมอ มีสัดสวนการเลี้ยง คิดเปนรอยละ 80.00 ของผลผลิตสุกรทั้งหมด ทั้งนี้ฟารมเลี้ยงสุกรแบบการคาแบงออกเปน 3 ขนาด ตามจํานวนสุกรที่เล้ียง คือ

  • โครงการ “การศึกษาโครงการระบบตลาดขอตกลงสินคาปศุสัตว (สุกร) ในประเทศไทย 15

    2.1 ฟารมเลี้ยงสุกรแบบการคาขนาดเล็ก (small commercial farming)

    สําหรับฟารมแบบการคาขนาดเล็ก เปนฟารมซึ่งเลี้ยงสุกรตั้งแต 50 ตัวขึ้นไปจนถึง 200 ตัว (กรมปศุสัตว) หรือตั้งแต 50 ตัว ถึงนอยกวา 500 ตัว (กรมควบคุมมลพิษ) เปนฟารมที่กําลังจะพัฒนาฟารมของตนเองขึ้นสูการเลี้ยงสุกรใหเปนการคามากขึ้น มีความรูและประสบการณการเลี้ยงสุกรพอสมควร แตอาจมีปญหาดานทุน แรงงาน และขนาดพื้นที่จํากัด ทําใหการขยายการเลี้ยงมีขีดจํากัดดวย ฟารมประเภทนี้นิยมซื้อลูกสุกรมาเลี้ยงขุนและผูเล้ียงสวนใหญมักจะใชอาหารสําเร็จรูปในการเลี้ยง แตมีบางรายที่เริ่มสามารถพัฒนาสูตรอาหารของตนเองไดโดยการซื้อวัตถุดิบมาผสมเอง สวนการควบคุมและปองกันโรคยังทําไดไมดีพอ เนื่องจากไมมีผูชํานาญงานสัตวแพทยโดยตรง มีสัดสวนการเลี้ยง คิดเปนรอยละ 8.00 ของผลผลิตทั้งกลุม

    2.2 ฟารมเลี้ยงสุกรแบบการคาขนาดกลาง (middle commercial farming)

    สวนฟารมแบบการคาขนาดกลาง เปนฟารมที่เล้ียงสุกรตั้งแต 201-1,000 ตัว ( กรมปศุสัตว) หรือ ตั้งแต 500 ตัว ถึงนอยกวา 5,000 ตัว (กรมควบคุมมลพิษ) ฟารมประเภทนี้เปนฟารมที่มีการพัฒนาการเลี้ยงโดยเลี้ยงพอพันธุและแมพันธุสุกร เพื่อผลิตลูกสุกรขุนไวเล้ียงเอง อาจมีการผสมอาหารใชเองในฟารม และใหความสําคัญกับการควบคุมและปองกันโรค และการจัดการดานส่ิงแวดลอมที่ดี ถือเปนการผลิตแบบพัฒนาเกือบครบวงจร หมายถึงมีธุรกิจที่ผลิต พอแมพันธุจําหนาย ผลิตสุกรขุน และสุกรขุนจําหนาย ผลิตอาหารเองและจําหนายในบางสวน รวมทั้งการจัดทําโปรแกรมใชสูตรอาหารจําหนายตามการเปลี่ยนแปลงของราคาวัตถุดิบอาหารสัตว บางฟารมอาจทําธุรกิจโรงฆาสัตว และชําแหละควบคูไปดวย หรือบางฟารมอาจจะมีเฉพาะโรงฆาและชําแหละสุกร มีเขียงจําหนายสุกรชําแหละ แตไมมีโรงผลิตอาหารสัตวเอง เปนตน มีสัดสวนการเลี้ยง คิดเปนรอยละ 16.00 ของผลผลิตทั้งกลุม

    2.3 ฟารมเลี้ยงสุกรแบบการคาขนาดใหญ (large commercial farming)

    ฟารมเลี้ยงสุกรแบบการคาขนาดใหญ เปนฟารมที่มีจํานวนการเลี้ยงสุกรมากกวา 1,000 ตัว ( กรมปศุสัตว) หรือ ตั้งแต 5,000 ตัวข้ึนไป (กรมควบคุมมลพิษ) ฟารมประเภทนี้เปนฟารมที่มีการเลี้ยงและการจัดการที่กาวหนาและพัฒนามากกวาฟารมเลี้ยงสุกรขนาดเล็กและขนาดกลาง โดยมีการผลิตแบบครบวงจร หมายถึง การผลิตที่ผูดําเนินธุรกิจในรูปนิติบุคคล ทําการผลิตพอพันธุ-แมพันธุสุกร ลูกสุกรขุน สุกรขุนเพื่อเล้ียงเองและจําหนายบางสวน รวมทั้งน้ําเชื้อสุกรดวย มีโรงฆาชําแหละสุกรเอง หรืออาจจะจัดจําหนายสุกรชําแหละเองดวย ตลอดจนมีการผสมอาหารใชเองในฟารม ฟารมเลี้ยงสุกรแบบการคาขนาดใหญ ตองใชปจจัยการผลิต เงินลงทุน และเทคโนโลยีขั้นสูง มี

  • โครงการ “การศึกษาโครงการระบบตลาดขอตกลงสินคาปศุสัตว (สุกร) ในประเทศไทย 16

    ระบบการเลี้ยงและการจัดการที่ทันสมัย มีการควบคุมและปองกันโรคโดยสัตวแพทยอยางใกลชิด มีระบบการจัดการของเสียที่สามารถบําบัดของเสียตามมาตรฐานของกรมควบคุมมลพิษ เพื่อลดความเสี่ยงดานการจัดการและการเลี้ยงดูสุกร ฟารมประเภทนี้จึงไดทําสัญญาผูกพันหรือขอตกลงลวงหนา (contract farming) กับเกษตรกรที่อยูบริเวณใกลเคียงที่สามารถควบคุมได เพื่อเล้ียงสุกรและตองขายผลผลิตสุกรทั้งหมดคืนใหกับฟารมขนาดใหญตามขอตกลงหรือสัญญาที่ใหไวแกกัน และฟารมขนาดใหญจะเปนผูนําไปจําหนายในตลาดตอไป ดังนั้นฟารมแบบสัญญาผูกพัน จึงเสมือนกับเปนหนวยการผลิตสุกรหนวยหนึ่งที่อยูภายใตการดูแล การจัดการดานการผลิต และการตลาดของฟารมขนาดใหญ มีสัดสวนการเลี้ยง คิดเปนรอยละ 56.00 ของผลผลิตทั้งกลุม ในกลุมการผลิตกลุมนี้ยังแบงออกเปน 2 ลักษณะ คือ

    2.3.1 การผลิตในรูปแบบบริษัทจํากัด

    สําหรับการผลิตในรูปแบบบริษัท จํากัด คิดเปนรอยละ 8.50 ของผลผลิตทั้งหมด โดยมีการแบงหรือกระจายการผลิตสูเกษตรกรในลักษณะโครงการจางเลี้ยงหรือสัญญาตลาดขอตกลง (contract farming) คิดเปนรอยละ 3.60 และอีกรอยละ 4.90 บริษัทเปนผูผลิตเอง

    2.3.2 การผลิตในรูปแบบฟารมเลี้ยงสุกรเอกชนอสิระ

    สวนการผลิตในรูปแบบฟารมเลี้ยงสุกรเอกชนอิสระ คิดเปนรอยละ 47.50 ของผลผลิตทั้งหมด โดยมีการแบงหรือกระจายการผลิตสูเกษตรกรในลักษณะโครงการจางเล้ียงหรือสัญญาตลาดขอตกลง (contract farming) คิดเปนรอยละ 0.50 และอีกรอยละ 47.00 ฟารมเปนผูผลิตเอง

  • โครงการ “การศึกษาโครงการระบบตลาดขอตกลงสินคาปศุสัตว (สุกร) ในประเทศไทย 17

    ภาพที่ 2.1 โครงสรางการผลิตสุกรไทย ที่มา: สถาบันวิจัยและพฒันาแหงมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, 2538

    จํานวนสุกรผลติระหวางป (100.00%)

    ฟารมเลี้ยงแบบพื้นบาน (10.10%)

    สหกรณผูเลี้ยงสุกร (9.90 %)

    ฟารมรายยอย (20.00%)

    ฟารมการคา (80.00%)

    ฟารมขนาดเลก็ (8.00%)

    ฟารมขนาดใหญ (56.00%)

    ฟารมสัญญาผูกพัน (3.60%)

    บริษัทใหญ (8.50%)

    ฟารมของบริษัทใหญ (4.90%)

    ฟารมขนาดใหญอิสระ (47.50%)

    สวนท่ีมาจากฟารมขนาดใหญของฟารมเอง (47.00%)

    ฟารมสัญญาผูกพัน (0.50%)

    ฟารมขนาดกลาง (16.00%)

  • โครงการ “การศึกษาโครงการระบบตลาดขอตกลงสินคาปศุสัตว (สุกร) ในประเทศไทย 18

    รูปแบบการผลิตสุกรภายใตตลาดขอตกลงลวงหนาของไทย

    สําหรับการผลิตสุกรภายใตตลาดขอตกลงลวงหนาหรือเรียกวาเปนการทําสัญญาผูกพันนั้น จากขอมูลของสถาบันวิจัยและพัฒนาแหงมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร (2538) ระบุวา จัดเปนการผลิตสุกรหนวยหนึ่งที่อยูภายใตการดูแลในดานการจัดการดานการผลิต และการตลาดของฟารมขนาดใหญ มี 2 รูปแบบ คือ การเลี้ยงสุกรพันธุเพื่อผลิตลูกสุกรจําหนายใหบริษัทหรือฟารมขนาดใหญ และการเล้ียงสุกรขุนเพื่อจําหนายใหแกบริษัทหรือฟารมขนาดใหญ โดยแตละรูปแบบ มีรายละเอียด ดังนี้

    1. การเลี้ยงสุกรพันธุเพื่อผลิตลูกสุกร

    การเลี้ยงสุกรพันธุเพื่อผลิตลูกสุกรจําหนายใหบริษัท หรือฟารมขนาดใหญภายใตตลาดขอตกลงลวงหนานั้น เกษตรกรจะเปนผูลงทุนเองทั้งหมด โดยซื้อพอ-แมพันธุสุกร ตลอดจนวัสดุอุปกรณ หรือปจจัยการผลิตเชน อาหาร และเวชภัณฑจากบริษัทหรือฟารมขนาดใหญคูสัญญา จึงทําใหตองมีการลงท