คู่มือ รับสถานการณ์น้ำท่วม

9

Click here to load reader

Upload: waranan-srijaiwong

Post on 28-Jul-2015

6 views

Category:

Documents


1 download

TRANSCRIPT

Page 1: คู่มือ รับสถานการณ์น้ำท่วม

คูมือ รับสถานการณนํ้าทวม

เหตุการณ อุทกภัยที่เกิดขึ้นในรอบหลายปที่ผานมาไดไดสรางความเสียหายแกชีวิตและ ทรัพยสินของประชาชนและ

หนวยงานในพื้นที่นํ้าทวม โดยทางรัฐและหนวยงานที่มีหนาที่ความรับผิดชอบตองกรทําการปองกันและฟนฟู ระบบ

สาธารณูปโภคที่สําคัญกอน อาจไมสามารถใหความชวยเหลือแกประชาชนไดอยางทันที ดังน้ันประชาชนจึงควรมีความ

พรอมในการเตรียมรับสถานการนํ้าทวมเพื่อปองกัน และบรรเทาภัยที่จะเกิดขึ้นได

การเตรียมการกอนนํ้าทวม

การปองกันตัวเองและความสียหายจากนํ้าทวม ควรมีการเตรียมการไวลวงหนา เพราะหากรอใหมีการเตือนภัยเวลามัก

ไมเพียงพอ รูจักกับภัยนํ้าทวมของคุณ สอบถามหนวยงานที่มีการจัดการดานนํ้าทวม ดวยคําถามดังตอไปน้ี

- ภายในละแวกใกลเคียงในรอบหลายป เคยเกิดนํ้าทวมสูงที่สุดเทาไร

- เราสามารถคาดคะเนความเร็วนํ้าหรือโคลนไดหรือไม

- เราจะไดการเตือนภัยลวงหนากอนที่นํ้าจะมาถึงเปนเวลาเทาไหร

- เราจะไดรับการเตือนภัยอยางไร

- ถนนเสนใดบาง ในละแวกน้ีที่จะถูกนํ้าทวมหรือจะมีสิ่งกีดขวาง

การรับมือสําหรับนํ้าทวมคร้ังตอไป

1. คาดคะเนความเสียหายที่จะเกิดขึ้นกับทรัพยสินของคุณเมื่อเกิดนํ้าทวม

2. ทําความคุนเคยกับระบบการเตือนภัยของหนวยงานที่เกี่ยวของและขี้นตอนการอพยพ

3. เรียนรูเสนทางการเดินทางที่ปลอดภัยที่สุด จากบานไปยังที่สูงหรือพื้นที่ปลอดภัย

4. เตรียมเคร่ืองมือรับวิทยุแบบพกพา อุปกรณทําอาหารฉุกเฉินแหลงอาหารและไฟฉาย รวมทั้งแบตเตอรร่ีสํารอง

5. ผูคนที่อาศัยในพื้นที่เสี่ยงตอภัยนํ้าทวม ควรจะเตรียมวัสดุ เชน กระสอบทราย แผนพลาสติก ไมแผน ตะปู กาว

ซิลิโคน เพื่อใชปองกันบานเรือน และควรทราบแหลงวัตถุที่จะนํามาใช

6. นํารถยนตและพาหนะไปเก็บไวในพื้นที่ซึ่งนํ้าไมทวมถึง

7. ปรึกษาและทําขอตกลงกับบริษัทประกันภัย เกี่ยวกับการประกันความเสียหาย

8. บันทึกหมายเลขโทรศัพทสําหรับเหตุการณฉุกเฉินและเก็บไวตามที่จํางาย

9. รวบรวมของใชจําเปนและเสบียงอาหารที่ตองการใช ถายหลังนํ้าทวมไวในที่ปลอดภัยและสูงกวาระดับที่คาดวานํ้า

จะทวมถึง

10. ทําบันทึกรายการทรัพยสินมีคางทั้งหมด ถายรูปหรือวีดีโอเก็บไวเปนหลักฐาน

11. เก็บ บันทึกรายการทรัพยสิน เอกสารสําคัญและของมีคาอ่ืนๆ ในสถานที่ปลอดภัยหางจากบานหรือหางไกลจากที่

นํ้าทวมถึง เชน ตูเซฟที่ธนาคาร หรือไปรษณีย

12. ทําแผนการรับมือนํ้าทวม และถายเอกสารเก็บไวเปนหลักฐานที่สังเกตุไดงาย และติดต้ังอุปกรณปองกันนํ้าทวมที่

เหมาะสมกับบานของคุณ

Page 2: คู่มือ รับสถานการณ์น้ำท่วม

ถาคุณคือพอแม

- ทําหารซักซอมและใหขอมูลแกบุตรหลานของคุณ ขณะเกิดนํ้าทวม เชน ไมสัมผัสเคร่ืองใชไฟฟา ปลั๊กไฟ หลีกเลี่ยง

การเลนนํ้าและอยูใกลเสนทางนํ้า

- ตองการทราบหมายเลขโทรศัพทฉุกเฉินของหนวยงานทองถิ่น

- ตองการทราบแผนฉุกเฉินสําหรับ โรงเรียนที่บุตรหลานเรียนอยู

- เตรีมแผนการอพยพสําหรับครอบครัวของคุณ

- จัดเตรียมกระสอบทราย เพื่อกันนํ้าไมใหเขาสูบานเรือน

- ตองมั่นใจวาเด็กๆ ไดรับทราบแผนการรับสถานการณนํ้าทวมของครอบครัวและของโรงเรียน

การทําแผนรับมือนํ้าทวม

การจัดทําแผนรับมือนํ้าทวม จะชวยใหคุณนึกถึงสิ่งตางๆ ที่จะตองทําหลังไดรับการเตือนภัยเดินสํารวจทั่วทั้งบานดวย

คําแนะนําที่กลาว มา พรอมทั้งจดบันทึกดวยวาจะจัดการคําแนะนําอยางไร ในชวงเวลาที่ทุกๆ คนเรงรีบและต่ืนเตนเน่ืองจาก

ภัยคุกคาม สิ่งที่สําคัญที่จะลืมไมไดก็คือ หมายเลขโทรศัพทตางๆ ที่สําคัญไวในแผนดวย

ถาคุณมีเวลาเล็กนอยหลังการเตือนภัย :

สิ่งที่ตองทําและมีในแผน

- สัญญาเตือนภัยฉุกเฉิน และสถานีวิทยุ หรือสถานีโทรทัศนที่รายงานสถานการณ

- รายชื่อสถานที่ 2 แหงที่สมาชิกในครอบครัวสามารถพบกันไดหลังจากพลัดหลงโดยสถานที่แรกใหอยู ใกลบริเวณ

บานและอีกสถานที่อยูนอกพื้นที่ที่นํ้าทวมถึง

ระดับการเตือนภัยนํ้าทวม

ลักษณะการเตือนภัยมี 4 ประเภท คือ

1. การเฝาระวังนํ้าทวม : มีความเปนไปไดที่จะเกิดนํ้าทวมและอยูในระหวางสังเกตุการณ

2. การเตือนภัยนํ้าทวม : เตือนภัยจะเกิดนํ้าทวม

3. การเตือนภัยนํ้าทวมรุนแรง : เกิดนํ้าทวมอยางรุนแรง

4. ภาวะปกติ : เหตุการณกลับสูภาวะปกติหรือเปนพื้นที่ไมไดรับผลกระทบจากภาวะนํ้าทวม

สิ่งที่คุณควรทํา : หลังจากไดรับการเตือนภัยจากหนวยงานดานเตือนภัยนํ้าทวม

1. ติดตามการประกาศเตือนภัยจากสถานีวิทยุทองถิ่น โทรทัศนหรือรถแจงขาว

2. ถามีการเตือนภัยนํ้าทวมฉับพลันและคุณอยูในพื้นที่หุบเขาใหปฎิบัติดังน้ี

- ปนขึ้นที่สูงใหเร็วสุดเทาที่จะทําได

- อยาพยายานําสัมภาระติดตัวไปมากเกินไป ใหคิดวาชีวิตสําคัญที่สุด

Page 3: คู่มือ รับสถานการณ์น้ำท่วม

- อยาพยายามว่ิงหรือขับรถผานบริเสณนํ้าหลาก

3. ดําเนินการตามแผนรับมือนํ้าทวมที่ไดวางแผนไวแลว

4. ถามีการเตือนภัยการเฝาระวังนํ้าทวมจะยังมีเวลาในการเตรียมแผนรับมือนํ้าทวม

5. ถามีการเตือนภัยนํ้าทวมและคุณอยูในพื้นที่นํ้าทวมถึง

ควรปฎิบัติดังน้ี

- ปดอุปกรณเคร่ืองใชไฟฟาและแกซถาจําปน

- อุดปดชองนํ้าทิ้งอางลางจาน

- พื้นที่หองนํ้าและสุขภัณฑที่นํ้าสามารถไหลเขาบาน

- อานวิธีการที่ทําใหปลอดภัยจากเหตุการณนํ้าทวมเมื่ออยูนอกบาน

- ล็อคประตูบานและอพยพขึ้นที่สูง

- ถาไมมีที่ปลอดภัยบนที่สูง ใหฟงขอมูลจากวิทยุหรือโทรทัศนเกี่ยวกับสถานที่หลบภัยของหนวยงาน

6. หากบานพักอาศัยของคุณไมไดอยูในที่นํ้าทวมถึง

- อานวิธีการที่ทําใหความปลอดภัยเมื่ออยูในบาน

7. หากบานพักอาศัยของคุณไมไดอยูในที่นํ้าทวมถึงแตอาจมีนํ้าทวมในหองใตดิน

- ปดอุปกรณเคร่ืองใชไฟฟาในหองใตดิน

- ปดแก็ซหากคาดวานํ้าจะทวมเตาแก็ซ

- เคลื่อนยายสิ่งของมีคาขึ้นขางบน

- หามอยูในหองใตดิน เมื่อมีนํ้าทวมถีงบาน

นํ้าทวมฉับพลัน

คือ นํ้าทวมที่เกิดขึ้นอยางรวดเร็วมากในบริเวณที่ลุมตํ่า ในแมนํ้า ลําธารหรือรองนํ้าที่เกิดจากฝนที่ตกหนักมาก

ติดตอกันหรือจากพายุฝนที่เกิดซ้ําที่หลายคร้ัง นํ้าปาอาจเกิดจากที่สิ่งปลูกสรางโดยมนุษย เชน เขื่อนหรือฝายพังทลาย

- ถาไดยินการเตือนภัยนํ้าทวมฉับพลันใหว่ิงไปบนที่สูงทันที

- ออกจารถและที่อยู คิดอยางเดียววาตองหนี

- อยาพยายามขับรถหรือว่ิงยอนกลับไปทางที่ถูกนํ้าทวม

ปลอดภัยไวกอนเมื่ออยูนอกบาน

- หามเดินตามเสนทางที่นํ้าไหล

มีผูคนจํานวนมากเสียชีวิตจากจมนํ้าตายในขณะที่นํ้ากําลังมาความสูงของนํ้าแค 15 ซม. ก็ทําใหเสียหลักลมได ดังน้ัน

ถามีความจําเปนตองเดินผานที่นํ้าไหลใหลองนําไมจุมเพื่อวัดระดับ นํ้ากอนทุกคร้ัง

- หามขับรถในพื้นที่ที่กําลังโดนนํ้าทวม

การ ขับรถในพื้นที่ที่นํ้าทวมมีความเสียงสูงมากที่จะจมนํ้า หากเห็นปายเตือนตามเสนทางตางๆ หามขับรถเขาไป

เพราะอาจมีอันตรายขางหนา นํ้าสูง 50 ซม. พัดรถยนตจักรยสานยนตใหลอยได

Page 4: คู่มือ รับสถานการณ์น้ำท่วม

- หามเขาใกลอุปกรณไฟฟาและสาย :

กระแส ไฟฟาสามารถว่ิงผานได เมื่อเกิดนํ้าทวมแตละคร้ังจะมีผูเสียชีวิต เน่ืองจากไฟดูดมากกวาสาเหตุอ่ืนๆ เมื่อเห็น

สายไฟหรืออุปกรณไฟฟาชํารุดเสียหายกรุณาแจง 191 หรือหนวยงานที่เกี่ยวของ

หลังนํ้าทวม

3 ข้ันตอนท่ีคุณควรทําในวันแรก ๆ หลังจากเหตุการณนํ้าทวม

ข้ันตอนท่ี 1 : เอาใจใสตัวเอง

หลังผานเหตุการณนํ้าทวม คุณและครอบครัวอาจเกิดความซึมเศรา และตองใชเวลากลับสูภาวะปกติอยาลืมวา

เหตุการณนํ้าทวมน้ันอาคารบาน เรือน ไดรับความเสียหาย คุณตองดูแลตัวเองและครอบครัว พรอมกับการบูรณะบานใหกลับ

บานเหมือนเดิม อุปสรรคที่สําคัญคือ ความเครียด รวมทั้งปญหาอ่ืน เชน นอนหลับยาก ฝนรายและปญหาทางกาย โรคภัยไข

เจ็บ ซึ่งคุณและครอบครัวควรปฏิบัติตามคําแนะนําดังน้ี

1. ใหเวลากับครอบครัวเพราะความอบอุนในครอบครัวอาจชวยเยี่ยวยารักษาไดดี

2. พูดคุยปญหากลับเพื่อนและครอบครัว รวมแบงปนความกังวลจะชวยใหไดระบายและผอนคลายความเครียด

3. ผักผอนและกินอาหารที่เปนประโยชน เพราะมีปญหาทั้งความเครียดและทางกายเพิ่มขึ้นเมื่อรางกายออนแอ

4. จัดรําดับสิ่งที่จําเปนตองทําตามลําดับกอนหลังและคอย ๆ ทํา

5. ขอความชวยเหลือจากจิตแพทยเมื่อเกิดอาการซึมเศราจนที่จะรับมือได

6. ดูแลเด็กๆใหดี และโปรดเขาใจเด็กมีความต่ืนกลัวไมแพกัน และอยาตําหนิเด็กที่มีพฤติกรรมแลก ๆ หลังจากนํ้าทวม

เชน ฉี่รดที่นอน ดูดน้ิวโปงหรืเกาะคุณอยูตลอดเวลา จําไววาเด็กพึ่งผานเหตุการณที่รุนแรงในชีวิต

7. ระวังเร่ืองสุขอนามัย เมื่ออยูในพื้นที่เคยนํ้าทวม

ข้ันตอนท่ี 2 การจัดการดูแลบานของคุณ

ที่ผานมามีผูคนจํานวนมากเสียชีวิตเน่ืองจากนํ้าทวมสวนใหญเกิดจากถูกไฟดูด หรืออุบัติเหตุที่เกิดขึ้นจากนํ้าลดสิ่งแรก

ที่ตองทําเมื่อกลับบานคือ การตรวจสอบความปลอดภัย กอนเขาบูรณะและอยูอาศัย โดยมีขั้นตอนดังน้ี

1.ปรับจูนคลื่นวิทยุโทรทัศน ฟงรายงานสถานการณ

2.ติดตอบริษัทประกันภัย เพื่อตรวจสอบความเสียหาย และซอมแซมทรัพยสินตาง ๆ

3.เดินตรวจตารอบ ๆ บาน และเซ็คสายไฟฟา สายถังแก็สโดยถาหากเกิดแก็สร่ัวจะสามารถรูไดจากกลิ่นแก็สใหระวัง

และรีบ โทรแจงรานที่เปนตัวแทนจําหนาย

4.ตรวจสอบความเสียหายของโครงสราง ตัวบาน ระเบียง หลังคา ใหแนใจวาโครงสรางทุกอยางปลอดภัย

5.ตัดระบบไฟฟาที่จายเขาบาน

6.ปดวาลวแก็สใหสนิทหากไดกลิ่นแก็สร่ัวกอไมควรเขาใกลบริเวณน้ัน

7.เขาไปในบานอยางระมัดระวัง แลพอยาใชวัสดุที่ทําใหเกิดประกายไฟ

8.ถายรูปความเสียหาย เพื่อเรียกรองคาชดเชยจากประกัน (ถามี)

Page 5: คู่มือ รับสถานการณ์น้ำท่วม

9.เก็บกูสิ่งของที่มีคา และหอหุมรูปภาพหรือเอกสารสําคัญ

10.เก็บกวาดทําความสะอาดบาน เปดหนาตางและประตู เพื่อระบายอากาศ และตรวจสอบความมั่นคงของโครงสราง

พื้นฐานของสิ่งกอสรางตาง ๆ

11.ซอมแซมโครงสรางที่เสียหาย

12.เก็บกวาดกิ่งไมหรือสิ่งปฏิกูลในบาน

13.ตรวจ หารอยแตกหรือร่ัวของทอนํ้าถาพบใหปดวาฃวตรงมิเตอรนํ้า และไมควรด่ืมและประกอบอาหารดวยนํ้าจาก

กอกนํ้า จนกวาจะรูวาสะอาดและปลอดภัย

14 ระบายนํ้าออกจากหองใตดินอยางชา ๆ เน่ืองจากแรงดันนํ้าภายนอกอาจจะมากจนทําใหเกิดรอยแตกของผนังหรืพื้น

หองใตดิน

15.กําจัดตะกอนที่มาจากนํ้าเน่ืองจากเซื้อโรคสวนมากมักจะมาจากตะกอน

โรคท่ีมากับนํ้าทวม

โรคนํ้ากัดเทาและผื่นคัน

เกิด ขึ้นไดก็เพราะผิวหนังเทาของเรา โดยเฉพาะที่งามเทาเกิดเปยกชื้นและสกปรก เวลาที่เทาสกปรก สิ่งสกปรกจะเปน

อาหารอยางหน่ึงที่ทําใหเชื้อราหรือเชื้อโรคเจริญเติบโตได ดี เทาที่แชนํ้าหรือเปยกชื้นอยูตลอดเวลา จะทําใหผิวหนังที่เทาออน

สวนผิว ๆของหนังจะเปอยและหลุดออก เศษผิวหนังที่เปอยน้ีจะทําใหเชื้อโรคที่ปลิวไปปลิวมาเกาะติดไดงาย และผิวที่เปอยก็

เปนอาหารของเชื้อราไดดี เชื้อราจึงไปอาศัยทําใหเกิดแผลเล็กๆขึ้นตามซอกน้ิวเทาเกิดเปนโรคนํ้ากัด เทาขึ้น

โรคนํ้ากัดเทา มักพบวามีอาการคันและอักเสบตามซอกน้ิวเทา (หรือน้ิวมือ) และถามีเชื้อแบคทีเรียเขาแทรกซอนดวย ก็จะทํา

ใหอักเสบเปนหนอง และเจ็บปวดจนเดินลําบากได

ไขหวัด

ไขหวัดเปนการติดเชื้อของจมูก และคอ บางคร้ังเรียก upper respiratory tract infection URI เกิดจากเชื้อไวรัสซึ่งรวม

เรียกวา Coryza viruses ประกอบดวย Rhino-viruses เปนสําคัญ เชื้อชนิดอ่ืนๆมี Adenoviruses, Respiratory syncytial virus

เมื่อเชื้อเขาสูจมูก และคอจะทําใหเยื่อจมูกบวม และแดง มีการหลังของเมือกออกมาแมวาจะเปนโรคที่หายเองใน 1 สัปดาหแต

เปนโรคที่นําผูปวยไปพบแพทยมากที่สุดโดยเฉลี่ยเด็กจะเปนไข หวัด 6-12 คร้ังตอป ผูใหญจะเปน 2-4 คร้ัง ผูหญิงเปนบอย

กวาผูชายเน่ืองจากใกลชิดกับเด็ก คนสูงอายุอาจจะเปนปละคร้ัง

โรคเครียดวิตกกังวล

ความเครียดเปนระบบเตือนภัยของรางกายใหเตรียมพรอมที่กระทําสิ่งใดสิ่งหน่ึง การมีความเครียดนอยเกินไปและมาก

เกินไปไมเปนผลดีตอสุขภาพ สวนใหญเขาใจวาความเครียดเปนสิ่งไมดีมันกอใหเกิดอาการปวดศีรษะ ปวดกลามเน้ือ หัว

ใจเตนเร็ว แนนทอง มือเทาเย็น แตความเครียดก็มีสวนดีเชน ความต่ืนเตนความทาทายและความสนุก สรุปแลวความเครียดคือ

สิ่งที่มาทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงชีวิตซึ่งมี่ทั้ง ผลดีและผลเสีย

Page 6: คู่มือ รับสถานการณ์น้ำท่วม

โรคตาแดง

โรคตาแดงเปนโรคตาที่พบไดบอย เปนการอักเสบของเยื่อบุตา( conjuntiva)ที่คลุมหนังตาบนและลางรวมเยื่อบุตา ที่

คลุมตาขาว โรคตาแดงอาจจะเปนแบบเฉียบพลัน หรือแบบเร้ือรัง สาเหตุอาจจะเกิดจากเชื้อแบคทีเรีบ ไวรัส Chlamydia

trachomatis ภูมิแพ หรือสัมผัสสารที่เปนพิษตอตา สาเหตุสวนใหญเกิดจากเชื้อแบคทีเรียและเชื้อไวรัส มักจะติดตอทางมือ

ผาเช็ดหนาหรือผาเช็ดตัวโดยมากใชเวลาหาย 2 สัปดาห ตาแดงจากโรคภูมิแพมักจะเปนตาแดงเร้ือรัง มีการอักเสบของหนังตา

ตาแหง การใชcontact lens หรือนํ้ายาลางตาก็เปนสาเหตุของตาแดงเร้ือรัง

โรคอุจาจระรวง

โรคอุจจาระรวง หมายถึง ภาวะที่มีการถายอุจจาระเหลว จํานวน 3 คร้ังตอกันหรือมากกวา หรือถายเปนนํ้ามากกวา 1

คร้ัง ใน 1 วัน หรือถายเปนมูกหรือปนเลือดอยางนอย 1 คร้ัง สาเหตุเกิดจากการติดเชื้อในลําไสจากเชื้อแบคทีเรีย ไวรัส โปรโต

ซัว ปรสิตและหนอนพยาธิ สถานีอนามัย โรงพยาบาลชุมชนในประเทศไทยมักจะหาสาเหตุของเชื้อโรคที่กอใหเกิดอาการ

อุจจาระรวงไมได ก็จะใหการวินิจฉัยจากอาการ อาการแสดงและลักษณะอุจจาระไดแก บิด (Dysentery) อาหารเปนพิษ (Food

poisoning) ไขทัยฟอยด (Typhoid fever) เปนตน ในกรณีที่มีอาการของโรคอุจจาระรวงเฉียบพลันไมใชโรคดังกลาวขางตน

และอาการไมเกิน 14 วัน ก็จะรายงานเปนโรคอุจจาระรวงเฉียบพลัน (Acute diarrhea)

แหลงใหความชวยเหลือนํ้าทวม

หนวยงานใหความชวยเหลือนํ้าทวม

หนวยงานใหความชวยเหลือนํ้าทวมและหมายเลขสอบถามขอมูลนํ้าทวมตาง ๆ

1. ศูนยรับบริจาคสิ่งของโคราช

- หากตองการบริจาคสิ่งของ ใหไปที่ศาลากลาง จังหวัดนครราชสีมานะคะ

- ตองการบริจาคเงิน ติดตอไดที่เบอรโทร 044-259-996-8, 044-259-993-4 หรือโอนมาไดที่ ธนาคารกรุงไทย สาขา

นครราชสีมา บัญชีออมทรัพย ชื่อบัญชี “เงินชวยเหลือผูประสบอุทกภัย จ.นครราชสีมา” เลขบัญชี 301-0-86149-4

2. ศูนยอํานวยการแกไขปญหานํ้าทวม จังหวัดนครราชสีมา

- สามารถสอบถามและขอความชวยเหลือไดที่ หมายเลขโทรศัพท 044-342652-4 และ 044-342570-7

3. โรงพยาบาลมหาราช จ.นครราชสีมา

- สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมไดที่ หมายเลขโทรศัพท 086-251-2188 ตลอด 24 ชั่วโมง

- ทางโรงพยาบาลมีความตองการนํ้าด่ืมบรรจุขวด นมกลอง และอาหารแหง รวมทั้งของใชเบ็ดเตล็ดผูปวย เชน ผาออม

สําเร็จรูปสําหรับเด็กและผูใหญ ผาอนามัย เปนจํานวนมาก

- สามารถบริจาคเงินไปไดที่ ธนาคารกรุงไทย สาขานครราชสีมา บัญชีออมทรัพย ชื่อบัญชี “โรงพยาบาลมหาราช

นครราชสีมา” เลขที่บัญชี 301-3-40176-1

4. กรมอุตุนิยมวิทยา

- เว็บไซต tmd.go.th

Page 7: คู่มือ รับสถานการณ์น้ำท่วม

- สายดวนกรมอุตุนิยมวิทยา โทร. 1182

- สถานีวิทยุกระจายเสียงกรมอุตุนิยมวิทยา กรุงเทพมหานคร (AM 1287 KHz) โทร. 02-383-9003-4, 02-399-4394

- สถานีวิทยุกระจายเสียงกรมอุตุนิยมวิทยา จ.นครราชสีมา (FM 94.25 MHz)โทร. 044-255-252

- สถานีวิทยุกระจายเสียงกรมอุตุนิยมวิทยา จ.พิษณุโลก (FM 104.25 MHz) โทร. 055-284-328-9

- สถานีวิทยุกระจายเสียงกรมอุตุนิยมวิทยา จ.ระยอง (FM 105.25 MHz) โทร. 038-655-075, 038-655-477

- สถานีวิทยุกระจายเสียงกรมอุตุนิยมวิทยา จ.ภูเก็ต (FM 107.25 MHz) โทร. 076-216-549

- สถานีวิทยุกระจายเสียงกรมอุตุนิยมวิทยา จ.ชุมพร (FM 94.25 MHz) โทร. 077-511-421

5. กรมปองกันและบรรเทาสาธารณภัย

- เว็บไซต disaster.go.th

- สายดวนนิรภัย หมายเลขโทรศัพท 1784

- ขบวนชวยเหลือนํ้าทวมออกเร่ือย ๆ ขอรับบริจาคเนนไปที่ นํ้า , ยาแกไข, เสื้อ สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมไดที่

หมายเลขโทรศัพท 02-241-7450-6 แผนที่คลิกที่น่ี

6. กรุงเทพมหานคร

- สามารถไปบริจาคสิ่งของไดที่ ศูนยชวยเหลือผูประสบอุทกภัย อาคารศาลาวาการกทม.1 (เสาชิงชา),

ศาลาวาการกทม.2 (ดินแดง) และที่สํานักงานเขตทุกแหงทั่วกรุงเทพฯ 50 แหง สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมไดที่ หมายเลข

โทรศัพท 02-354-6858

7. สภากาชาดไทย

- สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมไดที่ หมายเลขโทรศัพท 02-251-7853-6 , 02-251-7614-5 ตอ 1603

- สามารถบริจาคเงินไปไดที่ ธนาคารไทยพาณิชย สาขาสภากาชาดไทย บัญชีออมทรัพย ชื่อบัญชี “สภากาชาดไทย

ชวยเหลือผูประสบอุทกภัย” เลขที่บัญชี 045-3-04190-6 แลวแฟกซใบนําฝากพรอมเขียนชื่อและที่อยูมาที่ สํานักงานการคลัง

สภากาชาดไทย ถึงหัวหนาฝายการเงิน หมายเลขโทรสาร 02-250-0120 สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมไดที่ หมายเลขโทรศัพท

02-256-4066-8

- สามารถไปบริจาคสิ่งของไดที่ สํานักงานบรรเทาทุกขและประชานามัยพิทักษ สภากาชาดไทย 1871 ถนนอังรีดูนังต

เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330 หากมาจากถนนพระราม 4 ใหเลี้ยวตรงแยกอังรีดูนังต เมื่อเขาสูถนนอังรีดูนังตใหชิดซายทันที

เน่ืองจากอยูตนๆถนน (ทางดานพระราม 4) สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมไดที่ 02-251-7853-6 ตอ 1603 หรือ 1102 หากเปน

วันหยุดราชการ ตอ 1302 , 02-251-7614-5 หมายเลขโทรสาร 02-252-7976

- สามารถลงทะเบียนรวมเปนอาสาสมัครชวยเหลือผูประสบภัยนํ้าทวมไดที่ http://www.rtrc.in.th/ หรือ สอบถาม

รายละเอียดเพิ่มเติมไดที่ หมายเลขโทรศัพท 02-251-7853-6 , 02-251-7614-5 ตอ 1603 มาชวยแพ็คชุดธารนํ้าใจ หรือชวยขน

พวกขาวสารอาหารแหงขึ้นรถบรรทุก แตมีเงื่อนไขอยูวา ตองการผูที่มีสุขภาพแข็งแรง และสามารถยกของหนักได (เพราะ

งานคอนขางหนัก และตองยกของหนัก) เปนผูชายก็จะดีมาก หากเราตองการกําลังพล จะโทรศัพทไปติดตอวาจะสะดวกมาใน

วันที่เราแพ็คของหรือไม เปนราย ๆ ไป

ขอมูลจาก http://www.cendru.net

Page 8: คู่มือ รับสถานการณ์น้ำท่วม

สิ่งที่ตองเตรียม

1.ขวดนํ้าพลาสติคใส ที่ด่ืมนํ้าหมดแลวพรอมฝาที่ปดไดแนนสนิท ขนาดไมเกินสองลิตร เมื่อวางนอนแลวความหนาที่

แสงอาทิตยผานไมเกิน 10 ซม. ขวดยิ่งชลูดยิ่งดี รังสีดวงอาทิตยจะไดทะลุทะลวงไดมาก พลาสติคไมเกาหรือมีรอยขีดขวน

มากเกินไป เพราะรังสีจะผานไดไมดี ภายในขวดสะอาด แกะพลาสติคภายนอกออกหมด

2. แหลงนํ้าสะอาดที่สุดเทาที่จะหาได วิธีน้ีใชฆาเชื้อโรคไดดี แตไมสามารถแกปญหาสารเคมีปนเปอนในภาวะปกติ ครัวเรือน

ที่ด่ืมนํ้าฝน ถาตองการประหยัดพลังงานและทุกคนในบานแข็งแรงดี อาจจะใชวิธีน้ีแทนการตมก็ได

3. ถานํ้าขุนควรมีผากรองตะกอนดิน เชน ผาขาวบาง หรือผาขาวมาสะอาดหลายๆ ชั้น เมื่อกรองไดที่บรรจุนํ้าเต็มขวด เปดฝา

วางทับหนังสือพิมพรายวันหนาแรก ควรจะสามารถมองลงไปกนขวด อานพาดหัวขอขาวรองได (ตัวอักษรในแนวหลักขนาด

3.5 ซม.)

4. บริเวณที่จะวางขวดตากแดดที่รอน โดยเฉพาะถามีโลหะเชนแผนสังกะสีลูกฟูก หรือ อะลูมิเนียมจะดีมาก

วิธีการเตรียม

1.กรองนํ้าที่หาได กรอกลงขวดใหไดประมาณ 3 ใน 4 ขวด

2.เขยาแรงๆ อยางนํ้า 20 คร้ัง ใหอากาศ (ออกซิเจน) ผสมกับนํ้าใหทั่ว

3.เติมนํ้าใหเต็มขวด ปดฝาแนนสนิท

4.วางขวดในแนวนอน ตากแดดตามขอ 4 ขางบนทิ้งไว อยาพยายามขยับขวดโดยไมจําเปน เพื่อใหออกซิเจนไมแยกตัวจากนํ้า

ตากแดดโดยใชเวลา

- 2 ชั่วโมงถาแดดจัด พื้นที่วางเปนโลหะและนํ้าคอนขางใส

- 6 ชั่วโมงบนพื้นกระเบื้องหรือซีเมนต

- 2 วันถามีเมฆมาก

ถาฝนตกตลอดแดดไมออกเลย ใหรองนํ้าฝนด่ืมแทน

นํ้าในขวดดังกลาวนําไปด่ืมไดเลย หรือจะเก็บไวด่ืมในภายหลังก็ได แสงแดด ความรอน และออกซิเจนจะทําปฏิกิริยากันฆา

เชื้อโรคทั้งแบคทีเรีย ไวรัส และพยาธิ 99.9% แตอาจจะมีสาหรายเซลเดียวซึ่งทนรังสียูวีและความรอนซึ่งอาจจะจับตัวเปน

ตะไครนํ้าในขวดไดถาเก็บขวดไวนาน แตนํ้าที่มีสาหรายเหลาไมมีอันตรายตอผูด่ืมทั่วไปที่มีภูมิคุมกันปกติ

Page 9: คู่มือ รับสถานการณ์น้ำท่วม

หมายเหตุ

1.เทคโนโลยีงายๆ ที่วิจัยและพัฒนาโดยองคการนานาชาติ www.sodis.ch น้ี ฆาเชื้อโรคโดยพลังแสงแดด ซึ่งมี รังสียูวี + รังสี

ความรอน + อนุมูลออกซิเจนและโอโซน ซึ่งเกิดจากการทําปฏิกิริยาระหวางออกซิเจนที่เราผสมนํ้าระหวางเขยาขวด เหมือน

นํ้าบรรจุขวดขายซึ่งผานรังยูวี หรือ โอโซน ในระดับที่เขมขน

2.ขวดนํ้าใส PET หรือ Poly Ethylene Terephthalate (โพลีเอทธิลีนเทเรฟทาเลต) ที่ตากแดดในระดับน้ี ปลดปลอยสารเคมี

นอยมาก ไดรับการยอมรับจากองคการอนามัยโลกวาอยูในระดับที่ปลอดภัย ไมเหมือนวัสดุประเภท PVC ทุกวันน้ีเราก็ด่ืมนํ้า

บรรจุขวด PET กันอยูแลว

เรียบเรียงสําหรับชาวบานโดย ศ.นพ.ดร.วีระศักด์ิ จงสูวิวัฒนวงศ หัวหนาหนวยระบาดวิทยา และผูอํานวยการสถาบันและ

พัฒนาสุขภาพภาคใต มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร