scbi117 no 01 diversity 1 2011bw - sc. · pdf fileอนุกรม วิธาน •

17
ความหลากหลายทางชีวภาพ (๑) วทชว ๑๑๗ รากฐานแห่งชีวิต อ.ดร.ณัฐพล อ่อนปาน ๘ มิถุนายน ๒๕๕๔ 1 หัวข้อบรรยาย วทชว ๑๑๗ รากฐานแห่งชีวิต ความหลากหลายทางชีวภาพ (๑) บทนํา การจัดหมวดหม ทางวิทยาศาสตร์ การจัดหมวดหม ทางวิทยาศาสตร์ ความหลากหลาย (อนุภาคไร้ชีวิต, แบคทีเรีย, โพรติส) ความหลากหลายทางชีวภาพ (๒) ความหลากหลายของพืช ฟังไจ และสัตว์ 2 http://www.vcharkarn.com/uploads/109/109846.jpg 3 งกือมังกรสีชมพู (shocking pink millipede) Desmoxytes purpurosea Top ten 2009 http://species.asu.edu/2010_species04 4 Name: Aiteng ater Common Name: Aiteng (ไอ้เท่ง) Family: Aitengidae How it made the Top 10: This sea slug eats insects, whereas nearly all sacoglossans eat algae and a few specialize in gastropod eggs. Reference: Swennen, C. and S. Buatip. 2009. Aiteng ater, new genus, new species, an amphibious and insectivorous sea slug that is difficult to classify. The Raffles Bulletin of Zoology 57(2):495-500. Etymology: "The name is derived from Ai Theng, which is the name of one of the popular puppets in shadow plays (wayang) in the southern part of Thailand.

Upload: hoangngoc

Post on 07-Feb-2018

248 views

Category:

Documents


9 download

TRANSCRIPT

Page 1: SCBI117 NO 01 Diversity 1 2011bw - sc. · PDF fileอนุกรม วิธาน •

ความหลากหลายทางชีวภาพ (๑)

วทชว ๑๑๗ รากฐานแห่งชีวิต

อ.ดร.ณัฐพล อ่อนปาน

๘ มถิุนายน ๒๕๕๔

1

หัวข้อบรรยาย

• วทชว ๑๑๗ รากฐานแห่งชีวติ– ความหลากหลายทางชีวภาพ (๑)

• บทนํา

• การจัดหมวดหมู่ทางวทิยาศาสตร์• การจัดหมวดหมู่ทางวทิยาศาสตร์

• ความหลากหลาย (อนุภาคไร้ชีวติ, แบคทีเรีย, โพรตสิ)

– ความหลากหลายทางชีวภาพ (๒)• ความหลากหลายของพืช ฟังไจ และสัตว์

2

http://www.vcharkarn.com/uploads/109/109846.jpg

3กิ�งกือมงักรสีชมพ ู(shocking pink millipede) Desmoxytes purpurosea Top ten 2009

http://species.asu.edu/2010_species04

4

Name: Aiteng ater Common Name: Aiteng (ไอ้เท่ง) Family: Aitengidae

How it made the Top 10: This sea slug eats insects, whereas nearly all sacoglossans eat algae

and a few specialize in gastropod eggs.

Reference: Swennen, C. and S. Buatip. 2009. Aiteng ater, new genus, new species, an

amphibious and insectivorous sea slug that is difficult to classify. The Raffles Bulletin of Zoology 57(2):495-500.

Etymology: "The name is derived from Ai Theng, which is the name of one of the popular

puppets in shadow plays (wayang) in the southern part of Thailand.

Page 2: SCBI117 NO 01 Diversity 1 2011bw - sc. · PDF fileอนุกรม วิธาน •

บทนํา

• การศึกษาความหลากหลายทางชีวภาพ– มีความสาํคัญอย่างไร

• กาํจัดความไม่รู้ (รู้จักสิ:งมีชีวติที:อยู่ร่วมโลก)

• เพื:อการนําไปใช้ให้เกดิประโยชน์สูงสุด และยั:งยืน• เพื:อการนําไปใช้ให้เกดิประโยชน์สูงสุด และยั:งยืน

• ทาํให้เกดิความสุขทางใจ

5

ความหลากหลายทางชีวภาพ

• Biological diversity (biodiversity)

– ความหลากหลายระดบัพันธุกรรม

– ความหลากหลายระดบัชนิดพันธุ์ (สปีชีส์)BRT (Biodiversity Research and Training • โครงการ BRT (Biodiversity Research and Training

programme)

– 10 ปีโครงการ BRT นักวิจัยไทยพบชนิดใหม่กว่า 548 ชนิด

– ความหลากหลายของแหล่งที:อยู่ (40+ ชีวมณฑลหรือ Biomes)

6

Genetic variation

Phenotypic variation

Genetic diversity

Bio

log

ica

l D

ive

rsit

y

Mutation

Recombination

7

Differential fitness

SpeciationSpecies diversity

Ecological diversityBio

log

ica

l D

ive

rsit

y

Reproductive

Isolation

อนุกรมวธิาน

• อนุกรมวิธาน (taxonomy)

– วชิาที:ว่าด้วยการตั >งชื:อสิ:งมีชีวติ และจัดจาํแนกสิ:งมีชีวติออกเป็นหมวดหมู่

• ระบบวิทยา (systematics)

– วชิาที:ว่าด้วยการจัดจาํแนกสิ:งมีชีวติ ตามความสัมพันธ์ทางววิัฒนาการ

8

Page 3: SCBI117 NO 01 Diversity 1 2011bw - sc. · PDF fileอนุกรม วิธาน •

9

http://www.biosurvey.ou.edu/bebb/imgs/Pentspec.jpg

คาร์ล ลินเนียส

ชื�อแบบทวนิาม

• Binomial nomenclature

– คาร์ล ลินเนียส เป็นผู้นําชื:อแบบทวินามมาใช้จนแพร่หลาย• ชื:อวทิยาศาสตร์ ประกอบด้วย

– ชื:อสกุล (Genus)– ชื:อสกุล (Genus)

– ชื:อสปีชีส์ (species)

» โมกราชินี (Wrightia sirikitiae)

» กันภัยมหิดล (Afgekia mahidoliae)

»มนุษย์ (Homo sapiens)

10

การจําแนกสิ�งมีชีวติ

• การจาํแนกสิ:งมีชีวิต (classification)

– ลักษณะปรากฏภายนอก (phenetic)

– ความสัมพันธุ์ทางววิัฒนาการ (phylogenetic relationship)

11

ลักษณะต่อไปนี้ ใช้ในการจัดจําแนกสิ่งมีชีวิตในลักษณะใด?โครงสร้างภายในของร่างกาย, ลักษณะภายนอก, ลักษณะของซากดึกดําบรรพ์, โครงสร้างของเซลล์, ลักษณะทางสรีรวิทยา, ลักษณะทางพันธุกรรม, ลักษณะของลําดับเบสของสารพันธุกรรม

การจัดจําแนกสิ�งมีชีวติ

• ระบบการจัดจาํแนกสิ:งมีชีวิต– ระบบจักรวรรด ิ(Empire)

• 2 Empire system: Prokaryotes and Eukaryotes

– ระบบอาณาจักร (Kingdom)

• 5 or 6 Kingdoms system: (Monera) Eubacteria, Archaeabacteria,

Protista, Plantae, Fungi, and Animalia

• Whittaker (1969)

– ระบบโดเมน (Domain)

• 3 Domains system: Bacteria, Archaea, and Eukarya

• Carl R. Woese (1990); based on genome analysis

12

Page 4: SCBI117 NO 01 Diversity 1 2011bw - sc. · PDF fileอนุกรม วิธาน •

ระบบโดเมน

• การแบ่งสิ:งมีชีวิตเป็น 3 โดเมน– โดเมนแบคทีเรีย (Bacteria Domain)

– โดเมนอาร์เคีย (Archaea Domain)

– โดเมนยูคาเรีย (Eukarya Domain)– โดเมนยูคาเรีย (Eukarya Domain)

13 14

ไวรัส ไวรอยด์ พรีออน

• ไวรัส (Virus) ไวรอยด์ (Viroid) พรีออน (Prion)

– ไม่มีลักษณะของเซลล์ (acytota) ไม่มีลักษณะของสิ:งมีชีวติ เช่นเมตาโบลซิมึ แต่สามารถสืบพันธุ์เพิ:มจาํนวนได้เมื:ออยู่ในโฮสต์

15

ไวรัสบางชนิดใช้ยุงเป็นพาหะนําโรคไปสู่โฮสต์ที:แท้จริง

ไวรัส

• ไวรัส (Virus)

– อนุภาคไร้ชีวติ

– มีสารพันธุกรรมแบบ DNA หรือ RNA ซึ:งอาจเป็นสายเดี:ยวหรือสายRNA ซึ:งอาจเป็นสายเดี:ยวหรือสายคู่

– โครงสร้างภายนอกเป็นโปรตนี

– ทาํให้เกดิโรคได้หลากหลาย เช่น AIDS, Bird flu

16

Page 5: SCBI117 NO 01 Diversity 1 2011bw - sc. · PDF fileอนุกรม วิธาน •

ไวรอยด์

• ไวรอยด์ (Viroid)

– ชิ >นส่วนของ RNA ขนาดเลก็ ประมาณ 200-300 เบส

– ไม่มีรหัสไปสร้างเป็นโปรตีนได้– ไม่มีรหัสไปสร้างเป็นโปรตีนได้

– ทาํให้เกดิโรคในพืช (โฮสต์) โดยการใช้ทรัพยากรในเซลล์โฮสต์ หรือกลไก RNA silencing

– ทาํให้เกดิโรคในข้าวและมันฝรั: งได้เป็นต้น

17http://emu.arsusda.gov/typesof/pages/viroid.html

พรีออน

• พรีออน (Prion)

– โปรตีนที:สามารถเพิ:มจาํนวน และทาํให้เกดิโรคได้

– ชื:อมาจาก Proteinaceous, – ชื:อมาจาก Proteinaceous,

infectious, virion

– ศกึษาโดย Stanley B.

Prusiner

– ทาํให้เกดิโรควัวบ้า (BSE)

โรค nvCJD ในคน โรค scrapie ในแกะ

18

Spongy brain tissue:

http://en.wikipedia.org/wiki/File:Histology_

bse.jpg

โพรคารีโอต

• โพรคารีโอต (Prokaryotes)

– สิ:งมีชีวติที:มีเซลล์แบบโพรคารีโอตกิ (prokaryotic)

– ไม่มีเยื:อหุ้มสารพนัธุกรรม หมายถงึการไม่มีนิวเคลียส (no nucleus)มีนิวเคลียส (no nucleus)

– ส่วนใหญ่อยู่กนัเป็นเซลล์เดี:ยวๆ มีขนาดเลก็ มีรูปร่างต่างๆกนั

– ตวัอย่าง• Bacteria

• Cyanobacteria

• Archaea

19

แบคทเีรีย

• แบคทเีรีย (Bacteria)

– สิ:งมีชีวติที:มีเซลล์แบบโพรคารีโอต (ไม่มีนิวเคลียส)– มีโครงสร้างเรียบง่ายประกอบด้วย

• ผนังเซลล์ (cell wall) ทาํหน้าที:หุ้มเซลล์ ปกป้อง และทาํให้เซลล์คงรูปอยู่ได้ผนังเซลล์ ทาํหน้าที:หุ้มเซลล์ ปกป้อง และทาํให้เซลล์คงรูปอยู่ได้

– แบคทีเรียแกรมบวก (Gram Positive) มีผนังเซลล์ที:เป็นสาร peptidoglycans หนา

– แบคทีเรียแกรมลบ (Gram Negative) มีผนังเซลล์ที:เป็นสาร peptidoglycans บาง แต่มีสาร lipopolysaccharides หนา

– โรค• วัณโรค บาดทะยัก ปอดบวม ไทฟอยด์

20

Page 6: SCBI117 NO 01 Diversity 1 2011bw - sc. · PDF fileอนุกรม วิธาน •

21 22

ความหลากหลายของแบคทเีรีย

• โดเมนแบคทเีรีย Domain Bacteria

– โพรตีโอแบคทเีรีย Proteobacteria

• แอลฟา Alpha, เบต้า Beta, แกมม่า Gamma, เดลต้า Delta, เอปซิลอน Epsilonลอน

– คลาไมดแิอส Chlamydias

– สไปโรคีต Spirochetes

– ไซแอโนแบคทีเรีย Cyanobacteria (สาหร่ายสีเขียวแกมนํ >าเงนิ)

– แกรมโพตทิีพแบคทีเรีย Gram-positive bacteria

23

Proteobacteria

• Proteobacteria– กลุ่มของแบคทเีรียขนาดใหญ่ เป็นแกรมลบ (มีผนังเซลล์ที:เป็นเปปติ

โดไกลแคนส์ peptidoglycans บาง) มี 5 กลุ่มย่อยจากการศกึษาดีเอน็เอ

– Alpha proteobacteria• กลุ่มแบคทเีรียที:วิวัฒนาการร่วมกับโฮสต์ เช่น Rhizobium ในปมรากถั:ว

Acrobacterium ที:ทาํให้เกดิก้อนเนื >อเยื:อในพชื

– Beta proteobacteria• กลุ่มแบคทเีรียที:มีการหาอาหารที:หลากหลาย เช่น Nitromonas ที:

สามารถออกซไิดซ์แอมโมเนียม (NH4+) เป็นไนไตรต์ (NO2

-) ได้

24

Page 7: SCBI117 NO 01 Diversity 1 2011bw - sc. · PDF fileอนุกรม วิธาน •

Proteobacteria

• Proteobacteria (cont.)

– Gamma proteobacteria

• มีแบคทเีรียที:น่ารู้จักหลายชนิด เช่น Chromatium ที:สามารถสร้างพลังงานโดยใช้ H2S ได้, Legionella ที:ทาํให้เกดิโรค Legionnaires disease, Salmonella ที:ทาํให้อาหารเป็นพษิ Vibrio cholerae ที:disease, Salmonella ที:ทาํให้อาหารเป็นพษิ Vibrio cholerae ที:ทาํให้เป็นโรคอหวิาต์ รวมทั >ง Escherichia coli ที:อยู่ในลาํไส้ของคนเรา

– Delta proteobacteria• ได้แก่แบคทเีรียที:สร้างเมือกได้ และแบคทเีรียที:กนิแบคทเีรียด้วยกันเอง

– Epsilon proteobacteria

• มีแบคทเีรียที:ทาํให้เกดิโรคในคนและในสัตว์เช่น Campylobacter และ Helicobacter pylori

25

แบคทเีรียกลุ่มอื�น

• Bacteria

– Chlamydias

• ต้องอยู่ในเซลล์โฮสต์เท่านั >นจงึจะรอด เช่น Chlamydia trachomatis

– Spirochetes

• มีเซลล์ที:บดิเป็นเกลียว บางชนิดเช่น Treponema pallidum ทาํเกิดโรคซฟิิลิส• มีเซลล์ที:บดิเป็นเกลียว บางชนิดเช่น Treponema pallidum ทาํเกิดโรคซฟิิลิส

– Gram-positive bacteria

• มีความหลากหลายสูง หลายชนิดทาํให้เกิดโรคเช่น Bacillus anthracis, Clostridium botulinum, Staphylococcus แต่หลายชนิดก็มีประโยชน์

– Cyanobacteria• แบคทเีรียที:สามารถสังเคราะห์แสงได้เหมือนพืช และเป็นต้นกาํเนิดของคลอโรพ

ลาสต์ในพชื บ้างก็สามารถตรึงไนโตรเจนจากอากาศได้ เช่น Oscillatoria

26

27

การทํางานร่วมกันของเซลล์แบบต่างๆที่อยู่กันเป็นกลุ่ม

Pseudomonas aeruginosa

• Pseudomonas aeruginosa

– Classification: Gamma

Proteobacteria

– แบคทีเรียที:พบได้ทั:วไป ทาํให้เกดิโรคในสิ:งมีชีวติ รวมทั >งในคนโรคในสิ:งมีชีวติ รวมทั >งในคน

– ทาํให้เกดิการอักเสบ และรุนแรงทั:วตัว (sepsis) และในกระแสเลือด septicemia

28

Mariana Bridi da Costawww.huffingtonpost.com

Page 8: SCBI117 NO 01 Diversity 1 2011bw - sc. · PDF fileอนุกรม วิธาน •

อาร์เคยี

• อาร์เคีย (Archaea)

– สิ:งมีชีวติที:มีเซลล์แบบโพรคารีโอต

– มีจีโนมที:แตกต่างจากแบคทีเรีย– มีจีโนมที:แตกต่างจากแบคทีเรีย

– ไม่มีสาร peptidoglycans

ในผนังเซลล์

– สารพันธุกรรม DNA เกาะตดิกับโปรตีนฮสิโตน (histones)

29

http://web.mit.edu/12.000/www/m2005/a2/fi

nalwebsite/environ/bio/archea.gif

ความหลากหลายของอาร์เคยี

• ความหลากหลายของอาร์เคีย– เครนอาร์คีโอตา Crenarchaeota

• Cren แปลว่านํ >าพุ เช่นนํ >าพุร้อน แต่ปัจจุบนัพบได้ทั:วไป

– ยูเรียอาร์คีโอตา Euryarchaeotaยูเรียอาร์คีโอตา• ในภาษากรีก eurys แปลว่ากว้าง หมายถงึการพบได้ทั:วไป

– คอราคีโอตา Korarchaeota

• ภาษากรีก koron แปลว่าหนุ่มน้อย หมายถงึอาร์เคียที:โบราณที:สุด

– นาโนอาร์คีโอตา Nanoarchaeota

• ภาษากรีก nanos แปลว่าแคระ มีขนาด 0.4 µm จีโนมขนาด 500k bpพบว่าอยู่ร่วมกับ Crenarchaeota

30

ยูคาเรีย

• ยูคาเรีย (Eukarya)

– หมายถงึกลุ่มของสิ:งมีชีวติที:มีเซลล์แบบยูคารีโอต ได้แก่ โพรตสิ พืช เหด็รา และสัตว์

• รายละเอียดเรื:องโครงสร้างของเซลล์ขอให้ไปทบทวนเอง• รายละเอียดเรื:องโครงสร้างของเซลล์ขอให้ไปทบทวนเอง

– ววิัฒนาการ• สิ:งมีชีวิตพวกยูคารีโอตน่าจะอุบตัขิึ >นบนโลกเมื:อ 1.6-2.1 พนัล้านปีก่อน

พวกแรกที:พบฟอสซลิคือสาหร่ายสีแดง

31

โพรตสิ

• โพรตสิ (Protists)

– โพรตสิเป็นชื:อกลุ่มของสิ:งมีชีวติที:เดมิเคยเป็น Kingdom Protista

• แต่ปัจจุบันนี >เลิกใช้แล้ว เนื:องจากพวกมันมีความหลากหลายเกินกว่าจะจัดอยู่ในอาณาจักรเดียวกันได้

– กลุ่มของโพรตสิ (supergroups)

• โครมาลวีโอลาตา Chromalveolata

• เอ็กคาวาตา Excavata

• ไรซาเรีย Rhizaria

• อาร์คีพลาสตดิา Archaeplastida (some species)

• ยูนิคอนตา Unikonta (some species)

32

Page 9: SCBI117 NO 01 Diversity 1 2011bw - sc. · PDF fileอนุกรม วิธาน •

33

Chromalveolata

• Chromalveolata

– มี secondary endosymbiosis จากสาหร่ายสีแดงอันเป็นต้นกาํเนิดของ chlorophyll-c plastid

– มีเซลลูโลสในผนังเซลล์– มีเซลลูโลสในผนังเซลล์• ตัวอย่างควรรู้จัก

– Superphylum Alveolata

» Phylum Ciliophora ซิลิโอฟอรา

» Phylum Apicomplexa เอพคิอมเพล็กซา

» Phylum Dinoflagellata ไดโนแฟลกเจลลา

34

Superphylum Alveolata

• Superphylum Alveolata

– การมี Alveoli อัลวีโอไล• มีลักษณะเป็นถุงอยู่ที:บริเวณใต้เยื:อหุ้ม

เซลล์ บ้างทาํหน้าที:ในการคํ >าจุนโครงสร้างเซลล์ บ้างทาํหน้าที:ในการคํ >าจุนโครงสร้างของเซลล์ หรือสร้างเกราะหุ้มเซลล์ บ้างยังไม่ทราบหน้าที:ที:แน่ชัด

– การมีแฟลกเจลลัม• หากมี, จะมีโครงสร้างแตกต่างจากพวกโพ

รตสิอื:นๆ

35

Phylum Ciliophora

• Phylum Ciliophora

– ได้แก่พวกซิลเิอต (ciliates)

– มีซีเลีย (cilia) รอบตัว ซึ:งมีโครงสร้างเหมือนแฟลกเจลลา แต่สั >นกว่า

– มีการโบกพดัซีเลียเพื:อการเคลื:อนที:แตกต่างจากพวกที:มีแฟลกเจล– มีการโบกพดัซีเลียเพื:อการเคลื:อนที:แตกต่างจากพวกที:มีแฟลกเจลลา

– ในระบบนิเวศ พบได้ทั:วไปในแหล่งนํ >าต่างๆ– เป็นผู้บริโภคลาํดบัต้นๆในระบบนิเวศ– ตัวอย่างเช่น

• พารามีเซียม

36

Page 10: SCBI117 NO 01 Diversity 1 2011bw - sc. · PDF fileอนุกรม วิธาน •

37

ตัวอย่างของ ciliates, Paramecium

Phylum Apicomplexa

• Phylum Apicomplexa

– เรียกว่าพวก apicomplexans เอพคิอมเพลก็แซนส์– มีอวัยวะพเิศษเรียก apical complex หรือ apicoplast

– เป็นสิ:งมีชีวติเซลล์เดียว สร้างสปอร์ได้ เซลล์สืบพันธุ์อาจมีแฟลกเจล– เป็นสิ:งมีชีวติเซลล์เดียว สร้างสปอร์ได้ เซลล์สืบพันธุ์อาจมีแฟลกเจลลา

– ดาํรงชีวติเป็นปรสติ– ตัวอย่างสาํคัญ

• Plasmodium spp. ทาํให้เกดิโรคมาลาเรีย• Toxoplasma gondii ทาํให้เกดิโรค toxoplasmosis

38

39

Toxoplasma gondii tachyzoites

มักไม่แสดงอาการของการตดิเชื >อในคน

40

มักไม่แสดงอาการของการตดิเชื >อในคนธรรมดา ยกเว้นการมีไข้เล็กน้อย แต่ในคนที:อ่อนแอ อาจแสดงอาการรุนแรงกว่า และอาจถงึแก่ชีวิตได้

การฝังตัวของซีสต์สามารถทาํลายเนื >อเยื:อสาํคัญเช่นระบบประสาท หวัใจ และดวงตาได้

Page 11: SCBI117 NO 01 Diversity 1 2011bw - sc. · PDF fileอนุกรม วิธาน •

Phylum Dinoflagellata

• Phylum Dinoflagellata

– ได้แก่พวก dinoflagellates ไดโนแฟลกเจลเลตส์

– ส่วนมากอยู่ในนํ >าเคม็ แต่กพ็บในนํ >าจืดได้

– ส่วนมากสังเคราะห์แสงได้ และถือเป็นผู้ผลิตกลุ่มใหญ่รองจากได– ส่วนมากสังเคราะห์แสงได้ และถือเป็นผู้ผลิตกลุ่มใหญ่รองจากไดอะตอม

– นอกจากนี >ยังดาํรงชีวติร่วมกับสิ:งมีชีวติอื:น (symbiosis) เช่นกับปะการัง

41 42Pfiesteria shumwayae

Supergroup Excavata

• Supergroup Excavata

– เรียกว่าพวก excavates

– เป็นพวกมีไมโตคอนเดรียแตกต่างจากยูคารีโอตอื:นๆ เรียกว่าเป็นพวก amitochondriateamitochondriate

– มีแฟลกเจลลาออกจากเซลล์หลายเส้น

– บางชนิดถูกจัดมาเป็น excavates จากการวเิคราะห์สารพันธุกรรม

– ตัวอย่างเช่น• Phylum Euglenozoa ได้แก่ Euglena และ Trypanosoma

• Phylum Metamonada ได้แก่ Giardia, Trichomonas

43 44

Page 12: SCBI117 NO 01 Diversity 1 2011bw - sc. · PDF fileอนุกรม วิธาน •

45Trypanosoma, the kinetoplastid that causes sleeping sickness. 46

Giardia intestinalis, a diplomonad with 2

equal nuclei and multiple flagella.

47

Trichomonas vaginalis, a parabasalid

that moves by its undulating plasma

membrane.

Supergroup Rhizaria

• Supergroup Rhizaria

– ได้แก่สิ:งมีชีวติที:เป็นมีลักษณะคล้าย Amoeba

– มีตนีเทยีม (pseudopods) ในลักษณะที:แตกต่างกัน เช่นเป็นก้อน หรือเป็นเส้น แบ่งออกเป็นไฟลัมต่างๆดงันี >เป็นก้อน หรือเป็นเส้น แบ่งออกเป็นไฟลัมต่างๆดงันี >

• Phylum Cercozoa

• Phylum Foraminifera

• Phylum Radiolaria

48

Page 13: SCBI117 NO 01 Diversity 1 2011bw - sc. · PDF fileอนุกรม วิธาน •

Phylum Cercozoa

• Phylum Cercozoa

– เรียกว่าพวก cercozoans

– หมายถงึพวกที:มีตีนเทียมแบบก้อน เรียก lobopodia

– ตัวอย่างเช่น– ตัวอย่างเช่น• Gymnamoebas

• Entamoebas

– หมายเหตุ• นอกจากนี >จะกล่าวถงึบางกลุ่มเช่น Class Chlorarachnea ได้แก่พวก

chlorarachniophytes ด้วย

49

Gymnamoebas

• Gymnamoebas

– กลุ่มสิ:งมีชีวติแบบอะมีบา

– มีเซลล์เดียว อาศัยอยู่ในดนิ และนํ >า

– กนิแบคทีเรีย และโพรตสิอื:นเป็นอาหาร– กนิแบคทีเรีย และโพรตสิอื:นเป็นอาหารหรือซากสารอนิทรีย์

– ใช้ตีนเทียม lobopodia ในการกนิแบบ phagocytosis

– ตัวอย่างเช่น Amoeba proteus

50

51

Entamoebas

• Entamoebas

– เป็นสิ:งมีชีวติแบบอะมีบา ที:มีเซลล์ขนาดเลก็– มีตีนเทียมอันเดียวทางด้านหน้าของเซลล์– ดาํรงชีวติโดยไม่ต้องใช้ออกซิเจน (anaerobic)– ดาํรงชีวติโดยไม่ต้องใช้ออกซิเจน (anaerobic)

– เป็นปรสติของสัตว์เลี >ยงลูกด้วยนม รวมทั >งมนุษย์– ทาํให้เกดิโรค amoebic dysentery (บดิมีตัว) – ตัวอย่างเช่น Entamoeba histolytica ชื:อสปีชีส์หมายถงึการ

ทาํลายเนื >อเยื:อ• สามารถเจาะผ่านลาํไส้ เข้าไปในกระแสเลือด และไปยังอวัยวะเช่นตับ หรือ

ปอดได้

52

Page 14: SCBI117 NO 01 Diversity 1 2011bw - sc. · PDF fileอนุกรม วิธาน •

53

Entamoeba histolytica cyst

http://en.wikipedia.org/wiki/File:Entamoeba_histolytica_01.jpg

Chlorarachniophytes

• Chlorarachniophytes

– สิ:งมีชีวติในไฟลัม Cercozoa คลาส Chlorarachnea

– ลักษณะที:น่าสนใจ• เป็นอะมีบาที:มีคลอโรพลาสต์ เชื:อว่าได้มาจากการกนิสาหร่ายสี เป็นอะมีบาที:มีคลอโรพลาสต์ เชื:อว่าได้มาจากการกนิสาหร่ายสี

เขียวเข้าไป• ออร์กาเนลนี >มีเยื:อหุ้ม 4 ชั >น

– ชั >นนอกสุดเป็น food vacuole

– ชั >นที:สามเป็น plasma membrane ของสาหร่ายสีเขียว– สองชั >นสุดท้ายเป็นเยื:อหุ้มชั >นในและนอกของ cyanobacterium ที:

เข้ามาเป็น symbiosis ในตอนแรก

54

55

http://en.wikipedia.org/wiki/Chlorarachniophyte

Chlorarachnion reptans

Phylum Foraminifera

• Phylum Foraminifera

– เรียกพวก forams หรือ foraminiferans

– ชื:อมาจาก Latin foramen แปลว่ารูเลก็ๆ และ ferre แปลว่ามี

– เปลือก (test) ทาํด้วยสารอินทรีย์สมานด้วยหนิปูน CaCO3– เปลือก (test) ทาํด้วยสารอินทรีย์สมานด้วยหนิปูน CaCO3

– ตีนเทียมออกมาจากรูพรุนบนเปลือกแบบ reticulose

pseudopod

– กว่า 90% ของ forams สูญพันธุ์ไปแล้ว หลงเหลือเพียงฟอสซลิ

56

Page 15: SCBI117 NO 01 Diversity 1 2011bw - sc. · PDF fileอนุกรม วิธาน •

57

Phylum Radiolaria

• Phylum Raidolaria

– หรือพวก radiolarians

– ส่วนมากอยู่ในนํ >าทะเล

– มีเปลือก (test) ทาํจากซลิกิา ซึ:งหลอมรวมกันเป็นชิ >นเดยีว– มีเปลือก (test) ทาํจากซลิกิา ซึ:งหลอมรวมกันเป็นชิ >นเดยีว• เมื:อมันตาย เปลือกจะทบัถมกันบนพื >นทะเลเรียก ooze

– มีตีนเทียมเรียก axopodia

• แผ่ออกมาจากศูนย์กลางตัว โดยมีไมโครทบูลูคํ >าจุน ไซโตพลาสซมึหุ้มโดยรอบ กนิอาหารพวกจุลชีพโดย phagocytosis

58

59

ราเมือก

• Slime mold (ราเมือก)– เป็นกลุ่มสิ:งมีชีวติที:เดมิเคยถูกจัดอยู่กับเหด็ราใน Kingdom Fungi

– ปัจจุบันเป็นสิ:งมีชีวติที:ถูกจัดจาํแนกไปอยู่กับกลุ่มของโพรตสิอื:นๆ

– ตัวอย่างสาํคัญ– ตัวอย่างสาํคัญ• Mycetozoa (อยู่ใน supergroup Amoebozoa)

– Myxogastria เช่น plasmodial slime mold

– Dictyosteliida เช่น cellular slime mold

60

Page 16: SCBI117 NO 01 Diversity 1 2011bw - sc. · PDF fileอนุกรม วิธาน •

Plasmodial Slime Mold

• Plasmodial slime mold

– ในช่วงหนึ:งของชีวติ จะอยู่ในรูปของ plasmodium

• มีลักษณะเป็นเซลล์ขนาดใหญ่ ภายในมีหลาย nuclei (2n) เป็นลักษณะของ supercell เกดิจากการแบ่งเซลล์แบบไมโทซสิแต่ไม่มีไซโตคเินซสิของ เกดิจากการแบ่งเซลล์แบบไมโทซสิแต่ไม่มีไซโตคเินซสิ

– ส่วนมามีเมด็สีสดใส พบอยู่ตามขอนไม้ผุพังในป่าเขตร้อน

– วงชีวติจะมีการสร้าง fruiting body และ spore

– ตัวอย่างเช่น Physarum polycephalum

61 62

Physarum polycephalum, a plasmodial slime mold

63

The life cycle of a plasmodial slime mold

Cellular Slime Mold

• Cellular slime mold

– ในภาวะทั:วไป จะอยู่เป็นเซลล์เดี:ยวๆเหมือนอะมีบา (haploid)

– เมื:ออาหารขาดแคลนจะเรียกมารวมตัวกันคล้ายทาก เคลื:อนที:ได้ และสร้าง fruiting body และ sporeสร้าง fruiting body และ spore

– เป็นตัวอย่างในการศกึษาการเป็น multicellular organism

– ตัวอย่างเช่น Dictyostelium discoideum

64

Page 17: SCBI117 NO 01 Diversity 1 2011bw - sc. · PDF fileอนุกรม วิธาน •

65

The life cycle of Dictyostelium,

a cellular slime mold.

References

• Textbooks

– Campbell, N. A. (2008). Biology. San Francisco,

Pearson Benjamin Cummings.

– Department of Biology (2005), Biology 2. – Department of Biology (2005), Biology 2.

Sukdisopa Publishing. Bangkok.

66