ปัจจัยที่มีผลต่อทักษะใน...

18
วารสารวไลยอลงกรณ์ปริทัศน์ (มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ) ปีท7 ฉบับที3 กันยายน-ธันวาคม 2560 141 ปัจจัยที่มีผลต่อทักษะในศตวรรษที่ 21 ของผู้เรียน FACTORS AFFECTING 21st CENTURY SKILLS FOR LEARNERS ปรีดี ปลื้มสำรำญกิจ 1* Preedee Pluemsamrankij บทคัดย่อ ปัจจัยที่มีผลต่อทักษะในศตวรรษที่ 21 ของผู้เรียน เป็นปัจจัยที่จะส่งผลให้เกิดกำรดำเนินกำร จัดกำรเรียนกำรสอนเพื่อให้ผู้เรียนมีทักษะในศตวรรษที่ 21 ประกอบด้วย ปัจจัยภำยนอกหน่วยงำน 7 ประกำร ได้แก่ 1) กำรส่งเสริมเรื่องทักษะในศตวรรษที21 ของหน่วยงำนระดับนำนำชำติ 2) กฎหมำย นโยบำย หรือแผนระดับชำติ 3) ควำมร่วมมือของชุมชน 4) พัฒนำกำรของเทคโนโลยี 5) กำรจัดกำรเรียนกำรสอนเกี่ยวกับทักษะในศตวรรษที21 ของหน่วยงำนอื่น 6) กำรเพิ่มพูนควำมรูในเรื่องทักษะในศตวรรษที21 โดยหน่วยงำนภำยนอก และ 7) ผู้เรียน นอกจำกนี้ยังมีปัจจัยภำยใน หน่วยงำน 7 ประกำร ได้แก่ 1) นโยบำยของหน่วยงำน 2) กำรจัดสรรงบประมำณ 3) ควำมรูควำมสำมำรถของบุคลำกร 4) กำรตระหนักถึงควำมสำคัญของทักษะในศตวรรษที21 5) วัสดุ อุปกรณ์ และเทคโนโลยีกำรศึกษำที่มีในหน่วยงำน 6) กำรเพิ่มพูนควำมรู้เรื่องทักษะในศตวรรษที21 ภำยในหน่วยงำน และ 7) กำรสร้ำงชุมชนแห่งกำรเรียนรู้ทำงวิชำชีพ ดังนั้นกำรจัดกำรเรียนกำรสอน เพื่อให้ผู้เรียนมีทักษะในศตวรรษที21 จึงขึ้นอยู่กับปัจจัยหลำยประกำร คาสาคัญ: ปัจจัย ทักษะ ศตวรรษที่ 21 ผู้เรียน ____________________________________ 1 สำขำวิชำบรรณำรักษศำสตร์และสำรสนเทศศำสตร์ คณะมนุษยศำสตร์และสังคมศำสตร์ มหำวิทยำลัยรำชภัฏนครสวรรค์ *ผู้นิพนธ์ประสำนงำน E-mail: [email protected]

Upload: others

Post on 06-Jan-2020

5 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: ปัจจัยที่มีผลต่อทักษะใน ...acad.vru.ac.th/Journal/journal 7_3/7_3_12.pdfท กษะในศตวรรษท 21 (21st Century Skills)

วารสารวไลยอลงกรณ์ปรทิัศน์ (มนุษยศาสตรแ์ละสังคมศาสตร)์ ปีที่ 7 ฉบับที ่3 กันยายน-ธันวาคม 2560

141

ปัจจัยที่มีผลต่อทักษะในศตวรรษที่ 21 ของผู้เรียน

FACTORS AFFECTING 21st CENTURY SKILLS FOR LEARNERS

ปรีดี ปลืม้ส ำรำญกิจ1* Preedee Pluemsamrankij

บทคัดย่อ

ปัจจัยที่มีผลต่อทักษะในศตวรรษที่ 21 ของผู้เรียน เป็นปัจจัยที่จะส่งผลให้เกิดกำรด ำเนินกำรจัดกำรเรียนกำรสอนเพ่ือให้ผู้เรียนมีทักษะในศตวรรษที่ 21 ประกอบด้วย ปัจจัยภำยนอกหน่วยงำน 7 ประกำร ได้แก่ 1) กำรส่งเสริมเรื่องทักษะในศตวรรษที่ 21 ของหน่วยงำนระดับนำนำชำติ 2) กฎหมำย นโยบำย หรือแผนระดับชำติ 3) ควำมร่วมมือของชุมชน 4) พัฒนำกำรของเทคโนโลยี 5) กำรจัดกำรเรียนกำรสอนเกี่ยวกับทักษะในศตวรรษที่ 21 ของหน่วยงำนอ่ืน 6) กำรเพ่ิมพูนควำมรู้ในเรื่องทักษะในศตวรรษที่ 21 โดยหน่วยงำนภำยนอก และ 7) ผู้เรียน นอกจำกนี้ยังมีปัจจัยภำยในหน่วยงำน 7 ประกำร ได้แก่ 1) นโยบำยของหน่วยงำน 2) กำรจัดสรรงบประมำณ 3) ควำมรู้ควำมสำมำรถของบุคลำกร 4) กำรตระหนักถึงควำมส ำคัญของทักษะในศตวรรษที่ 21 5) วัสดุ อุปกรณ์ และเทคโนโลยีกำรศึกษำที่มีในหน่วยงำน 6) กำรเพ่ิมพูนควำมรู้เรื่องทักษะในศตวรรษที่ 21 ภำยในหน่วยงำน และ 7) กำรสร้ำงชุมชนแห่งกำรเรียนรู้ทำงวิชำชีพ ดังนั้นกำรจัดกำรเรียนกำรสอนเพ่ือให้ผู้เรียนมีทักษะในศตวรรษท่ี 21 จึงขึ้นอยู่กับปัจจัยหลำยประกำร

ค าส าคัญ: ปัจจัย ทักษะ ศตวรรษท่ี 21 ผู้เรียน

____________________________________ 1สำขำวิชำบรรณำรักษศำสตร์และสำรสนเทศศำสตร์ คณะมนุษยศำสตร์และสังคมศำสตร์ มหำวิทยำลัยรำชภัฏนครสวรรค์ *ผู้นิพนธ์ประสำนงำน E-mail: [email protected]

Page 2: ปัจจัยที่มีผลต่อทักษะใน ...acad.vru.ac.th/Journal/journal 7_3/7_3_12.pdfท กษะในศตวรรษท 21 (21st Century Skills)

Valaya Alongkorn Review (Humanities and Social Science) Vol. 7 No. 3 September-December 2017

142

ABSTRACT Factors affecting 21st century skills for learners are the factors that cause organizing for studying and teaching to prepare learners to have 21st century skills. The factors consist of internal factors and external factors. External factors are as follows: 1) The promoting about 21st Century Skills from international organizations. 2) National law, policy, and planning. 3) Collaboration from community. 4) Development of technology. 5) Organizing of learning and teaching students to have 21st Century Skills from other organizations. 6) Knowledge increasing in 21st Century Skills of external organizations, and 7) Learners. Internal factors are as follows: 1) Organizations’ policy. 2) Allocation of budget. 3) Knowledge and skills of personnel. 4) Awareness about 21st Century Skills. 5) Educational technology equipment in organizations. 6) 21st Century Skills knowledge increasing in that organizations, and 7) Professional Learning Community (PLC) building. In conclusion, there are many factors that affect the organizing of learning and teaching learners to have 21st Century Skills. Keywords: Factors, Skills, 21st Century, Learners บทน า ทักษะในศตวรรษที่ 21 (21st Century Skills) หมำยถึง ทักษะที่จ ำเป็นต่อผู้เรียนส ำหรับกำรด ำรงชีวิต ในยุคของกำรเติบโตทำงเศรษฐกิจของโลกปัจจุบัน ได้แก่ ทักษะด้ำนกำรเรียนรู้และนวัตกรรม ทักษะสำรสนเทศ สื่อและเทคโนโลยี และทักษะชีวิตและอำชีพ (Partnership for 21st Century Skills - P21, 2011) ทักษะในศตวรรษที่ 21 เป็นทักษะที่จ ำเป็นของผู้เรียนในปัจจุบันเนื่องจำกเป็นทักษะ ที่พัฒนำผู้เรียนให้เป็นทรัพยำกรมนุษย์ที่มีคุณภำพพร้อมเข้ำสู่สังคมกำรท ำงำนที่ใช้ควำมรู้และควำมสำมำรถในกำรท ำงำนร่วมกับผู้อ่ืนได้อย่ำงมีประสิทธิภำพ ส่งผลให้ผู้เรียนประสบควำมส ำเร็จ ในกำรท ำงำนและควำมเจริญก้ำวหน้ำในกำรพัฒนำประเทศ ดังนั้นระบบกำรศึกษำของทุกประเทศจ ำเป็นต้องสร้ำงผู้เรียนเพ่ือรองรับกำรท ำงำนในศตวรรษที่ 21 (Trilling & Fadel, 2012) พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชำ นำยกรัฐมนตรีคนที่ 29 ของประเทศไทย ให้ค ำขวัญเนื่องในวันครู ครั้งที่ 61 พ.ศ. 2560 ไว้ว่ำ “ชำติพัฒนำ ด้วยครูดี มีคุณภำพ ศิษย์ซำบซึ้งในพระคุณครู” อีกท้ังรัฐบำลได้ประกำศให้ พ.ศ. 2560 เป็นปีแห่งกำรปฏิรูปประเทศ ครูจึงเป็นหัวใจส ำคัญของกำรพัฒนำก ำลังคนให้เดินหน้ำไปสู่ศตวรรษที่ 21 (คมชัดลึก.คอม, 2560) ระบบกำรศึกษำมีปัจจัยที่ส ำคัญ คือ ครู ดังนั้นกำรส่งเสริมและกำรยกระดับมำตรฐำนวิชำชีพครูให้เป็นวิชำชีพที่มีคุณค่ำ จึงประเด็นส ำคัญท่ีสุดในกำรปฏิรูปกำรศึกษำ (ส ำนักงำนเลขำธิกำรสภำกำรศึกษำ, 2552) แม้ว่ำปัจจุบันเทคโนโลยีได้เข้ำมำมีบทบำทต่อทุกอำชีพ หลำยอำชีพอำจใช้เทคโนโลยีมำทดแทนมนุษย์ อีกทั้งกำรศึกษำในรูปแบบออนไลน์ก็ได้รับควำมนิยมมำกขึ้น แต่มีเพียงครู

Page 3: ปัจจัยที่มีผลต่อทักษะใน ...acad.vru.ac.th/Journal/journal 7_3/7_3_12.pdfท กษะในศตวรรษท 21 (21st Century Skills)

วารสารวไลยอลงกรณ์ปรทิัศน์ (มนุษยศาสตรแ์ละสังคมศาสตร)์ ปีที่ 7 ฉบับที ่3 กันยายน-ธันวาคม 2560

143

เท่ำนั้นที่จะสอนควำมเป็นมนุษย์ได้ ครูจะเป็นนักจัดกำรเรียนรู้ เพ่ือให้ผู้เรียนได้พัฒนำทักษะกำรเรียนรู้ของตนเองให้สูงขึ้น ครูผู้มีวุฒิภำวะต้องตระหนักถึงคุณค่ำของตนเองที่มีมำกกว่ำควำมสำมำรถของเทคโนโลยี และพัฒนำคุณค่ำด้ำนนี้ให้สูงยิ่งขึ้น ครูจึงเป็นส่วนส ำคัญอย่ำงยิ่งต่อกำรพัฒนำคุณภำพกำรศึกษำ ดังนั้นหน้ำที่ของครูในปัจจุบันไม่ใช่เพียงกำรสอนเนื้อหำตำมบทเรียนเท่ำนั้น แต่ต้องจัดกำรเรียนกำรสอนเพ่ือสร้ำงนิสัยรักเรียนให้เกิดขึ้นกับผู้เรียน ท ำให้ผู้เรียนรู้สึกสนุกสนำนไปกับกำรเรียน ส่งผลให้ผู้เรียนมีนิสัยรักกำรเรียนรู้ตลอดชีวิต (วิเชียร ไชยบัง, 2556; วิจำรณ์ พำนิช, 2558) อย่ำงไรก็ตำมประเด็นเรื่องทักษะในศตวรรษที่ 21 อำจยังเป็นเรื่องใหม่ซึ่งนักกำรศึกษำ ทั่วโลกยังคงให้ควำมสนใจ (ถนอม เลำหจรัสแสง, ม.ป.ป.) อีกทั้ งกำรจัดกำรเรียนกำรสอนระดับปริญญำบัณฑิตในประเทศไทยยังประสบปัญหำหลำยประกำร เช่น ผู้สอนเน้นภำคทฤษฎีมำกกว่ำภำคปฏิบัติ กำรสอนเป็นกลุ่มใหญ่ท ำให้ผู้สอนกับผู้เรียนไม่มีควำมใกล้ชิดกัน ผู้เรียนยังบกพร่อง เรื่อง กำรมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี ควำมอุตสำหะ ควำมอดทน และควำมคิดริเริ่มสร้ำงสรรค์ กำรขำด กำรบูรณำกำรหลักสูตรเพ่ือให้ผู้เรียนมีควำมรู้สมบูรณ์ ห้องสมุดไม่ทันสมัย ขำดอุปกรณ์กำรศึกษำ ที่เหมำะสมและทันสมัย กำรบริหำรสถำบันอุดมศึกษำภำยใต้กรอบระเบียบของรำชกำรท ำให้เกิดควำมไม่คล่องตัว เป็นต้น (พันธ์ศักดิ์ พลสำรัมย์, วัลลภำ เทพหัสดิน ณ อยุธยำ, และทิพยรัตน์ สีเพชรเหลือง, 2543) ดังนั้นกำรจัดกำรเรียนกำรสอนเพ่ือให้ผู้เรียนมีทักษะในศตวรรษที่ 21 จึงขึ้นอยู่กับปัจจัยหลำยประกำร บทควำมนี้น ำเสนอปัจจัยที่มีผลต่อทักษะในศตวรรษที่ 21 ประกอบด้วย ปัจจัยภำยนอกหน่วยงำน และปัจจัยภำยในหน่วยงำน

ปัจจัยภายนอกหน่วยงาน ปัจจัยภำยนอกหน่วยงำน หมำยถึง ปัจจัยต่ำง ๆ ภำยนอกหน่วยงำนซึ่งไม่สำมำรถควบคุมได้ หรือควบคุมได้น้อย ซึ่งมีอิทธิพลส ำคัญต่อหน่วยงำน ปัจจัยภำยนอกหน่วยงำนที่มีผลต่อทักษะ ในศตวรรษที่ 21 จ ำแนกออกเป็น 7 ปัจจัย ดังนี้ 1. กำรส่งเสริมเรื่องทักษะในศตวรรษที่ 21 ของหน่วยงำนระดับนำนำชำติ กำรส่งเสริมเรื่องทักษะในศตวรรษที่ 21 ของหน่วยงำนระดับนำนำชำติ ได้แก่ กำรส่งเสริมเรื่องทักษะในศตวรรษที่ 21 ของเครือข่ำยองค์กรควำมร่วมมือเพ่ือทักษะในศตวรรษที่ 21 (Partnership for 21st Century Skills) และนโยบำยต่ำง ๆ ในระดับภูมิภำคและระดับนำนำชำติ ที่มีกำรให้กำรรับรอง ซึ่งเป็นปัจจัยที่กระตุ้นให้หน่วยงำนด ำเนินกำรจัดกำรเรียนกำรสอนเพ่ือให้ผู้เรียนมีทักษะในศตวรรษท่ี 21 เครือข่ำยองค์กรควำมร่วมมือเพ่ือทักษะในศตวรรษที่ 21 เป็นหน่วยงำนระดับนำนำชำติที่เห็นควำมส ำคัญและต้องกำรส่งเสริมเรื่องทักษะในศตวรรษที่ 21 ได้ก ำหนดกรอบควำมคิดหลักส ำหรับทักษะในศตวรรษที่ 21 (Framework for 21st Century Learning) อีกทั้งยังด ำเนินกำรส่งเสริมให้สถำบันกำรศึกษำและหน่วยงำนต่ำง ๆ มีนโยบำยเกี่ยวกับทักษะในศตวรรษที่ 21 นอกจำกนี้ ยังมีนโยบำยที่เป็นข้อตกลงนำนำชำติทั้งระดับภูมิภำคและระดับนำนำชำติที่เกี่ยวข้องกับทักษะในศตวรรษที่ 21 อ่ืน ๆ ที่ประเทศไทยให้กำรรับรอง ได้แก่ กรอบกำรปฏิบัติงำนสหัสวรรษ ซึ่งก ำหนดโดยคณะกรรมกำรเศรษฐกิจและสังคมแห่งเอเชียและแปซิฟิกหรือเอสแคป (Economic

Page 4: ปัจจัยที่มีผลต่อทักษะใน ...acad.vru.ac.th/Journal/journal 7_3/7_3_12.pdfท กษะในศตวรรษท 21 (21st Century Skills)

Valaya Alongkorn Review (Humanities and Social Science) Vol. 7 No. 3 September-December 2017

144

and Social Commission for Asia and the Pacific-ESCAP) ปฏิญญำอินชอนว่ำด้วยกำรศึกษำ ปี ค.ศ. 2030 ซึ่งมุ่งให้ทั่วโลกจัดกำรศึกษำโดยค ำนึงถึงกำรให้กำรศึกษำกับทุกคน กำรพัฒนำคุณภำพกำรศึกษำให้เท่ำเทียมกัน และกำรศึกษำตลอดชีวิต (ผู้จัดกำรออนไลน์, 2558) 2. กฎหมำย นโยบำย หรือแผนระดับชำติ กฎหมำย นโยบำย หรือแผนระดับชำติ เป็นปัจจัยส ำคัญที่มีผลต่อกำรด ำเนินกำรจัด กำรเรียนกำรสอนเพ่ือให้ผู้เรียนมีทักษะในศตวรรษที่ 21 ในลักษณะกำรบังคับใช้ เพ่ือกระตุ้นให้เกิด กำรด ำเนินกำรจัดกำรเรียนกำรสอนเพื่อให้ผู้เรียนมีทักษะในศตวรรษที่ 21 มำกยิ่งขึ้น กฎหมำยระดับชำติควรก ำหนดเงื่อนไขเบื้องต้นเกี่ยวกับกำรประเมินผู้ เรียนและ กำรวัดผลของสถำบันกำรศึกษำ ผู้สอนเป็นผู้รับผิดชอบกำรประเมินผู้เรียนในภำพรวม โดยกำรประเมินเพ่ือวิเครำะห์ ประเมินควำมก้ำวหน้ำ ประเมินควำมส ำเร็จ และประเมินผลสรุป รัฐบำลก็ต้องรับผิดชอบในกำรวำงแผนและปฏิบัติกำรวัดผลที่จ ำเป็นภำยในสถำบันกำรศึกษำในสังกัดตำมที่ระบุไว้ในระดับชำติ จึงจะเป็นนโยบำยกำรศึกษำที่ผลักดันให้เกิดควำมร่วมมือระหว่ำงสถำบันกำรศึกษำ ส่งเสริมกำรร่วมมือกันและกำรแข่งขันฉันท์มิตร ไม่ใช่กำรแข่งขันเพ่ือเอำชนะ (National Board of Education, 1999) ในต่ำงประเทศมีกฎหมำยที่กล่ำวถึงทักษะในศตวรรษที่ 21 โดยเฉพำะ อำทิ ประเทศ สำธำรณฟินแลนด์มียุทธศำสตร์กำรปฏิรูปกำรศึกษำระดับชำติซึ่งน ำมำใช้ก ำหนดหลักสูตรกำรศึกษำ ทั้งนี้โรงเรียนและหน่วยงำนท้องถิ่นมีอ ำนำจควำมรับผิดชอบที่จะพัฒนำวิธีกำรสอนตำมควำมเหมำะสมของแต่ละท้องถิ่น ผู้สอนเลือกหนังสือเรียนและเลือกวิธีกำรสอนได้เอง มีกำรท ำ งำนร่วมกันระหว่ำงส่วนกลำงกับท้องถิ่นเพ่ือปรับปรุงด้ำนกำรสอนอย่ำงเป็นระบบ ประเทศสำธำรณรัฐประชำชนจีน มีกฎหมำยผู้สอนแห่งสำธำรณรัฐประชำชนจีน (Teachers Law of the People’s Republic of China) โดยกระทรวงศึกษำแห่งสำธำรณรัฐประชำชนจีนก ำหนดให้มีกำรด ำเนิ นกำรศึกษำตำมนโยบำยกำรศึกษำของรัฐ ใช้วิธีกำรสอนและกำรประเมินผลที่หลำกหลำย สร้ำงแรงบันดำลใจให้ผู้เรียน เคำรพในศักดิ์ศรีควำมเป็นมนุษย์ของผู้เรียน อ ำนวยควำมสะดวกในกำรเรียนรู้ และท ำกิจกรรมส่งเสริมกำรพัฒนำผู้เรียนทุกด้ำน (น้ ำทิพย์ วิภำวิน, 2553) แม้ว่ำประเทศไทยยังไม่มีกฎหมำย นโยบำย หรือแผนระดับชำติที่กล่ำวถึงทักษะ ในศตวรรษที่ 21 โดยตรง แต่ประเทศไทยก็มีกฎหมำย นโยบำย หรือแผนระดับชำติ ซึ่งมีเนื้อหำเกี่ยวข้องกับทักษะในศตวรรษที่ 21 เช่น พระรำชบัญญัติกำรศึกษำแห่งชำติ พ.ศ. 2542 ที่ก ำหนดให้มีกำรจัดกำรเรียนกำรสอนโดยยึดหลักให้ผู้เรียนสำมำรถเรียนรู้และพัฒนำตนเองได้ เน้นควำมรู้คู่คุณธรรม มีกระบวนกำรเรียนรู้และกิจกรรมที่ฝึกทักษะต่ำง ๆ ที่จ ำเป็นส ำหรับผู้เรียน เรียนรู้จำกประสบกำรณ์จริงและสำมำรถประยุกต์ใช้ ใฝ่รู้อย่ำงต่อเนื่อง ประสำนควำมร่วมมือกับบุคคล ที่เกี่ยวข้องเพ่ือร่วมกันพัฒนำผู้เรียนตำมศักยภำพ มีแหล่งกำรเรียนรู้ตลอดชีวิต ประเมินผู้เรียนตำมพัฒนำกำร และให้สถำนศึกษำพัฒนำกระบวนกำรเรียนกำรสอนที่มีประสิทธิภำพ ( ส ำนักงำนคณะกรรมกำรกำรอุดมศึกษำ, 2542) แผนกำรศึกษำแห่งชำติ พ.ศ. 2560-2574 ที่มุ่งเน้นกำรพัฒนำคุณภำพและมำตรฐำนกำรศึกษำภำยใต้บริบทเศรษฐกิจและสังคมของประเทศและของโลก ที่ขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรมและควำมคิดสร้ำงสรรค์ รวมทั้งมีควำมเป็นพลวัต ภำยใต้สังคมแห่งปัญญำ

Page 5: ปัจจัยที่มีผลต่อทักษะใน ...acad.vru.ac.th/Journal/journal 7_3/7_3_12.pdfท กษะในศตวรรษท 21 (21st Century Skills)

วารสารวไลยอลงกรณ์ปรทิัศน์ (มนุษยศาสตรแ์ละสังคมศาสตร)์ ปีที่ 7 ฉบับที ่3 กันยายน-ธันวาคม 2560

145

สังคมแห่งกำรเรียนรู้ และกำรสร้ำงสภำพแวดล้อมที่เอ้ือต่อกำรเรียนรู้ เพื่อให้พลเมืองสำมำรถแสวงหำควำมรู้และเรียนรู้ได้ด้วยตนเองอย่ำงต่อเนื่องตลอดชีวิต (ส ำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำแห่งชำติ, 2560) เป็นต้น นอกจำกนี้ยังมีกรอบแนวทำงกำรปฏิรูปกำรศึกษำในทศวรรษที่สอง (พ.ศ. 2552 -2561) ที่ก ำหนดประเด็นส ำคัญของระบบกำรศึกษำและกำรเรียนรู้ที่ต้องกำรปฏิรูปอย่ำงเร่งด่วน 4 ประกำร ได้แก่ 1) พัฒนำคุณภำพคนไทยยุคใหม่ ให้มีนิสัยกำรเรียนรู้ แก้ปัญหำ คิดริเริ่มสร้ำงสรรค์ ท ำงำนเป็นกลุ่มได้อย่ำงเป็นกัลยำณมิตร ค ำนึงถึงประโยชน์ส่วนรวม 2) พัฒนำคุณภำพผู้สอนยุคใหม่ ให้เป็น ผู้อ ำนวยให้ผู้เรียนเกิดกำรเรียนรู้ เป็นวิชำชีพที่มีคุณค่ำ มีคุณภำพมำตรฐำนเหมำะสมกับกำรเป็นวิชำชีพชั้นสูง สำมำรถดึงดูดคนเก่ง คนดี มีใจรักในวิชำชีพ สำมำรถจัดกำรเรียนกำรสอนได้อย่ำงมีคุณภำพ 3) พัฒนำคุณภำพสถำนศึกษำและแหล่งเรียนรู้ยุคใหม่ เพ่ือพัฒนำคุณภำพกำรศึกษำ ทุกระดับหรือประเภทให้สำมำรถเป็นแหล่งเรียนรู้ที่มีคุณภำพ เพ่ือส่งเสริมกำรเรียนรู้ของผู้เรียน อย่ำงต่อเนื่องตลอดชีวิตและมีคุณภำพ และ 4) พัฒนำคุณภำพกำรบริหำรจัดกำรใหม่ มุ่งเน้น กำรกระจำยอ ำนำจสู่สถำนศึกษำ เขตพ้ืนที่กำรศึกษำ และหน่วยงำนปกครองท้องถิ่น รวมทั้งกำรมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง ชุมชน ภำคเอกชนและทุกภำคส่วน มีกำรบริหำรจัดกำรงบประมำณที่เน้นผู้เรียนเป็นส ำคัญ (ส ำนักงำนสภำที่ปรึกษำเศรษฐกิจและสังคมแห่งชำติ, ม.ป.ป.) 3. ควำมร่วมมือของชุมชน ควำมร่วมมือของชุมชน เกิดจำกกำรสนับสนุนกำรมีส่วนร่วมจำกประชำชนเพ่ือกำรจัดกำรศึกษำที่สอดคล้องกับควำมต้องกำรของผู้เรียนและชุมชน เนื่องจำกระบบกำรศึกษำโดยทั่วไป รัฐบำลจะรับผิดชอบเป็นส่วนใหญ่ จึงยำกต่อกำรเปลี่ยนแปลง และขำดกำรมีส่วนร่วมจำกประชำชน (ชินภัทร ภูมิรัตน, 2558) ชุมชนควรมีส่วนร่วมในกำรก ำหนดแนวทำงกำรพัฒนำและกระบวนกำร ในระบบกำรศึกษำ เช่น กำรเข้ำร่วมเป็นหน่วยงำนทำงกำรศึกษำ กำรเข้ำร่วมในกระบวนกำรเรียนรู้ของผู้เรียน เป็นต้น (สุธรรม วำณิชเสนี, 2558) หลักสูตรต้องมีกำรปรับเปลี่ยนกำรเรียนและกำรสอนด้วยกำรจัดท ำหลักสูตรที่ทุกภำคส่วนเข้ำมำมีส่วนร่วม เชื่อมโยงกับชุมชน ผู้ปกครอง ศำสนสถำน และบุคลำกรส่วนต่ำง ๆ ให้สอดคล้องกับท้องถิ่น สอดคล้องกับผู้เรียนรำยบุคคล ไม่ควรใช้หลักสูตรเดียวกันทั่วประเทศ เช่นเดียวกับกำรประเมินผล ต้องปรับวิธีกำรประเมินผลให้เป็นรำยบุคคล มีกำรประเมินผลที่หลำกหลำยและเหมำะสมในแต่ละพ้ืนที่ด้วยเช่นกัน (ชัชวำล ทองดีเลิศ, 2558) นอกจำกนี้ควำมร่วมมือของชุมชนยังรวมไปถึงกำรมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง กำรพบกันระหว่ำงผู้สอนและผู้ปกครองเป็นรำยบุคคล เป็นกำรติดตำมและกำรวำงแผนเพ่ือดูแลผู้เรียนร่วมกันอย่ำงมีประสิทธิภำพ โดยมีผู้สอนท ำหน้ำที่ให้ค ำแนะน ำแก่ผู้ปกครองเพ่ือกำรร่วมมือกันดูผู้เรียนอย่ำงเหมำะสม ช่วยให้ผู้สอนได้รู้จักและเข้ำใจผู้เรียนมำกขึ้น แสดงออกถึงควำมเข้ำใจ ควำมใส่ใจ และเป็นที่พ่ึงให้กับผู้เรียนได้ นอกจำกนี้กำรส่งเสริมให้เกิดควำมสัมพันธ์อันดีระหว่ำงเพ่ือน รุ่นพี่ และรุ่นน้องในสถำบันกำรศึกษำ ก็เป็นกำรแสดงออกถึงควำมยอมรับและควำมเชื่อมั่นในศักยภำพผู้เรียน เพรำะกำรเชื่อมโยงพัฒนำกำรระหว่ำงเพ่ือน สังคม และครอบครัว มีบทบำทส ำคัญในกำรกระตุ้นและส่งเสริมกำรเรียนรู้เพ่ือให้ผู้เรียนมีทักษะในศตวรรษท่ี 21 (กลุ่มเพื่อนปฏิรูป, 2557)

Page 6: ปัจจัยที่มีผลต่อทักษะใน ...acad.vru.ac.th/Journal/journal 7_3/7_3_12.pdfท กษะในศตวรรษท 21 (21st Century Skills)

Valaya Alongkorn Review (Humanities and Social Science) Vol. 7 No. 3 September-December 2017

146

4. พัฒนำกำรของเทคโนโลยี ปัจจุบันเทคโนโลยีเจริญก้ำวหน้ำอย่ำงรวดเร็ว ทั้งเทคโนโลยีฮำร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ พัฒนำกำรของเทคโนโลยีดังกล่ำว มีผลท ำให้ผู้สอนต้องค ำนึงถึงกำรจัดกำรเรียนกำรสอนที่สำมำรถน ำเทคโนโลยีไปใช้กับผู้เรียนที่มีควำมหลำกหลำยได้ทั้งในปัจจุบันและอนำคต เพ่ือให้ผู้เรียนมีทักษะในศตวรรษท่ี 21 เทคโนโลยีฮำร์ดแวร์ในปัจจุบันมีกำรเปลี่ยนแปลงอย่ำงรวดเร็วมำก เพ่ือปรับให้มีระดับควำมสำมำรถที่สูงขึ้น โดยเฉพำะอย่ำงยิ่งกำรพัฒนำให้สำมำรถใช้ได้กับอุปกรณ์เคลื่อนที่ ซึ่งมีหลำยประเภท เช่น โทรศัพท์มือถือ เครื่องโน้ตบุ๊กพีซีหรือแลปท็อป เครื่องพีดีเอ เป็นต้น (ส ำรวย กมลำยุตต์, 2552) ส ำหรับเทคโนโลยีซอฟต์แวร์ก็มีกำรปรับเปลี่ยนตำมฮำร์ดแวร์เพ่ือให้สำมำรถท ำงำนร่วมกันได้ และรองรับกำรท ำงำนให้สอดคล้องกับเทคโนโลยีใหม่ ๆ เช่น โปรแกรมประยุกต์มัลติมีเดียหรือสื่อดิจิทัล จะช่วยให้ผู้เรียนสร้ำงกิจกรรมกำรเรียนรู้โดยสำมำรถบันทึกวีดิทัศน์หรือออกแบบวิธีกำรเรียนที่หลำกหลำย ผู้เรียนจะรู้สึกสนุกไปกับกำรเรียน มีทักษะกำรเรียนรู้เพ่ิมขึ้น ตลอดจนสำมำรถน ำเสนอควำมรู้ได้ด้วยตนเองและเรียนรู้เนื้อหำวิชำได้มำกกว่ำกำรเรียนด้วยต ำรำเพียงอย่ำงเดียว (Regan, 2008) เทคโนโลยีเป็นเพียงเครื่องมืออ ำนวยควำมสะดวกที่ควรน ำมำใช้ในกำรเรียนกำรสอนเพ่ือให้ผู้เรียนมีทักษะในศตวรรษท่ี 21 เท่ำนั้น ผู้สอนไม่ควรน ำเทคโนโลยีมำใช้เพียงอย่ำงเดียว เพรำะในห้องเรียนควรเน้นกิจกรรมกำรเรียนรู้ที่เป็นกำรแลกเปลี่ยนและกำรอภิปรำยกลุ่มเป็นหลัก เนื่องจำกกำรผสมผสำนจุดเด่นของกำรศึกษำแบบเก่ำและแบบใหม่หรือกำรเรียนรู้แบบผสม (Hybrid) จะช่วยให้ผู้เรียนเกิดกำรพัฒนำกำรเรียนรู้ตำมธรรมชำติของมนุษย์ สำมำรถบูรณำกำรทั้งเทคโนโลยีและกำรปฏิสัมพันธ์ได้ไปพร้อมกัน (วิริยะ ฤำชัยพำณิช, ม.ป.ป.) 5. กำรจัดกำรเรียนกำรสอนเกี่ยวกับทักษะในศตวรรษที่ 21 ของหน่วยงำนอื่น กำรจัดกำรเรียนกำรสอนเกี่ยวกับทักษะในศตวรรษที่ 21 ของหน่วยงำนอ่ืนเป็นปัจจัยหนึ่งที่มีส่วนกระตุ้นให้สถำบันกำรศึกษำเกิดควำมกระตือรือร้นที่จะปรับเปลี่ยนกำรเรี ยนกำรสอนเพ่ือให้ผู้เรียนมีทักษะในศตวรรษที่ 21 โดยอำจให้บุคลำกรที่มีหน้ำที่รับผิดชอบด้ำนกำรศึกษำเปรียบเทียบกำรด ำเนินงำนเกี่ยวกับกำรจัดกำรเรียนกำรสอนเกี่ยวกับทักษะในศตวรรษที่ 21 ของหน่วยงำนตนเองกับหน่วยงำนอ่ืน ทั้งหน่วยงำนภำยใต้สังกัดเดียวกันและต่ำงสังกัด ในประเด็นต่ำง ๆ แล้วจึงน ำผลที่ได้มำเป็นแนวทำงในกำรปรับปรุงกำรเรียนกำรสอนของหน่วยงำนตนเองให้มีประสิทธิภำพยิ่งขึ้น จำกกำรศึกษำของรัชนีวรรณ เทียนทอง (2557) เรื่อง กำรเปรียบเทียบกำรปฏิบัติงำนของผู้สอนในโรงเรียนไทยกับผู้สอนในโรงเรียนชั้นน ำระดับโลก พบว่ำ แนวทำงกำรพัฒนำกำรปฏิบัติงำนของผู้สอนไทยให้เหมือนผู้สอนชั้นน ำระดับโลก ได้แก่ กำรรับรู้ควำมสำมำรถของตนเอง กำรพัฒนำตนเอง กำรแสวงหำควำมรู้ กำรพัฒนำทักษะและควำมช ำนำญต่ำง ๆ อยู่ตลอดเวลำ อำทิ ทักษะในศตวรรษที่ 21 เพ่ือมุ่งเน้นกำรสร้ำงทักษะให้เกิดขึ้นกับผู้เรียน กำรนิเทศติดตำมกำรจัดกำรชั้นเรียนอย่ำงสม่ ำเสมอ กำรวัดและกำรประเมินผลตำมควำมสำมำรถและควำมแตกต่ำงของผู้เรียน กำรท ำวิจัยในชั้นเรียนจำกฐำนข้อมูลจริงและกำรเผยแพร่ผลงำนวิจัย กำรใช้สื่อที่ท ำให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมอย่ำง

Page 7: ปัจจัยที่มีผลต่อทักษะใน ...acad.vru.ac.th/Journal/journal 7_3/7_3_12.pdfท กษะในศตวรรษท 21 (21st Century Skills)

วารสารวไลยอลงกรณ์ปรทิัศน์ (มนุษยศาสตรแ์ละสังคมศาสตร)์ ปีที่ 7 ฉบับที ่3 กันยายน-ธันวาคม 2560

147

แท้จริง กำรเคำรพควำมแตกต่ำงและกำรอุทิศเวลำให้กับผู้เรียน กำรแลกเปลี่ยนเรียนรู้และกำรสะท้อนคิดทำงวิชำกำรกับเพื่อนร่วมงำน รวมถึงกำรให้ควำมรู้กับชุมชน 6. กำรเพ่ิมพูนควำมรู้ในเรื่องทักษะในศตวรรษที่ 21 โดยหน่วยงำนภำยนอก กำรเพ่ิมพูนควำมรู้โดยหน่วยงำนภำยนอก เป็นปัจจัยหนึ่งที่มีผลต่อกำรด ำเนินกำรจัดกำรเรียนกำรสอนเพ่ือให้ผู้เรียนมีทักษะในศตวรรษที่ 21 เพรำะกำรเพ่ิมพูนควำมรู้โดยหน่วยงำนภำยนอกเป็นวิธีกำรหนึ่งที่จะช่วยให้บุคลำกรมีโอกำสศึกษำหำควำมรู้เพ่ิมเติม รวมถึงแลกเปลี่ยนทัศนคติและประสบกำรณ์จำกผู้เชี่ยวชำญ เพ่ือน ำควำมรู้ที่ได้รับมำใช้ในกำรปรับปรุงกำรปฏิบัติงำนภำยในหน่วยงำน หน่วยงำนภำยนอกที่จัดกำรเพ่ิมพูนควำมรู้ในเรื่องทักษะในศตวรรษที่ 21 เช่น โครงกำรกำรพัฒนำโรงเรียนต้นแบบเพ่ือพัฒนำสมรรถนะผู้สอน จัดโดยโรงเรียนล ำปลำยมำศพัฒนำ (โรงเรียนนอกกะลำ, 2558) โครงกำรอบรมกำรสอนแบบสร้ำงสรรค์เป็นฐำน (Creativity-based Learning-CBL) จัดโดยบริษัทห้องเรียนแห่งอนำคต จ ำกัด (สถำบันวิจัยห้องเรียนแห่งอนำคต, 2560)โครงกำรต่ำง ๆ ของส ำนักงำนส่งเสริมสังคมแห่งกำรเรียนรู้และคุณภำพเยำวชน (สสค.) (ส ำนักงำนส่งเสริมสังคมแห่งกำรเรียนรู้และคุณภำพเยำวชน , 2554) และโครงกำรอบรมของศูนย์จิตวิทยำกำรศึกษำ มูลนิธิยุวสถิรคุณ (ศูนย์จิตวิทยำกำรศึกษำ มูลนิธิยุวสถิรคุณ, 2559) เป็นต้น นอกจำกนี้ยังมีกำรศึกษำในหลักสูตรเพ่ือรับปริญญำในเรื่องทักษะในศตวรรษท่ี 21 ซึ่งมีเพียงแห่งเดียวในประเทศไทย คือ คณะวิทยำกำรเรียนรู้และศึกษำศำสตร์ มหำวิทยำลัยธรรมศำสตร์ ได้แก่ หลักสูตรศิลปศำสตรบัณฑิต สำขำวิชำวิทยำกำรเรียนรู้ เริ่มกำรเรียนกำรสอนในภำคกำรศึกษำที่ 1/2559 หลักสูตรศึกษำศำสตรมหำบัณฑิต สำขำวิชำวิทยำกำรเรียนรู้และนวัตกรรมกำรศึกษำเริ่มกำรเรียนกำรสอนในภำคกำรศึกษำที่ 1/2558 หลักสูตรศึกษำศำสตรมหำบัณฑิต สำขำสะเต็มศึกษำ (นำนำชำติ) อยู่ระหว่ำงด ำเนินกำรหลักสูตรและกำรท ำควำมร่วมมือกับสถำบันส่งเสริมกำรสอนวิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) และหลักสูตรปรัชญำดุษฎีบัณฑิต (นำนำชำติ) อยู่ระหว่ำงกำรพัฒนำหลักสูตร คำดว่ำจะเป็นหลักสูตรที่เน้นควำมร่วมมือกับสถำบันกำรศึกษำในอำเซียนและนำนำชำติ และหลักสูตรประกำศนียบัตรบัณฑิตวิชำชีพครู คำดว่ำจะเปิดรับนักศึกษำในปีกำรศึกษำ 2560 (คณะวิทยำกำรเรียนรู้และศึกษำศำสตร์ มหำวิทยำลัยธรรมศำสตร์, 2558) 7. ผู้เรียน ผู้เรียนเป็นปัจจัยส ำคัญของกำรศึกษำ กำรปฏิรูปกำรศึกษำย่อมต้องกำรให้ผู้เรียนตระหนักถึงควำมส ำคัญของกำรเรียนรู้ ผู้เรียนต้องปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำกกำรได้รับกำรบอก จำกผู้สอนให้จดจ ำและน ำไปสอบ มำเป็นควำมกล้ำแสดงออกและน ำเสนอควำมคิดหลำกหลำย ผู้เรียนจะได้รับประโยชน์จำกกำรเรียนแบบมีปฏิสัมพันธ์กัน ทั้งกำรสร้ำงระบบควำมคิด กำรท ำงำนเป็นกลุ่ม กำรค้นคว้ำจำกแหล่งสำรสนเทศ อีกทั้งได้เรียนรู้คุณค่ำที่แท้จริงของกำรเป็นมนุษย์ ผู้สอนมีหน้ำที่เป็นเพียงผู้ให้ค ำชี้แนะ และเพ่ิมพูนประสบกำรณ์เพ่ิมเติมแก่ผู้เรียน (จันทร์ชลี มำพุทธ, 2546) เนื่องจำกกำรเรียนรู้แบบกำรฟังบรรยำย (Lecture) ผู้ เรียนจะจดจ ำเนื้อหำได้เพียงร้อยละ 5 กำรเรียนรู้แบบกำรอ่ำนด้วยตนเอง (Reading) ผู้เรียนจะจ ำเนื้อหำได้เพียงร้อยละ 10 แต่กำรเรียนรู้โดยกำรได้ลงมือปฏิบัติ (Practice) ผู้ เรียนจะจดจ ำเนื้อหำได้ร้อยละ 75 และกำรเรียนผู้เรียนรู้ โดยกำรน ำควำมรู้ที่ได้รับไปสอนผู้อ่ืน (Teaching Others) ผู้เรียนจะจดจ ำเนื้อหำได้ถึงร้อยละ 95 (Polovina, 2011) อย่ำงไรก็ตำม ผู้เรียนบำงคนอำจไม่เห็นควำมส ำคัญของวิธีกำรเรียนรู้ที่แตกต่ำงไป

Page 8: ปัจจัยที่มีผลต่อทักษะใน ...acad.vru.ac.th/Journal/journal 7_3/7_3_12.pdfท กษะในศตวรรษท 21 (21st Century Skills)

Valaya Alongkorn Review (Humanities and Social Science) Vol. 7 No. 3 September-December 2017

148

จำกเดิม เนื่องจำกควำมไม่พร้อมยอมรับต่อกำรเปลี่ยนแปลงและทัศนคติส่วนตัวที่ว่ำผู้สอนต้องท ำหน้ำที่สอนก่อนเท่ำนั้น กำรสอนก็จ ำเป็นต้องใช้วิธีสอนโดยกำรบรรยำย ถ้ำไม่ท ำหน้ำที่ดังกล่ำว จะไม่เป็นกำรสอน ผู้เรียนไม่สำมำรถเรียนรู้ด้วยตนเองได้ และท ำให้ผู้เรียนไม่ได้รับควำมรู้ (ฟ้ำ วิไลข ำ สัมภำษณ์, 17 มีนำคม 2559) ดังนั้น ผู้เรียนจึงเป็นปัจจัยส ำคัญประกำรหนึ่งที่มีผลต่อกำรจัดกำรเรียนกำรสอนเพ่ือให้ผู้เรียนมีทักษะในศตวรรษท่ี 21 ทั้งนี้ผู้เรียนจะให้ควำมร่วมมือกับกำรจัดกำรเรียนกำรสอนได้เป็นอย่ำงดีก็ต่อเมื่อเกิดควำมสัมพันธ์ที่ดีระหว่ำงผู้สอนกับผู้เรียนซึ่งเป็นปัจจัยแห่งควำมส ำเร็จในระบบกำรศึกษำ (ศรีสุชำ พิศำลบุตร และฝน ลีสินสวัสดิ์, 2558) ควำมสัมพันธ์ที่ดีระหว่ำงผู้สอนกับผู้เรียนมีควำมส ำคัญมำกกว่ำกำรพัฒนำเทคโนโลยีกำรศึกษำ กำรปรับโครงสร้ำงกำรบริหำร หรือแม้แต่กำรเพ่ิมวุฒิกำรศึกษำให้กับผู้สอน กำรสร้ำงควำมสัมพันธ์ที่ดีนั้นอำจเริ่มจำกกำรสร้ำงบรรยำกำศกำรเรียนที่เป็นมิตร มีควำมสงบ ควำมปลอดภัย ควำมรัก และควำมเมตตำ ผู้สอนควรมีควำมรู้สึกไวต่อปฏิกิริยำของผู้เรียนและให้กำรตอบสนองได้อย่ำงเหมำะสม และควรใส่ใจต่อควำมคิดเห็นของผู้เรียนแต่ละคน (ศูนย์ จิตวิทยำกำรศึกษำ มูลนิธิยุวสถิรคุณ, 2557; อำจอง ชุมสำย ณ อยุธยำ, 2550) หำกผู้เรียนได้เรียนสิ่งที่ชอบแล้วก็จะท ำให้ผู้เรียนมีควำมสุขในกำรเรียน ผู้เรียนจะรักกำรเรียนรู้ และกลำยเป็นบุคคลเรียนรู้ ดังนั้นผู้สอนจึงมีบทบำทส ำคัญในกำรคิดและปรับเปลี่ยนวิธีกำรสอนที่แปลกใหม่ซึ่งจะส่งผลให้ผู้เรียนเกิดกำรเรียนรู้ จดจ ำได้นำน สนุกสนำน และบูรณำกำรควำมรู้กับชีวิตประจ ำวัน รวมถึงกำรเปิดโอกำสให้ผู้เรียนช่วยเหลือหรือรับใช้สังคม/ชุมชนของตนเอง นอกจำกนี้ผู้สอนควรมีควำมเข้ำใจผู้เรียนทุกคน โดยเฉพำะอย่ำงยิ่งผู้เรียนที่ประสบปัญหำในกำรเรียน อีกทั้งควรมีสัมพันธภำพที่ดีกับผู้เรียนและผู้ปกครองด้วย (ประเวศ วะสี, 2559; สิทธิพร เอ่ียมเสน, ม.ป.ป.) ปัจจัยภายในหน่วยงาน ปัจจัยภำยในหน่วยงำน หมำยถึง ปัจจัยต่ำง ๆ ภำยในหน่วยงำนที่เป็นผลมำจำกกระบวนกำรต่ำง ๆ ภำยในหน่วยงำน ทรัพยำกรในหน่วยงำน และพฤติกรรมของบุคคลในหน่วยงำน ปัจจัยภำยในหน่วยงำนที่มีผลต่อกำรด ำเนินกำรจัดกำรเรียนกำรสอนเพื่อให้ผู้เรียนมีทักษะในศตวรรษที่ 21 จ ำแนกออกเป็น 7 ปัจจัย ดังนี้ 1. นโยบำยของหน่วยงำน วิสัยทัศน์ผู้น ำของหน่วยงำนเป็นเงื่อนไขส ำคัญที่จะน ำไปสู่ควำมส ำเร็จในกำรพัฒนำงำนวิจัยและนโยบำยกำรศึกษำ (ส ำนักงำนเลขำธิกำรสภำกำรศึกษำ, 2557) หน่วยงำนหรือผู้บริหำรสถำนศึกษำควรมีควำมรู้ ควำมเข้ำใจและเห็นควำมส ำคัญของทักษะในศตวรรษที่ 21 รวมถึงสนับสนุนส่งเสริมผู้สอนในกำรปฏิบัติงำนที่เก่ียวข้องกันด้วย (ทิศนำ แขมมณี, 2557) นโยบำยกำรพัฒนำผู้สอนที่ชัดเจน ครอบคลุม และเป็นระบบจะส่งผลให้ผู้สอนมีควำมรู้ควำมสำมำรถในกำรจัดกำรเรียนกำรสอนอย่ำงมีประสิทธิภำพ กำรก ำหนดมำตรฐำนวิชำชีพและ กำรน ำเทคโนโลยีมำประยุกต์ใช้ เป็นส่วนส ำคัญในกำรกระตุ้นให้ผู้สอนพัฒนำตนเอง โดยเปลี่ยนแปลงทั้งทัศนคติ วิธีสอน และบทบำท ทั้งยังส่งผลให้เกิดกำรแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และประสบกำรณ์ ที่หลำกหลำย จนกลำยเป็นองค์ควำมรู้ใหม่ที่สำมำรถน ำมำปรับใช้ภำยใต้บริบทของตนเอง เพ่ือถ่ำยทอด

Page 9: ปัจจัยที่มีผลต่อทักษะใน ...acad.vru.ac.th/Journal/journal 7_3/7_3_12.pdfท กษะในศตวรรษท 21 (21st Century Skills)

วารสารวไลยอลงกรณ์ปรทิัศน์ (มนุษยศาสตรแ์ละสังคมศาสตร)์ ปีที่ 7 ฉบับที ่3 กันยายน-ธันวาคม 2560

149

และเสริมสร้ำงให้ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม มีทักษะชีวิตและวิชำชีพตำมคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของชำติและนำนำชำติต่อไป (ภำสกร เรืองรอง และคณะ, 2557) ผู้บริหำรต้องส่งเสริมและสนับสนุนให้ผู้สอนได้พัฒนำตนเองอย่ำงต่อเนื่องและสม่ ำเสมอ โดยเฉพำะอย่ำงยิ่งกำรพัฒนำวิธีกำรสอน และกระบวนกำรคิดของผู้สอน กำรจัดหลักสูตรอบรมให้ตรงกับควำมต้องกำรจ ำเป็นของผู้สอนโดยก ำหนดช่วงเวลำในกำรฝึกอบรมที่ไม่กระทบต่องำนสอน และสิ่งส ำคัญในกำรฝึกอบรมคือกำรประเมินกำรเรียนกำรสอนของผู้สอนอย่ำงต่อเนื่องทุก 1-2 ปี จึงจะท ำให้กำรพัฒนำผู้สอนเป็นไปอย่ำงต่อเนื่อง (ส ำนักงำนเลขำธิกำรสภำกำรศึกษำ, 2558) เพรำะกำรพัฒนำผู้สอนอย่ำงต่อเนื่องและตลอดเวลำเป็นองค์ประกอบส ำคัญของระบบกำรศึกษำของประเทศที่ประสบควำมส ำเร็จ (ธีระเกียรติ เจริญเศรษฐศิลป์, 2558) 2. กำรจัดสรรงบประมำณ งบประมำณมีส่วนส ำคัญต่อกำรด ำเนินกำรจัดกำรเรียนกำรสอนเพ่ือให้ผู้เรียนมีทักษะ ในศตวรรษที่ 21 เพรำะในกำรด ำเนินงำนเรื่องทักษะในศตวรรษที่ 21 จ ำเป็นต้องใช้งบประมำณ เพ่ือกำรจัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ต่ำง ๆ เช่น ฮำร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ เทคโนโลยีกำรศึกษำ กำรจ้ำงผู้เชี่ยวชำญ กำรออกแบบหรือกำรปรับปรุงกำรเรียนกำรสอน เป็นต้น นอกจำกนี้ต้องมีงบประมำณส ำหรับกำรวิจัยและกำรฝึกอบรม เพ่ือให้บุคลำกรมีควำมรู้ควำมเข้ำใจเรื่องทักษะในศตวรรษท่ี 21 มำกขึ้น กำรจัดสรรงบประมำณลงทุนด้ำนกำรศึกษำเป็นประเด็นที่มีควำมส ำคัญ หลำยประเทศมีควำมคิดเห็นว่ำควรจัดสรรงบประมำณทำงกำรศึกษำให้มำกขึ้น โดยสะท้อนแนวคิดดังกล่ ำวไว้ ในปฏิญญำอินชอน (Incheon Declaration) ว่ำ รัฐควรจะจัดสรรงบประมำณทำงกำรศึกษำประมำณร้อยละ 4-6 ของผลิตภัณฑ์มวลรวมของชำติ (Gross Domestic Products : GDP) หรือประมำณ ร้อยละ 15-20 ของงบประมำณของประเทศ อีกทั้งมีผู้เสนอให้จัดตั้งกองทุนโลกว่ำด้วยกำรศึกษำ (Global Education Fund) เพ่ือช่วยสนับสนุนประเทศที่ไม่สำมำรถจัดสรรงบประมำณด้ำนกำรศึกษำเพ่ิมเติมได้ เนื่องจำกประเทศก ำลังพัฒนำหลำยประเทศยังไม่ได้ให้ควำมส ำคัญต่อกำรจัดสรรงบประมำณด้ำนกำรศึกษำมำกเท่ำที่ควร ทั้งนี้กำรจัดสรรงบประมำณให้ภำคกำรศึกษำจะต้องวำงแผนใช้งบประมำณเพ่ือให้เกิดประโยชน์สูงสุดด้วย (ศุภชัย บุญวิเศษ, 2558) ดังนั้นหน่วยงำนต่ำง ๆ ควรสนับสนุนงบประมำณเพ่ือกำรพัฒนำผู้สอน เพ่ือให้ทั้งผู้สอนที่เพ่ิงส ำเร็จกำรศึกษำและผู้สอนที่มีอยู่เดิมเป็นผู้สอนที่มีคุณภำพ พร้อมพัฒนำผู้เรียนสู่ยุคศตวรรษที่ 21 อย่ำงแท้จริง (ส ำนักงำนส่งเสริมสังคมแห่งกำรเรียนรู้และคุณภำพเยำวชน, 2559) กำรจัดสรรงบประมำณส ำหรับกำรพัฒนำผู้สอนในประเทศไทยยังคงจ ำกัด ไม่ตรงกับควำมต้องกำรของผู้สอน กำรใช้งบประมำณส ำหรับกำรจัดโครงกำรยังซ้ ำซ้อนและไม่เป็นระบบ ขำดประสิทธิภำพและขำดควำมต่อเนื่อง วิธีกำรส่วนใหญ่ใช้กำรอบรม กำรบรรยำย กำรประชุมกลุ่มย่อยและกำรสรุปควำมคิดเห็นต่อที่ประชุมใหญ่ อีกทั้งมีผู้เข้ำประชุมค่อนข้ำงมำก โดยเฉพำะอย่ำงยิ่งกำรละทิ้งกำรสอนเพ่ือเข้ำมำรับกำรอบรม จึงท ำให้กำรพัฒนำผู้สอนมีปัญหำตำมมำ ได้แก่ ค่ำใช้จ่ำยสูง กำรไม่สำมำรถติดตำมผลกำรพัฒนำได้อย่ำงต่อเนื่อง กำรไม่เห็นผลกำรน ำควำมรู้ที่ได้รับจำกกำรอบรมไปปฏิบัติอย่ำงเป็นรูปธรรม และกำรไม่สำมำรถแก้ไขปัญหำของสถำนศึกษำได้ตรงประเด็น (สุรศักดิ์ ปำเฮ, 2556)

Page 10: ปัจจัยที่มีผลต่อทักษะใน ...acad.vru.ac.th/Journal/journal 7_3/7_3_12.pdfท กษะในศตวรรษท 21 (21st Century Skills)

Valaya Alongkorn Review (Humanities and Social Science) Vol. 7 No. 3 September-December 2017

150

3. ควำมรู้ควำมสำมำรถของบุคลำกร ควำมรู้ควำมสำมำรถของบุคลำกร เป็นปัจจัยส ำคัญหนึ่งที่ควรค ำนึงถึง เพรำะหำกบุคลำกรขำดควำมรู้ควำมสำมำรถเรื่องทักษะในศตวรรษที่ 21 ก็จะไม่สำมำรถจัดกำรเรียนกำรสอนเพ่ือให้ผู้เรียนมีทักษะในศตวรรษที่ 21 ได้ ทั้งนี้กำรได้รับควำมรู้ควำมสำมำรถของบุคลำกรในเรื่องทักษะในศตวรรษที่ 21 อำจท ำได้หลำยวิธี เช่น กำรศึกษำในหลักสูตรของมหำวิทยำลัย โดยอำจรวมเข้ำไว้ในวิชำหลักสูตรและกำรสอนหรือกำรบรูณำกำรสู่รำยวิชำต่ำง ๆ ไม่ใช่เป็นเพียงกำรเสริมเข้ำไปในหลักสูตร (Regan, 2008) กำรศึกษำค้นคว้ำด้วยตนเอง กำรปฐมนิเทศงำน กำรเข้ำร่วมกำรประชุมหรือกำรสัมมนำ กำรเข้ำรับกำรฝึกอบรม กำรศึกษำดูงำนนอกสถำนที่และกำรศึกษำในหลักสูตรระยะสั้น เป็นต้น ผู้บริหำรหน่วยงำนอำจเชิญผู้เชี่ยวชำญเรื่องทักษะในศตวรรษที่ 21 ไปบรรยำยหรือจัดกำรสัมมนำภำยในมหำวิทยำลัย อธิกำรบดีควรเป็นผู้น ำ โดยให้บุคลำกรทุกคน โดยเฉพำะอย่ำงยิ่งผู้สอนจำกทุกคณะและสถำบันต่ำง ๆ พยำยำมเรียนรู้และท ำควำมเข้ำใจเรื่องทักษะในศตวรรษที่ 21 รวมถึงกำรพัฒนำศักยภำพของบุคลำกรให้เป็นผู้เชี่ยวชำญในเรื่องทักษะในศตวรรษที่ 21 เมื่อมหำวิทยำลัยมีผู้เชี่ยวชำญด้ำนนี้แล้วก็จะสำมำรถน ำควำมรู้ที่ได้รับปรับเปลี่ยนกำรเรียนกำรสอนทั้งภำยในและภำยนอกมหำวิทยำลัย (ประเวศ วะสี, 2559) 4. กำรตระหนักถึงควำมส ำคัญของทักษะในศตวรรษท่ี 21 กำรตระหนักถึงควำมส ำคัญของทักษะในศตวรรษที่ 21 ของบุคลำกรเป็นปัจจัยส ำคัญ ที่ท ำให้เกิดกำรด ำเนินกำรจัดกำรเรียนกำรสอนเพ่ือให้ผู้เรียนมีทักษะในศตวรรษที่ 21 โดยเฉพำะ อย่ำงยิ่งผู้สอนจะต้องตระหนักถึงควำมส ำคัญของทักษะในศตวรรษที่ 21 ด้วยกำรปรับตัวและและ กำรพัฒนำตนเองไปสู่ผู้สอนในศตวรรษที่ 21 กำรอบรมและกำรพัฒนำผู้สอนจะต้องมีประสิทธิภำพและมีผลต่อเนื่องและหลำกหลำย เพ่ือให้เกิดรูปแบบกำรเรียนกำรสอนแบบใหม่ที่ มีประสิทธิภำพ รวมถึ งกำรรวบรวมองค์ควำมรู้ จำกภำยในประเทศและจำกผู้สอนที่ประสบควำมส ำเร็จ (กระทรวงศึกษำธิกำร, 2556) นั่นคือ ผู้สอนและบุคลำกรที่เกี่ยวข้องต้องตระหนักถึงควำมส ำคัญของทักษะในศตวรรษท่ี 21 จึงจะมีกำรจัดกำรเรียนกำรสอนเพ่ือให้ผู้เรียนมีทักษะในศตวรรษที่ 21 กำรสร้ำงควำมตระหนักถึงควำมส ำคัญของทักษะในศตวรรษที่ 21 แก่ผู้สอนหรือบุคลำกร ที่เกี่ยวข้องนั้น อำจด ำเนินกำรโดยกำรสนับสนุนให้เข้ำรับกำรอบรมในเรื่องทักษะในศตวรรษที่ 21 เนื่องจำกกำรเข้ำรับกำรอบรม กำรแลกเปลี่ยน และกำรสร้ำงเครือข่ำยกำรเรียนรู้ เป็นปัจจัยส ำคัญอันดับแรกในกำรพัฒนำผู้สอนในประเทศไทย (ส ำนักงำนส่งเสริมสังคมแห่งกำรเรียนรู้และคุณภำพเยำวชน, 2556) ดังนั้น กำรศึกษำและกำรฝึกอบรมเกี่ยวกับทักษะในศตวรรษท่ี 21 จึงเป็นจุดเปลี่ยนส ำคัญในกำรท ำให้ผู้สอนหรือบุคลำกรที่เก่ียวข้องตระหนักถึงทักษะในศตวรรษที่ 21 มำกขึน้ แม้ว่ำผู้สอนส่วนใหญ่จะตระหนักถึงควำมส ำคัญของทักษะในศตวรรษที่ 21 แต่อำจจะประสบปัญหำในกำรด ำเนินกำรจัดกำรเรียนกำรสอนเพ่ือให้ผู้เรียนมีทักษะในศตวรรษที่ 21 เนื่องจำกผู้สอนส่วนใหญ่ได้รับกำรสอนในสภำพแวดล้อมของระบบกำรศึกษำในศตวรรษที่ 19 ซึ่งเป็นยุคอุตสำหกรรมที่เน้นสร้ำงบุคลำกรให้เป็นแรงงำนที่ท ำงำนลักษณะซ้ ำกัน ส่งผลให้ผู้สอนอำจไม่สำมำรถจัดกำรเรียนกำรสอนเพ่ือให้ผู้เรียนมีทักษะในศตวรรษที่ 21 ได้อย่ำงเป็นรูปธรรม (ประชำชำติธุรกิจ, 2560)

Page 11: ปัจจัยที่มีผลต่อทักษะใน ...acad.vru.ac.th/Journal/journal 7_3/7_3_12.pdfท กษะในศตวรรษท 21 (21st Century Skills)

วารสารวไลยอลงกรณ์ปรทิัศน์ (มนุษยศาสตรแ์ละสังคมศาสตร)์ ปีที่ 7 ฉบับที ่3 กันยายน-ธันวาคม 2560

151

5. วัสดุ อุปกรณ์ และเทคโนโลยีกำรศึกษำที่มีในหน่วยงำน กำรจัดกำรเรียนกำรสอนในศตวรรษที่ 21 มีลักษณะเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลำง โดยลดกำรบรรยำยจำกผู้สอน แต่ผู้สอนจะเป็นผู้กระตุ้นให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ด้วยตนเองจำกกำรปฏิบัติจริงหรือกำรเรียนโดยกำรลงมือท ำ ด้วยวิธีที่ผู้เรียนได้ฝึกฝนสภำพแวดล้อมจริง ทั้งกำรคิดและกำรลงมือท ำ ดังนั้นวัสดุ อุปกรณ์ และเทคโนโลยีทำงกำรศึกษำนั้นเป็นสิ่งส ำคัญที่หน่วยงำนและผู้สอนควรจัดหำไว้รองรับกำรเรียนกำรสอนเพ่ือให้ผู้เรียนมีทักษะในศตวรรษที่ 21 (Lombardi, 2007; Beetham & Sharpe, 2013) ปัจจุบันวัสดุ อุปกรณ์ และเทคโนโลยีกำรศึกษำมีรูปแบบหลำกหลำยและมีพัฒนำกำรอย่ำงรวดเร็ว หน่วยงำนจึงอำจไม่สำมำรถจัดหำวัสดุอุปกรณ์ และเทคโนโลยีกำรศึกษำได้ครบทุกรูปแบบ และอำจจ ำเป็นต้องใช้วัสดุ อุปกรณ์ และเทคโนโลยีกำรศึกษำที่มีในหน่วยงำนเพ่ือประหยัดค่ำใช้จ่ำย หำกหน่วยงำนขำดแคลนวัสดุอุปกรณ์ส ำหรับกำรกำรเรียนกำรสอนเพ่ือให้ผู้ เรียนมีทักษะ ในศตวรรษที่ 21 อำจท ำให้หน่วยงำนนั้นไม่สำมำรถด ำเนินกำรจัดกำรเรียนกำรสอนเพ่ือให้ผู้เรียนมีทักษะในศตวรรษท่ี 21 ได้ กำรจัดกำรเรียนกำรสอนเพ่ือให้ผู้เรียนมีทักษะในศตวรรษที่ 21 หน่วยงำนอำจเลือกใช้วัสดุ อุปกรณ์ และเทคโนโลยีกำรศึกษำที่สำมำรถใช้ได้โดยไม่เสียค่ำใช้จ่ำย อำทิ DLIT (Distance Learning Information Technology) เป็นเครื่องมือที่มีเนื้อหำและเทคโนโลยีส ำหรับกำรพัฒนำคุณภำพกำรศึกษำ เพ่ือให้ผลสัมฤทธิ์ทำงกำรศึกษำดีขึ้น ผู้ เรียนมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ที่สอดคล้องกับศตวรรษท่ี 21 ผู้สอนมีเครื่องมือที่ท ำให้เกิดกำรพัฒนำวิชำชีพอย่ำงต่อเนื่อง นอกจำกนี้ยังเป็นสื่อที่เปิดส ำหรับทุกคน สำมำรถเข้ำถึงได้ทุกท่ีทุกเวลำและใช้ได้กับเครื่องมือทุกชนิด ยกเว้นคลังข้อสอบที่อนุญำตเฉพำะกลุ่มและเทคโนโลยีบำงประเภทที่สนับสนุนเฉพำะบุคลำกรทำงกำรศึกษำ DLIT จัดท ำโดยส ำนักเทคโนโลยีเพ่ือกำรเรียนกำรสอนและคณะครุศำสตร์ จุฬำลงกรณ์มหำวิทยำลัย สำมำรถเข้ำใช้งำนได้ที่ เว็บไซต์ http://www.dlit.ac.th/ (ส ำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำ ขั้นพ้ืนฐำน, 2558) สิ่งส ำคัญที่ควรค ำนึงถึงในกำรน ำเทคโนโลยีกำรศึกษำไปใช้ คือ กำรพัฒนำผู้สอนให้มีควำมรู้ ควำมสำมำรถในกำรน ำเทคโนโลยีกำรศึกษำไปประยุกต์ใช้และพัฒนำกำรเรียนกำรสอน เพ่ือให้เทคโนโลยีกำรศึกษำและนวัตกรรมที่มีในหน่วยงำนเกิดกำรใช้งำนอย่ำงคุ้มค่ำ นอกจำกนี้อำจมีกำรบูรณำกำรเทคโนโลยีโดยใช้เครือข่ำยสังคมออนไลน์ (Social Network) เพ่ือพัฒนำผู้เรียนให้มีควำมรู้และทักษะในศตวรรษที่ 21 ตลอดจนส่งเสริมให้ผู้เรียนมีพฤติกรรมกำรเรียนรู้ตลอดชีวิต อย่ำงไรก็ตำมกำรวำงแผนกำรพัฒนำกำรเรียนกำรสอนโดยใช้เทคโนโลยีกำรศึกษำต้องท ำทั้งระบบ เพ่ือกำรเปลี่ยนแปลงกำรเรียนกำรสอนไปสู่ศตวรรษที่ 21 อย่ำงแท้จริง (ภำสกร เรืองรอง และคณะ, 2557; สำลินี จงใจสุรธรรม, น ำชัย ศุภฤกษ์ชัยสกุล, และวินัย ด ำสุวรรณ, 2558) 6. กำรเพ่ิมพูนควำมรู้เรื่องทักษะในศตวรรษท่ี 21 ภำยในหน่วยงำน กำรเพ่ิมพูนควำมรู้เป็นปัจจัยส ำคัญที่มีผลต่อกำรด ำเนินกำรจัดกำรเรียนกำรสอนเพ่ือให้ผู้เรียนมีทักษะในศตวรรษที่ 21 เพรำะเป็นวิธีกำรหนึ่งที่ช่วยให้บุคลำกรมีโอกำสศึกษำหำควำมรู้เพ่ิมเติม รวมถึงแลกเปลี่ยนทัศนคติและประสบกำรณ์กับผู้เชี่ยวชำญภำยในหน่วยงำน เพ่ือน ำควำมรู้

Page 12: ปัจจัยที่มีผลต่อทักษะใน ...acad.vru.ac.th/Journal/journal 7_3/7_3_12.pdfท กษะในศตวรรษท 21 (21st Century Skills)

Valaya Alongkorn Review (Humanities and Social Science) Vol. 7 No. 3 September-December 2017

152

มำใช้ในกำรปรับปรุงกำรปฏิบัติงำนภำยในหน่วยงำน ทั้งนี้กำรเพ่ิมพูนควำมรู้ภำยในหน่วยงำนยังช่วยลดค่ำใช้จ่ำยและประหยัดเวลำในกำรเดินทำงด้วย กำรเพ่ิมพูนควำมรู้เรื่องทักษะในศตวรรษที่ 21 ภำยในหน่วยงำนอำจท ำได้หลำยวิธี เช่น กำรฝึกอบรมผู้สอนเรื่องทักษะในศตวรรษท่ี 21 เพ่ือให้ผู้สอนเข้ำใจและน ำไปปรับเปลี่ยนกระบวนกำรสอน ทั้งเรื่องควำมจ ำเป็นและวิธีกำรสอนเพ่ือให้ผู้เรียนมีทักษะในศตวรรษ 21 โดยหน่วยงำนต้นสังกัดอำจจัดอบรมเรื่องทักษะในศตวรรษท่ี 21 เชิงลึกให้แก่ผู้สอนทุกคนในช่วงปิดภำคกำรศึกษำ และมีกำรแนะแนวผ่ำนเว็บไซต์ในระหว่ำงปีกำรศึกษำโดยให้ผู้สอนเข้ำไปมีส่วนร่วมเพ่ือน ำควำมรู้ไปใช้ในกำรปรับเปลี่ยนวิธีกำรสอนในชั้นเรียน (วรพจน์ วงศ์กิจรุ่งเรือง และอธิป จิตตฤกษ์, 2554) หน่วยงำนอำจใช้เทคโนโลยีสำรสนเทศเพ่ือกำรพัฒนำผู้สอนหรือกำรฝึกอบรมทำงไกลผ่ำนรูปแบบ Web-Based Training หรืออำจจัดตั้งชุมชนผู้สอนในอินเทอร์เน็ต เพ่ือเป็นกำรแลกเปลี่ยนเรียนรู้และกำรแลกเปลี่ยนทรัพยำกรกำรเรียนรู้กันอย่ำงต่อเนื่อง โดยใช้เทคโนโลยีเพ่ือกำรจัดกำรควำมรู้ระหว่ำงผู้สอนด้วยกัน รวมถึงกำรแลกเปลี่ยนควำมรู้และประสบกำรณ์กำรสอนร่วมกัน เพ่ือยกระดับ กำรเรียนรู้ของผู้เรียน กำรเพ่ิมประสิทธิภำพในกำรสอน และกำรมีปฏิสัมพันธ์ที่ดีกับผู้เรียนมำกขึ้น (Organization for Economic Co-operation and Development-OECD, 2012) 7. กำรสร้ำงชุมชนแห่งกำรเรียนรู้ทำงวิชำชีพ ชุมชนแห่งกำรเรียนรู้ทำงวิชำชีพ (Professional Learning Community – PLC) เป็นควำมร่วมมือระหว่ำงผู้สอน เพ่ือพัฒนำกระบวนกำรเรียนกำรสอนร่วมกัน พัฒนำผู้สอนเป็นผู้สอนมืออำชีพ ส่งผลให้ผู้เรียนหรือลูกศิษย์ได้รับประโยชน์อย่ำงสูงสุด โดยผู้สอนต้องร่วมกันสะท้อนควำมคิดเพ่ือกำรจัดกิจกรรมกำรเรียนรู้ อำจประชุมกลุ่มกันพัฒนำแผนบริหำรกำรสอน บันทึกวีดิทัศน์กำรสอนของตนเองแล้วแบ่งปันในสื่อสังคมออนไลน์แล้ววิจำรณ์อย่ำงสร้ำงสรรค์ สรุปผลกำรเรียนรู้ที่ได้มำปรับใช้ร่วมกันในกลุ่มวิชำเดียวกัน (มนตรี แย้มกสิกร, 2559) กำรสร้ำงชุมชนแห่งกำรเรียนรู้ทำงวิชำชีพอำจท ำได้หลำยวิธี ได้แก่ กำรจัดระบบนิเทศผู้สอนหรือกำรมีระบบพ่ีเลี้ยง (Mentor) กำรจัดระบบเพ่ือนร่วมโค้ช (Peer Coaching) และกำรส่งเสริมให้มีผู้สอนต้นแบบหรือผู้สอนที่ทุ่มเทกับกำรสอน มีวิธีกำรสอนที่เป็นแบบอย่ำงที่ดี กำรจัด กลุ่มกำรศึกษำชั้นเรียน (Lesson Study) กำรจัดกำรควำมรู้โดยให้ผู้สอนท ำงำนและเรียนรู้ร่วมกันเป็นกลุ่มจำกกำรลงมือปฏิบัติ กำรวำงแผนกำรสอน กำรสังเกตกำรสอน และกำรวิเครำะห์กำรสอนร่วมกัน รวมถึงวิธีกำรอ่ืน ๆ ตำมควำมเหมำะสมกับสภำพแวดล้อม (ทิศนำ แขมมณี, 2557; จุฬำกรณ์ มำเสถียรวงศ์ และคณะ, 2558) บทสรุป ปัจจัยที่มีผลต่อทักษะในศตวรรษที่ 21 ของผู้เรียนประกอบด้วย ปัจจัยภำยนอกหน่วยงำน 7 ประกำร ได้แก่ 1) กำรส่งเสริมเรื่องทักษะในศตวรรษที่ 21 ของหน่วยงำนระดับนำนำชำติ 2) กฎหมำย นโยบำย หรือแผนระดับชำติ 3) ควำมร่วมมือของชุมชน 4) พัฒนำกำรของเทคโนโลยี 5) กำรจัดกำรเรียนกำรสอนเกี่ยวกับทักษะในศตวรรษที่ 21 ของหน่วยงำนอ่ืน 6) กำรเพ่ิมพูนควำมรู้ในเรื่องทักษะในศตวรรษที่ 21 โดยหน่วยงำนภำยนอก และ 7) ผู้เรียน นอกจำกนี้ยังมีปัจจัยภำยใน

Page 13: ปัจจัยที่มีผลต่อทักษะใน ...acad.vru.ac.th/Journal/journal 7_3/7_3_12.pdfท กษะในศตวรรษท 21 (21st Century Skills)

วารสารวไลยอลงกรณ์ปรทิัศน์ (มนุษยศาสตรแ์ละสังคมศาสตร)์ ปีที่ 7 ฉบับที ่3 กันยายน-ธันวาคม 2560

153

หน่วยงำน 7 ประกำร ได้แก่ 1) นโยบำยของหน่วยงำน 2) กำรจัดสรรงบประมำณ 3) ควำมรู้ควำมสำมำรถของบุคลำกร 4) กำรตระหนักถึงควำมส ำคัญของทักษะในศตวรรษที่ 21 5) วัสดุ อุปกรณ์ และเทคโนโลยีกำรศึกษำที่มีในหน่วยงำน 6) กำรเพ่ิมพูนควำมรู้เรื่องทักษะในศตวรรษที่ 21 ภำยในหน่วยงำน และ 7) กำรสร้ำงชุมชนแห่งกำรเรียนรู้ทำงวิชำชีพ บุคลำกรทำงกำรศึกษำที่เกี่ยวข้องทุกคนจึงจ ำเป็นต้องปรับเปลี่ยนทัศนคติและรูปแบบกำรเรียนกำรสอนเพ่ือพัฒนำผู้เรียนให้มีทักษะในศตวรรษที่ 21 โดยเฉพำะอย่ำงยิ่งผู้สอน เพรำะปัญหำหลักส ำคัญประกำรหนึ่งของกำรปฏิรูปกำรศึกษำตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบันคือ ปัญหำผู้สอน ส ำหรับปัญหำผู้สอนในประเทศไทย คือ กำรมีภำระงำนอ่ืนนอกเหนือจำกกำรสอนในปริมำณมำก จ ำนวนผู้สอนไม่เพียงพอและมีคุณวุฒิไม่ตรงกับวิชำที่สอน ผู้สอนรุ่นใหม่ขำดจิตวิญญำณของควำมเป็นครู ในขณะที่ ผู้สอนรุ่นเก่ำไม่ปรับตัวกับกำรเปลี่ยนแปลงของสภำพสังคมในปัจจุบัน ผู้สอนสอนเนื้อหำมำกท ำให้ผู้เรียนต้องเรียนมำก และกำรขำดอิสระในกำรจัดกำรเรียนกำรสอน (สถำบันวิจัยห้องเรียนแห่งอนำคต, ม.ป.ป.) อย่ำงไรก็ตำมกำรจัดกำรเรียนกำรสอนเพ่ือให้ผู้เรียนมีทักษะในศตวรรษท่ี 21 จ ำเป็นต้องได้รับควำมร่วมมือจำกทุกฝ่ำยและควรมีกำรค้นคว้ำวิจัยร่วมกันระหว่ำงผู้สอนกับผู้บริหำรทุกหน่วยงำน เพ่ือสร้ำงวัฒนธรรม กำรเรียนรู้อย่ำงต่อเนื่อง เพรำะหัวใจส ำคัญของกำรพัฒนำคุณภำพสถำนศึกษำที่เหมือนกันทั่วโลกคือ ควำมร่วมมือของบุคลำกรภำยในสถำนศึกษำ โดยมีกำรแบ่งบทบำทชัดเจน หำกมีผู้ช่วยเหลือหรือผู้เชี่ยวชำญจำกภำยนอกก็ควรจัดหำเข้ำมำพัฒนำร่วมกัน (ส ำนักข่ำวอิศรำ, 2559) เพ่ือน ำผลกำรวิจัยและแนวทำงปฏิบัติที่ได้ไปใช้ประโยชน์ให้เห็นในเชิงประจักษ์ ส่งผลให้ผู้เรียนทุกคนมีทักษะในศตวรรษที่ 21 โดยเฉพำะอย่ำงยิ่งผู้เรียนในระดับอุดมศึกษำซึ่งเป็นบุคลำกรที่จะขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศต่อไป

Page 14: ปัจจัยที่มีผลต่อทักษะใน ...acad.vru.ac.th/Journal/journal 7_3/7_3_12.pdfท กษะในศตวรรษท 21 (21st Century Skills)

Valaya Alongkorn Review (Humanities and Social Science) Vol. 7 No. 3 September-December 2017

154

ปัจจัยที่มีผลต่อทักษะในศตวรรษท่ี 21 ของผู้เรียน แสดงดังภำพที่ 1

ภาพที่ 1 ปัจจัยที่มีผลต่อทักษะในศตวรรษที่ 21 ของผู้เรียน

กำรส่งเสริมเรื่อง ทักษะในศตวรรษที่ 21

ของหน่วยงำนระดบันำนำชำต ิ

กฎหมำย นโยบำย หรือแผนระดับชำติ

ควำมร่วมมือของชุมชน

พัฒนำกำรของเทคโนโลย ี

กำรจัดกำรเรียนกำรสอนเกีย่วกับ ทักษะในศตวรรษที่ 21

ของหน่วยงำนอื่น

กำรเพิ่มพูนควำมรู้ในเร่ือง ทักษะในศตวรรษที่ 21 โดยหน่วยงำนภำยนอก

ผู้เรียน

ปัจจัย ภายใน

หน่วยงาน

ปัจจัยที่มีผลต่อ ทักษะในศตวรรษที่ 21

ของผู้เรียน

นโยบำยของหน่วยงำน

กำรจัดสรร งบประมำณ

ควำมรู้ควำมสำมำรถของบุคลำกร

กำรตระหนักถึงควำมส ำคัญของ ทักษะในศตวรรษที่ 21

วัสดุ อุปกรณ์

และเทคโนโลยีกำรศึกษำ ที่มีในหน่วยงำน

กำรเพิ่มพูนควำมรู้ในเร่ือง ทักษะในศตวรรษที่ 21

ภำยในหนว่ยงำน

กำรสร้ำงชุมชนแห่ง กำรเรียนรู้ทำงวิชำชพี

ปัจจัยภายนอก

หน่วยงาน

Page 15: ปัจจัยที่มีผลต่อทักษะใน ...acad.vru.ac.th/Journal/journal 7_3/7_3_12.pdfท กษะในศตวรรษท 21 (21st Century Skills)

วารสารวไลยอลงกรณ์ปรทิัศน์ (มนุษยศาสตรแ์ละสังคมศาสตร)์ ปีที่ 7 ฉบับที ่3 กันยายน-ธันวาคม 2560

155

เอกสารอ้างอิง ธีระเกียรติ เจริญเศรษฐศิลป์. (2558). องค์ประกอบของระบบกำรศึกษำของประเทศ

ที่ประสบควำมส ำเร็จ. ใน เหลียว หลังแลหน้า ปฏิรูปการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (หน้ำ 55-56). กรุงเทพฯ: ส ำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำข้ันพ้ืนฐำน กระทรวงศึกษำธิกำร.

น้ ำทิพย์ วิภำวิน. (2553). จำกสำรสนเทศสู่นวัตกรรม: กรณีศึกษำประเทศฟินแลนด์. ใน เอกสาร ประกอบการสัมมนาทางวิชาการ จากสารสนเทศสู่นวัตกรรม. นนทบุรี: แขนงวิชำสำรสนเทศศำสตร์ สำขำวิชำศิลปศำสตร์ มหำวิทยำลัยสุโขทัยธรรมำธิรำช.

ประชำชำติธุรกิจ. (2560). ปั้นครูแห่งอนาคตแนวทางสู่ห้องเรียนศตวรรษท่ี 21. [ออนไลน์]. เข้ำถึงได้จำก: http://www.prachachat.net/news_detail.php?newsid= 1483593251. (2560, 7 มกรำคม).

ประเวศ วะสี. (2559). ระบบปฏิรูปการเรียนรู้เพื่อการเรียนรู้ที่ดีของคนทั้งมวล. กรุงเทพฯ: มูลนิธิสดศรี-สฤษดิ์วงศ์.

ผู้จัดกำรออนไลน์. (2558). เสนอตั้งหน่วยงานวิจัยการศึกษา. [ออนไลน์]. เข้ำถึงได้จำก: http://www.manager.co.th/QOL/ViewNews.aspx?NewsID=9580000061732. (2560, 11 พฤศจิกำยน).

พันธ์ศักดิ์ พลสำรัมย์, วัลลภำ เทพหัสดิน ณ อยุธยำ, และทิพยรัตน์ สีเพชรเหลือง. (2543). รายงานการวิจัยเรื่องเอกสารการพัฒนากระบวนการเรียนรู้ในระดับปริญญาตรี. กรุงเทพฯ: ทบวงมหำวิทยำลัย.

ฟ้ำ วิไลข ำ. (2559). อำจำรย์ มหำวิทยำลัยรำชภัฏนครสวรรค์. สัมภาษณ์. 17 มีนำคม 2559. ภำสกร เรืองรอง และคณะ. (2557). เทคโนโลยีกำรศึกษำกับครูไทยในศตวรรษที่ 21.

วารสารปัญญาภิวัฒน์. 5(พฤษภำคม): 195-207. มนตรี แย้มกสิกร. (2559). ชุมชนกำรเรียนรู้วิชำชีพ: ควำมท้ำทำยต่อกำรเปลี่ยนตนเองของครู.

ใน การประชุมวิชาการของคุรุสภา ประจ าปี 2559 เรื่อง การวิจัยนวัตกรรมการเรียนรู้และการจัดการศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ย่ังยืน. 27-28 สิงหำคม 2559. (39-46). กรุงเทพฯ: ส ำนักงำนเลขำธิกำรคุรุสภำ.

รัชนีวรรณ เทียนทอง. (2557). การเปรียบเทียบการปฏิบัติงานของครูในโรงเรียนไทยกับครู ในโรงเรียนชั้นน าระดับโลก. วิทยำนิพนธ์ครุศำสตรมหำบัณฑิต สำขำวิชำวิธีวิทยำกำรวิจัยกำรศึกษำ คณะครุศำสตร์ จุฬำลงกรณ์มหำวิทยำลัย.

โรงเรียนนอกกะลำ. (2558). โครงการการพัฒนาโรงเรียนต้นแบบเพื่อพัฒนาสมรรถนะครู. [ออนไลน์]. เข้ำถึงได้จำก: http://lamplaimatpattanaschool.blogspot.com/2015/ 10/blog-post.html. (2560, 11 พฤศจิกำยน).

วรพจน์ วงศ์กิจรุ่งเรือง และอธิป จิตตฤกษ์. (2554). ทักษะแห่งอนาคตใหม่: การศึกษา เพื่อศตวรรษท่ี 21. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: โอเพ่นเวิลด์ส. แปลจำก James A. Bellanca & Ron Brandt. (2010). 21st Century Skills : Rethinking How Students Learn. Bloomington, IN: Solution Tree.

Page 16: ปัจจัยที่มีผลต่อทักษะใน ...acad.vru.ac.th/Journal/journal 7_3/7_3_12.pdfท กษะในศตวรรษท 21 (21st Century Skills)

Valaya Alongkorn Review (Humanities and Social Science) Vol. 7 No. 3 September-December 2017

156

วิจำรณ์ พำนิช. (2558). สอนนอกกรอบ: ยุทธวิธีจับใจศิษย์. กรุงเทพฯ: ส ำนักงำนส่งเสริมสังคมแห่งกำรเรียนรู้และคุณภำพเยำวชน.

วิเชียร ไชยบัง. (2556). วุฒิภาวะของความเป็นครู. บุรีรัมย์: โรงเรียนล ำปลำยมำศพัฒนำ. วิริยะ ฤำชัยพำณิชย์. (ม.ป.ป.). การสอนแบบสร้างสรรค์เป็นฐาน CBL ตอนที่ 1/4. [ออนไลน์].

เข้ำถึงได้จำก: http://www.jsfutureclassroom.com/news_detail.php?nid=244. (2559, 1 มกรำคม).

ศรีสุชำ พิศำลบุตร และ ฝน ลีสินสวัสดิ.์ (2558). ถ้าครูและพ่อแม่พูดกับเด็กแบบนี้เด็กจะรักเรียนและรักดีมีชีวิตอนาคตที่เปลี่ยนไป. กรุงเทพฯ: บี มีเดีย.จีนอตต์. แปลจำก Haim Ginott. (1993). Teacher and Child: A Book for Parents and Teachers. New York: Macmillan.

ศุภชัย บุญวิเศษ. (2558). การประชุมระดับโลกว่าด้วยการศึกษา ณ เมืองอินชอน สาธารณรัฐเกาหล.ี [ออนไลน์]. เข้ำถึงได้จำก: http://www.moe.go.th/moe/th/news/detail. php?NewsID=41669&Key=news_boontee. (2559, 17 มกรำคม).

ศูนย์จิตวิทยำกำรศึกษำ มูลนิธิยุวสถิรคุณ. (2557). กุญแจในการปฏิรูปการศึกษา. [ออนไลน์]. เข้ำถึงได้จำก: http://www.kidsd.org/กุญแจในกำรปฏิรูปกำรศึก-2/. (2559, 4 มีนำคม).

ศูนย์จิตวิทยำกำรศึกษำ มูลนิธิยุวสถิรคุณ. (2559). อบรม/Workshop. [ออนไลน์]. เข้ำถึงได้จำก: http://www.cepthailand.org/index.php?mo=10&art=42329530. (2560, 11 พฤศจิกำยน).

สถำบันวิจัยห้องเรียนแห่งอนำคต. (2560). CBL Workshop. [ออนไลน์]. เข้ำถึงได้จำก: http://www.futureclassroom.net/16403826/cbl-workshop. (2560, 11 พฤศจิกำยน).

สถำบันวิจัยห้องเรียนแห่งอนำคต. (ม.ป.ป.). ครูควรสอนเด็กอย่างไรในศตวรรษที่ 21. [ออนไลน์]. เขำ้ถึงได้จำก: http://www.jsfutureclassroom.com/news_detail.php?nid=298. (2558, 20 กันยำยน).

สำลินี จงใจสุรธรรม, น ำชัย ศุภฤกษ์ชัยสกุล, และวินัย ด ำสุวรรณ. (2558). กลวิธีกำรก ำกับตนเองในกำรเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21. วารสารพฤติกรรมศาสตร์เพื่อการพัฒนา. 7(1): 15-26.

ส ำนักข่ำวอิศรำ. (2559). ศ.นพ.วิจารณ์ ชี้สิงคโปร์ประกาศแล้ว แก้ทัศนคติพ่อแม่เลิกบ้าเกรด เน้นความเก่งของผู้เรียน. [ออนไลน์]. เข้ำถึงได้จำก: http://www.isranews.org/thaireform-other-news/item/46943-qlf14.html. (2559, 17 พฤษภำคม).

ส ำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำขั้นพ้ืนฐำน. (2558). เกี่ยวกับ DLIT. [ออนไลน์]. เข้ำถึงได้จำก: http://www.dlit.ac.th/pages/aboutus.php. (2559, 21 กุมภำพันธ์).

Page 17: ปัจจัยที่มีผลต่อทักษะใน ...acad.vru.ac.th/Journal/journal 7_3/7_3_12.pdfท กษะในศตวรรษท 21 (21st Century Skills)

วารสารวไลยอลงกรณ์ปรทิัศน์ (มนุษยศาสตรแ์ละสังคมศาสตร)์ ปีที่ 7 ฉบับที ่3 กันยายน-ธันวาคม 2560

157

ส ำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำแห่งชำติ. (2560). แผนการศึกษาแห่งชาติ (พ.ศ. 2545-2559). [ออนไลน์]. เข้ำถึงได้จำก: http://backoffice.onec.go.th/uploads/Book/1540-file.pdf. (2560, 21 เมษำยน).

ส ำนักงำนคณะกรรมกำรกำรอุดมศึกษำ. (2542). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542. [ออนไลน์]. เข้ำถึงได้จำก: http://www.mua.go.th/users/he-commission/doc/ law/law%20edu%20%202542.pdf. (2558, 22 ธันวำคม).

ส ำนักงำนเลขำธิกำรสภำกำรศึกษำ. (2552). ข้อเสนอการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง (พ.ศ. 2552-2561). พิมพ์และปรับปรุงครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: ส ำนกันโยบำยและแผนกำรศึกษำ ส ำนักงำนเลขำธิกำรสภำกำรศึกษำ.

ส ำนักงำนเลขำธิกำรสภำกำรศึกษำ. (2557). รายงานการศึกษาวิจัยเปรียบเทียบ เรื่อง การด าเนินงานด้านนโยบายการศึกษาขององค์กรนโยบายการศึกษาระดับชาติกลุ่มประเทศอาเซียนและอาเซียนบวกสาม. กรุงเทพฯ: ส ำนักงำนเลขำธิกำรสภำกำรศึกษำ กระทรวงศึกษำธิกำร.

ส ำนักงำนเลขำธิกำรสภำกำรศึกษำ. (2558). โครงการปฏิรูปการเรียนรู้สู่ผู้เรียน (พ.ศ. 2557-2560) สะท้อนปัญหาและทางออก ตอบโจทย์ปฏิรูปการศึกษาไทย. กรุงเทพฯ: ส ำนักงำนเลขำธิกำรสภำกำรศึกษำ ส ำนักวิจัยและพัฒนำกำรศึกษำ กลุ่มวิจัยและส่งเสริมกำรวิจัย.

ส ำนักงำนสภำที่ปรึกษำเศรษฐกิจและสังคมแห่งชำติ. (ม.ป.ป.). กรอบแนวทางการปฏิรูปการศึกษา ในทศวรรษที่สอง พ.ศ. 2552-2561. [ออนไลน์]. เข้ำถึงได้จำก: http://202.143. 134.201/pranee/UserFiles/Pdf/reform1.pdf. (2559, 24 พฤษภำคม).

ส ำนักงำนส่งเสริมสังคมแห่งกำรเรียนรู้และคุณภำพเยำวชน. (2554). โครงการ. [ออนไลน์]. เข้ำถึงได้จำก: http://www.qlf.or.th/Home/FrontPage?mode=PC. (2560, 11 พฤศจิกำยน).

ส ำนักงำนส่งเสริมสังคมแห่งกำรเรียนรู้และคุณภำพเยำวชน. (2556). เปิด 6 อุปสรรคการท างาน ครูไทย สอนหนัก ขาดจิตวิญญาณ ไร้ทักษะICT. [ออนไลน์]. เข้ำถึงได้จำก: http://www.enn.co.th/5942. (2558, 11 พฤศจิกำยน).

ส ำนักงำนส่งเสริมสังคมแห่งกำรเรียนรู้และคุณภำพเยำวชน. (2559). ยุทธการเปลี่ยนครูเฉยสู่ครู ยุคศตวรรษที่ 21. [ออนไลน์]. เข้ำถึงได้จำก: http://seminar.qlf.or.th/Seminar/ Topic/29. (2559, 29 กุมภำพันธ์).

ส ำรวย กมลำยุตต์. (2552). ระบบสำรสนเทศเคลื่อนที่: แหล่งข้อมูลสำรสนเทศแบบพกพำ. ใน สองทศวรรษการศึกษาทางไกลสารสนเทศศาสตร์. (หน้ำ 147-162). นนทบุรี: มหำวิทยำลัยสุโขทัยธรรมำธิรำช.

สิทธิพร เอี่ยมเสน. (ม.ป.ป.). หากคิดที่จะเป็นครู. [ออนไลน์]. เข้ำถึงได้จำก: http://www.la-orutis.dusit.ac.th/research14.php. (2559, 21 พฤษภำคม).

Page 18: ปัจจัยที่มีผลต่อทักษะใน ...acad.vru.ac.th/Journal/journal 7_3/7_3_12.pdfท กษะในศตวรรษท 21 (21st Century Skills)

Valaya Alongkorn Review (Humanities and Social Science) Vol. 7 No. 3 September-December 2017

158

สุธรรม วำณิชเสนี. (2558). ปัจจัยและเงื่อนไขควำมส ำเร็จกำรจัดกำรกำรศึกษำขั้นพ้ืนฐำน บทเรียนจำกอดีตในทศวรรษที่ผ่ำนมำ และควำมเป็นไปได้ส ำหรับอนำคต. ใน เหลียวหลังแลหน้า ปฏิรูปการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (หน้ำ 1-23). กรุงเทพฯ: ส ำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำขั้นพ้ืนฐำน กระทรวงศึกษำธิกำร.

สุรศักดิ์ ปำเฮ. (2556). การพัฒนาสมรรถนะครูในศตวรรษที่-21. [ออนไลน์]. เข้ำถึงได้จำก: http://www.addkutec3.com /wp-content/uploads/2013/05/กำรพัฒนำสมรรถนะครูในศตวรรษท่ี-211.pdf. (2558, 21 มิถุนำยน).

อำจอง ชุมสำย ณ อยุธยำ. (2550). คุณธรรมน าความรู้ รูปแบบการเรียนการสอนแบบบูรณาการคุณค่าความเป็นมนุษย์. กรุงเทพฯ: ส ำนักงำนมำตรฐำนกำรศึกษำและพัฒนำกำรเรียนรู้ กระทรวงศึกษำธิกำร.

Beetham, H., & Sharpe, R. (2013). Rethinking Pedagogy for a Digital Age: Designing for 21st Century Learning. [Online]. Available: http://samples.sainsburys ebooks.co.uk/9781136158049_sample_493214.pdf. (2016, 24 May).

Lombardi, M. M. (2007). Authentic learning for the 21st century: An overview. [Online]. Available: https://net.educause.edu/ir/library/pdf/ELI3009.pdf. (2016, 24 May).

National Board of Education. (1999). A Framework for Evaluating Educational Outcomes in Finland. [Online]. Available: http://karvi.fi/app/uploads/ 2014/09/OPH_0499.pdf. (2016, 12 February).

Organization for Economic Co-operation and Development-OECD. (2012). Preparing Teachers and Developing School Leaders for the 21st Century: Lessons from around the World. [Online]. Available: http://www.oecd.org/site/ eduistp2012/49850576.pdf. (2016, 18 February).

Partnership for 21st Century Skills-P21. (2011). Framework for 21st Century Learning. [Online]. Available: http://www.p21.org/storage/documents/1._ p21_framework_2-pager.pdf. (2015, 19 September).

Polovina, Simon. (2011). About the Learning Pyramid. [Online]. Available: http://homepages.gold.ac.uk/polovina/learnpyramid/about.htm. (2017, 16 January).

Regan, B. (2008). Why We Need to Teach 21st Century Skills--And How to Do It. [Online]. Available: http://www.internetatschools.com/Articles/Editorial/ Features/Why-We-Need-to-Teach-21st-Century-Skills-And-How-to-Do-It%5BAvailable-Full-Text-Free%5D-61011.aspx. (2016, 19 February).

Trilling, B, & Fadel, C. (2012). 21st Century Skills: Learning for Life in Our Times. San Francisco: Wiley Book.