โครงการสนับสนุนการลงทุนสถานีอัดประจุไฟฟ้า...

20
โครงการสนับสนุนการลงทุนสถานีอัดประจุไฟฟ้า (Charging Station) สนับสนุนโดย กองทุนเพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน สานักงานนโยบายและแผนพลังงาน ดาเนินการโดย สมาคมยานยนต์ไฟฟ้าไทย ผศ. ดร.อมรรัตน์ แก้วประดับ 11 พฤษภาคม 2560

Upload: khangminh22

Post on 23-Jan-2023

4 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

โครงการสนับสนุนการลงทุนสถานีอัดประจุไฟฟ้า(Charging Station)

สนับสนุนโดย

กองทุนเพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน

ส านักงานนโยบายและแผนพลังงานด าเนินการโดย

สมาคมยานยนต์ไฟฟ้าไทย

ผศ. ดร.อมรรัตน์ แก้วประดับ

11 พฤษภาคม 2560

รายการน าเสนอ• ที่มาและความส าคัญ• วัตถุประสงค์• ตัวอย่างหน่วยงานท่ีเข้าร่วมโครงการ• แผนที่จัดตั้งสถานีอัดประจุไฟฟ้า• เงื่อนไขการสนับสนุนสถานีอัดประจุไฟฟ้า• แนวทางและหลักเกณฑ์การพิจารณาสนับสนุน• ก าหนดเวลารับสมัคร

Electric mobility Development Planตามที่คณะรัฐมนตรีได้มีมติเมื่อวันที่ 7 พฤษภาคม 2558 รับทราบเรื่องการส่งเสริมยานยนต์ไฟฟ้าใน

ประเทศไทยตามที่สภาปฏิรูปแห่งชาติเสนอและมอบหมายให้กระทรวงพลังงาน (พน.) เป็นหน่วยงานหลักให้รับรายงานของคณะกรรมาธิการปฏิรูปพลังงาน พร้อมทั้งสรุปความเห็นและข้อเสนอแนะของสภาปฏิรูปแห่งชาติไปพิจารณาร่วมกับหน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง ก าหนดวิธีการและแนวทางการในการปฏิบัติเพื่อส่งเสริมให้เกิดการใช้งานยานยนต์ไฟฟ้าในประเทศไทยอย่างแพร่หลาย เพื่อเป็นการปฏิรูปการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ สร้าความมั่นคงด้านพลังงาน เพิ่มทางเลือกการใช้พลังงาน และลดการพึ่งพาน้ ามันเชื้อเพลิงที่จะต้องน าเข้าจากต่างประเทศ รวมทั้งยังเป็นผลดีต่อสิ่งแวดล้อม

กระทรวงพลังงานได้หารือร่วมกับหน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้องเมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2558 เพื่อก าหนดทิศทางการส่งเสริมยานยนต์ไฟฟ้าโดยมุ่งเน้นในกลุ่มรถโดยสารสาธารณะก่อน แล้วจึงขยายผลไปสูก่ารส่งเสริมรถยนต์ไฟฟ้าส่วนบุคคลต่อไป ทั้งนี้ กระทรวงพลังงานได้วางมาตรการการส่งเสริมยานยนต์ไฟฟ้าเป็นส่วนหนึ่งในแผนอนุรักษ์พลังงาน พ.ศ. 2558 - 2579 (Energy Efficiency Plan: EEP 2015) และได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติ เมื่อวันที่ 13 สิงหาคม 2558 โดยมีเป้าหมายในการส่งเสริมเพื่อให้เกิดการใช้งานยานยนต์ไฟฟ้าในปี 2579 รวมทั้งสิ้น 1.2 ล้านคัน

Electric mobility Development Plan

โครงการสนับสนุนการลงทุนสถานีอัดประจุไฟฟ้า(Charging Station)

ดังนั้นเพื่อการด าเนินงานให้สอดคล้องกับแผนขับเคลื่อนยานยนต์ไฟฟ้าในระยะที่ 1 จึงมีแผนการส่งเสริมการใช้งานรถโดยสารสาธารณะไฟฟ้าและการจัดตั้งสถานีอัดประจุ ไฟฟ้าส าหรับส่ วนราชการ หน่วยงานรัฐวิสาหกิจ องค์การมหาชน สถาบันการศึกษาของรัฐหรือหน่วยงานของรัฐประเภทอื่นที่ไม่ใช่ส่วนราชการ และหน่วยงานภาคเอกชน ซึ่งจะด าเนินการสนับสนุนการจัดตั้งสถานีอัดประจุไฟฟ้า 100 สถานี (สถานีละ 1 หัวจ่ายหรือในกรณีที่สถานีอัดประจุไฟฟ้าใดมีจ านวนหัวจ่ายมากกว่า 1 หัวจ่าย จ านวนสถานีอัดประจุไฟฟ้าอาจลดลงได้ตามความเหมาะสม) ภายใน 3 ปีเพื่อเป็นสถานีน าร่องส าหรับรองรับยานยนต์ไฟฟ้าที่จะเพิ่มมากขึ้นในอนาคต

วัตถุประสงค์

• เพื่อสนับสนุนการลงทุนส าหรับการจัดตั้งสถานีอัดประจุไฟฟ้า ส าหรับหน่วยงานราชการ รัฐวิสาหกิจ และภาคเอกชน

• เพื่อเตรียมความพร้อมรองรับการใช้งานยานยนต์ไฟฟ้าที่จะเพิ่มขึ้นในอนาคต

• เพื่อส่งเสริมและสร้างความเชื่อมั่นต่อการใช้ยานยนต์ไฟฟ้าในประเทศไทย

• เพื่อกระตุ้นให้ประชาชนทั่วไปหันมาใช้ยานยนต์ไฟฟ้ามากขึ้น

ตัวอย่างหน่วยงานที่เข้าร่วมโครงการ

กิจกรรมในโครงการ

สมาคมยานยนต์ไฟฟ้าไทยได้จัดพิธีมอบสัญญาให้แก่หน่วยงานผ่านการคัดเลือกรอบที่ 1 ทั้งหมด 20 หน่วยงาน เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 23 กุมภาพันธ์ 2560 ที่ผ่านมา ณ ห้อง Infinity โรงแรมพูลแมน คิงเพาเวอร์ กรุงเทพฯ

โดย พลเอกอนันตพร กาญจนรัตน์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพลังงาน (พน.) เป็นประธานในพิธีมอบสัญญาแก่ผู้ได้รับการสนับสนุนโครงการสนับสนุนการลงทุนสถานีอัดประจุไฟฟ้า และ ดร.ทวารัฐ สูตะบุตร ผู้อ านวยการส านักงานนโยบายและแผนพลังงาน (สนพ.) และโฆษกกระทรวงพลังงาน เข้าร่วมพิธีมอบสัญญากองทุนเพ่ือส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน สนับสนุนการลงทุนและขับเคลื่อนสถานีอัดประจุไฟฟ้า (Charging Station) เพ่ือรองรับยานยนต์ไฟฟ้า หรือ Electric Vehicle (EV) ในประเทศไทย โดย สนพ. กระทรวงพลังงาน ได้ด าเนินการตามแผนขับเคลื่อนภารกิจด้านพลังงานเพ่ือส่งเสริมการใช้งานยานยนต์ไฟฟ้า และมอบหมายให้สมาคมยานยนต์ไฟฟ้าไทย เป็นศูนย์บริหารโครงการ จัดตั้งคณะท างานและคณะกรรมการขับเคลื่อน ท าหน้าที่ก ากับทิศทางโครงการสนับสนุนการลงทุนสถานีอัดประจุไฟฟ้า

แผนที่จัดตั้งสถานีอัดประจุไฟฟ้า รอบที่ 1

แผนที่จัดตั้งสถานีอัดประจุไฟฟ้า รอบที่ 2

แผนที่จัดตั้งสถานีอัดประจุไฟฟ้า รอบที่ 3

แผนที่จัดตั้งสถานีอัดประจุไฟฟ้า รอบที่ 1-3

เงื่อนไขการสนับสนุนสถานีอัดประจุไฟฟ้า

กลุ่มเป้าหมาย จ านวนหัวจ่าย(ระยะที่ 1)

จ านวนหัวจ่าย(ระยะที่ 2)

(1) ส่วนราชการ 20 5(2) รัฐวิสาหกิจ องค์การมหาชน สถาบันการศึกษา

ของรัฐหรือหน่วยงานของรัฐประเภทอื่นที่ไม่ใช่ส่วนราชการ

20 -

(3) เอกชน 60 45รวมหัวจ่ายประจุไฟฟ้า 100 50

1.กลุ่มเป้าหมาย ผู้มีสิทธิได้รับการสนับสนุน charging station 150 หัวจ่าย จ าแนกเป็น 3 กลุ่ม

ยกเว้น การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย การไฟฟ้านครหลวง การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค บริษัท ปตท จ ากัด (มหาชน) และหน่วยงานรัฐวิสาหกิจ องค์การมหาชน สถาบันการศึกษาของรัฐ หน่วยงานของรัฐประเภทอื่นที่ไม่ใช่ส่วนราชการ ที่ได้ติดตั้งหัวจ่ายประจุไฟฟ้า (Charger) ประเภทเดียวกันไปแล้ว

เงื่อนไขการสนับสนุนสถานีอัดประจุไฟฟ้า2. องค์ประกอบสถานีอัดประจุไฟฟ้าและราคาประเมิน มีดังนี้

องค์ประกอบ Charging stationราคาประเมิน(บาทต่อหน่วย)

(1) หัวจ่ายประจุไฟฟ้าแบบเร่งด่วน (Quick charge) ใช้เวลาในการประจุไฟฟ้าประมาณ 30 นาที อัดประจุไฟฟ้าได้สูงสุด 80% จากจ านวนเต็มความจุของแบตเตอรี่

1,000,000

(2) หัวจ่ายประจุไฟฟ้าแบบธรรมดา (Normal Charge) ใช้เวลาในการประจุไฟฟ้าประมาณ 1-8 ช่ัวโมง ขึ้นอยู่กับประเภทยีห่้อและรุ่นของรถยนต์ไฟฟ้า

100,000

(3) ค่าปรับปรุงพื้นที่บริการสถานีอัดประจุไฟฟ้าเขตหรือพื้นที่อันเป็นสถานที่หรือจุดให้บริการอัดประจุไฟฟ้า แบบ Quick หรือNormal เช่น ปรับปรุงพื้นที่ติดตั้ง Charging station ปรับปรุงระบบสายส่งไฟฟ้า ปรับปรุงพื้นที่ช่องจอดรถ เป็นต้น

900,000

เงื่อนไขการสนับสนุนสถานีอัดประจุไฟฟ้า3. การสนับสนุนการลงทุน Charging station

http://www.evat.or.th/

เงื่อนไขการสนับสนุนสถานีอัดประจุไฟฟ้า3. การสนับสนุนการลงทุน Charging station

http://www.evat.or.th/

4. การตรวจสอบและเก็บข้อมูล

หน่วยงานที่ได้รับการคัดเลือกให้เข้าร่วมโครงการฯ ต้องให้ความร่วมมือกับทางโครงการในการเข้าตรวจสอบและเก็บข้อมูลการใช้งาน เป็นเวลาอย่างน้อย 1 ปี นับจากวันที่ติดตั้งแล้วเสร็จ

ร่างแนวทางและหลักเกณฑ์การพิจารณาสนับสนุนส่วนราชการ หน่วยงานรัฐ

ประเภทอื่นเอกชน

1. แนวทางการด าเนินงาน 60% 60% 60%1.1 การคัดเลือกพื้นที่ต้ัง

1.1.1 สถานท่ีของพื้นที่ติดตั้ง1.1.2 จ านวนท่ีจอดรถของบุคลากรในหน่วยงาน1.1.3 จ านวนท่ีจอดรถสาธารณะหรือบุคคลภายนอก

1.2 แผนการใช้ประโยชน์ของสถานอีัดประจุไฟฟ้า1.2.1 หน่วยงานมีแผนการเปิดให้บริการประจไุฟฟ้าแก่บุคคลภายนอก1.2.2 หน่วยงานมีแผนการจัดซื้อ PHEV หรือ BEV หรือ หน่วยงานมีแผนการเปิดให้บริการประจุ

ไฟฟ้าแก่บุคคลภายนอก1.2.3 มีแผนประชาสัมพันธ์สถานีอัดประจุไฟฟ้า

2. แผนการด าเนินงานและรายละเอียด 20% 20% 20%2.1 ความสมบูรณ์ของรายละเอียดการตดิตั้ง

2.1.1 แผนท่ี2.1.2 แผนผังการวางและการติดตั้ง2.1.3 รูปถ่ายพื้นท่ีและบริเวณข้างเคียง2.1.4 ใบเสนอราคาจากผู้แทนจ าหน่ายอย่างเป็นทางการ

2.2 คุณลักษณะของสถานีประจุไฟฟ้าที่ติดตัง้2.3 แผนการด าเนินงานและระยะเวลาที่ด าเนินการติดตัง้2.4 ผู้รับผิดชอบในโครงการ3. งบประมาณ - 10% 10%3.1 ค่าหัวจ่ายประจุไฟฟ้าที่หน่วยงานเสนอให้พิจารณา3.2 ความพร้อมด้านงบประมาณส่วนท่ีหน่วยงานรับผิดชอบ4. อื่นๆ 20% 10% 10%4.1 พื้นที่เฉพาะที่มีความเหมาะสม เช่น Park and ride, low carbon city, smart city เป็นต้น

4.2 มีการติดตั้งหัวจ่ายประจุไฟฟ้าประเภทที่ขอในพื้นที่เป็นครั้งแรกของหน่วยงาน

รวมเกณฑ์คะแนนการพิจารณา 100% 100% 100%

http://www.evat.or.th/

คุณสมบัติหัวจ่ายประจุไฟฟ้า

http://www.evat.or.th/

ก าหนดเวลารับสมัครเข้าร่วมโครงการ

การเปิดรับสมัคร วันที่รับสมัคร วันที่ประกาศผล วันที่ท าสัญญารับทุน

รอบที่ 1 3-26 ตุลาคม 2559 15 พฤศจิกายน 2559 16-30 พฤศจิกายน 2559

รอบที่ 2 1-20 ธันวาคม 2559 15 มกราคม 2560 16-31 มกราคม 2560

รอบที่ 3 1–20 กุมภาพันธ์ 2560 15 มีนาคม 2560 16-31 มีนาคม 2560

(ร่าง)ก าหนดเวลารับสมัครเข้าร่วมโครงการ

การเปิดรับสมัคร วันที่รับสมัคร วันที่ประกาศผล วันที่ท าสัญญารับทุน

รอบที่ 1 3-26 ตุลาคม 2559 15 พฤศจิกายน 2559 16-30 พฤศจิกายน 2559

รอบที่ 2 1-20 ธันวาคม 2559 15 มกราคม 2560 16-31 มกราคม 2560

รอบที่ 3 1–20 กุมภาพันธ์ 2560 15 มีนาคม 2560 16-31 มีนาคม 2560

รอบที่ 4 กรกฎาคม 2560รอประกาศจาก EVAT

สิงหาคม 2560รอประกาศจาก EVAT

กันยายน 2560รอประกาศจาก EVAT

รอบที่ 5 ตุลาคม 2560รอประกาศจาก EVAT

พฤศจิกายน 2560รอประกาศจาก EVAT

ธันวาคม 2560รอประกาศจาก EVAT

สนใจติดต่อสอบถามได้ตามรายละเอียดนี้

สมาคมยานยนต์ไฟฟ้าไทยโครงการสนับสนุนสถานีอัดประจุไฟฟ้าอาคารเคเอ็กซ์ ชั้น 12 เลขที่ 110/1ถนนกรุงธนบุรี แขวงบางล าพูล่างเขตคลองสาน กรุงเทพฯ 10600โทร. 086-390-3339

http://www.evat.or.th/