dhammaratana journal no.11 - วารสารธรรมรัตน์ ฉบับที่ 11

22
Dhammaratana Journal Vol.3 No.11 July-September 2014 ปีที่ ๓ ฉบับที่ ๑๑ เดือนก.ค.-ก.ย. ๒๕๕๗ วารสารธรรมรัตน์ 28 ก.ย. 2557 ขอเชิญพุทธศาสนิกชนร่วมทำาบุญ ครบรอบ 3 ปวัด / วันสารท ณ วัดป่าธรรมรัตน์ พิทส์เบิร์ก - ทำ�บุญให้บรรพชน - สวดมนต์,ทำ�สม�ธิ - ตักบ�ตรข้�วสุก - ฟังเทศน์ - ทำ�บุญครบรอบ 3ปีวัด ขอเชิญร่วม... Join us to celebrate 3 rd Anniversary of Temple & Sart Ceremony Sunday, September 28, 2014 All Members are welcome

Upload: watpadhammaratana-pittsburgh

Post on 20-Jun-2015

140 views

Category:

Spiritual


2 download

DESCRIPTION

วารสารธรรมรัตน์รายไตรมาส ฉบับที่ 11 เป็นกระบอกเสียงธรรมะและกิจกรรมบุญของวัดป่าธรรมรัตน์ เมืองพิทส์เบิร์ก สหรัฐอเมริกา

TRANSCRIPT

Page 1: Dhammaratana journal No.11 - วารสารธรรมรัตน์ ฉบับที่ 11

Dhammaratana Journal

Vol.3 No.11 July-September 2014 ปีที่ ๓ ฉบับที่ ๑๑ เดือนก.ค.-ก.ย. ๒๕๕๗

วารสารธรรมร ั ตน ์

28ก.ย.2557

ขอเชิญพุทธศาสนิกชนร่วมทำาบุญครบรอบ 3 ปีวัด / วันสารท

ณ วัดป่าธรรมรัตน์ พิทส์เบิร์ก

- ทำ�บุญให้บรรพชน

- สวดมนต์,ทำ�สม�ธ ิ

- ตักบ�ตรข้�วสุก

- ฟังเทศน์

- ทำ�บุญครบรอบ 3ปีวัด

ข อ เ ช ิ ญ ร ่ ว ม . . .

Join us to celebrate3rd Anniversary of Temple &

Sart CeremonySunday, September 28, 2014All Members are welcome

Page 2: Dhammaratana journal No.11 - วารสารธรรมรัตน์ ฉบับที่ 11

ธรรมรัตน์ Dhammaratana ธรรมรัตน์ Dhammaratana

C O N T E N T Sส า ร บ ั ญ

OBJECTIVES

- To serve as a Buddhism

promotion center in the U.S.

- To serve as a meditation

center in Pittsburgh

- To promote virtues, Bud-

dhist culture and traditions

- To be a center of all Bud-

dhists, regardless of nationalities

วัตถุประสงค์ - เพื่อเป็นศูนย์กลางการเผยแผ่

พระพุทธศาสนาในสหรัฐอเมริกา

- เพื่อเป็นศูนย์ปฏิบัติวิปัสสนา

กรรมฐานประจำาเมืองพิทส์เบอร์ก

- เพื่อศูนย์ส่งเสริม ศีลธรรม

วัฒนธรรม ขนบธรรมเนียม ประเพณีที่

ดีงามของชาวพุทธ

- เพื่อเป็นศูนย์ฝึกอบรมเสริม

ความรู้พระธรรมทูตสายต่างประเทศ

- เพื่อเป็นศูนย์รวมใจของชาว

พุทธโดยไม่จำากัดเชื้อชาติ

บทบรรณาธิการ

พระพุทธพจน์ - The Buddha's Words 1

The Benefit of Walking Meditation 2

8 เหตุผลดีๆ ของการเขียนเล่าเรื่องตัวเอง 14

อาบน้ำาล้างบาป 17

สรุปข่าวเดือนเมษายน-พฤษภาคม-มิถุนายน 19

รายรับ-รายจ่ายเดือนเมษายน-สิงหาคม 22

ญาติโยมผู้ถวายภัตตาหารเพลประจำาวันต่างๆ 31

ภาพกิจกรรมต่างๆ - Activities 32-35

Sart and 3rd Anniversary of Wat 36

ทำาบุญวันสารท - ครบรอบ 3 ปีวัด 37

กิจกรรมทำาบุญประจำาปี 2557 - Religious Ceremony 2014 38

Activities of BMCP 39

วัดป่าธรรมรัตน์ก้�วย่�งแห่งก�รฝึกตน

คติธรรมประจำาวัดสติมโต สท� ภทฺทำ

คนมีสติ เท่�กับมีสิ่งนำ�โชคตลอดเวล�

The mind is very hard to checkand swift, it falls on what it wants.

The training of the mind is good,a mind so tamed brings happiness.

เจ้าของ : วัดป่าธรรมรัตน์ พิทส์เบิร์กที่ปรึกษา : พระวิเทศธรรมรังษี(หลวงตาชี) พระราชพุทธิวิเทศ พระครูปริยัติธรรมาภิราม พระครูสิริอรรถวิเทศ พระครูสังฆรักษ์อำาพล สุธีโร คณะสงฆ์วัดไทยกรุงวอชิงตัน,ดีซี คณะสงฆ์วัดป่าสันติธรรม

กองบรรณาธิการ : คณะสงฆ์ และอุบาสกอุบาสิกา

รูปเล่ม/รูปภาพ พระมหาปิยะ อุตฺตมปญฺโญ

Dhammaratana Journal is published byWat PadhammaratanaThe Buddhist Meditation Center of PittsburghMonroeville Blvd, Monroeville, PA 15146Tel(412)229-8128, 412-326-7373E-mail : [email protected]@yahoo.comHomepage : www.bmcpitts.orgwww.facebook.com/bmcpittswww.youtube.com/watpadhammaratana

ธรรมรัตน์-Dhammaratanaวารสารธรรมะวัดป่าธรรมรัตน์ พิทส์เบิร์ก

Vol.3 No.11 July-September 2014 ปีที่ ๓ ฉบับที่ ๑๑ เดือนก.ค.-ก.ย. ๒๕๕๗

Page 3: Dhammaratana journal No.11 - วารสารธรรมรัตน์ ฉบับที่ 11

ธรรมรัตน์ Dhammaratana ธรรมรัตน์ Dhammaratana1

พระพุทธพจน์ The Buddha's Words

กุมฺภูปมำ ก�ยมิมำ วิทิตฺว� นครูปมำ จิตฺตมิทำ ถเกตฺว�

โยเชถ ม�รำ ปญฺญ�วุเธน ชิตญฺจ รกฺเข อนิเวสโน สิย� ฯ๔๐ฯ

เมื่อรู้ว่าร่างกายนี้แตกดับง่ายเหมือนหม้อน้ำา พึงป้องกัน

จิตให้มั่นเหมือนป้องกันเมืองหลวงแล้วพึงรบกับพญามารด้วย

อาวุธคือปัญญา เมื่อรบชนะแล้วพึงรักษาชัยชนะนั้นไว้

ระวังอย่าให้ตกอยู่ในอำานาจมารอีก

Realizing that this body is fragile as a pot,

Establishing one's mind as firm as a fortified city,

Let one attack Mara with the weapon of wisdom.

After victory let one guard one's conquest

And afford no rest to Mara.

บทบรรณาธิการ “ดูก่อนราหุล เธอจงเจริญภาวนา(อบรมจิต)เสมอด้วยแผ่นดินเถิด เพราะ

เมื่อเธอเจริญภาวนาเสมอด้วยแผ่นดินอยู่ ผัสสะอันเป็นที่ชอบใจและไม่ชอบใจที่

เกิดขึ้นแล้ว จักไม่ครอบงำาจิตได้

ดูก่อนราหุล เปรียบเหมือนคนทั้งหลายทิ้งของสะอาดบ้าง ไม่สะอาดบ้าง คูถบ้าง

มูตรบ้าง น้ำาลายบ้าง น้ำาหนองบ้าง เลือกบ้าง ลงที่แผ่นดิน แผ่นดินจะอึดอัด หรือ

ระอา หรือเกลียดด้วยของนั้น ก็หาไม่ฉันใด เธอจงเจริญภาวนาเสมอด้วยแผ่นดิน

นั้น ฉันนั้นแล”

พรรษาปีนี้ที่วัดป่าธรรมรัตน์มีพระสงฆ์อธิษฐานจำาพรรษา 3 รูป คือ พระ

มหาปิยะ อุตฺตมปญฺโญ, พระมหาสายันต์ อคฺควณฺโณ, และพระมหาพิรุฬห์ พทฺธ

สีโล ปีนี้ต่างจากปีที่แล้วที่เราได้ย้ายมาจำาพรรษา ณ สถานที่แห่งใหม่ซึ่งอาจจะไม่

ยังไม่คุ้นชินกับญาติโยมมากนัก แต่เวลาช่างผ่านไปรวดเร็วจนอีกประมาณหนึ่ง

เดือนก็จะออกพรรษาแล้ว

ในรอบ 4 เดือนที่ผ่านมา คือ เดือนเมษายน, พฤษภาคม, มิถุนายน และ

กรกฎาคมนั้น ทางวัดมีกิจกรรมบำาเพ็ญประโยชน์มากมายท้ังภายนอกภายในวัด

งานหลักๆ ของวัด คือ การเผยแผ่พระศาสนาในเรือนจำา ๓ แห่งในมลรัฐเพ็นซิลวา

เนีย และการสอนสมาธิแก่บุคคลทั่วไปผู้มีคนสนใจ, เดือนเมษายนจัดทำาบุญประ

เพณีสงกรานต์, เดือนพฤษภาคมจัดงานวันวิสาขบูชานานาชาติร่วมกับชาวพุทธ

เมืองพิทส์เบิร์กเป็นครั้งที่ 6, เดือนมิถุนายนร่วมทำาบุญอายุวัฒนมงคล 89 ปีหลวง

ตาชีของพวกเรา และประชุมพระธรรมทูตทั่วสหรัฐอเมริกาท่ีวัดนวมินทรราชูทิศ,

ส่วนเดือนกรกฎาคมมีทำาบุญเข้าพรรษา เป็นต้น

กิจกรรมบุญที่จะเกิดขึ้นในเดือนกันยายนจะมีการทำาบุญวันสารทอุทิศให้

บรรพบุรุษผู้ล่วงลับไปแล้ว และครบรอบ 3 ปีวัดป่าธรรมรัตน์ และเดือนตุลาคมจะ

มีการทำาบุญทอดกฐินสามัคคีวันอาทิตย์ที่ 19 ตุลาคม 2557 จึงขอเรียนเชิญญาติโยม

ทุกท่านไว้ล่วงหน้า

ทุกวันมีการสวดมนต์นั่งสมาธิเช้า-เย็น ถ้าญาติโยมท่านใดประสงค์จะมา

ร่วมสวดมนต์นั่งสมาธิ และสนทนาธรรมกับพระสงฆ์สามารถมาร่วมได้ตลอด

เวลา ก่อนจะมาก็โทรศัพท์มาสอบถามทางวัดก่อนเพื่อความแน่ใจว่าพระสงฆ์ไม่

ติดกิจนิมนต์นอกวัด และติดตามกิจกรรมต่างๆได้ที่เว็บไซด์และเฟสบุ๊กของวัด

ด้วยไมตรีธรรม

Page 4: Dhammaratana journal No.11 - วารสารธรรมรัตน์ ฉบับที่ 11

ธรรมรัตน์ Dhammaratana ธรรมรัตน์ Dhammaratana2 3

At our meditation retreats, yogis practice mindfulness in four different postures. They practice mindfulness when walking, when standing, when sitting, and when lying down. They must sustain mindfulness at all times in whatever position they are in. The primary posture for mindfulness meditation is sitting with legs crossed, but because the human body cannot tolerate this position for many hours without changing, we alternate periods of sitting meditation with periods of walking meditation. Since walking meditation is very important, I would like to discuss its nature, its significance, and the benefits derived from its practice. The practice of mindfulness meditation can be compared to boiling water. If one wants to boil water, one puts the water in a kettle, puts the kettle on a stove, and then turns the heat on. But if the heat is turned off, even for an instant, the water will not boil, even though the heat is turned on again later. If one continues to turn the heat on and off again, the water will never boil. In the same way, if there are gaps between the moments of mindfulness, one cannot gain momentum, and so one cannot attain concentration.

THE BENEFITS OF WALKING MEDITATION by Sayadaw U Silananda

That is why yogis at our retreats are instructed to practice mindful-ness all the time that they are awake, from the moment they wake up in the morning until they fall asleep at night. Consequently, walking meditation is integral to the continuous development of mindfulness. U n f o r t u -nately, I have heard people criticize walking medita-tion, claiming that they cannot derive any benefits or good results from it. But it was the Buddha himself who first taught walking meditation. In the Great Discourse on the Foundations of Mindfulness, the Buddha taught walking meditation two times. In the section called "Postures," he said that a monk knows "I am walking" when he is walking, knows "I am standing" when he is standing, knows "I am sitting" when he is sitting, and knows "I am lying down" when he is lying down. In another section called "Clear Comprehension," the Buddha said, "A monk applies clear comprehension in going forward and in going back." Clear com-prehension means the correct understanding of what one observes. To correctly understand what is observed, a yogi must gain con-centration, and in order to gain concentration, he must apply mind-fulness. Therefore, when the Buddha said, "Monks, apply clear comprehension," we must understood that not only clear compre-hension must be applied, but also mindfulness and concentration. Thus the Buddha was instructing meditators to apply mindfulness, concentration, and clear comprehension while walking, while "go-ing forward and back." Walking meditation is thus an important part of this process. Although it is not recorded in this sutta that the Buddha

Page 5: Dhammaratana journal No.11 - วารสารธรรมรัตน์ ฉบับที่ 11

ธรรมรัตน์ Dhammaratana ธรรมรัตน์ Dhammaratana4 5gave detailed and specific instructions for walking meditation, we believe that he must have given such instructions at some time. Those instructions must have been learned by the Buddha's dis-ciples and passed on through successive generations. In addition, teachers of ancient times must have formulated instructions based on their own practice. At the present time, we have a very detailed set of instructions on how to practice walking meditation. Let us now talk specifically about the practice of walking meditation. If you are a complete beginner, the teacher may in-struct you to be mindful of only one thing during walking medita-tion: to be mindful of the act of stepping while you make a note silently in the mind, "stepping, stepping, stepping," or "left, right, left, right." You may walk at a slower speed than normal during this practice.

After a few hours, or after a day or two of meditation, you may be instructed to be mindful of two occurrences: (i) stepping, and (ii) putting down the foot, while mak-ing the mental note "stepping, putting down." You will try

to be mindful of two stages in the step: "stepping, putting down; stepping, putting down." Later, you may be instructed to be mind-ful of three stages: (i) lifting the foot; (ii) moving or pushing the foot forward; and (iii) putting the foot down. Still later, you would be instructed to be mindful of four stages in each step: (i) lifting the foot; (ii) moving it forward; (iii) putting it down; and (iv) touching or pressing the foot on the ground. You would be instructed to be completely mindful and to make a mental note of these four stages of the foot's movement: "lifting, moving forward, putting down,

pressing the ground." At first yogis may find it difficult to slow down, but as they are instructed to pay close attention to all of the movements in-volved, and as they actually pay closer and closer attention, they will automatically slow down. They do not have to slow down de-liberately, but as they pay closer attention, slowing down comes to them automatically. When driving on the freeway, one may be driving at sixty or seventy or even eighty miles per hour. Driving at that speed, one will not be able to read some of the signs on the road. If one wants to read those signs, it is necessary to slow down. Nobody has to say, "Slow down!" but thedriver will automatically slow down in order to see the signs. In the same way, if yogis want to pay closer attention to the movements of lifting, moving forward, putting down, and pressing the ground, they will auto-matically slow down. Only when they slow down can they be truly mindful and fully aware of these movements. Although yogis pay close attention and slow down, they may not see all of the movements and stages clearly. The stages may not yet be well-defined in the mind, and they may seem to constitute only one continuous movement. As concentration grows stronger, yogis will observe more and more clearly these different stages in one step; the four stages at least will be easier to distin-guish. Yogis will know distinctly that the lifting movement is not mixed with the moving forward movement, and they will know that the moving forward movement is not mixed with either the lifting movement or the putting down movement. They will un-derstand all movements clearly and distinctly. Whatever they are mindful and aware of will be very clear in their minds. As yogis carry on the practice, they will observe much more. When they lift their foot, they will experience the light-ness of the foot. When they push the foot forward, they will notice the movement from one place to another. When they put the foot down, they will feel the heaviness of the foot, because the foot be-comes heavier and heavier as it descends. When they put the foot on the ground, they will feel the touch of the heel of the foot on the

Page 6: Dhammaratana journal No.11 - วารสารธรรมรัตน์ ฉบับที่ 11

ธรรมรัตน์ Dhammaratana ธรรมรัตน์ Dhammaratana6 7ground. Therefore, along with observing lifting, moving forward, putting down, and pressing the ground, yogis will also perceive the lightness of the rising foot, the motion of the foot, the heaviness of the descending foot, and then the touching of the foot, which is the hardness or softness of the foot on the ground. When yogis perceive these processes, they are perceiving the four essential ele-ments (in Pali, dhatu). The four essential elements are: the element of earth, the element of water, the element of fire, and the element of air. By paying close attention to these four stages of walking meditation, the four elements in their true essence are perceived, not merely as concepts, but as actual processes, as ultimate reali-ties. Let us go into a little more detail about the characteristics of the elements in walking meditation. In the first movement, that is, the lifting of the foot, yogis perceive lightness, and when they perceive lightness, they virtually perceive the fire element. One aspect of the fire element is that of making things lighter, and as things become lighter, they rise. In the perception of the lightness in the upward movement of the foot, yogis perceive the essence of the fire element. But in the lifting of the foot there is also, besides lightness, movement. Movement is one aspect of the air element. But lightness, the fire element, is dominant, so we can say that in the stage of lifting the fire element is primary, and the air element is secondary. These two elements are perceived by yogis when they pay close attention to the lifting of the foot.The next stage is moving the foot forward. In moving the foot for-ward, the dominant element is the air element, because motion is one of the primary characteristics of the air element. So, when they pay close attention to the moving forward of the foot in walking meditation, yogis are virtually perceiving the essence of the air element. The next stage is the movement of putting the foot down. When yogis put their foot down, there is a kind of heaviness in the foot. Heaviness is a characteristic of the water element, as is trick-

ling and oozing. When liquid is heavy, it oozes. So when yogis perceive the heaviness of the foot, they virtually perceive the water element. In press-ing the foot on the ground, yogis will perceive the hard-ness or softness of the foot on the ground. This per-tains to the nature of the earth ele-ment. By paying close attention to the pressing of the foot against the ground, yogis virtually perceive the nature of the earth element.Thus we see that in just one step, yogis can perceive many pro-cesses. They can perceive the four elements and the nature of the four elements. Only those who practice can ever hope to see these things. As yogis continue to practice walking meditation, they will come to realize that, with every movement, there is also the noting mind, the awareness of the movement. There is the lifting movement and also the mind that is aware of that lifting. In the next moment, there is the moving forward movement and also the mind that is aware of the movement. Moreover, yogis will real-ize that both the movement and the awareness arise and disappear in that moment. In the next moment, there is the putting down movement and so also the awareness of the movement, and both arise and disappear in that moment of putting the foot down on the ground. The same process occurs with the pressing of the foot: there is the pressing and the awareness of pressing. In this way, yogis understand that along with the movement of the foot, there are also the moments of awareness. The moments of awareness

Page 7: Dhammaratana journal No.11 - วารสารธรรมรัตน์ ฉบับที่ 11

ธรรมรัตน์ Dhammaratana ธรรมรัตน์ Dhammaratana8 9are called, in Pali, nama, mind, and the movement of the foot is called rupa,matter. So yogis will perceive mind and matter rising and disappearing at every moment. At one moment there is the lifting of the foot and the awareness of the lifting, and at the next moment there is the movement forward and the awareness of that movement, and so on. These can be understood as a pair, mind and matter, which arise and disappear at every moment. Thus yogis advance to the perception of the pairwise occurrence of mind and matter at every moment of observation, that is, if they pay close attention.

Another thing that yogis will dis-cover is the role of intention in ef-fecting each move-ment. They will realize that they lift their foot because they want to, move the foot forward because they want

to, put it down because they want to, press the foot against the ground because they want to. That is, they realize that an inten-tion precedes every movement. After the intention to lift, lifting occurs. They come to understand the conditionality of all of these occurrences — these movements never occur by themselves, with-out conditions. These movements are not created by any deity or any authority, and these movements never happen without a cause. There is a cause or condition for every movement, and that con-dition is the intention preceding each movement. This is another discovery yogis make when they pay close attention. When yogis understand the conditionality of all move-ments, and that these movements are not created by any author-ity or any god, then they will understand that they are created by intention. They will understand that intention is the condition for

the movement to occur. Thus the relationship of conditioning and conditioned, of cause and effect, is understood. On the basis of this understanding, yogis can remove doubt about nama and rupa by understanding that nama and rupa do not arise without conditions. With the clear understanding of the conditionality of things, and with the transcendence of doubt aboutnama and rupa, a yogi is said to reach the stage of a "lesser sotapanna. " A sotapanna is a "stream-enterer," a person who has reached the first stage of enlightenment. A "lesser sotapanna" is not a true stream-enterer but is said to be assured of rebirth in a happy realm of existence, such as in the realms of human beings and devas. That is, a lesser sotapanna cannot be reborn in one of the four woeful states, in one of the hells or animal realms. This state of lesser so-tapanna can be reached just by practicing walking meditation, just by paying close attention to the movements involved in a step. This is the great benefit of practicing walking meditation. This stage is not easy to reach, but once yogis reach it, they can be assured that they will be reborn in a happy state, unless, of course, they fall from that stage. When yogis comprehend mind and matter arising and dis-appearing at every moment, then they will come to comprehend the impermanence of the processes of lifting the foot, and they will also comprehend the impermanence of the awareness of that lifting. The occurrence of disappearing after arising is a mark or characteristic by which we understand that something is imperma-nent. If we want to determine whether something is impermanent or permanent, we must try to see, through the power of meditation, whether or not that thing is subject to the process of coming into being and then disappearing. If our meditation is powerful enough to enable us to see the arising and disappearing of phenomena, then we can decide that the phenomena observed are impermanent. In this way, yogis observe that there is the lifting movement and awareness of that movement, and then that sequence disappears, giving way to the pushing forward movement and the awareness of pushing forward. These movements simply arise and disappear,

Page 8: Dhammaratana journal No.11 - วารสารธรรมรัตน์ ฉบับที่ 11

ธรรมรัตน์ Dhammaratana ธรรมรัตน์ Dhammaratana10 11arise and disappear, and this process yogis can comprehend by themselves — they do not have to accept this on trust from any ex-ternal authority, nor do they have to believe in the report of another person. When yogis comprehend that mind and matter arise and disappear, they understand that mind and matter are impermanent. When they see that they are impermanent, they next understand that they are unsatisfactory because they are always oppressed by constant arising and disappearing. After comprehending imperma-nence and the unsatisfactory nature of things, they observe that there can be no mastery over these things; that is, yogis realize that there is no self or soul within that can order them to be perma-nent. Things just arise and disappear according to natural law. By comprehending this, yogis comprehend the third characteristic of conditioned phenomena, the characteristic of anatta, the character-istic that things have no self. One of the meanings of anatta is no mastery — meaning that nothing, no entity, no soul, no power, has mastery over the nature of things. Thus, by this time, yogis have comprehended the three characteristics of all conditioned phenom-ena: impermanence, suffering, and the non-self nature of things — in Pali, anicca, dukkha, andanatta. Yogis can comprehend these three characteristics by ob-serving closely the mere lifting of the foot and the awareness of the lifting of the foot. By paying close attention to the movements, they see things arising and disappearing, and consequently they see for themselves the impermanent, unsatisfactory, and non-self nature of all conditioned phenomena. Now let us examine in more detail the movements of walk-ing meditation. Suppose one were to take a moving picture of the lifting of the foot. Suppose further that the lifting of the foot takes one second, and let us say that the camera can take thirty-six frames per second. After taking the picture, if we were to look at the separate frames, we would realize that within what we thought was one lifting movement, there are actually thirty-six movements. The image in each frame is slightly different from the images in

the other frames, though the difference will usually be so slight that we can barely notice it. But what if the camera could take one thousand frames per second? Then there would be one thousand movements in just one lifting movement, although the movements would be almost impossible to differentiate. If the camera could take one million frames per second — which may be impossible now, but someday may happen — then there would be one million movements in what we thought to be only one movement. Our effort in walking meditation is to see our move-ments as closely as the camera sees them, frame by frame. We also want to observe the awareness and in-tention preceding each movement. We can also appreciate the power of the Buddha's wisdom and insight, by which he actually saw all of the movements. When we use the word "see" or "observe" to refer to our own situation, we mean that we see directly and also by inference; we may not be able to see directly all of the millions of movements as did the Buddha. Before yogis begin practicing walking meditation, they may have thought that a step is just one movement. After medita-tion on that movement, they observe that there are at least four movements, and if they go deeper, they will understand that even one of these four movements consists of millions of tiny move-ments. They see nama and rupa, mind and matter, arising and dis-appearing, as impermanent. By our ordinary perception, we are not able to see the impermanence of things because impermanence is hidden by the illusion of continuity. We think that we see only one continuous movement, but if we look closely we will see that

Page 9: Dhammaratana journal No.11 - วารสารธรรมรัตน์ ฉบับที่ 11

ธรรมรัตน์ Dhammaratana ธรรมรัตน์ Dhammaratana12 13the illusion of continuity can be broken. It can be broken by the direct observation of physical phenomena bit by bit, segment by segment, as they originate and disintegrate. The value of medita-tion lies in our ability to remove the cloak of continuity in order to discover the real nature of impermanence. Yogis can discover the nature of impermanence directly through their own effort.

After realiz-ing that things are composed of seg-ments, that they oc-cur in bits, and af-ter observing these segments one by one, yogis will re-alize that there is really nothing in this world to be at-tached to, nothing

to crave for. If we see that something which we once thought beau-tiful has holes, that it is decaying and disintegrating, we will lose interest in it. For example, we may see a beautiful painting on a canvas. We think of the paint and canvas conceptually as a whole, solid thing. But if we were to put the painting under a powerful mi-croscope, we would see that the picture is not solid — it has many holes and spaces. After seeing the picture as composed largely of spaces, we would lose interest in it and we would cease being at-tached to it. Modern physicists know this idea well. They have ob-served, with powerful instruments, that matter is just a vibration of particles and energy constantly changing — there is nothing sub-stantial to it at all. By the realization of this endless impermanence, yogis understand that there is really nothing to crave for, nothing to hold on to in the entire world of phenomena. Now we can understand the reasons for practicing medita-tion. We practice meditation because we want to remove attach-ment and craving for objects. It is by comprehending the three

characteristics of existence — impermanence, suffering, and the non-self nature of things — that we remove craving. We want to remove craving because we do not want to suffer. As long as there is craving and attachment, there will always be suffering. If we do not want to suffer, we must remove craving and attachment. We must comprehend that all things are just mind and matter aris-ing and disappearing, that things are insubstantial. Once we realize this, we will be able to remove attachment to things. As long as we do not realize this, however much we read books or attend talks or talk about removing attachment, we will not be able to get rid of attachment. It is necessary to have the direct experience that all conditioned things are marked by the three characteristics. Hence we must pay close at-tention when we are walking, just as we do when we are sitting or ly-ing down. I am not trying to say that walking meditation alone can give us ultimate realization and the ability to remove attachment entirely, but it is neverthe-less as valid a practice as sitting meditation or any other kind of vipassana (insight) meditation. Walking meditation is conducive to spiritual development. It is as powerful as mindfulness of breath-ing or mindfulness of the rising and falling of the abdomen. It is an efficient tool to help us remove mental defilements. Walking meditation can help us gain insight into the nature of things, and we should practice it as diligently as we practice sitting meditation or any other kind of meditation. By the practice of vipassana medi-tation in all postures, including the walking posture, may you and all yogis be able to attain total purification in this very life!

Page 10: Dhammaratana journal No.11 - วารสารธรรมรัตน์ ฉบับที่ 11

ธรรมรัตน์ Dhammaratana ธรรมรัตน์ Dhammaratana14 15

การเขียนเล่าเรื่องของตัวเองมีผลดีต่อสุขภาพจิตนะเออ นอกจาก

จะทำาให้เราไม่เครียดแล้วยังช่วยกระตุ้นความทรงจำาอีกด้วย

เชื่อว่าคงมีคนจำานวนไม่น้อยท่ีบางคร้ังก็มีเรื่องมากมายที่อยากจะ

ระบายออกมาแต่ไม่สามารถบรรยายออกมาเป็นคำาพูดได้ หรือมีเรื่องที่

อยากจะจดจำาเอาไว้แต่ก็กลัวว่าซักวันอาจจะลืมมัน และการเขียนนี่ล่ะเป็น

วิธีที่ดีที่สุดที่จะทำาให้คุณได้เล่าเรื่องทุกอย่างที่คุณต้องการบอก แถมยัง

เป็นการแบ่งปันประสบการณ์ได้อีกด้วย อย่างที่เว็บไซต์ mindbodygreen.

com ได้บอกเหตุผลดี ๆ ว่าทำาไมเราถึงควรเขียนเล่าเรื่องเกี่ยวกับตัวเองมา

เล่าสู่กันฟังค่ะ มาดูกันดีกว่ามีอะไรบ้าง

ทำ�ให้เร�มีสติม�กขึ้น

การเขียนนั้นเป็นการย้ำาเตือนในสิ่งที่เรามีอยู่ ไม่ว่าจะเป็น

ครอบครัว เพื่อน หรือความสัมพันธ์กับคนอื่น ๆ และสำาหรับคนที่รู้สึกว่า

กำาลังสูญเสียอะไรบางอย่างไป การเขียนเล่าเรื่องนั้นจะยิ่งเป็นผลดีเลยล่ะ

เพราะมันสามารถให้เรารู้สึกดีขึ้น และทำาให้นึกถึงสิ่งท่ีมีมากกว่าสิ่งที่สูญ

เสียไป

ส�ม�รถสร้�งคว�มเชื่อมั่นให้ตนเองได้

เมื่อเราคิดอยากจะเขียนไม่ว่าจะเรื่องใดก็ตาม แน่นอนว่ามันต้อง

ใช้ความกล้าในการเขียนสิ่ง ๆ นั้น และการเขียนเล่าเรื่องนั้นก็เป็นจุดเริ่ม

ต้นที่ดีที่จะทำาให้เรากล้าที่จะเขียนและบอกเล่าสิ่งต่าง ๆ มากขึ้น

เริ่มต้นสร้�งคว�มหม�ยของชีวิตได้ผ่�นก�รเขียน

คงมีคนจำานวนไม่น้อยที่เคยหลงทางอยู่ในความวุ่นวาย โดยที่ไม่รู้

ว่าเพราะเหตุใดจึงต้องพบกับเหตุการณ์วุ่นวายเหล่านี้ การเขียนเล่าเรื่อง

นั้นจะทำาให้เราสามารถเรียบเรียงความคิดและเหตุการณ์ทุกอย่างได้ และ

จะทำาให้เรารู้ถึงความหมายของเหตุการณ์เหล่านั้น Viktor Frankl ผู้รอด

ชีวิตจากการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ชาวยิว, ผู้เขียนหนังสือ Man’s Search for

Meaning และค้นพบ "จิตบำาบัดแนวความหมายในชีวิต" ได้เปิดเผยว่า

ความหมายของชีวิตนั้นไม่ได้เกิดจากประสบการณ์ที่ผ่านมา แต่ที่จริงแล้ว

ความหมายของชีวิตคือการกระทำาของเราในช่วงเวลาของชีวิตของเราต่าง

หาก

เป็นจุดเริ่มต้นของก�รสร้�งคว�มสัมพันธ์ได้

แม้ว่าเราจะเขียนเพื่อตัวเราเอง แต่จริง ๆ แล้วการเขียนเล่าเรื่อง

เป็นการเขียนเพื่อแบ่งปันข้อคิด หรือความรู้สึกให้ผู้อื่นได้รับรู้ ซึ่งเรื่อง

ราวเหล่านี้จะช่วยทำาให้เราได้ติดต่อกับผู้อื่นและสร้างความสัมพันธ์ได้

ถ้าหากใครที่กำาลังรู้สึกโดดเด่ียวลองใช้เร่ืองราวของเราในการสร้างความ

8 เหตุผลดี ๆ ของการเขียนเล่าเรื่องตัวเองเรียบเรียงข้อมูลโดยกระปุกดอทคอม

Page 11: Dhammaratana journal No.11 - วารสารธรรมรัตน์ ฉบับที่ 11

ธรรมรัตน์ Dhammaratana ธรรมรัตน์ Dhammaratana16 17

สัมพันธ์กับผู้อื่นดูสิคะ

ช่วยระบ�ยและเยียวย�จิตใจได้

การเขียนเล่าเรื่องสามารถเยียวยาบาดแผลในจิตใจท่ีเกิดขึ้นได้

และเมื่อบาดแผลในจิตใจนั้นดีขึ้นก็จะทำาให้อาการเจ็บป่วยดีขึ้นได้ โดย

ดอกเตอร์ Lewis Mehl-Madrona แพทย์ผู้เชี่ยวชาญและผู้เขียนหนังสือ

Narrative Medicine ได้ใช้วิธีการเล่าเรื่องเพื่อช่วยรักษาผู้ป่วยจากโรคร้าย

และมีบาดแผลในจิตใจ โดยให้ผู้ป่วยนั้นเขียนเล่าเรื่องอาการบาดเจ็บของ

ตนเอง ซึ่งพบว่าเมื่อมีการบอกเล่าเรื่องที่เจ็บปวดออกไปแล้วก็ทำาให้ผู้ป่วย

รู้สึกสบายใจและบาดแผลทางจิตใจก็จะได้รับการรักษา ทำาให้มีอาการที่ดี

ขึ้น

เพชรจ�ก......พระไตรปิฎกวัตถูปมสูตร มู. ม. (๙๘)

ปัญห� ลัทธิพราหมณ์ถือว่า กระทำาบาปแล้วอาจจะชำาระล้างให้

หมดสิ้นไปด้วยการอาบน้ำาในแม่น้ำาศักดิ์สิทธิ์ เช่น แม่น้ำาคงคา

เป็นต้น ทางพระพุทธศาสนามีทรรศนะเกี่ยวกับเรื่องนี้อย่างไร ?

พุทธดำ�รัสตอบ “.....คนพาล มีกรรมดำา(บาป) แล่นไปยังแม่น้ำา

พาหุกาท่าน้ำาอธิกักกะ ท่าน้ำาคะยา แม่น้ำาสุนทริกา แม่น้ำาสรัสสดี

ท่าน้ำาปยาคะ และแม่น้ำาพาหุมดีแม้เป็นนิตย์ ก็บริสุทธิ์ไม่ได้ แม่น้ำา

สุนทริกา ท่าน้ำาปยาคะ หรือแม่น้ำาพาหุกา จักทำาอะไรได้ จะชำาระ

นรชนผู้มีเวรทำากรรมอันหยาบช้า ผู้มีกรรมอันเป็นบาปนั้นให้

อาบน้ำาล้างบาป

คุณพิสิฎฐ์ ภัสฐาพงษ์ รองผู้ว่าการอำานวยการ

พร้อมคณะผู้บริหาร

การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค นำาองค์ผ้าป่าสามัคคี

จากประเทศไทย โดยมีคุณกิตติมา แฟรงค์

เป็นผู้ประสานงานนำาผ้าป่าสามัคคีมาทอด

ถวายจำานวน $ 24,903 เพื่อสมทบทุนทำาที่

จอดรถวัดป่าธรรมรัตน์

Page 12: Dhammaratana journal No.11 - วารสารธรรมรัตน์ ฉบับที่ 11

ธรรมรัตน์ Dhammaratana ธรรมรัตน์ Dhammaratana18

กิจกรรมเดือนเมษ�ยน 1 เม.ย.2557 ร้านอาหารที่รักนิมนต์พระมหาปิยะ อุตฺตมปญฺโญ วัดป่าธรรมรัตน์, หลวงพ่อพระมหาสิทธิผล สิทฺธิผโล และพระมหาคำาตัล พุทฺธงฺกุโร วัดไทยกรุงวอชิงตัน,ดี.ซี.และพระอาจารย์เปมะ วัดศรีลังกา เจริญพระพุทธมนต์ทำาบุญร้าน ขอให้เจริญรุ่งเรืองในการทำามาค้าขาย สาธุ 2 เม.ย.2557 พระมหาปิยะ อุตฺตมปญฺโญ ได้รับนิมนต์ไปบรรยายที่วิทยาลัย Saint Vincent เรื่องแก่อย่างมีคุณค่า แก่ชาวอเมริกันที่ปลดเกษียณแล้ว มีผู้เข้าร่วมฟังกว่า 100 คน มีคุณแอนดี้ชาวอเมริกันเป็นสารถีพาไป-กลับ ขออนุโมทนา 4 เม.ย.2557 คุณเอมี่-จอห์น เจ้าของร้านอาหารไทยพาพาย่า โรบินสัน นิมนต์พระสงฆ์ไปเจริญพระพุทธมนต์ทำาบุญขึ้นบ้านใหม่ มีคุณแม่และน้องๆ จากไทยมาร่วมงานทำาบุญด้วย ขอให้มีความสุขเจริญรุ่งเรืองยิ่งๆ ขึ้นไป 6 เม.ย.2557 วัดป่าธรรมรัตน์จัดงานทำาบุญวันสงกรานต์ มีครูบาอาจารย์จากวัดไทยกรุงวอชิงตัน,ดี.ซี. และวัดศรีลังกา รวมพระสงฆ์ 5 รูป มีญาติโยมจากวัดไทยกรุงวอชิงตัน,ดี.ซี.และรอบๆ เมืองพิทส์เบิร์กมาร่วมทำาบุญกว่า 100 คน สาธุ 7 เม.ย.2557 คุณจันทิมา จิระเชิดชูวงศ์ พร้อมญาติพี่น้อง เจ้าของร้านไทยสะพูน นิมนต์พระสงฆ์ไปเจริญพระพุทธมนต์ข้ึนบ้านใหม่ ขอให้ร่มเย็นเป็นสุข สาธุ 14 เม.ย.2557 พระสงฆ์และญาติโยมชาววัดป่าธรรมรัตน์ เดินทางไปช่วยงาน

สรุปข่าวเดือนเมษายน-พฤษภาคม-มิถุนายน-กรกฎาคม

บริสุทธิ์ไม่ได้เลย ผัคคุณฤกษ์ย่อมพึงพร้อมแก่บุคคลผู้หมดจดแล้ว

ทุกเมื่อ อุโบสถก็ย่อมถึงพร้อมแก่บุคคลผู้หมดจดแล้วทุกเมื่อ วัตร

ของบุคคลผู้หมดจดแล้ว มีการงานอันสะอาด ย่อมถึงพร้อมทุกเมื่อ

ดูก่อนพราหมณ์ ท่านจงอาบในคำาสอนของเรานี้เถิด จงทำาความ

เกษมในสัตว์ทั้งปวงเถิด ถ้าท่านไม่กล่าวคำาเท็จ ไม่เบียดเบียนสัตว์

ไม่ถือวัตถุที่เขาไม่ให้เป็นผู้มีความเชื่อ ไม่ตระหนี่ไซร้ ท่านจักต้อง

ไปยังท่าน้ำาคะยาทำาไม แม้การดื่มน้ำาในท่าน้ำาคะยาก็จักทำาอะไรให้

แก่ท่านได้ฯ

คุณโยมกิตติมา-คุณเฟรด แฟรงค์

ลูกสาว และเพื่อนๆ ประกอบพิธีถวาย

โฉนดที่ดิน วันที่ 8 พ.ค.2557

Page 13: Dhammaratana journal No.11 - วารสารธรรมรัตน์ ฉบับที่ 11

ธรรมรัตน์ Dhammaratana ธรรมรัตน์ Dhammaratana20 21

ทำาบุญวันสงกรานต์และกราบขอพรพระเดชพระคุณพระวิเทศธรรมรังษี(หลวงตาชี) วัดไทยกรุงวอชิงตัน,ดี.ซี. 18 เม.ย.2557 เพื่อนพระธรรมทูตวัดป่าซัมเตอร์ รัฐเซาท์แคโรไลน่า เดินทางมาเยี่ยมวัดป่าธรรมรัตน์ ขอกราบขอบพระคุณพระอาจารย์ทุกรูป มีคุณโยมวัดหลายๆ ท่านช่วยต้อนรับ เป็นต้นว่า คุณพิมพ์ใจ เบอร์มิ่งแฮม, คุณอุไร ตะสิทธิ์, คุณจำาเนียร น้ำาใส และอีกหลายท่าน ขออนุโมทนาบุญกับทุกท่าน 23-25 เม.ย.2557 พระมหาปิยะ อุตฺตมปญฺโญ เดินทางไปช่วยงานปฏิบัติธรรม และเป็นกรรมการตรวจข้อสอบธรรมศึกษา ณ วัดมงคลรัตนาราม แทมป้า กิจกรรมเดือนพฤษภ�คม 5 พ.ค.2557 หลวงพ่อพระมหาสิทธิผล สิทฺธิผโล, พระมหาศรีสุพรณ์ อตฺตทีโป วัดไทยดีซี และคุณโยมน้อย-น้องชีร่า จากลอสแองเจลีส เดินทางมาเยี่ยมและให้กำาลังใจพระธรรมทูตที่วัด ขอกราบขอบพระคุณและอนุโมทนาบุญ 8 พ.ค.2557 คุณโยมกิตติมา-เฟรด แฟรงค์ พร้อมครอบครัว และเพื่อนๆ ประกอบพิธีถวายที่ดินให้กับวัดป่าธรรมรัตน์ โดยพระอาจารย์พระครูสิริอรรถวิเทศ, หลวงพ่อพระมหาสิทธิผล สิทฺธิผโล และพระมหาปิยะ อุตฺตมปญฺโญ เป็นตัวแทนฝ่ายสงฆ์รับมอบโฉนดที่ดิน ฝ่ายญาติโยมมีคุณมาลินี วังศเมธีกูร,คุณสุกานดา บุพพานนท์ ญาติธรรมจากกรุงวอชิงตัน,ดี.ซี. และญาติโยมชาวเมืองพิทส์เบิร์กหลายท่านร่วมเป็นสักขีพยานและอนุโมทนาบุญในกุศลเจตนาของเจ้าภาพถวายที่ดิน สาธุ 11 พ.ค.2557 อนุโมทนาบุญญาติธรรมและนักศึกษาชาวเมืองพิทส์เบริ์กมาช่วยขนย้ายอุปกรณ์จากวัดเก่ามาวัดใหม่ ขออนุโมทนาในกุศลเจตนาทุกท่าน 18 พ.ค.2557 วัดป่าธรรมรัตน์จัดทำาบุญวันวิสาขบูชาที่วัดในช่วงเช้า และช่วงบ่ายคณะพระธรรมทูตได้ไปร่วมงานวิสาขนานาชาติกับชาวพุทธในเมืองพิทส์เบิร์ก มีคนมาร่วมงานรำาลึกถึงวันคล้ายวันประสูติ-ตรัสรู้-ปรินิพพานของพระพุทธเจ้ามากมาย 16 พ.ค.2557 กราบขอบพระคุณพระอาจารย์มหาสุริยา อาภสฺสโร เมตตาเดินทางมาช่วยขนย้ายสิ่งของจากวัดเก่า ร่วมงานวิสาขบูชา และช่วยปรับปรุงวัด และอนุโมทนาบุญกับนายช่างทั้ง 2 ของวัด คือคุณโยมวิเชียร-สมศักดิ์ น้ำาใส พร้อมญาติโยมอีกหลายท่านที่ไม่สามารถเอ่ยนามได้ทั้งหมด ขออนุโมทนาบุญ

กิจกรรมเดือนมิถุน�ยน 4 มิ.ย.2557 พระอาจารย์มหาสายันต์ อคฺควณฺโณ เดินทางกลับจากปฏิบัติศาสนกิจที่ประเทศไทย มีคุณโยมสมทรง ฟ็อก และคุณมนัส แซนส์ เดินทางไปรับที่สนามบินเมืองพิทส์เบิร์ก ขออนุโมทนาในกุศลเจตนา 4 - 9 มิ.ย. 2557 คณะพระธรรมทูตวัดป่าธรรมรัตน์ เดินทางไปช่วยงานทำาบุญ

อายุวัฒนมงคลพระเดชพระคุณพระวิเทศธรรมรังษี(หลวงตาชี)ของพวกเรา ปีนี้ท่านเจริญอายุครบ 89 ปี มีศิษยานุศิษย์มากมายทั้งในประเทศสหรัฐอเมริกาและประเทศไทยเดินทางมาร่วมงาน 10 มิ.ย. 2557 หลวงพ่อพระครูศรีปริยัติวิสุทธิ์ เจ้าคณะอ.ด่านขุนทุด จ.นครราชสีมา เมตตาเดินทางมาเยี่ยมวัดและร่วมทำาบุญสร้างวัด $ 300.00 ขอกราบขอบพระคุณด้วยความเคารพ 9 - 16 มิ.ย. 2557 คณะพระธรรมทูตวัดป่าธรรมรัตน์เดินทางไปช่วยงานประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกาครั้งที่ 38 ณ วัดนวมินทรราชูทิศ นครบอสตัน มีพระธรรมทูตทั่วโลกเข้าร่วมประชุมประมาณ 400 กว่ารูป เป็นการประชุมประจำาปีของพระธรรมทูตในประเทศสหรัฐอเมริกา 16 - 24 มิ.ย. 2557 ครูบาอาจารย์จากประเทศไทยนำาโดย พระครูสันตจิตตานุโยค เจ้าอาวาสวัดบางพึ่ง สมุทรปราการ(พระอาจารย์ของพระมหาปิยะ), พระพิศาลประชานาถ เจ้าอาวาสวัดสุทธาราม กทม. และพระครูปลัดบุญชนะ จ.ระยอง เมตตาเยี่ยมวัดป่าธรรมรัตน์ 24 - 30 มิ.ย. 2557 คณะพระธรรมทูตวัดป่าธรรมรัตน์เดินทางไปเยี่ยมครูบาอาจารย์และเพื่อนสหธรรมิกวัดมั่งมีศรีสุข รัฐนอร์ทแคโรไลนา, วัดป่าซัมเตอร์ รัฐเซาท์แคโรไลนา และร่วมงานวางศิลาฤกษ์สร้างศาลารวมใจ ณ วัดป่าสันติธรรม รัฐเวอร์จีเนีย

กิจกรรมเดือนกรกฎ�คม 8-10 ก.ค.2557 คณะพระธรรมทูตวัดป่าธรรมรัตน์ เดินทางไปร่วมทำาบุญเปิดสถานที่ปฏิบัติธรรมที่เมืองคิงส์ตัน รัฐนิวยอร์ก 12-13 ก.ค.2557 คณะพระธรรมทูต 3 รูปอธิษฐานเข้าพรรษา ณ วัดป่าธรรมรัตน์และจัดงานทำาบุญวันอาสาฬหบูชา-วันเข้าพรรษามีญาติโยมชาวเมืองพิทส์เบิร์กมาร่วมทำาบุญ 24 ก.ค.2557 คุณพิสิฎฐ์ ภัสฐาพงษ์ รองผู้ว่าการอำานวยการ พร้อมคณะผู้บริหารการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค นำาองค์ผ้าป่าสามัคคีจากประเทศไทย โดยมีคุณกิตติมา แฟรงค์ เป็นผู้ประสานงานนำาผ้าป่าสามัคคีมาทอดถวายจำานวน $ 24,903 เพื่อสมทบทุนทำาที่ จอดรถวัดป่าธรรมรัตน์ 27 ก.ค.2557 ครอบครัวกุญชร ณ อยุธยา นำาโดยพ่อ ลูกสาว และหลานมาทำาบุญให้คุณอภิญญา กุญชร ณ อยุธยา สมาชิกวัดป่าธรรมรัตน์ที่ถึงแก่มรณกรรมที่ประเทศไทย ซึ่งนำาความเศร้าโศกเสียใจมายังชาววัดป่าธรรมรัตน์ เพราะผู้วายชนม์เป็นพุทธศาสนิก-ชนที่ดีเป็นแบบอย่าง

Page 14: Dhammaratana journal No.11 - วารสารธรรมรัตน์ ฉบับที่ 11

ธรรมรัตน์ Dhammaratana ธรรมรัตน์ Dhammaratana22 23

รายรับ-รายจ่าย(Income-Spend)

ประจำาเดือนเมษายน-สิงหาคม

ปี 2557/2014

ร�ยรับเดือนเมษ�ยน 2557

Saard Sanpaaarsa $ 40.00

Peter & Thongmuan Milosavljevic $ 29.00

น.ส.ภัทริน บุญสวัสดิ์ $ 40.00

Pranom Jabkul & Family $ 200.00

พ่อแก้ว-แม่สม พุทธวงค์ $ 100.00

Boonrak & Ratana Tantisira $ 200.00

Boonsom & Donald Glass $ 50.00

Jim & Sommai Lovetro $ 100.00

อุไร ตะสิทธิ์ $ 60.00

คุณวรรณศิริ กุลสารี, คุณเกษม มาลัย $ 20.00

คุณกิ่งกาญ ซื่อสัตย์ $ 40.00

David & Somruay Maccracken $ 30.00

นฤวรรณ ประกอบกิจ $ 40.00

อุดม แซ่อึ๋ง $ 20.00

คุณปีเตอร์-ดารินี ไมเคิล $ 100.00

Nayika Kamales $ 300.00

รติพร มั่นพรหม $ 20.00

ปาริชาติ ชื่นนิรันดิ์ $ 10.00

Wanpen Brumer $ 20.00

Wilai Gould $ 100.00

Dan & Toy Winwood $ 50.00

คุณพยุง-คุณจินตนา งามสะอาด $ 150.00

Prabhassara Agkrasa $ 50.00

Kim Vanram $ 20.00

ขวัญฤทัย ทวีผล $ 20.00

Lily มงคลเลิศศิริกุล และคุณแม่ $ 20.00

คุณสมศรี มาแตง $ 80.00

คุณบุญเสริม งามสะอาด $ 50.00

คุณจันทิมา จิระเชิดชูวงค์ $ 20.00

คุณสุกานดา บุพพานนท์ $ 50.00

คุณปรียา(หมุย) $ 30.00

ต้นผ้าป่า DC $ 40.00

เฉลิมพันธ์ จาบกุล $ 20.00

Kim Hong $ 20.00

นิมิตตา Tennedel $ 20.00

สุรีรัตน์ แสงซ้ง – คุณจารุวรรณ สุขก้อง $ 150.00

Kran Prangchaikul & Family $ 100.00

ปาณิสร คำาอุดม $ 60.00

อัญมณี ดีขุนทด $ 10.00

จารุวรรณ สุขก้อง $ 10.00

Pattaraporn Chairach – Robert Seibel $ 50.00

Jim Moddy Frey $ 20.00

Somsong Fox $ 100.00

Thassanee Jampee $ 20.00

Ruam Howell $ 20.00

ร้าน Teerak Indiana $ 160.00

Maly Sickles $ 25.00

Damdee & Chaikham Kingsidaphone $ 100.00

Supamard & Lee Anderson $ 100.00

คุณกัญญา สว่างโรจน์ $ 50.00

Pittsburgh Thai Food, Inc $ 100.00

Sasitorn Reanmanee $ 100.00

James & Pimjai Birmingham $ 150.00

Page 15: Dhammaratana journal No.11 - วารสารธรรมรัตน์ ฉบับที่ 11

ธรรมรัตน์ Dhammaratana ธรรมรัตน์ Dhammaratana24 25

Yam $ 15.00

Gon E. Maxwell $ 100.00

เฉลิมวุฒิ สุทธิบุญ $ 40.00

Voranuch Suvanich $ 100.00

Manus Sands $ 140.00

Jumlong Megyesy and Family $ 100.00

Sutonta & Sirikunya Thumprasert $ 1,130.00

สมศรี มาแตง(ซื้อที่ดินถวายวัด) $ 20.00

พระมหาคำาตัล พุทฺธงฺกุโร, คุณพ่อทรัพย์-แม่ลิน อายุวงษ ์ $ 200.00

คุณแม่เฉลา กาญจนวตี(ซื้อที่ดินถวายวัด) $ 20.00

Orapan Prosopchokchai(ซื้อที่ดินถวายวัด) $ 100.00

Varana Maxwell(ซื้อที่ดินถวายวัด) $ 50.00

Lom Maiin(ซื้อที่ดินถวายวัด) $ 160.00

Methinee Yeampeka(ซื้อที่ดินถวายวัด) $ 30.00

อรวรรณ ศิริมงคล และครอบครัว(ซื้อที่ดินถวายวัด) $ 500.00

ร�ยรับเดือนพฤษภ�คม 2557

James & Pimjai Birmingham $ 150.00

Srinya & Rob Baker $ 40.00

Sorasit Sittiwattananon $ 200.00

Karn Prangchaikul and Family $ 50.00

John L Howland $ 50.00

Scott & Anong Roberson $ 100.00

Kun’s Family $ 200.00

Tawatchai Onsanit $ 100.00

ปีเตอร์-หมู $ 40.00

Mike $ 10.00

Settawit Poochaya $ 20.00

Noi Megyesy $ 20.00

Manus Sands $ 50.00

Kim Vann Ram $ 30.00

ชัย $ 40.00

Kim $ 20.00

ครอบครัวศิริมงคล, Kamudom} Booth และ Verde Vargas $ 80.00

Sarah Weis $ 20.00

Nalinrat & Willy Brun $ 20.00

Pranom Jabkul $ 200.00

นางอุษา สุปิยะพันธ์(ออกใบอนุโมทนาย้อนหลัง) 5,000 บาท

Maria Couragee $ 20.00

Rungnapa Khanchalee $ 500.00

Thai Cuisine $ 100.00

ร�ยรับเดือนกรกฎ�คม 2557

Nakorn Apakupakul $ 100.00

Rudee Jacob $ 50.00

Keith & Boonrieng Hamlin $ 200.00

Sakhon Yumukhol $ 100.00

สมควร – ยุทธนา Laws $ 500.00

พระครูศรีปริยัติวิสุทธิ์ $ 300.00

Jirapa Yamapai $ 500.00

James P Birmingham $ 150.00

Jarrett & Narumol Kocan $ 50.00

James & Pimjai & Mae Birmingham $ 650.00

Smiling Banana Leaf Restaurant $ 400.00

Gilbert Trujillo $ 50.00

ด.ญ.เก็จมณี หอมตะโก $ 40.00

Thai Gourmet $ 407.00

Pimjai-James-Mae Birmingham $ 50.00

อุทิศแด่นางสี กุลสุวรรณ $ 45.00

Somsong Fox $ 100.00

Page 16: Dhammaratana journal No.11 - วารสารธรรมรัตน์ ฉบับที่ 11

ธรรมรัตน์ Dhammaratana ธรรมรัตน์ Dhammaratana26 27

บุญนำา $ 20.00

Thai Papaya Restaurant $ 100.00

Benjamard Best $ 660.00

Nalinrat & Willy Brun $ 30.00

ริชาร์ด-ปิยาภรณ์ เป็ปเปอร์ $ 20.00

James Lovetro and Family $ 60.00

วิเชียร น้ำาใส $ 100.00

Keo & Som Phouthavong $ 100.00

Kim Vann Ram $ 30.00

นายสรสิช สิทธิวัฒนานนท์, นางอุรพรรณ อ่อนสะอาด,

น.ส.สุจิตรา เทียมเมืองแมน $ 50.00

นิมิตา เทนเนดอล $ 20.00

Kim Hong $ 20.00

Phudphan Kittikoon $ 200.00

คุณภิรมย์ พ่อด้า $ 9.00

อินเนตร บัวคำา สินธุยา $ 50.00

Thai Cuisine $ 50.00

Pattana Wangaryattawanich $ 40.00

Willy & Nalinrat Brun $ 50.00

เจษฎา อธิกคุณากร $ 30.00

Mauy Song Meng $ 40.00

อรพรรณ วิทยปรีชาอนันต์ $ 40.00

พชรพิชญ์ พรหมอุปถัมภ์ $ 20.00

Sirimongkol, Dungpakdee, Verdo, Varges $ 40.00

รัตนาภรณ์ น้ำาใส $ 30.00

จีราภรณ์ ชัยศรี $ 50.00

Kingkarn & Jeremy $ 40.00

ภัสสิษฎ์ เหล่าวีรวัฒน์ $ 10.00

น.ส.จันทิมา จิระเชิดชูวงค์ $ 100.00

Manus Sands $ 50.00

Thai Cuisine $ 105.00

Methinee Yeampeka $ 20.00

Penchan Klopfenstein $ 50.00

ศูนย์ปฏิบัติธรรมเมืองคิงส์ตัน นิวยอร์ก $ 100.00

Vanida Soontornpitugs $

บุญเลิง วสีปัตย์ $ 300.00

Prabhassara Agkrasa $ 50.00

ดร.พระครูปริยัติธรรมาภิราม $ 190.00

Wat Thai DC Group $ 320.00

Pornpan & Sithisakdi Phrangkham $ 30.00

Preeya Puatrakul $ 100.00

Malinee Vangsameteekul $ 100.00

พุฒิพงศ์ เลี้ยงหิรัญภาพ, ชูศักดิ์ ทองถนอมกุล,

ฐิตาภา พิทักษ์สังข์ และครอบครัว $ 40.00

ผ้าป่าสามัคคีการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค $ 24,903.00

ร�ยรับเดือนสิงห�คม 2557

Jonathan Thomas Fluharty, Jirayu Sinsiri, Narong Jaidee $ 70.00

Pornpen Thammasarorot $ 29.00

Fear & Tan $ 19.00

สมทรง ฟ็อกซ์ $ 50.00

วิเชียร น้ำาใส $ 100.00

มนัส แซนส์ $ 50.00

โศรยา ตันติพาณิชย์กุล และครอบครัว $ 100.00

วันทนา วอชแน็ค $ 40.00

ริชาร์ด-ปิยาภรณ์-ไทเลอร์ ศุภณัฐ เป็ปเปอร์ $ 20.00

ด.ช.เบญจมินทร์ สายคณิต $ 20.00

ผู้ไม่ประสงค์ออกนาม $ 30.00

Pranom Jabkul $ 200.00

Bobby & Triamjai $ 30.00

Tony & Nathanan & Earth Moreno $ 40.00

James P Birmingham $ 150.00

Page 17: Dhammaratana journal No.11 - วารสารธรรมรัตน์ ฉบับที่ 11

ธรรมรัตน์ Dhammaratana ธรรมรัตน์ Dhammaratana28 29

Phetch Rattanasuwan Carroll $ 100.00

Manus Sands $ 100.00

Krongthong Srijariya & Jadyn Sae Kary $ 20.00

Kim Vann Ram $ 7.00

ร�ยจ่�ยเดือนเมษ�ยน 2557

04/15/2014 ทำาบุญสงกรานต์วัดป่าสันติธรรม $ 100.00

04/15/2014 Guardian Protection $ 31.95

04/19/2014 Comcast $ 65.00*

*หมายเหตุ...ญาติโยมจ่าย

ร�ยจ่�ยเดือนพฤษภ�คม 2557

05/05/2014 Dayton Enciso & Kaikis (ค่าทนาย) $ 3,254.00

05/10/2014 ซื้อชั้นวางหนังสือวัด $ 64.17

05/10/2014 ทำากุญแจวัด $ 15.78

05/14/2014 Ikea(ซื้ออุปกรณ์-โต๊ะ-เก้าอี้) $ 194.68

05/20/2014 The Home Depot (ปรับปรุงห้องใต้ดิน) $ 85.88

05/20/2014 The Home Depot ซื้ออุปกรณ์ปรับปรุงวัด $ 50.23

05/22/2014 Kmart ซื้ออุปกรณ์เข้าวัด $ 36.53

05/24/2014 Gillece Services(ค่าช่างเดินสายแอร์ใหม่) $ 2,954.79

05/24/2014 Phramaha Thanat (ค่าตั๋วพระไปช่วยงานสมัชชาฯ) $ 350.00

05/24/2014 Guardian $ 31.95

05/24/2014 Erie Insurance Group $ 103.50

05/26/2014 The Home Depot ซื้อไม้ $ 107.45

05/26/2014 Gas $ 89.99

05/27/2014 The Home Depot(ซื้อไม้ปรับปรุงห้องใต้ดิน) 1,679.39

05/30/2014 Nationwide (ค่าประกันภัยรถยนต์วัด) $ 222.00

05/30/2014 Duquesne Light (ค่าไฟวัด) $ 41.79

05/30/2014 People Natural Gas(ค่าแก๊สหุงต้มวัด) $ 152.68

05/30/2014 Wat Thai Washington DC (วันเกิดหลวงตาชี) $ 500.00

05/30/2014 Wat Nawamintararachutis(ทำาบุญวัดนวมินทร์) $ 300.00

05/30/2014 ทำาบุญบำารุงสมัชชาสงฆ์ไทยในอเมริกา $ 200.00

05/31/2014 Duqesne Light(ค่าไฟวัด) $ 223.73

05/31/2014 People Natural Gas(ค่าแก๊สหุงต้ม) $ 246.00

ร�ยจ่�ยเดือนมิถุน�ยน 2557

06/01/2014 The Home Depot ซื้ออุปกรณ์ปรับปรุงวัด $ 1,572.40

06/01/2014 Office Depot ซื้ออุปกรณ์สำานักงาน $ 93.06

06/02/2014 Gas $ 34.16

06/03/2014 Wild Birds Unlimited $ 41.71

06/19/2014 Duquesne Light(ค่าไฟวัด) $ 34.54

06/19/2014 PWSA(ค่าน้ำาวัด) $ 101.41

06/19/2014 Guardian(ประกันภัยวัด) $ 31.95

06/19/2014 Comcast(ค่าติดตั้งโทรศัพท์-อินเตอร์เน็ตใหม่) $ 297.41

06/19/2014 Duquesne Light(ค่าไฟวัด) $ 41.20

ร�ยจ่�ยเดือนกรกฎ�คม 2557

07/01/2014 Comcast(ค่าติดตั้งวีดีโอประกันภัย) $ 410.76

07/02/2014 Office Depot ทำาแสตมป์ชื่อวัด,ถ่ายเอกสาร $ 86.87

07/03/2014 ซื้อแสตมป์ส่งจดหมายเข้าพรรษา $ 98.00

07/03/2014 J and D Lawn Tractor ซื้อล้อรถตัดหญ้าวัด $ 19.92

07/04/2014 The Home Depot $ 2,249.01

07/05/2014 ค่าวีซ่าเข้าอเมริกาพระ $ 585.00

07/05/2014 Office Depot $ 106.97

07/05/2014 ค่าซื้อของทำาห้องใต้ดิน,เปลี่ยนน้ำามันรถวัด $ 306.78

07/07/2014 Advance Auto Parts $ 38.51

07/15/2014 ค่าตั๋วไปประชุมที่แอลเอ, ซานฟรานซิสโกของพระ $ 1,203.47

07/18/2014 Monroeville Municipal Authority(ค่าน้ำา) $ 66.79

07/18/2014 Duquesne Light Company $ 133.97

07/18/2014 ค่าซ่อมรถตัดหญ้าวัด $ 520.93

07/19/2014 Erie Insurance $ 85.00

07/20/2014 Lowe’s Home Centers $ 75.87

Page 18: Dhammaratana journal No.11 - วารสารธรรมรัตน์ ฉบับที่ 11

ธรรมรัตน์ Dhammaratana ธรรมรัตน์ Dhammaratana

อนุโมทนาบุญญาติโยมผู้ถวายภัตตาหารเพลประจำาวันต่างๆ

วัดป่าธรรมรัตน์ พิทส์เบิร์ก

วันจันทร์ Thai Gourmet, Thai Cuisine

วันอังคาร คุณคิม วาน, Thai Gourmet และเพื่อนๆ

วันพุธ คุณพิมพ์ใจ-จิม เบอร์มิ่งแฮม, คุณพิมลรัตน์ และเพื่อนๆ

วันพฤหัสบดี คุณจำาลอง แม็คคาซี่, คุณมนัส แซนด์ และเพื่อนๆ

วันศุกร์ คุณสมทรง ฟ็อก และเพื่อนๆ

วันเสาร์ คุณวิลาวรรณ อนันต์ วอง และครอบครัว, Thai Gourmet

วันอาทิตย์ คุณอุไร ตะสิทธิ์, คุณจำาเนียร น้ำาใส และญาติโยมทุก

ท่านสามารถมาร่วมทำาบุญถวายภัตตาหารเพลได้

*หมายเหตุ ในแต่ละวัน อาจจะมีญาติโยมทั้งหลายมาร่วมตาม

โอกาสจะเอื้ออำานวย

อันนะโท พะละโท โหติ วัตถะโท โหติ วัณณะโท

ยานะโท สุขะโท โหติ ทีปะโท โหติ จักขุโท.

ผู้ให้ข้าว ชื่อว่าให้กำาลัง, ผู้ให้ผ้า ชื่อว่าให้ผิวพรรณ,

ผู้ให้ยานพาหนะ ชื่อว่าให้ความสุข, ผู้ให้ประทีป ชื่อว่าให้จักษุ

30

07/23/2014 Kmart ซื้ออุปกรณ์เตรียมงานทอดผ้าป่า $ 87.15

07/23/2014 Guitar Center ซื้อไมโครโฟนและขาไมค์ $ 229.47

07/23/2014 Sunoco Gas $ 20.00

07/25/2014 ค่าตั๋วพระอาจารย์มาร่วมงานทอดผ้าป่าวัด $ 329.00

07/24/2014 ถวายพระมาร่วมงานทอดผ้าป่าและค่าน้ำามัน $ 850.00

07/29/2014 Batteries Plus ซื้อแบตเตอรี่รถตัดหญ้าวัด $ 46.00

07/31/2014 Pretty cash $ 500.00

ร�ยจ่�ยเดือนสิงห�คม 2557

08/01/2014 People Natural Gas $ 9.35

08/01/2014 UPMC East (ค่ารักษาพยาบาลพระ) $ 328.60

08/03/2014 Monroeville Municipal Authority $ 110.61

08/11/2014 ค่ารถไฟ-รถบัสพระไปช่วยงานที่นิวยอร์ก $ 534.50

08/15/2014 ทำาบุญวันมหารำาลึกกับสมัชชาสงฆ์ไทยฯ $ 200.00

08/16/2014 Erie Insurance $ 103.50

08/16/2014 Duquesne Light $ 144.03

08/16/2014 UPMC Physician Services(ค่าพยาบาลพระ) $ 168.00

08/21/2014 Lasertek(ค่าเปลี่ยนหน้าจอปริ้นเตอร์ใหญ่ของวัด) $ 358.45

08/23/2014 Monroeville Municipal Authority $ 16.17

08/31/2014 Pretty cash $ 500.00

31

พระมหาปิยะ อุตฺตมปญฺโญ ช่วยงานปฏิบัติ

ธรรมโครงการธรรมสัญจรของสมัชชาสงฆ์

ไทยในสหรัฐอเมริกา นำาปฏิบัติโดย

พระครูสิริอรรถวิเทศ เลขาธิการสมัชชาฯ

ณ วัดมงคลรัตนาราม แทมป้า

Page 19: Dhammaratana journal No.11 - วารสารธรรมรัตน์ ฉบับที่ 11

ธรรมรัตน์ Dhammaratana ธรรมรัตน์ Dhammaratanaทำาบุญประเพณีสงกรานต์ - Songkran Festival 2014 อายุวัฒนมงคล 89 ปีหลวงตาชี - Luangta Chi's Birthday Ceremony

Page 20: Dhammaratana journal No.11 - วารสารธรรมรัตน์ ฉบับที่ 11

ธรรมรัตน์ Dhammaratana ธรรมรัตน์ Dhammaratanaทำาบุญวันวิสาขบูชา - Vesak Ceremony ทำาบุญวันอาสาฬหบูชา-เข้าพรรษา - Asalha Puja & Rain-retreat Ceremony

Page 21: Dhammaratana journal No.11 - วารสารธรรมรัตน์ ฉบับที่ 11

ธรรมรัตน์ Dhammaratana ธรรมรัตน์ Dhammaratana36 37

ขอเชิญร่วมทำ�บุญวันส�รท และครบรอบ 3 ปีวัด

ณ วัดป่�ธรรมรัตน์ พิทส์เบิร์ก

วันอ�ทิตย์ที่ 28 กันย�ยน พ.ศ. 2557

*********

กำ�หนดก�ร

เวลา 10.00 น. พระสงฆ์และญาติโยมร่วมกันสวดมนต์,

ญาติโยมรับศีล, พระสงฆ์เจริญพระพุทธมนต์

เวลา 10.30 น. พุทธศาสนิกชนร่วมกันทำาบุญตักบาตรข้าวสุก

เวลา 10.45 น. ฟังปาฐกถาในวันสารทโดยพระครูสิริอรรถวิเทศ

เลขาธิการสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา,

ถวายภัตตาหารเพลแด่พระสงฆ์

เวลา 11.30 น. ญาติโยมรับประทานอาหารร่วมกัน

เวลา 12.30 น. ทำาพิธีบังสุกุลให้บรรพชน เพื่ออุทิศส่วนกุศลแก่ผู้ที่ล่วง

ลับไปแล้ว, กรวดน้ำารับพร, รับของที่ระลึก

เป็นอันเสร็จพิธี

*********

Sart Ceremony(Memorial Day) & 3rd Anniversary of BMCP

********

Sart Ceremony is the Memorial day of the people in South-East Asia.

This is the time for Asian to do merit-making for their ancestors was passed

away. In the end of this month it is the 3rd anniversary of BMCP. We are wel-

come all of you to join us.

What : Sart Ceremony is the memorial day and 3rd anniversary of BMCP.

Where : 5411 Glenwood Ave., Pittsburgh, PA 15207

When : September 28, 2014. 9.30 am – 2.00 pm., Free to the public.

Info : (412)521-5095, www.bmcpitts.org,www.facebook.com/bmcpitts

Program

10:00 a.m. Religious ceremony including chanting, request five precepts,

and Parita Chanting

10:30 a.m. Offering of food in the alms-bowl or Pindapata

10.45 a.m. Dhamma Talk by Phrakhrusiriatthavides,

Lunch offering to the monks

11:30 a.m. Lunch served to the guests.

12:30 p.m. Pangsukula or lay a robe dedicated to a deceased person,

blessing from the monks.

********

Page 22: Dhammaratana journal No.11 - วารสารธรรมรัตน์ ฉบับที่ 11

ธรรมรัตน์ Dhammaratana ธรรมรัตน์ Dhammaratana38 47

All are cordially invited to participatein the meditation programs and Buddhist activities at

Wat Padhammaratana(The Buddhist Meditation Centre of Pittsburgh)

Activity Day Time1. Chanting Daily Morning and

Evening

05.30 - 6.30 a.m.

5.30 - 6.30 p.m.

2. Dhamma Talk Daily Morning 10.45 - 11.15 a.m.

3.Buddhist Study(Thai) Every Sunday 01.00 - 03.00 p.m.

4. Meditation(English) Every Saturday 03.00 - 05.00 p.m.

All activities will be held at the upper or lower level of the temple. For further infor-

mation, please contact Wat Padhammaratana, PA. Tel.412-521-5095,

E-mail : [email protected], www.bmcpitts.org, www.facebook.com/bmcpitts

- To serve as a Buddhism promotion

center in the U.S.

- To serve as a meditation center in

Pittsburgh

- To promote virtues, Buddhist cul-

ture and traditions

- To be a center of all Buddhists,

regardless of nationalities

OBJECTIVES

กิจกรรมทำ�บุญประจำ�ปี ๒๕๕๗

ทำ�บุญวันขึ้นปีใหม ่ วันพุธ ที่ 1 มกร�คม 2557

ทำ�บุญวันม�ฆบูช� วันอ�ทิตย์ที่ 9 กุมภ�พันธ์ 2557

ปฏิบัติธรรมประจำ�เดือน วันที่ 14-16 เมษ�ยน 2557

ทำ�บุญวันสงกร�นต ์ วันอ�ทิตย์ที่ 6 เมษ�ยน 2557

ทำ�บุญวันวิส�ขบูช� วันอ�ทิตย์ที่ 11 พฤษภ�คม 2557

ร่วมทำ�บุญวันเกิด 89 ปี หลวงต�ชี วันอ�ทิตย์ที่ 8 มิถุน�ยน 2557

ทำ�บุญวันเข้�พรรษ� วันอ�ทิตย์ที่ 13 กรกฎ�คม 2557

บรรพช�ส�มเณรภ�คฤดูร้อน วันที่ 3-10 สิงห�คม 2557

ปฏิบัติธรรมวันส�รท วันที่ 19-21 กันย�ยน 2557

ทำ�บุญวันออกพรรษ�/ทอดกฐิน วันอ�ทิตย์ที่ 19 ตุล�คม 2557

ทำ�บุญวันพ่อแห่งช�ต ิ วันอ�ทิตย์ที่ 7 ธันว�คม 2557

ปฏิบัติธรรมส่งท้�ยปีเก่�ต้อนรับปีใหม่ วันพุธที่ 31 ธันว�คม 2557

Religious Ceremony 2014

New Year Celebration Wednesday, January 1, 2014

Makhapuja Ceremony Sunday, February 9, 2014

Meditation Retreat March 14-16, 2014

Songkran Festival Sunday, April 6, 2014

Visaka Puja Ceremony Sunday, May 11, 2014

Luangta Chi's Birthday Sunday, June 8, 2014

Asalha Puja & Rains-retreat Sunday, July 13, 2014

Novice Summer Camp August 3-10, 2014

Sart Meditation Retreat September 19-21, 2014

Rains-retreat ending /Kathina Ceremony Sunday, October 19, 2014

Father’s Day Ceremony Sunday, December 7, 2014

Meditation Retreat Wednesday, December 31, 2014