yoga saratta -jan 2553 (vol.1001)

16
จดหมายขาว ถีชีวิต เพื่อสุขภาวะ www.thaiyogainstitute.com ฉบับเดือน มกราคม 2553 คุยกันกอน 2 ปฏิทินกิจกรรม 2 โยคะจากอินเดีย 2 ระหวางทาง 4 เทคนิคการสอน 5 สะกิด สะเกา 7 ปกิณกะ สุขภาพ 8 แนะนําหนังสือ 8 จดหมายจากเพื่อนครู 10 เลงเลาเรื่อง 11 ตําราโยคะดั้งเดิม 12 เกร็ดความรูโยคะ 15 จดหมายขาว โยคะสารัตถะ วิถีชีวิตเพื่อสุขภาวะ ที่ปรึกษา แกว วิฑูรยเธียร ธีรเดช อุทัยวิทยารัตน นพ.ยงยุทธ วงศภิรมยศานตินพ.สมศักดิชุณหรัศมิกองบรรณาธิการ กวี คงภักดีพงษ, จิรวรรณ ตั้งจิตเมธี, จีระพร ประโยชนวิบูล, ชนาพร เหลืองระฆัง, ณภัทร วัฒนะวงศี, ณัตฐิยา ปย มหันต, ณัฏฐวรดี ศิริกุลภัทรศรี, ธนวัชร เกตนวิมุต, ธนวไล เจริญจันทรแดง, ธัญยธรณ อรัณยชลาลัย, ธีรินทร อุช ชิน, พรจันทร จันทนไพรวัน, พัชรินทร ฉัตรเกลา, รัฐธนันท พิริยะกุลชัย, วรรณวิภา มาลัยนวล, วัลลภา ณะนวล, วิสาขา ไผงาม, วีระพงษ ไกรวิทย, ศันสนีย นิรามิษ, สมดุล หมั่นเพียรการ สถาบันโยคะวิชาการ มูลนิธิหมอชาวบาน 201 ซอยรามคําแหง 36/1 บางกะป กทม.10240 โทรศัพท 02 732 2016-7, 081 401 7744 โทรสาร 02 732 2811 อีเมล [email protected] เว็บไซท www.thaiyogainstitute.com สิ่งตีพิมพ 1001 1

Upload: tang-thai

Post on 04-Apr-2015

113 views

Category:

Documents


3 download

DESCRIPTION

โยคะสารัตถะ เดือน มกราคม 2553

TRANSCRIPT

Page 1: Yoga Saratta -Jan 2553 (Vol.1001)

จดหมายขาว วิถีชีวติ เพือ่สุขภาวะ

www.thaiyogainstitute.com ฉบับเดือน มกราคม 2553

คุยกันกอน 2 ปฏิทินกิจกรรม 2 โยคะจากอินเดีย 2 ระหวางทาง 4 เทคนิคการสอน 5 สะกิด สะเกา 7 ปกิณกะ สุขภาพ 8 แนะนําหนังสือ 8 จดหมายจากเพื่อนครู 10 เลงเลาเรื่อง 11 ตําราโยคะดั้งเดิม 12 เกร็ดความรูโยคะ 15

จดหมายขาว โยคะสารัตถะ วิถีชีวิตเพื่อสุขภาวะ ท่ีปรึกษา แกว วิฑูรยเธียร ธีรเดช อุทัยวิทยารัตน นพ.ยงยุทธ วงศภิรมยศานติ ์ นพ.สมศักดิ์ ชุณหรัศม์ิ กองบรรณาธิการ กวี คงภักดีพงษ, จิรวรรณ ตั้งจิตเมธี, จีระพร ประโยชนวิบูล, ชนาพร เหลืองระฆัง, ณภัทร วัฒนะวงศี, ณัตฐิยา ปย

มหันต, ณัฏฐวรดี ศิริกุลภัทรศรี, ธนวัชร เกตนวิมุต, ธนวไล เจริญจันทรแดง, ธัญยธรณ อรัณยชลาลัย, ธีรินทร อุชชิน, พรจันทร จันทนไพรวัน, พัชรินทร ฉัตรเกลา, รัฐธนันท พิริยะกุลชัย, วรรณวิภา มาลัยนวล, วัลลภา ณะนวล, วิสาขา ไผงาม, วีระพงษ ไกรวิทย, ศันสนีย นิรามิษ, สมดุล หม่ันเพียรการ

สถาบันโยคะวิชาการ มูลนิธิหมอชาวบาน 201 ซอยรามคําแหง 36/1 บางกะป กทม.10240 โทรศัพท 02 732 2016-7, 081 401 7744 โทรสาร 02 732 2811 อีเมล [email protected] เว็บไซท www.thaiyogainstitute.com

สิ่งตีพิมพ

1001 1

Page 2: Yoga Saratta -Jan 2553 (Vol.1001)

สวัสดีปใหม 2553 ขอบคุณคําแนะนําของทุกทาน

ทั้งผูอาน เพ่ือนครู รวมทั้งกองบรรณาธิการเอง เพราะเราเห็นคุณคาของจดหมายขาว ที่เปนส่ือระหวางเพื่อนกับสถาบันฯ จึงยืนยันที่จะทําจดหมายขาวนี้ตอไป ดังนั้นผูอานทานใดที่กลาๆ กลัวๆ วาจะตออายุดีมั้ย ตอมาไดเลยนะครับ

ฉบับนี้ ครูหนู ชมชื่น สิทธิเวช ใหเกียรติเขียนบทความอินเดียมาฝากพวกเรา ขอขอบคุณยิ่ง แววๆ วาครูจะเขียนมาใหอานอีกนะ หลังจากไปชารจพลังที่อินเดีย พ่ีเละกลับมาแลว คราวนี้มากับคอลัมน “ระหวางทาง” ที่เราคุยกันเยอะคือคอลัมนตําราดั้งเดิม จากขอคิดเห็นที่สงไปยังกองบก. ไมมีใครปฏิเสธความสําคัญของการศึกษาโยคะสูตรเลย แตสวนใหญบนวาขมจัง ผูเขียนคือ อาจารยโต อาจารยจิ ก็เห็นประเด็นอยูครับ ซึ่งทั้งคูจะพยายามใหเขาถึงผูอานมากขึ้น แตในทํานองเดียวกัน พวกเราก็ตองพยายามดวยเนาะ ไมใชอะไรยากก็ไมเอาเลย เดี๋ยวตอมสูจะฝอนา

เราไดลองปรับอารตเวอรคเล็กนอย ไมรูดีขึ้นหรือแยลง บอกมาไดเลยนะครับ ไมตองรอปนึงถึงตอบแบบสอบถามทีนึง จะกริ๊งมาจะอีเมลมาไดทั้งนั้น เชื่อเถอะครับ ขอคิดเห็นจากผูอานคือส่ิงสําคัญในการทําจดหมายขาวนี้ สวนเรื่องขนาดตัวอักษร อยากทําใหใหญขึ้นครับ เพราะที่เขียนตนฉบับอยูนี้ ก็ใสแวนแลวครับ แตชวยชาติประหยัดกระดาษนะ

ฝากผลแบบสอบถามมาใหพวกเราดูดวยครับ อาจตรงหรือไมตรงใจพวกเราทั้งหมด คอลัมนที่ผูอานชอบ เรียงตามลําดับ: โยคะวิถี, ปกิณกะสุขภาพ, ปฏิทินกิจกรรม, แนะนําหนังสือ, เกร็ดความรูโยคะ, โยคะจากอินเดีย, เทคนิคการสอน, จดหมายจากเพื่อนครู, ตําราโยคะดั้งเดิม, สะกิดสะเกา สวนในเร่ืองคอลัมนใหม ผูอานสนใจสัมภาษณ 82% ความเปนไปของเครือขาย 75% สําหรับนิสัยการอาน อานทุกคอลัมน 72% อานเสร็จแลวเก็บไว 82 % และมีผูอานที่คิดวาอารตเวอรคเหมาะสมเพียง 68%

จิตสิกขา ป 2553 ยังคงจัดทุกวันเสารที่ 3 ของเดือนเชนเดิม หัวขอของตนปนี้ยังคงเปนเรื่อง อภิธรรม คือศึกษาไปที่ จิต เจตสิก รูป นิพพาน จะทําการศึกษาในหัวขอนี้ตอเนื่องไปจนกวาเนื้อหาจะส้ินสุดลง

มีการปรับเวลาเปน 9.00 – 12.00 น. แบงเปนการปฏิบัติ 1 ชั่วโมง พูดคุยเนื้อหา 2 ชั่วโมง

และที่สําคัญ ยายสถานที่ไปเปน สํานักงานสถาบันฯ เลขท่ี 201 ซอยรามคําแหง 36/1 สนใจพบกันวันเสารที่ 16 มกราคม ที่รามคําแหงนะ

โยคะโอม จัด Anusara Yoga Retreat on Manduka Mat with Bo Srey at Koh Samui

เชิญสัมผัสกับบรรยากาศธรรมชาติ ทะเลที่สวยงาม ไปทํา Yoga retreat กินอาหารสุขภาพ ฝกอนุสราโยคะ กับบรรยากาศทองทะเล พักรีสอรตสุดหรู Saree Samui หองขนาดใหญ 92 ตร.เมตรพรอมส่ิงอํานวยความสะดวกครบครัน

สํารองชื่อไดที่ DHARMA Yoga โทร 02-391-9919 ตอ 333 หรือ โยคะโอม 084-928-4888 ดูรายละเอียดที่ www.yogaaum.com หรือ www.sareesamui.com

ครูหนู (ชมชื่น สิทธิเวช) บานโยคะ ทองหลอ 13

อินเดีย การไปอินเดียของฉันในครั้งนี้ เปนครั้งที่เทาใดนับไมถวนเสียแลว แตละครั้งมีเปาหมายแตกตางกันไป ครั้งนี้เปนการไปที่มีเปาหมาย แบบยิงปนนัดเดียวจะไดนกหลายตัว จะเปนความโลภมั้ยละ ! ฉันเดินทางไปยังเมืองคยา (Gaya) รัฐพิหาร (Bihar) ประเทศอินเดียสมัยนี้สะดวกสบายมากโดยสายการบินไทยบินตรงลงที่คยา เพ่ือเปนการประหยัดเวลาและถนอมรางกาย

การไปเมืองนี้ทุก ๆ คนมเีปาหมายเดียวกันคือ นมัสการพระศรีมหาโพธิ์ (ตนโพธิ์) ซึ่งเปนสถานที่พระบรมศาสดาของเราทรงตรัสรูเปนพระสัมมาสัมพุทธเจา สวนฉันมีความตั้งใจมากไปกวานั้นคือ การปฏิบัติสมาธิและสาธยายมนต ณ ที่นั้น เพ่ือเปนศิริมงคลกับตนเอง และทําใหบุพการี ครูบาอาจารย รวมทั้งกัลยาณมิตรศิษยโยคะทุกทาน ฉันเลือกที่พักเปนโรงแรมขนาดปานกลาง ชื่อ มหายานะ (Mahayana Hotel) สามารถเดินไปปฏิบัติที่พระศรีมหาโพธิ์ไดสบาย บริเวณน้ันจะมีรานอาหารใหเราฝากทองได

1001 2

Page 3: Yoga Saratta -Jan 2553 (Vol.1001)

ราคาไมแพง ฉันวางตารางชีวิตไวระหวางนั้นคือ ตื่นตี 5 ฝกโยคะรอบสั้น ปฏิบัติสรีรกิจ ทานอาหารเชา และเดินไปมหาโพธิ์ เริ่มตนสวดมนตทําวัตรเชา นั่งสมาธิ เดินจงกรม และสาธยายมนต ตารางนี้สามารถปรับเปล่ียนไปตามเหตุการณและสมควร ฉันใชเวลาที่มหาโพธิ์ตั้งแตเชา จนถึงหาโมงเย็น และกลับมาทําวัตรเย็นที่โรงแรมเพราะทองฟาเริ่มมืด อากาศเย็นขึ้น ความสําคัญของการฝกอาสนะบางอาสนะ จึงมีบทบาทสําคัญในขณะปฏิบัติสมาธิ จะเปนกอนหรือหลังการปฏิบัติ หลังจากสวดมนตจบ ฉันเริ่มบริหารกลามเนื้อคอ เปนส่ิงแรก จากนั้นจะเริ่มยืดและเหยียดกลามเนื้อสวนหลังดวย ปรวัตาสนะ (ทาภูเขา) วีราสนะ (ทาวีรบุรุษ) โยคะมุทรา (ทาปทมสนะ) พัทธโกณาสนะ (ทานั่งมุม) ปศจิโมทานสนะ (ทายืดหลัง) กอนเดินจงกรม ฉันจะเริ่มยืนและยอดวย ตาลาสนะ (ทายืนตนตาล) และ อุตกตาสนะ(ทายืนเขยงยอ) อาสนะเหลานี้ชวยในการปฏิบัติสมาธิไดเขมแข็งขึ้น อีกนัยหนึ่งขณะที่ฉันยกแขน เหยียดยืดรางกายนั้นฉันยังคงกําหนดสติตามรูลมหายใจ และการเหยียดยืดของกลามเนื้อไดอยางชัดเจน และท่ีสําคัญตามความรูสึกของฉันโดยสวนตัว ฉันพอใจที่จะฝกลมหายใจแบบอุชชายีสักครู เพ่ือเปนการจูงจิตไดผลดี อยางที่บอกทุกๆ ชีวิต ณ ที่นั้นมีเปาหมายเดียวกัน เราจะไดเห็นพระธิเบต (ลามะ) ยืนไหวพระแบบอัษฎางค-ประดิษฐ (8 จดุสัมผัสพ้ืน) เปน 100 รปู แตละรูปก็พยายามไหวใหได 108 ครั้ง ฉันสังเกตพระลามะเหลานั้นกลามโตทุกรูป รวมทั้งฆราวาส ที่เปนพุทธแบบมหายานดวยกัน บางคนทําสมาธิแบบนับลูกประคํา หรือบางรูปทําสมาธิโดยการโปรยขาว หรือลูกปดตามบทสวดมนตนั้น อีกทั้งมาคราวนี้เปนเหตุการณบังเอิญสําหรับฉันโดยไมทราบลวงหนาคือ ที่พระศรีมหาโพธิ์นี้มีพิธีกรรมครั้งใหญเรียกวา “การสาธยายพระไตรปฎก” (International Tipitaka Chanting Ceremony) ตั้งแตวันที่ 2 – 12 ธันวาคม 2552 มีทั้งชาติไทย พมา อินเดีย ศรีลังกา ธิเบต จีน เวียตนาม เกาหลี ที่เปนพุทธทั้งหมดมารวมตัวกันสาธยายมนต พวกเรา ณ ที่นั้นก็รวมอนุโมทนาและภาวนารวมกัน ถือวาเปนการไดรับพลังบุญอันยิ่งใหญ

เหตุการณบังเอิญที่ไมคิดวาจะพบในเมืองคยา ดวยสายตาที่สอดสายระหวางอยูในรานอาหาร มีปายประกาศเกี่ยวกับชั้นเรียนโยคะ โชคดีที่ฉันเดินทางสวนตัวไมไดมาเปนกรุปทัวร ขอปลีกตัวไปสังเกตการณเสียหนอย สถานที่ชื่อ

“ROOT INSTITUTE” เปนองคกรที่ดูแลโดยบุคคลากรที่อุทิศตัว เริ่มต้ัง พระธิเบต แมชี และอ่ืน ๆ สถานที่งดงาม เงียบสงบ สะอาด ซึ่งจัดเปนหมวดหมูไดอยางสวยงาม เรียบงาย มีคลินิกรักษาโรค หอพัก หองปฏิบัติสมาธิ หองอาหาร หองเรียนโยคะ หองสมุด มีสวนเล็ก ๆ ใหเดินเลน

คุณโจเซ ชาวเปอโตริโก ทําหนาที่ครูโยคะ ฉันรวมเรียนดวยในเชาวันนั้น และมีโอกาสพูดคุยกัน ปรากฏวาคุณโจเซเรียนโยคะในสายศิวะนันทะดวย รวมทั้งสายอื่น ๆ ในนิวยอรค เธอจบทางดานแพทยฝงเข็มมาดวย มาทํางานใหในคลินิกและสอนโยคะ และอาจจะมาเยี่ยมชั้นเรียนของฉันที่กรุงเทพฯ ในไมชานี้ นี่ก็เปนความบังเอิญอีกแลว

ฉันเดินทางตอไปยังเมืองนาลันดา (Nalanda) โดยไดรับความกรุณาจากทานอาจารย ดร.พระมหาพัน สภาจาโร เจาอาวาสวัดไทยนาลันดา เราใชเวลาเดินทางจากคยาประมาณ 2 ชั่วโมง ตองขามแมน้ําเณรัญชราอันแหงขอด วัดเปนวัดปาเล็ก ๆ อยูทามกลางทุงนา และทุงมัสตารทเหลืองอราม ใชเวลาอยูที่นี่ 2 วัน 1 คนื ฉันอุทิศตัวทํางานใหวัดตามทางของโยคะและตามวิถีของชาวพุทธ คือเขาโรงครัวทําอาหารถวายพระ และมีโอกาสเรียนรูภาษาอินเดียแบบตางจังหวัดกับชาวบานที่มาทํางานใหวัดดวย เมื่อเสร็จภารกิจ ก็สอนเด็ก ๆ สวดมนต ที่วัดไทยนาลันดานี้ ไมแพ Root Institute คือมีหองพักรับรองญาติโยมพอควร คลินิกรักษาโรคฟรี หองปฏิบัติสมาธิ โบสถ แตเปนวัดที่กําลังพัฒนา ฉันไดรับมอบหมายจากผูใหญใจบุญใหเดินทางไปสํารวจ ฉันจึงมีโอกาสบอกบุญมายังเพ่ือนครูโยคะผูใจบุญทุกๆ คน ที่สถาบันโยคะวิชาการ มีปจจยัสนับสนุนโครงการของวัดไดดังนี้

1 ทําแทงเก็บน้ํา (ตามศรัทธา) 2 ทุนการศึกษาเด็กยากจนที่เรียนดี (คนอินเดีย) ทุน

ละ 360 บาท 3 บริจาคซอมแซมโรงครัว – คาหมอและยารักษา

โรค 4 ซื้อท่ีดินเพ่ิมเพ่ือทําเตาเผาขยะ ตารางวาละ

2,000 บาท หรือตามศรัทธา ทานใดสนใจ หรือทางสถาบันโยคะวิชาการจะชวยรวบรวมปจจัยโอนเงินผานบัญชีสะสมทรัพย พระมหาพัน สภาจาโร เลขท่ี 146-4-09031-3 ธ.กรุงเทพ สาขาราชวัตร เมื่อโอนเงินแลวกรุณาสงอีเมลดังนี้ Email: [email protected]

จึงขออนุโมทนาบุญมา ณ. ที่นี้ดวยเทอญ สาธุ สาธุ สาธุ

1001 3

Page 4: Yoga Saratta -Jan 2553 (Vol.1001)

ธีรเดช อุทัยวิทยารัตน

เปาหมายชีวิต (๑)

ระหวางการปุจฉาวิสัชนา และวิวาทะเรื่องการฝกอาสนะกันในวงเล็กๆ รุนนองคนหนึ่งถามวา คนเราควรมีเปาหมายในชีวิตอยางไร คําถามนี้ ทําใหผมนึกถึงผลึกความคิดของครูอายุรเวทคนแรกของผม ที่ครูถายทอดออกมาเปนขอเขียนที่แมจะไมยาวนัก ทวาครอบคลุมสาระสําคัญโดยสังเขปของศาสตรอายุรเวทเกือบจะทุกแงมุม ครูผมเกริ่นนําดวยบทสรุปส้ันๆ วาอายุรเวทบอกใหเรารูวา ชีวิตคือการเดินทางที่เราแตละคนจะตองคนหาเปาหมายและวิถีทางที่เหมาะสมกับตัวเองเพ่ือท่ีจะบรรลุเปาหมายนั้น หลังจากคิดทวนเรื่องนี้อยูหลายทบ ผมมีขอสังเกตวาบทสรุปขางตนของครูนาจะเชื่อมโยงกับส่ิงที่เรียกวา “ปุรุษารถะ” (purusartha) หรือส่ิงที่พึงบรรลุถึง(ในชีวิต)ซึ่งมี ๔ อยางไดแก ธรรมะ อรรถะ กามะ และโมกษะ จากความรูในภาษาสันสกฤต เทาที่มีอยูนอยนิดของผม คําวา ธรรมะ มาจากรากศัพท ธฤ ซึ่งแปลวาการค้ําจุน

ธรรมะ จึงมีนัยหมายถึงการดําเนินชีวิตในลักษณะที่ค้ําจุนหรือเกื้อกูลกันและกันระหวางสรรพชีวิต

อรรถะ แปลวา เงินทอง ทรัพยสิน หรือความมั่งมี กามะ แปลวา ความอยากหรือความปรารถนา สวนโมกษะ แปลวา การปลดปลอย อิสระภาพ หรือ

การหลดุพน ครูอายุรเวทอีกคนของผม เคยอธิบายความเกี่ยวพัน

ระหวางปุรุษารถะทั้งส่ีอยางขางตนวา อาจกลาวไดวาเริ่มจาก(แตไมจําเปนตองเปนอันดับแรกเสมอไป) กามะหรือความปรารถนาซึ่งเปนแรงจูงใจใหเราอยากมีอยากเปน หรืออยากทําอะไร

คําวาอยากมี สวนใหญแลวมักหนีไมพนเร่ืองของทรัพยสินเงินทองซึ่งก็คืออรรถะ หรือแมในกรณีของการอยากเปนหรืออยากทําอะไร เราก็จําเปนตองมีทรัพยสินเงินทองหรืออรรถะเพ่ือท่ีจะเปนหรือทําตามความตองการของเรา

ขณะเดียวกัน แตละชีวิตไมอาจดําเนินไปและดํารงอยูไดโดยอิสระ หากแตตองของเกี่ยวและพ่ึงพาอาศัยกันและกันไมทางใดก็ทางหนึ่ง

ดวยเหตุนี้ เราจึงตองดําเนินชีวิตในวิถีทางที่เกื้อกูลชีวิตรอบขาง หรือขั้นต่ําที่สุดตองไมเบียดเบียนชีวิตอ่ืนๆ

รวมทั้งธรรมชาติที่เราอาศัยอยู หาไมแลวโลกนี้ยอมไมอาจดํารงอยูได ซึ่งแนนอนวาหนึ่งในนั้นมีเรารวมอยูดวย

พูดอีกอยางวา มนุษยทุกคนจําเปนตองมีธรรมะเปนเครื่องกํากับควบคุมใหการบรรลุความปรารถนา(กามะ) และการครอบครองทรัพยสินเงินทอง(อรรถะ) อยูในวิถีที่เหมาะที่ควร ไมรุกลํ้าเบียดบังที่อยูที่ยืนของชีวิตอ่ืนๆ ที่อยูรวมโลกใบเดียวกับเรา หรือทําใหชีวิตอ่ืนๆ เดือดรอน

เมื่อปุรุษารถะสามอยางแรก ไดรับการเติมเต็มแลวเราก็พึงปลอยวางจากสิ่งทั้งหลายทั้งปวง เพ่ือมุงสูการหลุดพนซึ่งเปนจุดหมายปลายทางหรือเปาหมายสูงสุดในชีวิต ซึ่งก็คือโมกษะ

ผมตั้งขอสังเกตวา ดวยความที่อายุรเวทกลาวถึงปุรุษารถะซึ่งเปนเปาหมายที่มนุษยทุกคนพึงมุงไปใหถึง จึงทําใหครูอายุรเวทคนแรกของผมสรุปวา อายุรเวทบอกใหเรารูวาชีวิตคือการเดินทางที่เราแตละคนจะตองคนหาเปาหมายและวิถีทางที่เหมาะสมกับตัวเองเพื่อท่ีจะบรรลุเปาหมายนั้น

(๒) ผมเลาคําอธิบายของครู เกี่ยวกับเปาหมายในชีวิตหรือปุรุษารถะใหนองๆ ฟง กอนที่จะแลกมุมมองของตัวเองตอเรื่องนี้วา เปาหมายสามสี่ประการที่กลาวมาขางตนนั้น อาจเรียกไดวาเปนเปาหมายรวมหรือเปาหมายโดยรวมๆ ที่เหมือนกันของมนุษยทุกคน แตก็ดังท่ีครูอายุรเวทคนแรกของผมเกริ่น เปนเชิงสรุปวา เราแตละคนจะตองคนใหพบเปาหมายในชีวิตของตัวเองรวมทั้งวิถีทางที่เหมาะสมกับตัวเอง ในการบรรลุเปาหมายเหลานั้น กลาวอยางเปนรูปธรรมก็คือ เราอาจตองคนหาวาเรามีความปรารถนาอะไรบางในชีวิต ทั้งความปรารถนาในเร่ืองของอรรถะหรือทรัพยสมบัติ และความปรารถนาในเรื่องของธรรมะหรือการดําเนินชีวิตในทางที่เกื้อกูลกันและกัน กับชีวิตรอบขาง

เปนตนวา นอกจากปจจัยส่ีที่เราจําเปนตองมีเพ่ือใหชีวิตอยูรอดไดแลว เราอยากมีปจจัยอะไรบางเพ่ือตอบสนองความตองการอื่นๆ ของชีวิต เชน งานอดิเรกที่รักชอบหรือสุนทรียภาพในชีวิต รวมทั้งความสะดวกสบายในดานตางๆ ฯลฯ เหลานี้นาจะถือวาอยูในขายของอรรถะ

ในสวนของธรรมะก็คือการตอบโจทยวาเราจะเกื้อกูลชีวิตรอบขาง ตั้งแตใกลตัวจนถึงไกลออกไปในลักษณะใดไดบาง ซึ่งนาจะกินความถึงอาชีพการงานซึ่งสามารถเปนไดทั้ง

1001 4

Page 5: Yoga Saratta -Jan 2553 (Vol.1001)

การเกื้อกูลผูอื่นจากเนื้องานที่ทํา และเปนที่มาของเงินทองปจจัยที่จะทําใหชีวิตดํารงอยูและดําเนินตอไปได

เมื่อใดที่เราคนจนพบความปรารถนาที่ชัดเจนในชีวิตไดวาเราอยากมี อยากเปนและอยากทําอะไรบาง ผมเชื่อวาเราจะเกิดแรงบันดาลใจอันเปยมพลัง ซึ่งจะทําใหเราดําเนินชีวิตอยางมีเปาหมายบนวิถีทางที่เหมาะสมกลมกลืนระหวางธรรมะ อรรถะและกามะ – ในแบบของเราเอง

หรือจะเรียกวา ที่ทางที่ลงตัวของชีวิตก็คงไมผิดนัก เปนความลงตัวที่เปนตนธารของความสุขในชีวิตของแตละคน

ผมยกตัวอยาง กรณีของนองที่เปนเจาของคําถามในยอหนาแรกวา สมมุติวาเธอลงตัวกับการเล้ียงชีพหลักดวยการเปดรานกาแฟเล็กๆ

ลงตัวในความหมายที่เธอมีความสุขกับการชงกาแฟใหไดรสชาติที่กลมกลอมและกลิ่นที่หอมกรุนถูกปากและโดนใจลูกคาที่เปนคอกาแฟในราคาที่เหมาะควร

ขณะเดียวกัน ก็มีรายไดจากสัมมาชีวะพอที่จะเลี้ยงปากเลี้ยงทองของตัวเองและคนรอบขาง รวมทั้งตอบสนองความสะดวกสบายและเติมเต็มสุนทรียภาพใหแกชีวิตได

เงินทองสวนที่เหลือ กับเวลาวางที่พอจะเจียดกันจากกิจการของตัวเอง เธอก็สามารถอุทิศแบงปนใหกับสังคมในรูปแบบตางๆ ได

ไมนับการขัดเกลาพัฒนาจิตใจตามหลักโยคะ และมรรควิถีอยางชาวพุทธที่เธอเองก็ปฏิบัติอยูแลว

ผมคิดวา นี่ก็นาจะถือเปนการคนพบเปาหมายและวิถีทางเดินของชีวิตที่เหมาะสมลงตัวในแบบของเธอเอง

(๓) ถึงแมตัวเองพอจะมีความเขาใจในเรื่อง ปุรุษารถะ

อยูบางระดับหน่ึง ทวาเมื่อใดที่พบพานผูรูผมก็อดไมไดที่จะถามไถเร่ืองนี้อีก เผื่อวาจะทําใหเขาใจแตกฉานมากขึ้น

อยางครั้งลาสุดที่กลับไปหาครูอายุรเวทที่อินเดีย ไดพบกับพ่ีชายของครู ซึ่งมีความรูเร่ืองภาษาสันสกฤตในระดับผูเชี่ยวชาญคนหนึ่ง ผมจึงขอใหเขาชวยอธิบายเรื่องของปุรุษารถะใหฟง

เสียดายวาไดเจอกันในชวงเวลาสั้นๆ จึงไมมีโอกาสเจาะลึกในแตละประเด็น จึงไดฟงคําอธิบายเพียงคราวๆ ซึ่งสวนใหญคลายคลึงกับสาระของเรื่องนี้ที่เคยไดยินไดฟงมา

กอนจะร่ําลาจากกัน เขาสรุปดวยน้ําเสียงเนิบนิ่งภายใตสีหนาทาทางเครงขรึมวา ปุรุษารถะสามอยางแรก สวนใหญแลวเรานาจะบรรลุถึงไดในชีวิตนี้ แตอยางสุดทายคือโมกษะหรือการหลุดพนนั้น ไมนาจะบรรลุไดในชาติภพนี้ และก็คงยากที่แตละคนจะหยั่งรูไดวาจะบรรลุถึงเมื่อไร

ประโยคสุดทายของเขา ทําใหผมนึกถึงยอหนาถัดไปของผลึกความคิดของครูอายุรเวทคนแรกซึ่งเขียนไววา

“ชีวิตคือการเดินทางอันยาวไกล ที่เราอาจตองเปล่ียนยานพาหนะที่ใชในการเดินทางซึ่งก็คือรางกายครั้งแลวครั้งเลา เมื่อพาหนะเดิม ไมอยูในสภาพที่จะใชเดินทางไดอีกตอไป จนกวาจะบรรลุถึงจุดหมายปลายทาง”

ตอนที่อานขอเขียนชิ้นนี้ของครู ผมนึกเติมความตอทายประโยคของครูวา จุดหมายที่วาอาจเปรียบไดกับสถานีปลายทางที่ไมตองเดินทางอีกตอไป

ทวาตราบใดที่ยังไปไมถึงที่หมายสุดทายที่วา ชีวิตก็คงตองมุงหนาตอไป

เชนนั้นแลว ใชหรือไมวาผูคน เร่ืองราว กระทั่งประสบการณ ความคิด และการเรียนรูทั้งหมดทั้งมวลทั้งที่ผานมาและที่จะพบเจอตอไป ลวนเปนเรื่อง “ระหวางทาง”

ธํารงดุล โลกอาสนะ ๓๖๐ องศา..

ประสบการณเรียนรูแบบ East Meets West บทที่ ๒ วาดวย สถิระ และสุขะ ในโลกอาสนะแบบสามานยะ

ผมลองเริ่มอะไรแบบงงๆ เพ่ือหาแนวรวมกับตัวเองในบางครั้งเมื่อถูกพ่ีเละชักชวนกันดุมเดินไปในโลกของอาสนะ

อาสนะฮารดคอรทั้งหลายคงรูจักโศลก ๒.๔๖ ในปตัญชลีโยคสูตร ที่วา “สถิรํ สุขํ อาสนัม” เพียงโศลกเดียวส้ันๆ ที่อาจจะแปลไดไมยากนัก แตเชื่อไหมวาเราอาจตองใชเวลาทั้งชีวิตที่จะตีความและเขาใจมันก็ได (ไมได’เวอรนะ..ขอบอก)

วันนี้.. รายการภาษาสันสกฤตเดลิเวอรี ขอเสนอคําวา .. สถิระ และ สุขะ

สถิระ แปลกันตรงไปตรงมา วาความมั่นคง สวน สุขะ มาจาก สุ ที่แปลวา ดี + ขะ ที่แปลวา ที่

วาง หรืออีกนัยหนึ่งก็คือ อิสระ คําวา สุขะจึงรวมความไดวา ความเปนอิสระในการเคลื่อนไหวจากที่วางหนึ่งไปสูอีกที่หนึ่ง

หากเราตีความเอาตามปตัญชลีโยคสูตร ก็อาจพอกลาวไดวา หลักในการทําอาสนะของเรานั้นจึงตองทําอยางมั่นคงโดยที่เรายังรักษาความผอนคลายเอาไวได

พ่ีเละชวนเรามองใหลึกลงไปอีกนิดวา ในแงมุมของอาสนะ สถิระและสุขะ ไมใชจํากัดอยูในแตละทวงทาเทานั้น

1001 5

Page 6: Yoga Saratta -Jan 2553 (Vol.1001)

แตในบริบทของวินยาสะกรม ยังหมายถึงวาการรอยเรียงทวงทา หรือการออกแบบชุดฝกของเรานั้นยังตองสามารถทําไดอยางมั่นคงและเปนสุขไปพรอมกันจนจบชุดดวย

สถิระ และสุขะ จึงไมใชสองส่ิงที่แยกขาดจากกัน แตเปนเหมือนจุดสองจุดของปลายเสนตรง ซึ่งมีการผันแปรอยางเปนพลวัตร(dynamic) ขึ้นอยูกับบริบท และการสัมพัทธกับตําแหนงแหงที่ตางๆ คลายกับเสนศูนยสูตร กับขั้วโลก ประมาณนั้น สถิระ สุขะ

ในแงมุมของอาสนะ จึงอาจหมายถึงการหาสมดุลระหวางตัวเรากับที่วางของโลกที่เราอาศัยอยูก็ได ลองดูตัวอยางงายๆนี้กัน การที่เราจะตั้งยืนอยางตระหงานง้ํา(อันนี้สํานวนพี่เละเคาเลย) ดังภาพที่๑ มองดูในแงฐาน และความสัมพันธของตัวเรากับโลกแลว ฐานที่แคบมองดูเผินๆ อาจจะไมสถิระนัก คอนไปทางสุขะมากกวาเมื่อเทียบกับภาพที่ ๒ ซึ่งดูเผินๆ ฐานจะกวางกวาแตถากลามเนื้อขาดานหลัง(Hamstring) ตึงเกร็งขาดความยืดหยุน การคงอยูในทวงทาจึงอาจจะคอนมาทางสถิระแตอาจจะขาดสุขะก็เปนได และเมื่อตัวเราอยูในระนาบเดียวกับพ้ืนโลกดังภาพที่ ๓ ดูจากฐาน นาจะสถิระมากที่สุดแตกลับพบวา การอยูในทาศพนั้น ยากที่จะคงความสถิระทามกลางสุขะที่ดูเหมือนจะมากกวา (พูดงายๆก็คือ ทํายังไงใหคงอยูในทวงทาไดโดยไมเผลอหลับนั่นเอง)

เพียงแค ๒ คาํนี้ก็อาจจะทําใหมุมมองแนวคิดการออกแบบและเรียงรอยทวงทาของหลายคนเริ่มกระจาง(หรือมึนงง)มากขึ้น ถารวมถึงการคลี่ขยายไปประยุกตใชกับชีวิต ประจําวันที่มีการไหลเคลื่อนระหวางความมั่นคง และความสุขอีกเลา (อะไรจะลุมลึกกันปานนั้น)

ในชั้นเรียนของเรามุงหมายจะเรียนรู เพ่ือคนหาทวงทาที่พอเหมาะกับตนเอง (tailor made) อยางที่เลาไปเมื่อครั้งกอน แตในวิเศษะ ยอมมีสามานยะหรือลักษณะรวมอยูดวยเสมอ นั่นคือหลักทั่วๆไปในการเตรียมฝกอาสนะ

อยางแรกก็คือ กาละ ในบริบทแรก หมายถึง ชวงเวลาที่ฝก เชน หากเราจะฝกอาสนะตอนเชา หลังจากเพิ่งตื่นนอนจากหองแอร กลามเนื้อเราก็มักเกร็งตึงแนะนําใหเร่ิมฝกจากทาเคล่ือนไหวกอน เชนทําสูรยนมัสการ หรืออาสนะในหมวดยืน แตในทางกลับกันการทําอาสนะนี้ตอนกลางคืน อาจทําใหเกิดการตื่นตัวมากเกินไป อีกนัยหนึ่ง กาละ ยังหมายถึง ระยะเวลาในการฝก รวมถึงความถี่หางอีกดวย บางครั้งเราอาจจะตองลบภาพการฝกอาสนะวาตองชา หรือใชเวลาออกไปบาง เพราะอาจจะทําใหมันกลายเปนขออางใหเราเลือกที่จะไมทําเพราะอางวาเวลาไมพอ แตอาจจะกลับมุมมองวาเราจะเลือกการฝกอาสนะอะไรและอยางไรกับเวลาที่เรามีตางหาก

ลําดับตอมาก็คือ เทศะ หรือสถานที่ พ่ีเละแนะนําวาควรเลือกที่โปรง อากาศถายเทไดดี และต้ังขอสังเกต(แบบไมยอมสรุป)วา อาสนะในหองแอรอาจทําใหกลามเนื้อหดเกร็ง ทางตรงขาม แมหองรอนอาจจะอนุมานวาชวยใหกลามเนื้อยืดหยุนขึ้น แตการสูญเสียน้ํา(ในรูปของเหง่ือ)ที่มากเกินไปก็เปนเรื่องที่ควรใหความสําคัญ นอกจากนี้พ่ีเละยังแนะนําวา การมีสถานที่ประจําเพ่ือฝกอาสนะจนเกิดความคุนชิน อาจจะเกิดเปนพลัง เรียกวาบรรยากาศก็เอ้ือตอการฝกเชนกัน

นอกจากนี้เรายังตองคํานึงถึง วยะ หรือวัย วฤตติ หรือ กิจกรรม วิถีชีวิต และอาชีพของเรา และศักติ คือความแข็งแรง พลกําลังที่เรามีอีกดวย การเลือกอาสนะบางทียังอาจตองอาศัยหลักการตลาดรวมดวย นั่นคือ อาจตองชั่งตวงวัด ระหวาง ประโยชนที่ไดจากทวงทา ตนทุนภายในที่เรามี กับการจายคาตอบแทนดวยรางกายของเรา

ชั้นเรียนอาสนะของเรา มีลักษณะเฉพาะที่ไมมีใคร(กลา)เหมือน เพราะครั้งแรกที่เราเรียนกัน ๔ ชั่วโมงนั้นพวกเราเลาและแลกโดยไมไดทําทาอะไรเลย ผมเลยตีความตอเอาเองขําๆวา อาจเปนกุศโลบาย (คืออุบายอันเปนกุศล)ของผูถายทอด ใหพวกเราเขาใจถึงแกนแกนของความไมมีที่ส้ินสุด หรือ อนันตสัมมา อันเปนสวนหนึ่งของโศลก ๒.๔๗ ที่ตอเน่ืองมาจากสถิระ และสุขะก็เปนได พ่ีเละเริ่มตนรูจักพวกเราจากแบบสอบถามที่ใหพวกเราตอบกอนเร่ิมชั้นเรียน พวกเรากําลังจะรูจักตัวเองมากขึ้นเพราะการฝกคราวหนาของเราจะมีความเปนวิเศษะ หรือเฉพาะลงไปจากการผลัดกันสังเกตและวิเคราะหทวงทาของแตละคนโดยมีพ่ีเละนําทาง

เดือน ธันวาคม 2552 มีผูบริจาคเงินใหสถาบันฯ จํานวนทั้งส้ิน 5,700.- บาท ดังนี้คะ 1. ครูตุม ปทมพร ล้ิมตระกูล อบรมครู ป 2546 500.- 2. ครูรัตน อมรรัตน อัศวนนทวิวัฒน อบรมครู ป 2546 200.- 3. ครูกิ๊ม ครูทอฟฟ และ ครูโจ จากกิจกรรมโยคะธรรมหรรษา เดือนธันวาคม 2552 5,000.-

1001 6

Page 7: Yoga Saratta -Jan 2553 (Vol.1001)

สดใส

เรามีสองทางเลือกเสมอ เจอรรี่เปนผูจัดการรานอาหาร ผูมีอารมณเบิกบานเสมอ หากมีใครถามเขาวาเปนอยางไรบาง เขาจะตอบเสมอวา คงจะดีกวานี้ ถาผมมีคูแฝด พนักงานในรานมักจะลาออกตามเขา หากเจอรรี่เปล่ียนงาน ทําไมหรือ ? ก็เพราะเจอรรี่คือผูสรางขวัญและกําลังใจท่ีเปนธรรมชาติมาก วันใดที่พนักงานมีเร่ืองเลวราย เขาจะไปพบทันที และบอกเลาส่ิงที่อยูดานบวกของเรื่องนั้นใหฟง ผมสนใจคนแบบนี้ ดังนั้น ผมจึงไปหาเจอรรี่และถามเขา "ไมมีใครมองทุกสิ่งเปนบวก มองโลกดานดีตลอดเวลาเชนคุณ คุณทําไดอยางไร" เจอรรี่ตอบ "ทุกเชาที่ตื่นนอน ผมจะพูดกับตัวเองวา เรามี 2 ทางเลือก คือเลือกมีอารมณ ดี หรือ ไมดี ผมจะเลือกมีอารมณดีเสมอ แตละครั้งที่มีเรื่องเลวราย เราเลือกไดวาจะตกเปนเหย่ือ หรือ เรียนรูจากมัน ผมจะเลือกเรียนรูเสมอ ทุกครั้งที่มีใครมาตําหนิ ตอวา เราสามารถเลือกที่จะขุนมัวกับคําตําหนิ หรือมองหาดานบวก ผมจะเลือกดานบวกของมันเสมอ" "แตมันไมงายเสมอไปนะ" ผมแยงขึ้น "ถูกตอง" เจอรรี่บอก ชีวิตเต็มไปดวยทางเลือก ยามที่ตัดเอาสวนไมเกี่ยวของออก ก็จะมองเห็นทางเลือกนั้นได เราจะเลือกวิธีปฏิบัติกับเร่ืองนั้น เราจะเลือกวิธีที่ผูคนจะสงผลกระทบตออารมณของเรา เราเลือกที่จะมีอารมณดีหรือไมดี เราจะเลือกวิธีใชชีวิตของเราเอง หลายปตอมา ไดรับขาวมาวา เจอรรี่ไดทําสิ่งผิดพลาดไมนึกไมฝนขึ้น เขาเผลอเปดประตูหลังรานทิ้งไว มีโจรพกอาวุธ 3 คนเขารานมาปลน

ขณะที่เจอรรี่กําลังพยายามไขตูเซฟอยู มือท่ีส่ันเทาดวยความกลัว จนกุญแจตกไป โจรเองก็ตกใจ จึงล่ันกระสุนใสเจอรรี่ โชคยังดีที่เขาถูกนําสงโรงพยาบาลทันเวลา หลังจากเขาผาตัด 18 ชั่วโมง พักฟนใน ICU หลายสัปดาห เจอรรี่ออกจากโรงพยาบาล โดยมีกระสุนฝงในอยู ผมไดพบเจอรรี่ 6 เดือนหลังเกิดเหตุ เมื่อผมถามเขาวาเปนอยางไรบาง เขายังคงตอบวา "คงจะดีกวานี้ถาผมมีคูแฝด อยากดูแผลมั้ย" ผมปฏิเสธที่จะดูแผล แตถามส่ิงที่เขาคิดในใจตอนโจรเขาราน เขาตอบวา "ส่ิงแรกที่คิดคือ ผมนาจะปดประตูหลังราน" "พอถูกยิงและลมลง คิดไดวามี 2 ทางเลือกคือ อยูหรือตาย ผมเลือกที่จะอยู" "แลวไมกลัวเลยหรือ" ผมถาม เจอรรี่กลาวตอวา "หนวยกูภัยเยี่ยมมาก เขาใหกําลังใจผมตลอดทางวาไมเปนไร" แตเมื่อไปถึงหองฉุกเฉิน หลังจากไดเห็นสีหนาของหมอ ผมรูสึกกลัวมากจริงๆ ภายในตาของพวกเขา ผมอานไดวา "เขาตองไมรอดแนนอน" "ผมรูวาผมคงตองทําบางอยาง" เจอรรี่กลาว "คุณทําอยางไร" ผมถาม เจอรรี่บอก "มีพยาบาลคนหนึ่งตะโกนถามผมวา ผมแพยาอะไรบางหรือเปลา" "เปน" เจอรรี่ตอบขัด เหลาหมอและพยาบาลหยุดทํางานเพื่อรอคําตอบจากผม ผมสูดหายใจลึก และบอกวา "แพกระสุน" ทามกลางเสียงหัวเราะ ผมบอกวา "ผมยังไมตาย ผมเลือกจะมีชีวิตอยู ชวยผาตัดผมที" เจอรรี่รอดไดดวยฝมือหมอบวกกับทัศนคติที่สุดยอดของเขา ผมไดเรียนรูจากเจอรรี่ ทุกๆ วันเรามีทางเลือกที่จะสนุกสนานหรือชิงชังกับชีวิต แตจะมีส่ิงหนึ่งที่เปนของเราเสมอ ซึ่งไมมีใครควบคุมหรือเอาของเราไปได นั่นก็คือ ทัศนคติของเรา ถาเราควบคุมมันได ส่ิงอ่ืนที่เหลือก็ไมมีอะไรยากอีก

1001 7

Page 8: Yoga Saratta -Jan 2553 (Vol.1001)

สดใส ดื่มชามากๆ จะไมเปนโรคเบาหวาน

การดื่มกาแฟหรือชามากๆ ชวยลดความเส่ียงที่ทําใหเกิดโรคเบาหวานชนิดที่ 2 หรือโรคที่เกิดจากชีวิตประจําวันอันไมเหมาะสม การศึกษาลาสุดคนพบวา ผูที่ดื่มชาหรอืกาแฟ 3- 4 ถวยเปนประจําทุกวัน จะมีโอกาสนอยกวามากที่จะเปนโรค เมื่อเทียบกับผูที่ดื่มไมเกินวันละ 2 ถวย นักวิจัยจากมหาวิทยาลัยซิดนี่ย ประเทศออสเตรเลีย กลาววาโดยทั่วไป การดื่มเพ่ิมวันละ 1 ถวยจะเทากับเปนการลดความเส่ียงของโรคเบาหวานไป 7 %. ที่วามานี้ ผูทําการศึกษาไมไดคิดวาการตานทานโรคเกิดจากผลของคาเฟอีน เพราะวากาแฟชนิดที่สกัดคาเฟอีนออกไป ก็ใหผลเชนเดียวกัน พวกเขาคิดวาสารอื่นในชาและกาแฟเชน แมกนีเซียมและสารตานอนุมูลอิสระมีสวนชวยมากกวา ผลคนพบนี้เกิดจากการรวบรวมผลงานวิจัยจากการศึกษา 18 หัวขอ ซึ่งมีผูเกี่ยวของทั้งส้ิน 457,922 คน (Source: Archives of Internal Medicine, 2009; 169: 2053-63) กาแฟไมไดชวยทําใหคุณตื่นขึ้น แตมันอาจใหผลรายแทน

คิดอีกครั้งถาคุณคิดวา กาแฟชวยใหคุณรูสึกตื่นตัวหลังจากดื่มมันเขาไป งานวิจัยไดพบวาคาเฟอีนเปนสารที่ทําใหการรับรูของสมองแยลง กาแฟแค 1 ถวยจะทําใหคุณมึน โดยที่คุณไมรูตัววากําลังมึน ดังนั้นคุณอาจพยายามทําในสิ่งที่เปนอันตรายเชนขับรถ ในขณะที่ผูไมดื่มกาแฟจะมีความรูสึก

ตัว มีความระมัดระวังมากกวา การศึกษาโดยมหาวิทยาลัยเทมเพิล ในฟลาเดเฟย นําขาวรายนี้ไปถึงผูนิยมเครื่องดื่มที่ใหพลังงานโดยผสมคาเฟอีนและมีแอลกอฮอลดวย ปจจุบันการขายเครื่องดื่มประเภทนี้มียอดจําหนายที่สูงมาก โธมัส โกลด แหงมหาวิทยาลัยไดเตือนวา เครื่องดื่มนี้ทําใหความสามารถทางการรับรูของสมอง (สติ) แยลง (Source: Behavioural Neuroscience, 2009; 123: 6)

ศิลปะชวยใหเราอยูดี และไมทําใหเปนโรคเครียด ผูที่รักงานศิลปะ เชน การวาดรูป ระบายสี เตนรํา

เลนดนตรี ฯลฯ หรือแคชอบ เชน ดูละคร คอนเสิรท ฯลฯ จะเปนผูที่หางไกลจากความเครียด โดยภาพรวมแลวศิลปะสงผลดีตอสุขภาพโดยทั่วไปของทั้งผูหญิงและผูชาย และเมื่อมองในแงความเครียดแลว ผลในเชิงปองกันของศิลปะดูเหมือนวาจะใหผลในผูชายไดมากขึ้น

นักวิจัยจากมหาวิทยาลัยนอรวีเจียนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ไดพบความเชื่อมโยงระหวางศิลปะและการมีสุขภาพดี เมื่อพวกเขาไดวินิจฉัยประวัติทางดานสุขภาพของผูเขารวมงานวิจัย 48,289 คน นอกจากนั้น ทีมวิจัยยังพบวา ประโยชนทางดานสุขภาพของงานศิลปะนี้ สงผลกับกลุมประชาชนทุกระดับ ตั้งแตคนขับรถบรรทุกไปจนถึงประธานธนาคารเลย (Source: Norwegian University of Science and Technology. http://www.ntnu.no/dmf/english/)

ความลับของสมอง เรียนอยางไรใหสมองมีความสุข โดย เคนอิจิโร โมงิ แปลโดย ดร.บัณฑิต โรจนอารยานนท จําหนายโดย ซีเอ็ด 172 หนา 165 บาท สํานักพิมพ สมาคมสงเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุน) ส.ส.ท.

ไดมีโอกาสอานหนังสือเลมนี้ อานแบบมวนเดียวจบ

ชอบมาก แลวคิดถึงเพ่ือนๆ อยากใหมีโอกาสไดอานกัน ผูเขียนเปนนักวิทยาศาสตรดานสมองและระบบประสาทชื่อดังของญี่ปุน เปนหนังสือที่ชวยใหเราเขาใจการทํางานของสมอง สามารถนําไปใชพัฒนาการเรียนรูไดในทุกเรื่อง ไมวาจะเปนนักเรียนที่อยากเรียนไดคะแนนดีขึ้น คนวัยทํางานที่อยากมี

ประสิทธิภาพในการทํางานมากขึ้น รวมทั้งโยคีที่อยากเขาใจ (สมอง) ตนเอง มากขึ้น

ส่ิงที่ทึ่งมากคือสารบัญของหนังสือเลมนี้ อานแคสารบัญก็เห็นภาพรวม เกิดความเขาใจและสามารถนําไปใชงานไดเลย อานสารบัญแลว บอกกับตัวเองในใจวา เออ คนเชี่ยวชาญดานสมองกับการเรียนรู ก็ตองทําหนังสือใหงายตอการอาน เรียนรู ทําความเขาใจสินะ เรานําสารบัญมาฝาก

1001 8

Page 9: Yoga Saratta -Jan 2553 (Vol.1001)

หวังวาจะจุดประกาย และไปอานเอารายละเอียดกันนะ หองสมุดมีใหยืมจา

บทนํา วิธีเรียนโดยใชประโยชนจากคุณสมบัติพิเศษของสมอง

บทที่ 1 สมองคนเราชอบสารโดพามีน และเรียนรูแบบเสริมสรางความแข็งแกรง 1 สมองจะแข็งแกรงขึ้นทุกครั้งที่ประสบความสําเร็จในเรื่องใดเร่ืองหน่ึง 2 ถาไมรูสึกมีความสุข วงจรของการสรางเสริมความแข็งแกรงก็จะไมหมุน 3 ความรูสึกตองการ “ฟนฝาอุปสรรค” จะติดเปนนิสัยอยางแนนอน 4 การเรียนรูเปนการทําใหตัวตนของเราเปลี่ยนไปจากตัวตนที่ผานมา

บทที่ 2 การกดดันดวยเวลา เปนการฝกสมองใหรักษาสภาพการตื่นตัว 5 การเพิ่มภาระใหกับแตละกิจกรรม 6 แตการจํากัดเวลาที่เปนการบังคับจากผูอื่นจะมีผลในทางลบ 7 ไมมีประโยชนที่จะไปเปรียบเทียบผลงานของตัวเองกับผูอื่น 8 การออกกําลังกายก็เปนการฝกสมอง 9 การเปล่ียนมุมมองทําใหภาระนั้นนาสนุก 10 ขอใหคิดวา “อยากเปนเหมือนไอนสไตน”

บทที่ 3 การสรางนิสัยการเรียนรูแบบ “มีสมาธิไดทันที” 11 การสรางสมาธิโดยใช “วิธีเรียนแบบการตอบแทนบุญคุณของนกกระเรียน” 12 การทําใหระยะหางระหวางตัวเองกับการเรียนรูเปนศูนย 13 เมื่อสรางวงจรในสมองได ที่เหลือรางกายจะจัดการเองโดยอัตโนมัติ 14 ชวงเวลาเศษๆ ทั้งหลาย ก็ใชใหเกิดประโยชนไดไมจํากัด

บทที่ 4 “เทคนิคการจํา” แบบโมงิ 15 การใช “ประสาทสัมผัส (modality)”หลายดานใหเปนประโยชนในการจํา 16 การใชสมองในชวง “นาทีทองของสมอง” ใหเปนประโยชน 17 ถามีเร่ืองที่ไมเขาใจ ตองคนหาคําตอบในชวงที่สมองยังสดชื่นอยู 18 ส่ิงสําคัญไมใช “การจําทุอยาง” แตเปน “การใชประโยชนจากความรูที่จําได”

บทที่ 5 “การอานหนังสือ” ในแบบที่เคนอิจิโร โมงิ แนะนํา

19 ความสามารถดานภาษาและการใชประโยคเปนพ้ืนฐานสําคัญของการเรียนและการทํางานซ่ึงสามารถฝกฝนไดโดยการอานหนังสือ 20 การตอบสนองของสมองตอการอานแบบตอเนื่องกับการอานแบบเก็บเล็กเก็บนอย 21 การอานหนังสือที่มีเนื้อหายากหนอยจะทําใหสมองรูสึกสนุก 22 อินเตอรเน็ตเปนแหลงขอมูลขาวสารที่ใหญกวาหอสมุด 23 ความรูไมไดเปนสิทธิ์เฉพาะสําหรับผูมีการศึกษาอีกตอไป 24 การเรียนเปนการทําใหตัวเองฉายแววเพื่อใหชีวิตกาวไปสูขั้นตอไป 25 ความรูที่เกิดจากการมีปฏิสัมพันธกับคนอื่นจะเติบโตไดดี

บทที่ 6 การเขาใจสภาพของสมอง 26 กอนอ่ืนใหมอนิเตอรคุณสมบัติของสมองเราเอง 27 ใหจดจําความรูสึกตอนที่ทํางานไดดีที่สุดไวดวยรางกายของเราเอง 28 วิธีเปล่ียนวิชาที่เคยไมถนัด ใหเปนวิชาที่ถนัดได 29 เมื่อ “จุดออน” ของเรากลายเปน “ส่ิงที่ถนัด” 30 ในความผิดพลาด ยังมีโอกาสดีๆ ซอนอยู

บทที่ 7 การพบกับ “ประสบการณเพียงครั้งเดียว” ที่ทําใหเปล่ียนแปลงตัวเองได 31 ทานเองก็สามารถทําใหวงจรการเรียนรูแบบเสริอมสรางความแข็งแกรงทํางานอยางเต็มที่เพ่ือใหความสามารถโดดเดนขึ้นมาได 32 “ประสบการณเพียงครั้งเดียว” ที่จะเปล่ียนสมองของคุณ 33 การใชความอิสระจากการเปนคนประหลาดในการขับวงจรการเรียนรูแบบเสริมสรางความแข็งแกรงใหทํางานอยางเต็มที่ 34 ในสมองของคนเราจะมีการทํางานของนิวรอนกระจกเงาที่ทําใหสามารถเรียนรูไดโดยไมจํากัดสถานที่และสภาพแวดลอม

บทที่ 8 เร่ืองที่ไมคาดคิด (contingency) จะทําใหสมองพัฒนาอยางกาวกระโดด 35 สมองจะรูสึกสนุกกับเรื่องท่ีมีทั้งสวนที่คาดเดาไดและสวนที่คาดไมถึง 36 ความรูสึกทางอารมณ เปนกลยุทธของสมองในการตอบสนองตอเรื่องที่มีความไมแนนอน 37 สามารถทําเรื่องทาทายไดจากการมีฐานที่มั่นคง

บทสงทาย เรากําลังอยูในยุคที่ความรูไมมีขดีจํากัด

1001 9

Page 10: Yoga Saratta -Jan 2553 (Vol.1001)

บี กินตามกรุปเลือด

การรับประทานอาหารตามหมูเลือด ของแตละคนนั้นกําลังเปนที่นิยมในการรักษาสุขภาพ โดยหลักการนี้เร่ิมมาจากนายแพทยปเตอร อดาโม Dr. Peter J D Adamo แพทยทางเลือกผูเขียนหนังสือ Eat Right 4 Your Type ซึ่งระบุถึงหมูเลือดพ้ืนฐานคือ A, B, O และ AB โดยกลาวไววา “ตองมีเหตุผล ตอความขัดแยงที่พบในหลายการศึกษาเกี่ยวกับอาหารและการหายจากโรค, เกี่ยวกับการลดน้ําหนักของผูคนที่รับประทานอาหารอยางเดียวกัน แตผลที่ไดกลับแตกตางกัน หรือการที่บางคนสามารถคงสภาพรางกายไวได เมื่ออายุหนึ่งๆในขณะที่อีกคนหนึ่งที่อายุเทากันกลับตรงกันขาม” ซึ่งหมอปเตอรเชื่ออยางยิ่งวา หมูเลือดเปนปจจัยที่สําคัญที่สุดของความลับตางๆ เกี่ยวกับสุขภาพ, โรคภัย, การมีอายุยืนนาน, ความแข็งแรงทางรางกายและพลังทางอารมณ

หมูเลือดในแตละกลุมนั้น มีความแตกตางของสารเคมีชีวภาพในตนเอง ซึ่งทําใหมีผลตอความแข็งแรงและความออนแอของรางกาย หมูเลือดที่ตางกันก็จะสงผลใหระบบยอยอาหารมีอิทธิพลที่ตางกันออกไป ซึ่งอาหารแตละชนิดก็จะเกิดคุณคาจําเพาะตอหมูเลือดแตละกลุม จากคํากลาวของคุณหมอ เกี่ยวกับการรับประทานอาหารตามกลุมเลือด แมวิธีการนี้ยังไมไดรับการยอมรับจากการแพทยแผนปจจุบัน อยางไรก็ตาม มีการพบวา คนที่เพลิดเพลินกับการรับประทานอาหารที่เหมาะสมกับหมูเลือดนั้น จะมีรูปรางผอมและมีพลังงานมากกวา “พวกเขาสามารถใชมันเปนเคร่ืองมือที่จะประสบความสําเร็จในการลดน้ําหนัก และขจัดปญหาเกี่ยวกับระบบยอยอาหาร มันเปนส่ิงที่มีประโยชนมากถาเรารวมเอาการรับประทานอาหารตามหมูเลือดไว เพ่ือเปนสวนหนึ่งของแผนอาหารเพื่อสุขภาพ แตก็ควรจะปรึกษาแพทยประจําตัวของทาน กอนที่จะเริ่มการรับประทานแบบนี้โดย เฉพาะอยางยิ่งถาคุณมีโรคประจําตัวหรือกินยาบางชนิดอยู ” คนหาอาหารที่เหมาะกับกลุมเลือดของคุณ กรุป โอ เปนกลุมที่มีเอนไซมเปปซิน ในกระเพาะอาหารมาก ซึ่งทําใหสามารถยอยโปรตีนจากเนื้อสัตวไดดี แตจะไมสามารถยอยอาหารจําพวกพวกเมล็ดขาวตางๆ (grains) และ ผลิตภัณฑจากนมไดดีนัก ควรที่จะหลีกเล่ียงเครื่องดื่มจําพวก เบียร, ชา, กาแฟ และ โซดา ซึ่งจะทําใหปริมาณเอนไซมเปปซินเพ่ิมขึ้น คนกลุมเลือดโอมีแนวโนมที่จะมีการสันดาป (metabolism) ต่ํา ดังนั้นจึงควรจะงดอาหารจําพวกกลูเทนซึ่ง

พบในผลิตภัณฑจากขาวและขาวโพด, ถ่ัว และกะหล่ําปลี ซึ่งจะทําใหน้ําหนักตัวเพ่ิมขึ้นได ถาตามใจตัวเองดวยการรับประทานอาหารที่ทําจากผลิตภัณฑจากขาวมากเกินไป ทั้งยังเกิดอาการทองอืด และปญหาทางระบบอาหารได ส่ิงที่ชวยควบคุมน้ําหนักและทําใหสุขภาพดีขึ้น ก็คือการลดอาหารจําพวกเมล็ดขาว (grains), ขนมปง และ พาสตา และอาจจะเพ่ิมเนื้อสัตวไมติดมันและผักตางๆในมื้ออาหาร กรุป เอ

ตรงกันขามกับคนเลือดกรุปโอ ผูที่มีหมูเลือด A นั้นควรจะงดโปรตีนจากเนื้อสัตว คนหมูเลือดนี้ควรงดนมสดและผลิตภัณฑจากนม เพราะวารางกายของคนเลือดกรุป A จะขาดเอนไซมสําหรับยอยอาหารท่ีวา และความเปนกรดของกระเพาะอาหารไมเหมาะสมสําหรับยอยเน้ือสัตว ซึ่งจะทําใหเกิดอาการทองอืดและอาหารไมยอย ซึ่งอาหารทดแทนก็ควรจะเปนพวกถั่วและผลไมแหงเปลือกแข็งชนิดตางๆ (beans and nuts) ซึ่งเปนแหลงที่ใหโปรตีนไดดี คนที่มีเลือดกรุป A นั้นเหมาะกับอาหารมังสวิรัติมากกวาชนิดอื่นและควรรับประทานอาหารที่สด กินอาหารจากธรรมชาติ อาหารที่มีไฟเบอรสูงซึ่งจะเสริมการทํางานของระบบบดเคี้ยว และชวยใหระบบยอยอาหารทํางานไดอยางมีประสิทธิภาพ อาหารพวกฟกทอง, แครอท และ บร็อคเคอรี่ก็เปนอาหารที่ควรลองรับประทาน กรุป บี

เปนกลุมที่มีระบบภูมิคุมกันดีเย่ียม ซึ่งถือไดวาเปนกลุมที่โชคดีที่สุด เพราะรางกายจะตอบสนองตออาหารหลาก หลายชนิดไดดี รวมทั้งไข, ผักและผลไม ส่ิงสําคัญ หมูเลือด B นั้นมีระบบยอยอาหารที่ทนทาน ดังนั้นอาหารพวกนมและผลิตภัณฑจากนมจะเหมาะกับชาวหมูเลือด B ที่สุด อาหารพวกธัญพืช และอาหารที่มีไฟเบอรสูงก็กินไดดีเชนกัน กรุป เอบี

ชาวหมูเลือด AB นั้นเปนกลุมที่มีความซับซอนทางทางชีวภาพมากที่สุด สามารถรับประทานอาหารที่เปนทั้งสวนผสมของทั้งหมูเลือด A และ B นอกจากนั้น อาหารทะเล ผักตางๆ และผลไมก็ยังเหมาะกับชาวหมูเลือด AB อีกดวย อาหารที่ควรหลีกเล่ียงคือ พวกอาหารมันๆ, โปรตีนจากเน้ือสัตว โดยเฉพาะอยางยิ่ง เน้ือไก เน่ืองจากปริมาณกรดในกระเพาะนอยซึ่งจะทําใหยอยเน้ือสัตวไดยาก จาก Sukumaporn Laiyok, Eat Smart Long Live. Bangkok Post 2009; mylife Vol.2.068: July 9-15 : column my health: p. 6-7

1001 10

Page 11: Yoga Saratta -Jan 2553 (Vol.1001)

ล.เลง เสียงกระดิ่งหยก (ไมใชมงักรบิน)

Simha sana Simha garjana sana Simha mudra

ปลายเดือนตุลาคม พ่ีปุม โทรมาชวนใหไปสอนโยคะใหนักเรียน ๒ คน ๑ในนั้นเคยเรียนโยคะมาแลว พอรูวาหลักสูตรของเราเนนสอน อาสนะ ๑๔ ทาพื้นฐาน นักเรียนก็บอกวาเคยเรียนตามฟตเนสมาบางแลว พ่ีปุมก็เลยบอกวายังมีเรื่องราวอะไรๆ ที่นาเรียนรูอยางลึกซึ้งอีกมาก พ่ีปุมอารัมภบทมาแตเพียงเทานี้

การบานของเลงตอไปก็คือ ไปคดิวาจะสอนอะไร (ดีละเนี่ย) พ้ืนฐานนักเรียน ๒ คนไมเทากัน คนนึงเคยเรียนมาบาง อีกคนไมเคยรูจักโยคะเลย สอนพ้ืนฐานใหคนนึง อีกคนก็ตองเบ่ือแนๆ สุดทายเลงก็งัดสิงหมุทรา และพรหมมุทรา มาสอนกอนเลย รับรองไมมีฟตเนสที่ไหนเคาสอนแนๆ และนักเรียนทั้งสอง ตองนั่งทํางานอยูกับคอมพิวเตอรทั้งวัน ทําสิงหมุทรา...ไดบริหารกลามเนื้อใบหนา พรหมมุทราไดบริหารกลาเนื้อลําคอ...ก็นาจะดีนะ

พอเวลาไปสอนจริงๆ ก็เปนไปตามความคาดหมาย นักเรียนไมเบ่ือ และดึงดูดความสนใจไดดีทีเดียว ถาเริ่มเรียนจาก...บริหารขอ เกร็ง-คลาย งู ตั๊กแตน (แบบคลาสสิค) นักเรียนอาจเซ็ง (นี่ก็คิดแทนเคา อีกแลว จริงๆแลว คนเซ็ง อาจเปนครูขี้เบ่ือ คนนี้ก็ไดนะ 555)

แลวพอดี วันนี้ (๑๗ ธันวา) ตอนเย็น พ่ีปุม ก็โทรามาถามเรื่องมุทรา คืออะไร เราจะอธิบายใหนักเรียนรูจักมุทราสั้นๆ อยางไรดี...เลงก็เลา (เทาที่จําได) ไปวา...

มุทราแปลวา Gesture – ทา หรือ Bliss – ความสุข ทําแลวก็มีความสุข และบอกไปอีกวา อยาไปอธิบายเยอะเลย ใหฝกเยอะๆ ดีกวา...เอาเปนวา ทําสิงหมุทราแลวเสียงดี กินขาวอรอย ไมคอยเปนหวัด แกเครียดเพราะได ผอนคลายกลามเนื้อใบหนา...เพราะการแลบลิ้นยาวๆ สงผลตอ กลามเนื้อรอบๆ ลําคอ ตอมไทรอยด เสนเสียง (vocal cord)

อธิบายเทานี้ก็พอมั้ง อธิบายมากเดี๋ยวนักเรียนเบื่อ (ทําไมชีวิต คิดแตเร่ืองเบื่อนะ ออ! เราเปนคนขี้เบ่ือน่ีเอง พอคิดวาจะเบ่ือก็จะหลบ ไมยอมทํา นับไปนับมา เขียนมาได ๗ เบ่ือแลวนะ มีใครเปนแบบเลงบาง ชอบไปคิดแทนนักเรียน และตัดโอกาสในการเรียนรูของเคาไปเรียบรอย) จริงๆ แลว...เลงจําเรื่องสิงหมุทรา ไดเทานั้นเอง ที่เหลือ จําไดไมแมน ก็

เลยไปบอกพี่ปุมวา...ไมตองอธิบายมาก...เอะ...เอะ...อาว...เฮย...นี่ ตัวเองไมรูแลวไปบอกใหคนอื่นไมตองรูดวย... รึเปลาเน่ีย (เสียงกระซิบในใจ แววมาใหไดยิน)

พ่ีปุม ถามตอวา พ่ีเลงรูจัก นาฑี ไหม? รูจักสิ ก็ชองทางเดินของปราณไง เลงตอบ...แลวก็ระลึกไดถึงเรื่องที่ครูฮิโรชิเคยสอนวา นาทีมี ๗๒,๐๐๐ ชอง การฝกมุทรา พันธะ ก็เพ่ือให ผลัก-ดัน ลาก-จูง เปล่ียนทิศทางของปราณ (พลังชีวิต) ในตัวเราใหเขาชอง อิฑา ปงคลา สุษุมนา ทะลุทะลวง จักระทั้ง ๗ ทะลุผานกระหมอม วิ่งเขาไปรวมกับพลังปราณในจักรวาลอันยิ่งใหญ (รายละเอียด อานไดจาก หนา ๑๔๔ หนังสือ Anatomy and Physiology of Yogic Practices by MM. Gore )

ในหนังสือ Asana Pranayama Mudra Bandha ของ Swami Satyananda Saraswati บอกวา ปกติปราณของเรา ชอบวิ่งหนีออกไปนอกรางกาย ถาทํามุทรา ก็ปด-ล็อค ไมใหปราณวิ่งแรออกไป แตจะไหลกับเขามาภายในรางกายเชน ทํา Shanmukhi Mudra เอามือปดตาไว ปราณก็จะไมไหลออกทางตา และจะทําใหตาสวาง (The Prana being radiated through the eyes…is reflected back, p.424

ปกติที่เรา ทํากันบอยๆ เปนทาสิงโต ตาโต แลบล้ิน เรียกวา Simha garjanasana (p.115) แปลวา สิงโตคําราม ใหผลตอ ๑. บริเวณคอหอย ลําคอ ที่เปลงสียงคํารามตอนหายใจออก ๒. บรรเทาอาการของโรคภัยไขเจ็บ จากคอหอย หู ตา จมูก ปาก ๓. ลดอาการตึง (tension) บริเวณอก และกระบังลม ๔. เหมาะกับคนเปนโรคติดอาง (เพ่ิงรูวา stutter แปลวาติดอาง สอ เสถบุตร เคาแปลเกงเนอะ) โรคเสนประสาท หงุดหงิด ขี้ตกใจ (nervous คําเดียว แปลเปนไทย ไดตั้งหลายคํา) และสุดทาย คนประเภท introvert ที่ชอบเก็บเนื้อ เก็บตัว ไมชอบเขาสังคม (บ.ก. ที่รัก กรุณา ปลอย ภาษาไทยคํา อังกฤษคํา ของเลง เอาไวแบบนี้)

สําหรับหนังสือของสายสวามีกุลวัลยนันท ที่เลงไมคอยไดเปดอาน เพราะมันอานยาก (ไมใชหนังสือไมดี แตคนอานปนบันได ขึ้นไปอานไมคอยไหว) ก็วา ๑. เราทํามุทรา เพ่ือปลุกพลังกุณฑลินี (p. 120) หรือ พลังชีวิต (p.146) ๒. ฝกมุทรา/ พันธะ พรอมกับฝกปราณ ทําใหรับรูความรูสึก ที่ปราณ วิ่งผานชองสุษุมนา นาฑี (p. 122)

1001 11

Page 12: Yoga Saratta -Jan 2553 (Vol.1001)

๓. ฝกมุทรา ควบคุม กลามเนื้อกึ่งอัตโนมัติ (เราส่ังใหมันทํางานก็ได หรือ มันทํางานเองก็ได) เชน กลาเนื้อหูรูดทวาร กระบังลม กลามเนื้อคอ และ ลูกตา...กลามเนื้อพวกนี้มีทั้ง ระบบประสาทสั่งการ (CNS) และ ระบบประสาทอัตโนมัติ (ANS) เขาไปสั่งใหมันทํางาน ดังนั้นเราจึงอาจ (เอ้ือม) เขาไป (เสือก...พูดจาหยาบคายรึเปลา เน่ีย??? ) ในระบบประสาทอัตโนมัติ ผานชองทางนี้ นั่นเอง ดังนั้น ถาใครเปนโรคที่เกิดจากจิตปวย หรือ ระบบประสาทปวย ประเภท Psychosomatic disorder แลวละก็ ลองไปควบคุมกลามเนื้อพวกนี้ดูนะ อาจทําใหรูสึกดีขึ้น ...จําไมไดวามีหมอคนไหนบอก รึเปลา ...ถาจะเอาจริง... ตองไปทําการทดลองกันเอาเองนะ ๔. ความดัน (positive & negative pressure) ไปกระตุนอวัยวะภายใน ตับไตไสพุง/ ระบบอัตโนมัติ / ตอมไรทอท่ีผลิต ฮอรโมนตางๆ เชน คอรติโซน จากตอมหมวกไต (หนังสือศาสตรและศิลปแหงโยคะ / Yogic Techniques by Dr. M.L Gharote แปล โดย วีระพงษ ไกรวิทย และจิรวรรณ ตั้งจิตเมธี]

สวนรายละเอียดการฝก Variation ที่เลง ชอบทําทุกเชาคือ หายใจเขา-มวนล้ิน หายใจออก-แฮ-แลบล้ินยาวๆ... ทําสัก ๑๐ ครั้ง ก็ตื่นจากความงวงพอดี ครูฮิโรชิวา...ตอนท่ีเลนคอมพิวเตอรนานๆ แลวกลามเนื้อใบหนาเครียด ใหทําทาสิงโตคํารามแลบลิ้นยาวๆ จะรูสึกดีมากๆ

นอกจากนี้ เวลาที่ตองไปสอนเด็กๆ หรือผูสูงอายุ แลวใหทําสิงหมุทรา...แบบใหจับคูหันหนาเขาหากัน ก็ฮาดีนะนักเรียนจะไดไปจองหนากันเอง ขํากันเอง...ไมตองมาดูหนาครู...เพราะครูขี้อาย

บางคนอาจสงสัยวา ทําไมหนังสือบางเลมเรียกทาสิงโต เปนอาสนะบาง เปนมุทราบาง คือวา เวลาทําทาสิงโต มีการกดล็อคที่: ทวาร จากการนั่งทับขอเทาที่ไขวกัน - มูลาพันธะ ล้ิน ตอนมวนล้ิน-แลบล้ิน – ชิวหาพันธะ คอ ตอนกดคางชิดคอ- ชาลันธรพันธะ ทอง เวลาโนมตัวมาขางหนาแลว หายใจออกจนสุด ทองมันก็เวาเขามา และเวลาหายใจเขา ถายังแขมวทองอยู ทองก็ยังแฟบอยู – อุฑฑียานะพันธะ

พอมีการกดล็อค เคาก็เลยเรียกวาเปนสิงหมุทรา (เพราะมุทรา แปลวา seal กดลอค)

ขอบคุณ พ่ีปุม ที่ทําใหเลงตองกลับมาเปดตํารา...อีกรอบ...หลังจากที่คิดวาจะโยนตํารา (ของไกวัลย) ไวในกลองเฉยๆ ไปอีกนานแสนนาน... ปล. Pin yin ในฉบับกอนหนานี้ (อานวา พิน-อิน ไมใช ปน-หยิน) เปนการใชภาษาอังกฤษ แทนเสียงในภาษาจีน ..

วีระพงษ ไกรวิทย และจิรวรรณ ตั้งจิตเมธ ี แปลและเรียบเรียง

“อันตราย” อุปสรรคขัดขวาง ความกาวหนาบนทางแหงโยคะ

ตอนที่แลวไดพูดถึงวิธีฝกเปลงเสียง “โอม” (ॐ

Om) ซ้ําๆ อยางตอเนื่องโดยที่ใจไมคาดหวังตอเรื่องใดๆ นับเปนความดีอันนายกยองอยางสูงที่สุด ขณะสวดควรปลอยใหจิตรวมเปนหนึ่งเดียวกับเสียงโอม ในอายุรเวทถือเปนการเยียวยาทางจิตใจทําใหเกิดการชําระลางจิตใจใหบริสุทธิ์ และยังเปนวิธีการหลอมรวมจิตเขาสูภาวะที่สูงขึ้นงายตอการจดจอในระดับธยานะและสมาธิ นอกจากนี้วิธีการฝกเปลงเสียงโอมที่ดีที่สุดซึ่งครูจํานวนมากแนะนําใหฝกคือ ออกเสียง โอ ส้ัน แตออกเสียง ม ยาว เพ่ือใหเกิดความกาวหนาตอการพัฒนาจิตและปลุกจิตใหตื่น โดยเปลงเสียง โอ... ใหยาว ๒ - ๓ วินาที จากนั้นเปลงเสียง ม หรือ อึมมมม........... ใหยาวนานเทาที่เปนไปไดตามความยาวของลมหายใจออกของผูฝกโดย

ยังคงความรูสึกสบาย ตอดวยการหยุดหายใจแบบภายนอก1

ทําดวยสภาวะผอนคลายและรอคอยอยางใจจดใจจอ เพ่ือฟงเสียงอนาหตะหรือเสียงโอมท่ีเกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ (ซึ่งจําเปนตองใชเวลาฝกฝนซ้ําๆ อยางยาวนาน โปรดอานรายละเอียดในฉบับเดือนพฤศจิกายน ๒๕๕๒) โยคะสูตรบทที่ ๑ ประโยคที่ ๒๙ กลาววา “ตตะห ปรัตยักเจตนาธิคโม ปยันตรายาภาวัศจะ” แปลวา จากการฝกสวดโอมเปนเวลายาวนาน ผลที่ไดรับก็คือการกลับเขาสูจุดกําเนิดแหงความตระหนักรูภายในและยังชวยขจัด “อันตราย” หรืออุปสรรคที่ขัดขวางความกาวหนาในการฝกโยคะ (อันตราย+อภาวะ)

1

การหยุดหายใจแบบภายนอก หรือ “พาหยะ กมุภกะ” คือ เมื่อหายใจออกจนสุดแลวหยุดหายใจสักครูหน่ึงโดยไมรูสึกอึดอัด - ผูแปล

1001 12

Page 13: Yoga Saratta -Jan 2553 (Vol.1001)

ผลทั้งสองอยางขางตนที่ไดรับจากการฝกเปลงเสียงโอมจนชํานาญในประโยคนี้นั้น นับเปนส่ิงที่สําคัญสําหรับผูฝกโยคะที่สนใจแสวงหาทางจิตวิญญาณ ผลอยางแรกคือผูฝกสามารถควบคุมสติการรับรูภายนอกไดตามปกติ จากนั้นจึงคอยๆ เคล่ือนสภาวะการรับรูเขาสูภายใน และในที่สุดจึงนําไปสูการเขาถึงจุดกําเนิดแหงความตระหนักรูภายใน หรือ

ธาตุเดิมแทอันเปนปจจัยตนเหตุนั่นก็คือ ปุรุษะ2 สวนผลอยาง

ที่สองคือสามารถขจัดหรือทําใหอันตราย3 ตางๆ หมดไปได

ซึ่งจะอธิบายถึงรายละเอียดของอันตรายทั้งหมด ในประโยคถัดไป คําวา “อภาวะ” โดยพ้ืนฐานแลวหมายถึง การขาด หรือไมมี ประโยคนี้จึงชี้ใหเห็นวา อุปสรรคตางๆ จะไมเกิดขึ้นบนเสนทางแหงโยคะของผูฝกโยคะเลย หากเขาหรือเธอไดอาศัยการสวดโอมเปนเคร่ืองชวยปองกัน สวนความหมายตอมาของ “อภาวะ” คือ การหายไป ในแงนี้การเปลงเสียงโอมจะชวยขจัดอุปสรรคที่ขัดขวางผูฝก ในการเดินทางเขาสูเปาหมายแหงโยคะ ถาอุปสรรคเหลานั้นไดเกิดขึ้นกับพวกเขาแลว และกําลังเปนเหตุที่ขัดขวางความกาวหนาในการฝก ดังนั้นการสวดโอมจึงเปนเสมือนยาที่สามารถรักษาโรค แตในขณะเดียวกัน ก็สามารถใชเปนยาสําหรับปองกันโรคไดอยางเดนชัดดวย ตอมาในประโยคที่ ๓๐ กลาววา “วยาธิ สตยานะ สัมศยะ ประมาทาลัสยาวิรติ ภรานติทรรศนาลัพธภูมิกัตวานวัสถิตัตวานิ จิตตวิกเษปาสเต นตรายาห” แปลวา โรค ความเฉื่อยเนือย ความสงสัย ความประมาท ความเกียจคราน ความยึดติด การรับรูอยางผิดๆ (หลงผิด) ความไมสามารถที่จะเขาถึงสภาวะ และความไมตั้งมั่นในสภาวะ เหลานี้คือส่ิงรบกวนจิต และเปนอุปสรรคตอการเดินทางบนหนทางของโยคะ อันตรายทั้ง ๙ ที่แจกแจงในประโยคนี้ไดรับการพูดถึงในแงที่เปนส่ิงรบกวนจิต อันตรายบางขอแสดงถึงผลอันไมพึ

งปรารถนาตอระดับทางกาย แตผลหรืออาการเหลานี้ก็เปนส่ิงที่เกิดขึ้นทีหลังหรือผลลําดับที่สอง ในแงนี้โรคหรือความเจ็บปวย ที่บอยครั้งไดรับการพิจารณาวาเปนเพียงความผิดปกติทางรางกาย จริงๆ แลวปตัญชลีบอกวาสาเหตุของมันอยูที่จิตเปนอันดับแรก พูดอีกอยางหนึ่งก็คือ ทุกๆ โรคเกิดขึ้นจากความบกพรองทางจิตใจ การเปล่ียนแปลงหรือผล

2

ปุรุษะ ตามแนวคิดของปรัชญาสางขยะ หมายถึง วิญญาณบริสุทธิ์ เปนผูรูและเปนพื้นฐานแหงความรูท้ังปวง (สุนทร ณ รังษ,ี ๒๒๐.) 3

อันตราย คือส่ิงท่ีรบกวนจิตใจใหซัดสาย ไมตั้งมั่น เปนอุปสรรคตอการเดินบนเสนทางแหงโยคะเพื่อเขาถึงความหลดุพน(โมกษะ) - ผูแปล

ที่เกิดขึ้นทางรางกายจึงเปนอาการหรือผลที่ตามมาในลําดับที่สองของสาเหตุที่แทจริง ซึ่งก็คือส่ิงรบกวนภายในจิตใจท่ีบอยครั้งไมสามารถมองออกหรือเขาใจได แมแตการแพทยสมัยใหมก็กําลังเขามาศึกษาประเด็นนี้ และปจจุบันแพทยตะวันตกจํานวนมากไดมีความเห็นเหมือนกันวาทุกๆ โรคลวนมีรากแหงปญหาระดับลึกอยูที่จิตใจ ปตัญชลีไมไดกลาวถึงวิธีการรักษาโรค (ทางกาย) อยางชัดเจน แตในประโยคที่แลว (๑ : ๒๙) ไดบอกวาการสวดโอมชวยปองกันโรค และอาจรวมถึงการรักษาโรคดวย ทั้งนี้เพราะปตัญชลีมีแนวคิดวาโรค(ทางกาย) ตางๆ นั้นโดยพ้ืนฐานแลวก็มีตนตอมาจากสิ่งรบกวนทางจิตใจนั่นเอง แตแทจริงแลวการสวดโอมจะชวยรักษาและปองกันโรคไดหรือไมนั้นยังเปนเรื่องยากที่จะสรุป มันจึงยังเปนส่ิงนาสนใจที่จะคนหา และตรวจสอบถึงศักยภาพในการปองกันและรักษาโรคของเทคนิคตางๆ ของโยคะที่ยังคงมีความลึกลับอยางเชน การสวดโอม และธยานะ เปนตน เราอาจจะสรุปไดวาปตัญชลีไมไดปดกั้นการใชยาในการรักษาโรคตามวิธีการปกติ เน่ืองจากทานไดเคยกลาวถึงการใชยาเพื่อเขาถึงสิทธิ หรือพลังอภินิหารซึ่งจะเกิดขึ้นในขั้นสูงของการฝกโยคะ ถึงแมวาทานจะไมไดหามการใชยาเพื่อเขาถึงสิทธิแตทานก็เตือนวาสิทธิที่เกิดขึ้นนั้นจริงๆ แลวเปนอุปสรรคตอการเดินทางเพื่อบรรลุถึงสมาธิขั้นสูงสุดของโยคะ อันตรายอยางที่สองและสามคือ สตยานะ และ อาลัสยะ หรือความเซื่องซึมเฉ่ือยเนือย และความเกียจคราน ทั้งสองอยางนี้ มีนัยยะถึงความไมพรอมสําหรับการทํางานที่กระฉับกระเฉง ซึ่งโดยทั่วไปแลวเปนองคประกอบทั้งทางกายและทางจิตใจ ในสตยานะ(ความเซื่องซึมเฉ่ือยเนือย)นั้นเปนปญหาทางจิตมากกวา ขณะที่ในอาลัสยะ(ความเกียจคราน)นั้นเปนปญหาทางกายมากกวา อันตรายอยางที่ส่ีคือ ความสงสัย เปนปจจัยที่รบกวนหรือขัดขวางไมใหเขาถึงความสําเร็จในทุกๆ เร่ือง ดังนั้น ผูฝกโยคะตองขจัดแมแตรองรอยแหงความสงสัยเพียงเล็กนอยในดานประโยชน และประสิทธิผลของโยคะตั้งแตเร่ิมตนฝกใหมๆ เลยทีเดียว ความเชื่อและความศรัทธาที่ไมคลอนแคลนหวั่นไหวเลย เปนส่ิงจําเปนอยางยิ่งสําหรับการกาวสูความสําเร็จ ตามที่ไดเคยกลาวไวแลวในโยคะสูตรประโยค ๑ : ๒๐ ดังนั้นขอสงสัยใดๆ เกี่ยวกับผลของการฝกโยคะและเทคนิคการฝกตางๆ จึงเปนอุปสรรคขัดขวางความกาวหนาอยางเห็นไดชัด อันตรายอยางที่หาคือ ประมาทะ หรือ ความประมาท เปนแนวโนมที่จะทําสิ่งซึ่งไมพึงปรารถนาทั้งส่ิงที่

1001 13

Page 14: Yoga Saratta -Jan 2553 (Vol.1001)

ควรกระทําและสิ่งที่ไมควรกระทํา(ละเวน) แมวาเราจะเขาใจและรูถึงผลเสียของสิ่งที่ควรกระทํา(แตไมไดทํา) และส่ิงที่ไมควรกระทํา(แตทําไป) แตคนสวนใหญก็ยังมีแนวโนมที่จะทําเชนนั้น อันตรายอยางที่หกคือ อวิรติ คํานี้มีคําอุปสรรค(คําที่วางไวหนาคําศัพทหลัก) ที่มีความหมายปฏิเสธซอนกันสองตัวคือ อะ และ วิ ตามดวย รติ รากศัพทคําวา รติ หมายถึง

ความชอบ การติด วิรติจึงมีความหมายเหมือนกับไวราคยะ4

หรือการถอน(ออกจากความชอบ) อวิรติจึงหมายถึง การติด อีกทีหนึ่ง ในที่นี้จึงแปลวาการติดยึดกับกิเลส การติดยึดกับกิเลสจึงเปนอุปสรรค การละวางจากกิเลส (ไวราคยะ) อยางส้ินเชิงจะเกิดขึ้นไมไดเลย ถาไมสามารถเอาชนะการติดยึดกิเลสน้ีได อันตรายอยางที่เจ็ดคือ ภรานติ-ทรรศนะ สามารถแปลได ๓ แบบ ทุกแบบก็เปนอุปสรรคเหมือนกัน ๑) ทรรศนะหมายถึงสํานักทางปรัชญา ภรานติ-ทรรศนะในแงนี้จึงหมายถึง การรับแนวคิดทางปรัชญาที่ผิดมาใชทําใหเปนอุปสรรค อาทิ โยคะของปตัญชลีซึ่งเปนที่ยอมรับของนักวิชาการสวนใหญวาใชแนวคิดรากฐานจากปรัชญาสางขยะ

แตหากมีคนที่ปฏิบัติตามแนวทางปรัชญาเวทานตะ5

พยายามจะตีความโยคะสูตรของปตัญชลี ไปในแนวทางของสํานักปรัชญาตนเองหรือในแนวทางที่ตนเองชอบ ส่ิงนี้ก็จะเปนอุปสรรคขัดขวางคนเหลานั้นบนเสนทางแหงการฝกโยคะ ๒) ทรรศนะหมายถึง การเห็น(ภาพ นิมิต) เมื่อฝกโยคะจนกาวหนา บอยครั้งท่ีผูฝกอาจไดรับประสบการณเห็นภาพหรือนิมิตแปลกๆ เชน เห็นแสงชนิดตางๆ เห็นภาพของเทพเจาตางๆ เปนตน ทรรศนะหรือการเห็นในความหมายกวางอาจรวมถึงประสบการณรับรูเสียงอันลึกลับ สัมผัส กล่ิน และรสดวย ประสบการณเหลานี้หากเกิดขึ้นจริงก็จะแสดงถึงความกาวหนาในการฝกที่ดีในทิศทางที่ถูกตอง แตบอยครั้งผูฝกถูกชักจูงใหเชื่อวา พวกเขากําลังไดรับประสบการณการเห็นเหลานั้นเพียงเพราะวา พวกเขาเคยไดยินคนพูดถึงส่ิงเหลานั้น แลวก็อยากไดประสบการณเหลานั้นบาง (ประสบการณยังไมไดเกิดขึ้นจริงจากการฝกจนกาวหนา แต

4

ไวราคยะ คือ การละวางจากกิเลสเพื่อใหการฝกฝนโยคะเปนไปดวยความกาวหนา (ผูแปล) 5

เวทานตะ คือ หน่ึงในปรัชญาฮินดูท้ัง ๖ ระบบที่ไดรับแนวคิดมาจากคัมภีรอุปนิษัท ปรัชญาฮินดูท้ังหกเชื่อในคัมภรีพระเวทและนับถือวาพระเจามีอยูจริงประกอบดวย นยายะ ไวเศษิกะ สางขยะ โยคะ มมีามสา และเวทานตะ (สุนทร ณ รังษี, ๒๗๖.)

เปนเพราะคิดอยากจะไดขึ้นมาลอยๆ - ผูแปล) ในกรณีนี้จึงเปนการเห็นที่ผิดหรือ ภรานติ-ทรรศนะ ๓) เมื่อผูฝกมีความกาวหนาจนไดรับพลังพิเศษ เชน สิทธิ หากเขามีโอกาสแสดงคุณวิเศษเหลานั้นใหกับคนอื่นชม โดยธรรมชาติแลวอัตตา (ego) ของเขาจะพองโต และเขาอาจจะเริ่มคุยโออวดสถานภาพ และความกาวหนาของตนใหผูอื่นฟง มุมมองที่ผิดเชนนี้จึงเปนภรานติ-ทรรศนะ อันตรายสองอยางสุดทาย เปนส่ิงที่มีผลเสียหายรายแรงมาก อยางที่แปดคือ เมื่อผูฝกพยายามอยางหนักและยาวนานเพื่อท่ีจะเขาถึงสภาวะที่กาวหนาจนถึงขั้นสมาธิสูงสุด แตเนื่องจากกิเลสสวนลึกในจิตใจหรืออาจเปนเพราะโชคชะตา เขากลับลมเหลวไมสามารถเขาถึงสภาวะนั้นได ส่ิงนี้คือ อลัพธภูมิกัตวะ เมื่อผานการฝกอันยาวนานจนไมสามารถทนไดอีกตอไปแลว ผูฝกอาจจะรูสึกผิดหวังหมดกําลังใจจนถึงขั้นลมเลิกความพยายามที่จะฝกโยคะตอไปโดยสิ้นเชิง เมื่อผูฝก ฝกจนสามารถเขาถึงขั้นสมาธิสูงสุดไดครั้งหนึ่งแลว ตอมาเขาพยายามที่จะเขาถึงสภาวะนั้นอีกดวยวิธีการเดิมแตกลับลมเหลวตลอด นั่นก็คืออันตรายอยางสุดทาย อนวัสถิตัตวะ หรือผูฝกยังไมตั้งมั่นในสภาวะนั้นและไมสามารถพัฒนาความเชี่ยวชาญ ในกระบวนการฝกนั้นได กิเลสสวนลึกหรือโชคชะตา จึงเปนส่ิงขัดขวางการเขาถึงสภาวะอีกครั้ง ความผิดหวังจะสูงขึ้นเนื่องจากผูฝกเคยไดรับประสบการณแหงความสุขอันประณีต และประโยชนจากการเขาถึงสภาวะนั้นมาแลว จึงมีความอยากมากขึ้นที่จะไดรับประสบการณเชนเดิมนั้นอีก (เมื่อมีความอยากจึงไมสามารถเขาถึงสภาวะนั้นไดอีก - ผูแปล) และผลที่เกิดขึ้นคือความผิดหวังอยางใหญหลวง ที่นําพาผูฝกไปสูการลมเลิกการฝกโยคะในที่สุด

เอกสารอางอิง : ๑) Karambelkar, P. V. (1986). PATANJALA YOGA SUTRAS Sanskrta Sutras with Transliteration, Translation & Commentary. Lonavla : Kaivalyadhama. ๒) สุนทร ณ รังษี, (๒๕๓๐). ปรัชญาอินเดีย : ประวัติและลัทธิ. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.

ในวารดิถีปใหม ๒๕๕๓ เราทั้งสองขออํานวยพรใหทานผูอานที่สนใจพัฒนาจิตตนเอง มีความรูความเขาใจชีวิตที่ลึกซึ้งเปยมดวยปญญา มีจิตใจที่แคลวคลองตั้งมั่นเปยมดวยสติ-สมาธิ เพ่ือเปนเสบียงเดินทางใหกาวหนาจนถึงที่สุดแหงทุกขทุกทาน.....

1001 14

Page 15: Yoga Saratta -Jan 2553 (Vol.1001)

ณัฏฐวรดี ศิริกุลภัทรศรี ศันสนีย นิรามิษ แปลและเรียบเรียง

การตอบสนองอัตโนมัติ (Reflexes) จากบทความที่กลาวมาในฉบับที่แลวจะเปนการพูด

ถึงการเชื่อมตอของระบบประสาททั้งหมดตั้งแตสวนบนลงมา เร่ิมจากสมอง (Cerebral cortex), เซลลประสาทสั่งการสวนบน, เซลลประสาทสั่งการสวนลาง และกลามเนื้อของรางกาย แตยังมีบางส่ิงที่เราตองพิจารณา บางส่ิงที่เปนมากกวาพ้ืนฐานและสวนประกอบในระบบประสาทที่ไมสนใจตอทางเลือกที่เรากําลังจดจอ นั่นคือการตอบสนองอัตโนมัติ (reflexes) หรือการตอบสนองแบบไมรูตัวไปยังตัวกระตุนความรูสึก ในบทความนี้แสดงใหเห็นวารีเฟล็กซไมตองทําอะไรเพื่อตอบสนองดวยปฏิกิริยาอยางรวดเร็วเลย ซึ่งเหมาะสําหรับผูที่เลนเกม หรือศิลปนที่ตองวาดภาพแบบรวดเร็ว ปฏิกิริยาเหลานี้คือการตอบสนองแบบไมรูตัว ที่จะทําใหสําเร็จที่ระดับของไขสันหลัง รีเฟล็กซเกิดขึ้นไดงาย มีสวนประกอบ 4 อยางคือ เซลลประสาทรับความรูสึก ที่รับส่ิงกระตุนและสงตอไปยังเสนประสาทไขสันหลัง, จุดศูนยกลางรวมภายในเสนประสาทไขสันหลัง, เซลลประสาทสั่งการที่ถายทอดสัญญาณกระตุนกลับไปยังกลามเนื้อ และการตอบสนองของกลามเนื้อเพ่ือท่ีจะทําทาทางตางๆ มากไปกวานั้นเซลลประสาทรับความรูสึกจะนํากระแสกระตุนประสาทจากกลามเนื้อ, เอ็นยึดระหวางกลามเนื้อกับกระดูก (tendon), เอ็นยึดระหวางกระดูกกับกระดูก (ligament), ขอตอ หรือผิวหนังไปยังจุดศูนยรวมกลางในเสนประสาทไขสันหลัง จุดศูนยกลางรวมนี้อาจเกิดขึ้นงายๆดวยการเปนชองวางระหวางเซลลประสาทรับความรูสึก และเซลลประสาทสั่งการ หรืออาจจะเกี่ยวกับเซลลประสาทประสานงานเพียงหนึ่งเซลลหรือมากกวานั้น ในทางกลับกันเซลลประสาทสั่งการจะควบคุมการแสดงทาทาง ดวยการสั่งการไปยังเซลลกลามเนื้อตางๆท่ีเสนประสาทไปถึง โดยนิยามนั้น ปฏิกิริยารเีฟล็กซจะไมสนใจความตั้งใจของศูนยกลางขั้นสูง การรับรูที่ประกอบไปดวยความรูสึกจะสงไปยัง cerebral cortex หลังจากเปนความรูสึกจริงหรือมีการสงความรับรูจากวงจรอื่นอยางอิสระ รีเฟล็กซที่นารูจักมีอยูมากมาย เราจะตรวจสอบกับรีเฟล็กซ 3 แบบที่มีความสําคัญกับหัตถโยคะ The Myotatic Stretch Reflex

Myotatic Stretch Reflex เปนที่รูจักกันในชื่อ “ขากระตุก” (kneejerk) ที่พบไดทั่วรางกาย โดยเฉพาะกับกลามเนื้อท่ีตอตานแรงโนมถวง (รูป 1.7) คุณสามารถทดสอบ

ที่ตนขา นั่งไขวขาใหเทาขางหนึ่งสามารถเตะขึ้นลงไดอยางสะดวก จากนั้นเคาะเบาๆที่กระดูกสะบาหัวเขาดวยสันมือของคุณ หาจุดที่เหมาะสม กลุมกลามเนื้อ quadriceps femoris ที่ดานหนาของขาจะหดเขาอยางรวดเร็ว ทําใหเทาลอยขึ้น อยางไรก็ตามคุณตองทําอยางผอนคลาย เพราะถาตั้งใจท่ีจะเห็นขาลอยมากเกินไปอาจจะไมเห็นผล

ตัวรับรีเฟล็กซ myotatic stretch จะอยูบริเวณ

กลามเนื้อของทอง ที่ซึ่งเดนไดรทของเซลลประสาทรับความรูสึกจะอยูติดกับกลามเนื้อ Muscle spindle เปนตัวรับที่มีขนาดใหญจนสามารถมองเห็นดวยตาเปลาได กลามเนื้อเหลานี้ ประกอบไปดวยกลุมกลามเนื้อท่ีมีรูปรางเปนแกนกระสวยที่เต็มไปดวยตัวรับความรูสึก (รูป 1.7) การทํางานของรีเฟล็กซมีดังนี้ เมื่อคุณเคาะลงที่กระดูกสะบาหัวเขาเพ่ือใหเกิดรีเฟล็กซที่ขอตอหัวเขา สงผลให muscle spindle ที่กลุมกลามเนื้อ quadriceps femoris ที่ดานหนาของขาเหยียดตึง การเหยียดตึงนี้จะเกิดขึ้นเร็วมากชั่วกระพริบตา แตอยางไรก็ตามมันไดกระตุนไปที่เซลล

1001 15

Page 16: Yoga Saratta -Jan 2553 (Vol.1001)

ประสาทรับความรูสึกที่ซึ่งปลายเดนไดรทอยูใน muscle spindle และแอกซอนเชื่อมตรงไปจบที่เซลลประสาทสั่งการที่อยูดานหลังของเสนประสาทไขสันหลัง ปลายของแอกซอนเหลานี้ชวยทําใหตัวเซลลของเซลลประสาทสั่งการที่กระตุนไปยังกลุมกลามเนื้อ quadriceps femoris ทํางานสะดวกขึ้น เปนสาเหตุใหเกิดกระตุกและเตะเทาใหลอยขึ้นได รีเฟล็กซ myotatic stretch นี้มีความพิเศษตรงที่จะเกิดปฏิกิริยาก็ตอเมื่อเปนกลามเนื้อท่ีมีกลามเนื้อแกนกระสวยอยูเทานั้น รูป 1.7 ปฏิกริิยารีเฟล็กซ Myotatic Stretch ในบรรดาปฏิกิริยารีเฟล็กซทั้งหมด รีเฟล็กซนี้ใชเวลาเพียงแคเศษเสี้ยววินาทีกอนท่ีคุณจะรูตัว คุณจะรูสึกอีกทีก็เมื่อมันแสดงอาการไปเสร็จแลว และคุณจะสังเกตเห็นแคความรูสึกเทานั้น เพราะตัวรับการสัมผัสที่แยกออกไปจะสงไปบอก cerebral cortex เพ่ือใหรับรูตอไป คุณจะเห็นรีเฟล็กซแบบ myotatic stretch ไดอีกจากการเลนกีฬา ที่ซึ่งกลามเนื้อของคุณจะซึมซับจากการกระทบอยางรุนแรง เชน ขณะท่ีคุณกําลังเลนสกีน้ํา muscle spindle กลามเนื้อ extensor บริเวณหัวเขาของตนขาจะถูกเหยียดออกเมื่อสกีมีกระแทกคลื่น และไดรับแรงสะทอนกลับอยางรวดเร็วทําใหคุณเสียหลักได ซึ่งไมใชรีเฟล็กซ myotatic stretch แตส่ิงที่เกิดขึ้นนั้นคือแรงกระแทกเหลานั้นทําใหเกิดการรีเฟล็กซไปที่กลามเนื้อ quadriceps femoris ภายในเสี้ยววินาที ดังนั้นจึงทําใหคุณสามารถพยุงรางกายใหยังคงยืนได คุณสามารถรูสึกถึงการรีเฟล็กซได ในขณะที่คุณตานแรงกระแทกบนสกี, วิ่งลงไปท่ีหินกอนใหญบนทุงหญาในภูเขา (รูป 1.7) หรือกระโดดลงจากเกาอี้ หรือกิจกรรมตางๆที่มี

ผลกระทบอยางรวดเร็วไปที่ muscle spindle ดังนั้นการรีเฟล็กซเปนกําลังหลักที่เราเรียกวา “ความแข็งแรง” ในการทํากิจกรรมตางๆที่กับแรงโนมถวง นักกีฬาจะใชแรงรีเฟล็กซเหลานี้มากกวาที่คิด การกระตุนใหเกิดรีเฟล็กซ myotatic stretch บอยๆจะทําใหเกิดผลที่สําคัญคือจะทําใหกลามเนื้อหดตัวลง และความสามารถในการยืดหยุนลดลง เราจะสังเกตเห็นไดชัดขณะที่เรากําลังวิ่งเหยาะๆ ซึ่งจะมีรีเฟล็กซเกิดขึ้นอยางเบาๆทุกครั้งที่ปลายเทาแตะพื้น รีเฟล็กซจะตองเกิดขึ้นเปนพันครั้งในเวลาครึ่งชั่วโมง แตนี่ก็อาจจะสรางปญหาไดถาทํามากจนเกินไป และถาคุณรูสึกเกร็งมากคุณควรจะทําการยืดอยางชาๆหลังจากวิ่งเสร็จ ในทางกลับกันถากลามเนื้อ, เอ็นที่ยึดระหวางกลามเนื้อกับกระดูก และเอ็นที่ยึดระหวางกลามเนื้อกระดูกกับกระดูกยืดเหยียดมาก หรือเคล่ือนไหวนอยจนเกิน ไป ขอตออาจจะไมมั่นคงได คณุควรจะอบอุนรางกายเพื่อใหกระชับกลามเนื้อเสียกอน ในหฐโยคะตองการใหเกิดผลจากรีเฟล็กซ myotatic stretch ใหนอยที่สุดเพราะการเคลื่อนไหวอยางตอเนื่องแตละครั้งจะกระตุนตัวรับสัญญาณกลามเนื้อ, กระตุนเซลลประสาทส่ังการ, กระชับกลามเนื้อใหหดลง และจํากัดการเหยียดยืด การเคลื่อนไหวในหฐโยคะที่กระตุนรีเฟล็กซชนิดนี้ไดแก ทาสุริยะนมัสการ, การกระโดดเขา-ออกในทายืน และการบริหารขอตอและตอมขณะที่เคล่ือนไหวไปมา ส่ิงเหลานี้เปนส่ิงที่ดีถามีการอบอุนรางกายกอน แตถาคุณตองการใหกลามเนื้อเหยียดตัวและยืดหยุนไดมากขึ้น คุณควรจะเคลื่อนไหวในแตละทาอยางชาๆ

บางสวนจากแบบสอบถาม ปฏิทินกิจกรรม ไดประโยชนมาก, บางขาวชาเกินไป สําหรับผูอยูตางจังหวัด, อาจจะเพิ่มปฏิทินปฏิบัติธรรมสายตางๆ โยคะวิถี ชอบคะ อยากทราบเรื่องราวชวงเรียนรูตัวตอตัวกับครูแตละทาน วิธีการสอนของครู และ วิธีการเรียนรูของอ.ธีรเดชเอง ปกิณกะสุขภาพ ดีมาก สามารถนําไปใช, นาจะนําเสนอเรื่องอาหารสุขภาพ แนะนําหนังสือ นาจะแนะนําหนังสืออ่ืน นอกเหนือจากโยคะบาง, หรือดนตรี หรือ ภาพยนตรที่นาสนใจ ตําราโยคะดั้งเดิม รูสึกทึ่งในการเขียนของครูทั้งสองมาก, ขอชื่นชมในความอุสาหะ ขอเปนกําลังใจใหอาจารยทั้งสองทาน

ขนาดคนอานยังรูสึกยาก คนแปลคงยากกวาหลายเทา, พยายามอานทุกครั้ง ยังไมเขาใจ ไมรูเรื่องเลย จดหมายจากเพื่อนคร ู สนุกดี เหมือนไดเขาไปรวมดูการสอนของเพื่อนๆ, ดีคะ, ชอบ ทําใหมีกําลังใจ มุงมั่นทําตามคะ, ไดประโยชน

มากสุด ไดอัพเดทการสอนของเพื่อนๆ ครู, ชอบมุมมองที่หลากหลาย เครือขาย สนใจที่เพ่ือนๆ ไปเปดศูนยโยคะ นาจะเลาประสบการณแบงปนเพ่ือนคนอื่นๆ, อยากรูจักทางศรีราชา อื่นๆ ขอบคุณทุกทานที่พยายามเขียนจดหมายขาว ใหเพ่ือนครูมีความสัมพันธกันไมเส่ือมคลาย จมขาวเปนชองทางที่ทําใหพวกเรายังส่ือสารกันอยู ขอใหทําตอไปนะคะ

1001 16