yoga saratta -apr 2552 (vol.0904)

14
จดหมายขาว ถีชีวิต เพื่อสุขภาวะ www.thaiyogainstitute.com ฉบับเดือน เมษายน 2552 คุยกันกอน 2 ปฏิทินกิจกรรม 2 เรื่องประจําฉบับ 3 โยคะวิวาทะ 4 ชีวิตกับความตาย 5 เลงเลาเรื่อง 6 จดหมายจากเพื่อนครู 7 บทกวี 10 ตําราโยคะดั้งเดิม 11 จดหมายขาว โยคะสารัตถะ วิถีชีวิตเพื่อสุขภาวะ ที่ปรึกษา แกว วิฑูรยเธียร ธีรเดช อุทัยวิทยรัตน นพ.ยงยุทธ วงศภิรมยศานตินพ.สมศักดิชุณหรัศมิกองบรรณาธิการ กวี คงภักดีพงษ กุลธิดา แซตั้ง จิรวรรณ ตั้งจิตเมธี ณภัทร วัฒนะวงศี ณัตฐิยา ปยมหันต ณัฏฐวรดี ศิริกุลภัทรศรี ธัญยธรณ อรัณยชลาลัย พรจันทร จันทนไพรวัน วรรณวิภา มาลัยนวล วีระพงษ ไกรวิทย ศันสนีย นิรามิษ อมรรัตน อัศวนนทวิวัฒน : ภาพปก รัฐธนันท พิริยะกุลชัย สถาบันโยคะวิชาการ มูลนิธิหมอชาวบาน 201 ซอยรามคําแหง 36/1 บางกะป กทม.10240 โทรศัพท 02 732 2016-7, 081 407 7744 โทรสาร 02 732 2811 อีเมล [email protected] เว็บไซท www.thaiyogainstitute.com สิ่งตีพิมพ 0904 1

Upload: tang-thai

Post on 04-Apr-2015

40 views

Category:

Documents


1 download

DESCRIPTION

โยคะสารัตถะ เดือน เมษายน 2552

TRANSCRIPT

Page 1: Yoga Saratta -Apr 2552 (Vol.0904)

จดหมายขาว วิถีชีวติ เพือ่สุขภาวะ

www.thaiyogainstitute.com ฉบับเดือน เมษายน 2552

คุยกันกอน 2 ปฏิทินกิจกรรม 2 เร่ืองประจําฉบับ 3 โยคะวิวาทะ 4 ชีวิตกับความตาย 5 เลงเลาเรื่อง 6 จดหมายจากเพื่อนครู 7 บทกวี 10 ตําราโยคะดั้งเดิม 11

จดหมายขาว โยคะสารัตถะ วิถีชีวิตเพ่ือสุขภาวะ ท่ีปรึกษา แกว วิฑูรยเธียร ธีรเดช อุทัยวิทยรัตน นพ.ยงยุทธ วงศภิรมยศานติ์ นพ.สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์ กองบรรณาธิการ กวี คงภักดีพงษ กุลธิดา แซตั้ง จิรวรรณ ตั้งจิตเมธี ณภัทร วัฒนะวงศี ณัตฐิยา ปยมหันต ณัฏฐวรดี ศิริกุลภัทรศรี ธัญยธรณ อรัณยชลาลัย พรจันทร จันทนไพรวัน วรรณวิภา มาลัยนวล วีระพงษ ไกรวิทย ศันสนีย นิรามิษ อมรรัตน อัศวนนทวิวัฒน : ภาพปก รัฐธนันท พิริยะกุลชัย

สถาบันโยคะวิชาการ มูลนิธิหมอชาวบาน 201 ซอยรามคําแหง 36/1 บางกะป กทม.10240 โทรศัพท 02 732 2016-7, 081 407 7744 โทรสาร 02 732 2811 อีเมล [email protected] เว็บไซท www.thaiyogainstitute.com

สิ่งตีพิมพ

0904 1

Page 2: Yoga Saratta -Apr 2552 (Vol.0904)

สวัสดีปใหม ผูอาน จดหมายขาว สารัตถะ สถาบันฯ เพ่ิงอบรมครูโยคะ หลักสูตรระยะสั้น 65 ชั่วโมงเสร็จไปหมาดๆ เมื่อปลายเดือนมีนาคม มีผูเรียน 28 คน อายุ

เฉล่ีย 40 ป มาจากทั่วทุกภาค คือจากเชียงใหมถึงกระบี่ จากนครปฐมถึงโคราช และจันทบุรี ทุกๆ ครั้ง ในคาบสุดทายของการอบรม เราจะมีการนั่งลอมวง ทุกคนพูดถึงความรูสึกที่มีตอการอบรม ทั้งตอ

เน้ือหาวิชา ตอคณะครูผูสอน รวมทั้งตอเพ่ือนๆ รวมรุนดวยกัน ฯลฯ ปรากฏวา ในพิธีปดของรุนที่ 12 นี้ ตางจากรุนอื่นๆ คือฟงผูเขารับการอบรมผลัดกันกลาวแลว ผมถึงกับน้ําตาซึม

เมื่อใครครวญดู ก็สรุปวา สวนหนึ่ง คงเปนเพราะการอบรมครั้งนี้ ผมไดมีโอกาสรูจักกับผูเขารับการอบรมบางทานกอนมาอบรม บางไดพูดคุยกันโดยตรง บางมีคนเลาถงึรายละเอียดชีวิตของนักเรียนคนนั้นใหฟง บางไดอานความคิดของนักเรียนจากหนังสือท่ีเขาเขียน ทําใหเรามีความเขาใจลึกซึ้งมากขึ้น กับส่ิงที่พวกเขากลาวสรุปออกมา

การฟงใครสักคนที่เราไมรูจักพูดนั้น เปนอยางนึง สวนการฟงคนที่เราพอจะรูรายละเอียดชีวิตของเขามากอน เปนอีกเร่ืองเลย มีความเขาอกเขาใจ เห็นที่มาที่ไปวา ทําไมเขาถึงพูดอยางนั้น...

บอกกับตัวเอง เมื่อตองฟงคนพูด โดยเฉพาะคนที่เรายังไมไดรูรายละเอียดของชีวิตเขาละก็ อยาดวนสรุป ทุกคําพูดมีที่มา มีคําอธิบายทั้งส้ิน บอกกับตัวเองวาฟงคนอื่นพูดดวยความใสใจ ดวยความเปนกลาง ไมดูด-ไมผลัก ไมรกั-ไมเกลียด

กวี

สถาบันโยคะวิชาการ รวมกับ ภาควิชาปรัชญาและศาสนา คณะมนุษยศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร จัดอบรม หลักสูตรครูโยคะระยะยาว 230 ชม. รุนที่ 9 ประจําป 2552 โดยครูฮิโรชิ - ฮิเดโกะ ไอคาตะ และทีมครูของสถาบันฯ ตั้งแตวันที่ 17 กรกฎาคม – 8 พฤศจิกายน 2552 อบรมทั้งภาคทฤษฎีและปฏิบัติ เรียนสัปดาหละ 4วัน เย็นวันจันทร พุธ พฤหัส

เวลา 17.30 – 20.00 น. และวันเสาร เวลา 7.30 – 13.00 น. คาลงทะเบียน 27,000 บาท รับ 30 คน สอบถามหรือสํารองที่นั่งที่

สถาบันโยคะวิชาการ โทร.02 732-2016-7 ในวันและเวลาราชการ หรือท่ี [email protected] เปดอบรม ปราณยมะ เทคนิคการหายใจแบบโยคะ โดยครูกวี วันจันทรที่ 25 พ.ค. 1 มิ.ย., และวันอังคารที่ 9,16,23, 30 มิ.ย. เวลา 18.00 – 20.00 น. คาลงทะเบียน 1,200 บาท รับจํานวนจํากัดเพียง 10 คน สนใจติดตอสอบถามหรือสํารองที่นั่งที่ สถาบันโยคะวิชาการ โทร.02 732 - 2016-7 ในวันและเวลาราชการ หรือท่ี [email protected] วิชา จิตสิกขา ป 2552 ครั้งถัดไป จัดวันเสารที่ 16 พฤษภาคม สถาบันโยคะวิชาการ ขอเชิญครูโยคะ รวมทั้งบุคคลทั่วไป ผูสนใจการพัฒนาจิตตามแนวทางพุทธศาสนา รวมศึกษาวิชา จิตสิกขา ที่จะจัดตอเนื่องไปตลอดป 2552 ทุกวันเสารที่ 3 ของเดือน เวลา 7.30 – 12.30 น. ณ หอง 262 คณะมนุษยศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ สอบถามเพิ่มเติมที่ สถาบันโยคะวิชาการ 02 732 - 2016-7 คอรสอบรมครูโยคะจากสถาบันโยคะวิทยาธรรมประเทศอินเดีย หลักสูตรครูโยคะ 4 เดือนดําเนินงานโดยครูหมวยและวิทยากรจากสถาบันโยคะวิทยาธรรม เมืองนาสิก ประเทศอินเดีย สนใจเขาไปดูรายละเอียดไดที่ www.yogapoint.bloggang.com หรือโทรไปคยุกับครูหมวยไดที่ 085 142-0201

0904 2

Page 3: Yoga Saratta -Apr 2552 (Vol.0904)

เร่ืองเดนประจําฉบับนี้ มาวากันเรื่องนิสัย อานบทความสั้นๆ ของ Rahida Jiwani ที่แปลโดย ธํารงดุล แลว อาจจะทํา

ใหพวกเรามีกําลังใจเลิกนิสัยที่ไมดีเดิมๆ หรือสรางนิสัยที่ดีใหมๆใหกับชีวิต เพราะ Rahida Jiwani บอกวา ‘ถาเราทํากิจกรรมใดๆ ซ้ํากัน 21 ครั้ง ส่ิงนั้นจะกลายเปนนิสัยประจําตัว นั่นหมายความวาถาเราตองการสรางนิสัยอยางใดอยางหนึ่งขึ้นมา เราควรจะทําสิ่งนั้นซ้ําๆ กันเปนเวลา 21 วัน และส่ิงนั้นก็จะเปนนิสัยติดตัวเราไปตลอด’ 21ครั้งเทานั้นเอง!

บทความที่วาดวยเรื่องนิสัยอีกชิ้นนึงคือ ‘คําแนะนําในการสรางนิสัยการกินใหม’ ที่วาดวย12 นิสัยการกินที่จะรักษาสมดุลยและสุขภาพของเราใหดีได อานแลวอยาลืมเอาไปทําตามใหเปนิสัยนะคะ

นิสัยประจําตัว Rahida Jiwani เขียน ธํารงดุล แปล

แปล และเรียบเรียงจาก Yoga and total health Vol.LIV No. 2 September 2008 การกระทําหลายๆ อยางของเรามักเปนไปโดยอัตโนมัติ เราตื่นนอนแลวตรงไปเขาหองน้ํา แปรงฟน และดื่มชาในตอนเชา แมแตระหวางวัน การเดิน การพูดคุย การคิดของเรา มักมาจากกลไกของรีเฟลกซ ถาเรานั่งเงียบๆ แลวลองคิดดู เราจะพบวาส่ิงเหลานี้คือ “นิสัยประจําตัวของเรา” นิสัยประจําตัวคืออะไร ? มันคือส่ิงที่เราทําโดยไมตองผานกระบวนการคิด ซึ่งการกระทํานี้ อาจไดรับการสอนจากผูอื่น หรือเกิดการเรียนรูดวยตัวเราเอง คัมภีรทางศาสนาหลายเลม กลาววาถาเราทํากิจกรรมใดๆ ซ้ํากัน 21 ครัง้ ส่ิงนั้นจะกลายเปนนิสัยประจําตัว นั่นหมายความวาถาเราตองการสรางนิสัยอยางใดอยางหนึ่งขึ้นมา เราควรจะทําสิ่งนั้นซ้ําๆ กันเปนเวลา 21 วัน และส่ิงนั้นก็จะเปนนิสัยติดตัวเราไปตลอด หากเราลองคิดดูใหดี จะพบวาเราสรางนิสัยประจําตัวหลายๆ อยางของเราดวยวิธีการนี้ เราเรียนรูวิธีการแปรงฟนไดอยางไร ? พอแมของเราสอนใหเราทํา เมื่อเราเปนเด็ก ทานอาจสอนเรามากกวา 21 วัน ศาสนาของเราแนะนําใหเราสอนเด็กๆ ใหรูจักสวดมนตตั้งแตยังอยูในวัยเยาว, สอนใหเขาหองน้ําทุกเชา, รับประทานอาหาร และเขานอนอยางตรงเวลา เปนตน แตแลวนิสัยประจําตัวดีๆ เหลานี้ ถูกแทนที่ดวยนิสัยใหมๆ บางอยางที่เราปรับใหเหมาะกับวิถีชีวิตของเราที่เปล่ียนแปลงไป หลายปผานไป นิสัยใหมๆ บางอยาง เชน นอนดึก, รับประทานอาหารไมเปนเวลา พักผอนนอยลง ฯลฯ เหลานี้ อาจยังไมสงผลกระทบกับเรา เราเสียสละสุขภาพของเราเพื่อแลกกับทรัพยสินเงินทอง แตเมื่อเวลาผานไป เรากลับตองใชทรัพยสินที่หามาไดนั้น เพ่ือแลกสุขภาพของเรากลับคืนมา และเมื่อถึงตอนนั้น ก็อาจจะสายเกินไป เมื่อเราเขาสูวัยกลางคน และสุขภาพไมสามารถฟนฟูกลับคืนไดอยางรวดเร็ว เราสูญเสียตัวตนของเราไปในชาติพันธุของเรา และเพ่ือกลับมาเปนตัวเราอีกครั้ง เรามีนิสัยประจําตัวบางอยางดวยความไมรู และก็ยังทําอยางตอเนื่อง ยกตัวอยางเชน ฉันเพ่ิงรูวาเมื่อ 2-3 ปกอน เมื่อไรที่มีปญหา ฉันจะนั่งรองไห ซึ่งทําใหฉันบรรเทาความเศราลงไปได แตฉันไมไดพยายามที่จะแกไขปญหา แลววันนึงฉันก็พบวานี่เปนนิสัยประจําตัวของแม เมื่อทานมีปญหาซึ่งยากที่จะแกไข ทานจะนั่งลงรองไห ฉันเลียนแบบนิสัยของทานโดยไมรูตัว เมื่อรูอยางนี้ฉันเรียนรูที่จะแกปญหานั้น แทนที่จะนั่งรองไหแตเพียงอยางเดียว ฉันชอบรับประทาน มาเซลลา เพราะวาแมของฉันเคยรับประทานที่บาน ฉันยังรับรูอีกวาฉันมีอารมณโกรธงายเพราะพอมักจะหงุดหงิดอยูตลอดเวลา เมื่อรูอยางนี้แลวฉันจึงตระหนักวานิสัยแบบไหนที่ควรทํา หรือแบบไหนที่เราควรละเลิก ฉันขอขอบคุณโยคะที่ชวยสอนฉันใหรูจักการตระหนักรู ซึ่งชวยเติมเต็มจิตใจใหฉันมีสติจดจอ รูตัวทั่วพรอมเทาทันตอสถานการณตางๆ และสอนใหฉันเรียนรูที่จะมีชีวิตอยูกับปจจุบัน

คําแนะนําในการสรางนิสัยการกินใหม คัดบางสวนจาก Tao of Detox โดย Daniel Reid

ทําเปนขอๆ ใหงายตอการนําไปใช อาจจะแปะไวที่หนาตูเย็น หรือ ที่กระดานในครัว เพ่ือคอยเตือนตัวเอง 1. กินเมื่อหิว และกินเพียง ¾ ของกระเพาะ 2. ไมวาจะกินที่บานหรือตามภัตตาคาร กินแบบงายๆ อยาส่ังกับขาวเกิน 4 อยาง และเปนกลุมอาหารที่ไมขัดกัน

0904 3

Page 4: Yoga Saratta -Apr 2552 (Vol.0904)

3. หลีกเล่ียงอาหารที่ทําจากไขมันพืช ไดแก เนยเทียม ครีมเทียม 4. เพ่ือความสมดุล ในหนารอน เนนอาหารที่เย็น เชน ผลไม และผัก สวนในหนาหนาว เนน คารโบไฮเดรท และโปรตีน 5. กินอาหารดิบ สด ราว 30 – 50 % โดยเฉพาะในชวงหนารอน 6. งดกินน้ําตาลทรายขาว ขนมหวานจัด งด น้ําตาลเทียม 7. เคี้ยวอาหารคําละ 30 – 40 ครัง้กอนกลืน ถากินขาว เคี้ยวใหถึง 100 ครั้ง เพ่ือการยอยคารโบไฮเดรทที่มีประสิทธิภาพ 8. ในระหวางมื้อ ไมดื่มนํ้า เพราะจะทําใหน้ํายอยเจือจาง ทําใหการยอยใชเวลานานกวาที่ควรจะเปน 9. ดื่มนํ้าอยางนอยวันละ 6 แกว (10.5 ลิตร) เชา 2 แกว สาย 1 แกว กอนเที่ยง 1 แกว บาย 2 แกว และ 1 แกวกอนนอน 10. อยากินโปรตีนจากสัตวมากนัก และสําหรับคนที่ทํางานใชสมองมาก กินคารโบไฮเดรทมากๆ 11. นั่งกิน ดวยความผอนคลาย อยารีบกิน พึงระลึกวา ยิ่งกินเร็ว ยิ่งยอยชา 12. เมื่อมีไข อยากินอาหารหนัก อยากินตอนอารมณไมดี เชน โกรธ หรือ กังวล เพราะขณะนั้น กระเพาะไมทํางาน การ

งดอาหารคือการรักษาที่ดีมากสําหรับเกือบทุกโรค จง กินแตพอดี ดังสุภาษิตจีนที่วา เชื้อโรคเขาทางปาก ตรงกับสุภาษิตฝรั่ง เราใชฟนขุดหลุมศพตัวเอง ในชวงปลายศตวรรษที่ 19 นักวิทยาศาสตรกลุมหนึ่ง ทองไปทั่วยุโรป ตามสัมภาษณผูมีอายุเกิน 100 ป เกือบ 2,000 คน

ถึงวิถีชีวิต นิสัยการกิน ลักษณะรวมที่คนพบของคนเหลานี้คือ กินแตพอดี ดังนี้ จากการสัมภาษณคนเกือบ 2,000 คน ที่มีชีวิตเกินหนึ่งศตวรรษ เราพบวาแตละคนจะมีนิสัยเฉพาะ

บางอยาง กินอาหารเฉพาะเจาะจงบางชนิด ที่ทําใหเขามีอายุยืนยาว เราพบวา บางรวย บางจน บางดื่มน้ํามาก บางดื่มน้ํานอย บางไมดื่มเหลา บางดื่มหลาเปนประจํา บางสูบุหรี่ บางไมสูบบุหรี่ บางกินแตผัก บางกินเน้ือมากพอสมควร บางเปนนักคิด บางใชแรงงาน บางกินมื้อเดียว บางกินวันละ 3 – 4 มื้อ ในความเปนจริง เราพบวากลุมคนเหลานี้เต็มไปดวยความหลากหลายของนิสัย ความหลากหลายในการกิน แตสําหรับเร่ืองอาหารแลว มีลักษณะรวมที่ชัดมากคือ พวกเขาลวนกินอาหารแตพอดี

เราปดทายดวยคําของนักปรัชญากรีก ดิโอเจเนส ผูแนะนําเกี่ยวกับเรื่องพฤติกรรมของมนุษยไวมากมาย “บานที่เต็มไป

ดวยขาวของ มีแนวโนมที่จะเต็มไปดวยหนู ฉันใด รางกายที่เต็มไปดวยอาหาร ก็เต็มไปดวยโรค ฉันนั้น”

ธีรเดช อุทัยวิทยารัตน วาทะวาดวย “วิวาทะ”

วิวาทะในภาษาสันสกฤตมาจากคําวา วิ ซึ่งมาจากคําวา “วิเศษ” แปลวา “เฉพาะ พิเศษ” รวมกับคําวา วาทะ ซึ่งแปลวา “คาํพูด ถอยคํา (การแสดง) ความคิดเห็น” คอลัมน “โยคะ-วิวาทะ” จึงเปนเชนเวทีสาธารณะใหผูอานโยคะสารัตถะ รวมทั้งผูที่เขาชมเว็บไซตของสถาบันโยคะวิชาการทุกทาน ไดบอกเลาหรือแลกเปลี่ยนแงคิดมุมมอง ความเห็น และประสบการณเกี่ยวกับ (การฝก) โยคะในทุกๆ มิติ อีกทั้งยังมุงหมายใหเปนพ้ืนที่ในการปุจฉาวิสัชนาประเด็นตางๆ เกี่ยวกับโยคะดวย กองบรรณาธิการโยคะสารัตถะและสถาบันโยคะวิชาการ ขอเชิญชวนทุกทานเขียนมาบอกเลาแลกเปลี่ยนมุมมองและประสบการณเกี่ยวกับโยคะ หรือหากมีขอสงสัยใดๆ ก็สามารถถามไถได เพ่ือใหเพ่ือนพองนองพ่ีในแวดวงโยคะไดรวมกันวิสัชนาในปุจฉาท่ีทานถามไถไป การ “วิวาทะ” และ “ปุจฉา-วิสัชนา” ในวงกวางนาจะมีสวนชวยขยายมุมมองและความรับรูที่มีตอโยคะใหลึกซึ้งและรอบดานขึ้น คงไมผิดนัก หากจะบอกวา “โยคะ-วิวาทะ” คือคอลัมนใหผูที่สนใจในโยคะผลัดกันเขียนเวียนกันอาน เพ่ือให “สายธารแหงโยคะ” ไหลเล่ือนเคล่ือนไปอยางถวนทั่วและสืบเนื่อง

0904 4

Page 5: Yoga Saratta -Apr 2552 (Vol.0904)

“โยคะ-วิวาทะ” ประจําเดือนนี้ คุณกริยา แยมปล้ืม จากราชบุรีเขียนจดหมายดวยลายมือบรรจงสงไปรษณียไปที่สถาบันฯ

เพื่อรวมวิวาทะเกี่ยวกับสูรยนมัสการ โดยมีจดหมายนอยแนบมาวา

“...ยาสงขอความมาทางจดหมายรวมคอลัมนโยคะวิวาทะดวย สวนแรกเปนความเขาใจเกี่ยวกับโยคะที่ยารูสึกวามัน

เกี่ยวเนื่องกับสวนทายที่พูดถึงประเด็นที่วา “สูรยนมัสการเปนอาสนะหรือไม”...ดวยความระลึกถึง” ขอเชิญอานกันไดครับ

ในทุกการงานและการกระทําของเรา รวมทั้งแรงงานและพลังงานที่เกิดขึ้น หากมิไดเปนไปเพื่อการดํารงอยูของธรรมชาติ

และจักรวาล แตเปนไปเพื่อการทําลายสมดุลของธรรมชาติและทําลายตัวเอง ไมวาจะโดยรูตัวหรือไมก็ตาม การงาน การกระทํา

แรงงานและพลังงานนั้นถือวาสูญเปลา

ถาเรารูสึกไดวาจิตเปนนาย กายเปนบาวที่ซื่อสัตย หากจิตรับใชความคดโกง บาวก็ยอมตองทํางานรับใชความคดโกงไป

ดวย ถาจิตแยกตัวออกจากจักรวาล มันยอมแยกตัวจากกายของมันเองดวย มันก็จะใชรางกายเพื่อตอบสนองตัวตน อุดมคติ โดย

มันจะสรางความขัดแยง ความไมพึงพอใจในตัวเองตลอดเวลา หรืออาจกลาวอีกอยางวาขาดการรูตัวและรูจิต

ถาการเคลื่อนตัวในอาสนะ มันมีจิตที่แยกตัวออกมา มันมีเปาประสงค มีเจตจํานง เพื่อที่จะรับใชอะไรบางอยาง โดยที่

การรับใชนั้นไมไดเปนไปเพื่อความสมดุลของธรรมชาติ แนนอนวายอมเกิดความขัดแยงระหวางความคิดหนึ่งกับอีกหลายความคิด

ที่ผุดขึ้นมาในหัว และขัดแยงกับการเคลื่อนไหวของรางกาย การเคลื่อนไหว (ในอาสนะ) ยอมไมเปนหนึ่งเดียว

หากอาสนะเปนไปเพื่อประดับชีวิต มิไดเปนไปเพื่อรวมเขากับจักรวาลแลวไซร มันยอมแปลกแยกกับตัวมันเองและทําลาย

ตัวมันเอง เราไมไดแยกจากจักรวาลและโลก จิตก็มิไดแยกจากกาย ความคิดก็มิไดแยกจากจิต ความคิดหนึ่งก็มิไดแยกจาก

ความคิดหนึ่ง อวัยวะแตละอวัยวะก็มิไดแยกจากกัน ทุกครั้งที่มีการเคลื่อนไหว เชน แขนก็มิไดแยกจากขา เราเคลื่อนไหวที่แขนแต

ขาหยุดนิ่ง นั่นไมไดหมายความวา แขนกับขาไมไดเชื่อมโยงกัน ดังนั้นความนิ่งจึงยังเชื่อมโยงกับการเคลื่อนไหว ทุกครั้งที่เราทํา

อาสนะ ถาเราเลิกเรียกชื่ออาการตางๆ ใหทุกอยางไดเคลื่อนไหวและหยุดนิ่งอยางอิสระ ฉะนั้นเมื่อเราอยูในอาสนะ เราก็เลิก

เรียกชื่ออาสนะ ขณะนั้นเราอยูในสภาวะที่ปราศจากตัวตน ชีวิตก็เหมือนลมที่พัดมาและไป ไรรองรอยแหงตัวตน

โยคะเปนระบบแนวคิดและแนวกายดวย ที่มีเปาประสงคใหเกิดความสมดุลในตัว โดยเริ่มความสมดุลที่ตัวเราเองกอน

เนื่องจากเรามีตัวเราเปนจุดเริ่มตนพื้นฐาน เม่ือเราเขาใจและเขากายตัวเอง หมดสภาวะการเรียกชื่อวานี้กาย นี้ใจ ตัวมันไมแปลก

แยกออกจากสิ่งใดอีกตอไป มันไมสรางตัวตนที่เปนเอกเทศอีกแลว

สูรยนมัสการเปนอาสนะหรือไม คําตอบอยูที่คําถาม เราควรสืบคนจากคําถามนี้ คําถามนี้เกิดจากความคิดที่แยกตัวจาก

การกระทํา เพราะขณะที่คุณกระทํา คุณไมสงสัย คุณมาสงสัยเรื่องนี้เพราะคุณคิดยอนกลับไป ดังนั้นขณะที่คุณกําลังตั้งคําถาม เรา

จึงมีชีวิตอยูในความคิด

เมื่อกายใจรวมเปนหนึ่งเดียว จะไมเกิดความสงสัยในกันและกัน และไมสงสัยตัวมันเอง สภาวะเชนนี้อาจเรียกไดวาเปน

การเดินทางรวมกันของกายและจิต ซึ่งไมมีทั้งผูนําและผูตาม

ดล เกตนวิมุต บทที่ 5

“หองเรียนแหงความเขาใจความเปนจริงของชีวิต”

หากเราถูกถามวา หองเรียนอะไรคือหองเรียนที่ดีที่สุด หลากหลายภาพในความทรงจําคงคอย ๆ ผุดขึ้นมาภายในหองส่ีเหล่ียมบาง สนามในโรงเรียนบาง อาจเปนภาพครูฝกสอนใจดีในวิชาศิลปะ, ภาพในหองทดลองชั่วโมงวิทยาศาสตร, ภาพตอนไดเรียนรูวัฒนธรรมกับนักเรียนแลกเปล่ียนที่ตางประเทศ, ภาพตอนเลนชิงชาในสนามเด็กเลน, ภาพในสนามฟุตบอล

0904 5

Page 6: Yoga Saratta -Apr 2552 (Vol.0904)

ชั่วโมงพละศึกษา ฯลฯ ซึ่งลวนเปนความทรงจําที่ดี นึกแลวพาใหยิ้มไป ขําไป ทําตาพริ้ม ๆ อยางสุขใจ เพราะหองเรียนที่ดีที่สุดของเราเหลานั้นลวนซุกซอนความประทับใจหลากหลายความทรงจําจนจดจําไดไมลืมเลือนอาจเปนเพราะเราไดเกรดดีในวิชานั้น เราไดพบเพ่ือนซี้ตอนท่ีเรียนวิชานี้ คุณครูใหคะแนนเราเปนที่หนึ่งของหอง แตก็ยังเปนอะไรที่ถูกจํากัดอยูในหองหรือสนามรูปทรงเรขาคณิต

กับบางคนที่ผานหนาวผานฝนมาหลายฤดูหรืออาจดวยประสบการณชีวิตที่มากขึ้น อาจพาใหนึกไปถึงหองเรียนนอกกรอบเหล่ียม ๆ ที่เกริ่นไวขางตน ก็คือหองเรียนชีวิตในชีวิตประจําวันตาง ๆ อาจเปนในที่ทํางาน, บนรถไฟฟา, ในโรงหนัง, โรงพยาบาล, หองเรียนโยคะ วัด หรือแมแตในบานของเราเอง ก็ลวนแลวแตเปนที่ที่เราสามารถเรียนรูและเก็บความทรงจําที่ดีไวจนรูสึกวานั่นแหละตอนนั้นเองที่เปนหองเรียนที่ดีที่สุดของเรา

และกับบางคนหองเรียนที่ดีที่สุดนาจะเปนหองเรียนที่อยากเปดใชเมื่อไรก็ใชไดทุกเมื่อ เปนหองเรียนที่เราเปนเจาของเอง สามารถเรียนรูไดตลอดเวลา ใหความรูไดตอเนื่อง ไมตองลงทะเบียนเรียนเสียคาหนวยกิต มีขนาดไมใหญโตนักพกพาไปไดสะดวก ซึ่งเราทุกคนตางก็มีหองเรียนที่ดีที่สุดอันประกอบไปดวยคุณสมบัติที่ดีเลิศทุกอยางขางตน แตนาเสียดายเหลือเกินที่หองเรียนเหลานั้นมักจะถูกปดตายไมไดถูกนํามาใชประโยชนอยางคุมคา อาจเปนเพราะดวยความเคยชินที่มันอยูกับเราตลอดเวลา มันอยูขางในขี้เกียจรื้อออกมา หรือขนาดมันเล็กเกินไป เพราะมีคําเปรียบเทียบเรื่องขนาดของหองเรียนนี้วามีขนาดแค หนาคืบ กวางศอก ยาววา แคนั้นเอง หองเรียนที่ดีที่สุดที่วาเปนหองเรียนที่ชื่อวา “รางกาย” นั่นเอง ซึ่งภายในประกอบไปดวยจิตใจ หรือตรงตามบัญญัติในทางพระพุทธศาสนาวา “ขันธ 5” (รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ)

หากพิจารณากันในเชิงลึกดีดี ดวยองคประกอบทั้ง 5 ลวนแลวแตประกอบดวยตัวทุกขทั้งส้ิน เราจึงละเลย ปฏิเสธที่จะเรียนรู ทําความรูจักกับมันจริง ๆ เพ่ือนําไปสูการตกผลึกของความรูอันแทจริงวา ทกุขไมไดมไีวใหยึด ไมไดมไีวใหเปน แตทุกขมีไวเพียงแคใหเราเปนผูเห็น มีไวใหเราเปนผูดู อยางที่มันเปน นั่นก็คือหาสาระแกนสารในทุกขไมไดเลย มันเกิดขึ้นมา เพ่ือตั้งอยู และเพ่ือดับไป ซ้ําแลวซ้ําเลา ยิ่งเห็นบอย ยิ่งดูบอย ก็วิ่งปลอยวาง คลายจากความยึดมั่นถือมั่นมากเทานั้น ใหความรูสึกของใครหลาย ๆ คนที่เคยฝกเจริญมรณานุสติในทาศพ ที่มีสติรูเทาทัน ไมหลงเคลิบเคล้ิม เผลอหลับไป ในทางกลับกันหากทุกขเกิดขึ้นมา เราเขาไปเปน เขาไปยึดไวโดยรูไมเทาทันมัน ก็ยิ่งทุกขมากขึ้น จากการที่ขาพเจามีความรูในศาสตรของโยคะแหงสติ จึงเปนเหตุปจจัยที่เกื้อกูลตอการเรียนรูความเปนจริงของชีวิตมากขึ้น เพราะเมื่อฝกทาอาสนะเพื่อสรางสมดุล เชนคันไถครึ่งตัวที่ทําแลวรูสึกบีบคั้นกับความไมสบายทางกายที่อยูในสภาวะที่ทนอยูไดยาก ดังนั้นขณะที่กําลังฝกอาสนะนั้นถือวาเปนชวงเวลาที่ดีที่สุดชวงหนึ่งในการเรียนรูแบบจําลองชีวิต ที่มีทั้งความรูสึกทุกข สุข เฉย ๆ โดยใชรางกายที่เคล่ือนไหวไปในอาสนะตาง ๆ พรอม ๆ ไปกับการรับรูการเคลื่อนไหวของจิต โดยใชใจเปนผูดู เปนผูเห็น โดยไมเขาไปแทรกแซง ไมเขาไปปรุงแตง ไมเขาไปเปน คอย ๆ ฝกตามรูเทาทันใหเห็นการวางตําแหนงของใจตามความเปนจริง แลวนําไปสูใจที่วางแลวที่มีความเปนกลางมากขึ้น ๆ ตามลําดับ เห็นความเชื่อมโยงของจังหวะลมหายใจที่อยูระหวางกายกับใจในสถานการณตาง ๆ เมื่อนั้นพลังแหงการปลอยวางในขณะที่เราอยูกับปจจุบันจะปรากฎใหเหน็เดนชัด ไมเพียงแตความรูสึกทุกขเทานั้นที่ปลอยวางได แมแตความสุขที่ไมใชสุขแท เปนสุขที่เราอยากไดเพ่ิม แมไมไดก็ทุกข นั่นคือสุขเทียม ก็ไมสามารถพันธนาการกับจิตใจของเราได

เราอาจทดสอบพลังแหงการปลอยวางในหองเรียนที่ดีที่สุดดวยตัวเองในวิธีงาย ๆ โดยการใชมือซายกําขอมือขวา แลวรับรูความรูสึกเปรียบเทียบตอนที่มือขวากําอยู (ยึดมั่น ถือมั่น) กับตอนที่มือขวาคอย ๆ กางมือเหยียดนิ้วคลายออก(ปลอยวาง) แลวรับรูความรูสึกจากมือซายวาตอนไหนเรารับรูวามีพลังมากกวากันระหวางพลังแหงการยึดมั่นถือมั่น หรือพลังแหงการปลอยวาง

ล.เลงเสียงกระดิ่งหยก (ไมใชมังกรบิน) เคยไดยินมาวา ถาเรามีบรรพบุรุษเปนเบาหวาน เราก็มีความเสี่ยงที่จะเปนเบาหวานดวย เมื่อกอนนี้ก็ยังรูสึกวามันยังไกลตัว แมวาจะแอบเสียวอยูลึกๆ (ลึกมาก) แตก็ยังมีความสุขกับการกินฝอยทองครั้งละ 30 บาท จากตลาดเตาปูน กินไอศกรีม Swensen, Baskin Robin, Oriental ถาเปน chocolate cake ก็ตอง รานกัลปพฤกษ ถนนประมวญ เวลาไปมศว. ก็ตองแวะ

0904 6

Page 7: Yoga Saratta -Apr 2552 (Vol.0904)

0904 7

ซื้อ Bakery มากินแกหิวหลังเลิกเรียนโยคะรอบดึกเปนประจํา น้ําผึ้งกวนกับงาปนก็เปนของชอบอีกชนิดหนึ่ง ยังมีชาเย็น หวานๆ เย็นๆ ก็เหมาะกับอากาศรอนๆ ตอนนี้...ดีนักแล แตพอไดไปเขาคายเบาหวานของ รพ. ศิริราช (30 มี.ค. – 3 เม.ย. 2552) ที่จัดใหกับเด็กเบาหวาน type one (แปลวาตับออนไมผลิตอินซูลิน ตองฉีดเขาไปลูกเดียว โดยมากเปนกันตั้งแตอายุนอยๆ) ไดไปตรวจระดับน้ําตาลในเลือดหลังจากกินไอศกรีมหางเสือ 1 อัน และ มันฝรั่งทอด อีก 1 ถุง เจาะเลือดหลังจากกินขนมเขาไปประมาณ 2 ชั่วโมง พบวาระดับน้ําตาลอยูที่ 112 มก./ ดล. ในขณะท่ีเพ่ือนเคากินขนมเขาไปพรอมๆ กัน น้ําตาลตกลงมาที่ 90 กวาๆ แลว ก็ใหอึ้งยงไปพักนึง ไอหยา! ตับออนของเรา ทาจะแยแลว แตเอะ! เมื่อเชาเรากินนมขนหวานเขาไปตั้งเยอะน่ีนา เพ่ือนเราเคาไมไดกินสักหนอย ตับออนของเราคงยังไมเปนอะไรมั้ง แตก็ประมาทไมไดแลว ถากินหวานมากๆ ตับออนทํางานหนักเกินไป วันดีคืนดีคิดจะประทวงไมยอมทํางานละก็...เสร็จแน ตั้งแตนี้ตอไป เห็นทีจะตองบอกรักตับออน...ดวยการเลิกกินหวานซะแลว เฮอ! แตถาเลิกกินหวานแลวไมตองตาบอด ไตวาย โดนตัดตีน (เทา-ภาษาสุภาพ) ตา-ไต-ตีน ยังอยูครบ ก็นาจะคุมนะ เริ่มสัญญากับตัวเองวาจะไมกินหวาน (มาก) นับตั้งแตวันนี้เปนตนไป ไมรูวาจะทําไดนานเทาไร แตก็จะลองดูสักพักก็แลวกันนะ ลืมเลาไปวา ที่ไปเขาคายเบาหวานนี่ ยังไมไดเปนเบาหวานนะ แคไปชวยเคาจัดกิจกรรม เชื่อมสัมพันธไมตรีระหวางสมาชิกคายที่มีผูปวยเบาหวาน 44 คน มีพอแม 25 คน ทีมสหสาขาวิชาชีพจาก รพ.อื่นๆ (หมอ พยาบาล และบุคลากรทางการแพทย) 14 คน ทีมกิจกรรม 5 คน ซึ่งรวมตัวขาพเจาเอง) นอกนั้นเปนเจาหนาที่ของศิริราช อันประกอบดวย พ่ีเล้ียงคาย 7 ทีมหมอ 21 พยาบาล11 และ นักโภชนาการ 6 Fellow(หมอท่ีเรียนจบ 6 ปแลว) 4 ซึ่งก็แปลวางานนี้มีหมอเดินกันขวักไขวใหอุนใจกันตลอดงาน นอกจากคายนี้จะมีความพิเศษท่ีจํานวนหมอมากมายกายกองแลวนะ คุณหมอทั้งหลายยังใจดี หลอและหมวย เอย! สวย แบบดาราเกาหลีเลยนะ แถมยังหนาเด็กอีกตางหาก ถาคนไขโตกวานี้อีกสักหนอย ก็แทบจะดูไมออกเลยวาคนไหนเปนหมอ คนไหนเปนคนไข จบเรื่องสมาชิกคายก็มาเขาเรื่องกิจกรรมที่ไปทํามาซะที แบงคราวๆ ก็มีกิจกรรมเชิงวิชาการแบบ Simplified ทําทุกอยางใหงายที่สุด เพ่ือวาเด็กอายุ 10 กวาขวบจะเขาใจ และนําไปใชดูแลตัวเองได มีสอนเรื่อง เบาหวานคืออะไร อาหาร-ฉลาดเลือก ฉลาดกิน ยารักษาเบาหวาน การควบคุมน้ําตาล ภาวะแทรกซอน อันนี้มีเลนเกมส แบบอโรคาปารตี้ดวยนะ สนุกซะไมมีอะ ไดพายเรือขายไอศกรีม และขนมหวาน หลอกเด็กเขา red zone จะได...ตาบอด ไตวาย โดนตัดนิ้วเทา หรือไมก็ชัก หมดสติ มีภาวะ DKA* แตเด็กเบาหวานฉลาดแฮะ ไมมีหลงกลมาซื้อขนมหวานเลย DKA – Diabetic Ketoacidosis เปนภาวะที่มีกรดคีโตน (ของเสียจากการเผาผลาญไขมัน) สะสมอยูในเลือด ในปริมาณมาก จนทําใหเกิดอาการคลื่นไส อาเจียน ปวดทอง หายใจหอบ หรือหมดสติ (หนา 20 คูมือประกอบการใหความรูโรคเบาหวานในเด็กและวัยรุน) ควรตรวจสารคีโตนในปสสาวะเมื่อระดับน้ําตาลในเลือดสูงกวา 250 mg% ถามีแตวิชาการอยางเดียว ก็ไมเปนองครวมเนอะ ก็ตองมีสันทนาการที่ใหทั้งความสนุกสนาน ฝกสติ ฝกการสื่อสาร และ แบบจําลองสถานการณจริง เพ่ือวาพอถึงเวลาที่ตองใชความรูจริง...จะไดงัดมาใชไดรวดเร็วทันใจ...กลับบานไปแลว มัวแตเปดตํารา ก็ไมรูวาอยูหนาไหน ชักชาไมทันใจ แถมเรียนไปนานๆ ไมไดใชก็ลืมหมด ยกตัวอยางกิจกรรม สมดุลชีวิต ก็แลวกันนะ เพราะเด็กๆชอบ ผูใหญก็ชอบ เริ่มแรก ครูดลเคาก็ฉายนิทานเงียบ นิทานมันเงียบ –ไมมเีสียง แลวก็ใหเด็กๆ ดูกันเงียบๆ ดวย ดูเสร็จแลว ใหเด็กมาเลาเรื่องที่เพ่ิงดูไป พรอมกับต้ังชื่อเรื่อง จากนั้นก็ให

Page 8: Yoga Saratta -Apr 2552 (Vol.0904)

0904 8

เชื่อมโยงเขากับตัวเรา นองๆ เคาก็เลาเรื่องตามภาพที่เห็น คือมีสุนัขตัวนึงชอบเดิน 2 ขา ซึ่งตอนแรกเราก็นึกวาเปนหมาอัจฉริยะ แตนองเคาเห็นตั้งแตฉากแรกเลยนะวาเปนหมาพิการ มี 2 ขา ตอไปนี้ขอเรียกวาคุณสมดุลก็แลวกันนะ คุณสมดุลไมไดเก็บเนื้อเก็บตัวอยูแตในบาน ทาทางเปนส่ิงมีชีวิตที่ชอบสังคมนาดู เธอไปปรากฏกายในหองเรียนของมนษุยดวยการยืน 2 ขา เหมือนตอนที่เราฝกใหหมาสวัสดี บางทีก็หยุดทักทายคนที่เดินไปมาตามทองถนน ที่ๆ คุณสมดุลปรากฏตัวจะมีแตรอยย้ิม เสียงหัวเราะ...และความสุข ดูเร่ืองนี้แลวเชื่อมโยงกับชีวิตคนเปนเบาหวานไดวา...ใหเรามีความสุขกับส่ิงที่เรามี ส่ิงที่เราเปน...มี 2 ขาไมเหมือนใคร นับวามีเอกลักษณแบบไมตองพยายามสรางเลยนะ...จริงๆ แลวเลงวา ถาเทียบกับเด็กอายุรุนราวคราวเดียวกัน คงไมมีใครฉดียาเกงเทาเด็กเบาหวานอีกแลว เลนฉีดอินซูลินกันวันละตั้ง 4 เข็ม เจาะเลือดอีก 4 เข็ม กวาจะโต ไมรูฝกมือมาจนเชี่ยวชาญที่สุดในยุทธภพแลวมั้ง ถาโตมาไดเปนหมอ เปนพยาบาลคงฉีดยาเกงที่สุดในโรงพยาบาล จากนั้นก็เปนงานกลุม...สุมหัว...ใหสมาชิกในกลุมชวยกันเอาตะปู 10 ตัว มาเรียงเล้ียงตัวอยูบนตะปู 1 ตัว คิดกันอยูตั้งนานก็คิดไมออก ครูดล กลัววาถาปลอยใหคิดกันตอ สงสัยคืนนี้ไมตองไปนอนกันละ ก็เลยยอมเฉลยใหดูวาทํายังไง แลวแตละกลุมก็ลองทํากันดู แหม! พอมีตัวอยางใหดูก็งายละสิ แตก็มีบางกลุมเคาออกแบบเรียงตะปูเปนแบบเอกลักษณเฉพาะตัวดวยนะ สรางสรรคซะไมมีอะ นั่งมานาน ชกัเมื่อยกน ครูดลก็เลยชวนฝกอาสนะทาตนไม เพ่ือหาสมดุล เลียนแบบคุณสมดุลที่เพ่ิงดูมา เด็กๆ เร่ิมฝกเล้ียงตัวบนขาขางเดียวที่ตองใชสมาธิเปนอันมาก จากที่คุยกันจอกแจกจอแจก็เร่ิมเงียบกันไปหมด ใครวาเด็กไมมีสมาธิ ลองทาตนไมขาเดียวดูสิ จากนั้นพอวันรุงขึ้นเปนชั่วโมงเดินปา หลังฝนตก ซึ่งเด็กๆ คงไมไดมาเดินแหงๆ ถาทีมคุณหมอไดมาสํารวจเสนทางตอนเชากอนออกเดิน ก็ทางมันชันและลื่นมาก พวกผูใหญก็กลัวเกิดอุบัติเหตุ แตเด็กๆ เคาไมคอยกลัวกันหรอก...สนุกมาก แตที่เดินกันชาเพราะวามีความสามัคคี ตองรอ ตองชวยกันใหกลุมเล็กๆ ของเรา (มี 7 กลุม) พรอมกันทุกคนถึงจะออกมาได เกมสตอตะปูเมื่อวานสอนใหเรารูวาตะปูแตละตัวมีความสําคัญ วันนี้เราก็ไดตอกย้ําความรูสึกนั้นอีกครั้ง นี่เปนส่ิงที่ไมไดตั้งใจวาจะสอน แตเด็กๆ เรียนรูไดดวยตนเอง จากการที่ตองเดินผานความยากลําบาก จากเหตุปจจัยภายนอกที่ฝนเทลงมาโครมเบอเรอ เมื่อเย็นวาน และ ความไมพรอมของเด็กบางคนที่ไมไดเตรียมรองเทามา ดวยอาจจะนึกวาแคเดินทางราบ ไมนาจะมีอะไร ปรากฏวาขนาดเราไมปวยยังแอบบนเลย...เมื่อไรจะถึงสักที ไหนวา 2 กิโลไง ทําไมเดินกันตั้ง 2 ชั่วโมง ยังไมถึงอีก ปกติ 40 นาทีก็ถึงแลวนี่นา...คุณหมอสุภาวดียังมาเลาใหฟงวา...ผูปกครองก็ไดเรียนรูวา...ทางของเรามัน ดินลูกรัง ไมใช Super Highway…ชานิด ชาหนอย ลําบากอีกนิดหนอยก็ตองคอยๆ เดินกันไป เดินชา แตก็ถึงเหมือนกัน...อานิงสงฆนิทานเงียบเมื่อวานแทๆ ถาเปนปกติรับรองผูปกครองบนแหลก! นอกจากกิจกรรมเลนสนุกแลว ยังมีกิจกรรมฝกสติ สอดแทรกธรรมะเปนระยะๆ และฝกการสื่อสาร เชน 1. รหัสคาย: เรารู เราตื่น เราเบิกบาน (สงสัยวาครูดล คงคิดไดตอนสวดมนต) เรารู: Aikido โดนจับมือแลว เหมือนความทุกขมาจับเรา เราผลักไสมันก็ไมไป เราดึงมือหนี มันก็ไลตาม เพียงเราปลอยวาง มันก็ทําอะไรเราไมได เราไมทุกขมากเหมือนเกา ทั้งๆ ท่ีโรคมันก็ยังอยู แตเราไมทุกข

เราต่ืน: เลนเกมสคนตาบอด เดินตามหาเสียงพ่ีเล้ียง จะไดรูวาสภาวะตาบอดเปนอยางไร ไมสนุก ทําอะไรก็ติดขัด พูดแตคําวา “กินหวานตาบอดนะ” เด็กๆ ไมรูสึกหรอก ตองมาลองของจริง เดินเตะโนนเตะนี่กันใหวุน มีตาดีๆ ดีกวากันเยอะเลย

เราเบิกบาน: เลนเกมส จะเอ และหัวเราะบําบัด (เลนกัน หัวเราะกัน ดีกวาเลนเกมสในคอมพิวเตอร อีกนะ ชวงเลนเกมสไมมีเด็กคนไหน ควักเกมสกดมาเลนเลย)

2. ฝกสติกับเกมส

Page 9: Yoga Saratta -Apr 2552 (Vol.0904)

0904 9

เกมสปลาดุก ปลาชอน ใหเอามือ มาทําเปนปากปลา...ไลงับกัน ผูเด็กเลนได ผูใหญเลนดี จับทั้ง 2 กลุม มาเลนดวยกันก็ยิ่งสนุกไปกันใหญ เกมส...มีสติกับการ... ไมวาครูดลจะสั่งอะไร ก็หามทําตามทั้งนั้น ไมง้ันแพ...จะทําตามก็ตอเมื่อคําสั่งนั้นขึ้นตนดวยคําวา “มีสติกับการ...” เชน มีสติกับการหมุนรอบตัวเอง มีสติกับการยกมือ 2 ขาง มีสติกับการหันหลัง ใหหลังหอง...เกงมาก ตบมือใหกับตัวเองหนอย แลวทุกคนก็หลงกล ตบมือใหกับตัวเอง...โดยลืมไปวาคําสั่งสุดทายไมมีคําวา “มีสติ...” แมวาจะเลนเกมสนี้อีกครั้งในวันถัดมา และหมายมั่นปนมือวาครั้งนี้จะไมพลาด...แตในที่สุดก็โดน ครูดลจอมแกลง หลอกเอาอีกจนได ตอนดึกกอนเขานอน ก็มีสวดมนต แถมดวยครูหมูสอน Deep Relaxation บางคืน พ่ีออดก็มาสอนสมาธิดวยการตามรูแสงสวางที่เคล่ือนไปตามอวัยวะตางๆ ของรางกาย แบบที่อาจารยอาจอง ชุมสาย สอนที่ รร.สัตยาไสย 3. ชั่วโมงแหงการสื่อสาร ลองสังเกตดูนะ เมื่อไรที่พอแมเริ่มพูดคําวา “ทําไม” เชน ทําไมกลับบานดึก ทําไมยังไมทําการบานอีก ทําไมน้ําตาลขึ้นอกีแลว เรารูสึกอยางไร รูสึกคันหัวใจยุบยิบไหม รูสึกวากําลังโดนพอแมตัดสินวาเราทําผิด รูสึกไมอยากไดยินคําวา “ทําไม” เอาซะเลย ครูพ่ีออด และครูพ่ีดล ก็เลย ลองใหพอแมหัดพูดคําอื่นๆ ดูบาง โดยแนะนําวา ใหเร่ิมสรางสัมพันธภาพอันดีงามกับลูกกอน (เลงเดาเอาวา เคานาจะทํากัน แบบนี้นะ...พอดีไมไดอยูฟง ตั้งแตตน) ... เหนื่อยไหมลูก วันนี้กลับซะดึกเชียว กินขาวมารึยัง วันนี้มีกับขาวของโปรดของลูกดวยนะ...พอกินอิ่มแลว เดี๋ยวอาจไมตองถาม ลูกก็อาจจะอยากเลาออกมาเองแหละ เวลาลูกมีปญหา อกหัก เลิกกับแฟน อารมณกําลังแรง โลกทั้งโลกดูเหมือนจะถลมทลาย ลงมาตรงหนา แถมพรุงนี้ก็ถึงกําหนดที่ตองสงงานครู แลวโรคกระเพาะก็ยังมากําเริบอีก พอแมจะพูดยังไงดี พ่ิออดแนะนําวา...รถไฟกําลังวิ่งมาแรงๆ อยาพ่ึงไปขวาง ใหดูวาเคาจะวิ่งไปทางไหน จนเคาสงบลงเอง ... มีเทคนิคให Track เขาไปเปนพวกเดียวกัน...เราจะอยูเคียงขางเธอเสมอ ใช Repeating question เขาชวย แคสะทอนไปเรื่อยๆ เดี๋ยวเคาคิดไดเอง แลวเคาจะภาคภูมิใจมากกวาที่ไดแกปญหาของตัวเอง และเปนการแกปญหาอยางยั่งยืนดวย คราวหนาเกิดจิตตกอีก ก็จําไดวาตองทําทาอยางนี้..อยางนี้..ทําแลวสดชื่นดี..อยางนี้ๆ สบายใจจัง...รายละเอียด ไมรูจะเลายังไง เลาไดแคนี้แหละ ใครสนใจก็ไปจีบใหครพ่ีูออด และครูพ่ีดล จัดอบรมก็แลวกัน คืนสุดทายเปน Farewell night มีการแสดงของแตละกลุม ที่ครูดลไปตั้งชื่อตาม code ลับสุขภาพดีวา เอ่ียม อั้ม สูด ปูด เอเอ เฮ! 555 และ การแสดงชุดพิเศษ บอกรักกันดวยภาษามือ ประกอบเพลง แม (พอ) จา และเพลงแรกรัก เด็กๆ ไดบอกรักพอแม พอแมก็ไดบอกรักลูกดวย รักตั้งแตแรกเห็นลูกเกิดมาเลยนะ แตเวลามันผานมาเนิ่นนาน บางคนอาจลืมความรูสึกนั้นไปแลว เพราะยิ่งโตมันก็ยิ่ง ไมนารัก เถียงคาํไมตกฟาก (หมายถึงตัวเลงเอง 555 ) งานนี้น้ําตาซึมกันไปตามระเบียบ ขนาดเลงเองตอนที่พิมพ เน้ือรองเพลงนี้ ใหพ่ีออด ก็ยังนั่งรองไหเลย ยิ่งตอนซอมรองเพลง (เอง) ก็ยังตองซอมใหไมรองไหเลยนะ...เกิดมาบอน้ําตาตื้น (มาก) ก็อยางนี้แหละ เขียนมาจนเมื่อมือแลว...ขอจบละนะ...แลวพบกันใหม …………………………………………………………………………………………………………………….. เพลงแรกรัก (โดย พจนารถ พจนาพิทักษ) ดังรอคอยมาทั้งชีวิต เฝาคิดวาจะเปนเชนไร จนวันที่มีเจาจริง ๆ รูมั๊ย รูสึกยิ่งกวาสิ่งใด ที่เคย นิ้วนอยๆ อันอุนนวลนุมบาง เทาเล็กๆ ของลูกเอย สัมผัสเจาสัมผัสใจไดเลย ยากจะเอยคําอธิบาย ตัวแดงๆ ทําตาหยีๆ จากนี้ลูกก็คือหัวใจ อยากจะบอกใหเจารูไว เจาเปนยิ่งกวาส่ิงใดที่มี

Page 10: Yoga Saratta -Apr 2552 (Vol.0904)

รักของแมยิ่งกวาฟากวางไกล จะเลี้ยงเจาใหเปนคนดี รักของพอดังมหานที จากนี้จะเฝาดูแล แคแรกพบพบเจานั้นก็บอกใจไดวา ความรักลนมาเมื่อแรกเจอ เปนแรกรักรักที่พ่ึงจะเขาใจนะเออ วามันวิเศษแคไหน ........ที่มีลูก

สวัสดีคะ พ่ีๆ ทุกคน

เพ่ิงกลับมาจากหลวงพระบาง ไดสองวันแลวคะ ไปลาวคราวนี้ไกไดอาหารสมองมาคิดอีกเพียบ ไกนั่งรถไฟไปเชียงใหม แลวก็เท่ียวที่เชียงใหมสองวัน แลวก็นั่งรถประจําทาง 7 ชั่วโมงจากเชียงใหมไปเชียงของ จากเชียงของตอนแรกตั้งใจวาจะพักคางแคคืนเดียว แตสุดทายก็เลือกที่จะอยูตออีกวัน กอนจะขามฝงโขงไปลาวที่หวยทราย แลวนั่งเรือชา 7 ชั่วโมงไปปากเบง เมืองเล็กที่มีประชากรรวมกันทั้งหมูบานไมนาจะเกิน 150 ครัวเรือน จะมีไฟฟาใชตั้งแต 6 โมงเชาถึงหาทุมเทานั้น

เชาวันรุงขึ้นก็นั่งเรือตออีก 7 ชั่วโมงไปหลวงพระบาง นั่งไปก็มองอะไร คิดอะไรไป จังหวะมันของชีวิตสองขางทางมันคอยๆ เปล่ียนจนเรารูสึกไดคะ เราชินกับความสะดวกสบายไปไหนมาไหนก็นั่งเครื่องบินกทม - เชียงใหม ชั่วโมงเดียวก็ถึงแลว มีไฟฟา น้ําประปา เครื่องปรับอากาศ รถยนต มือถือ ทําใหจังหวะชีวิตเราเร็วขึ้นโดยที่เราไมทันไดรับรู เรามีความอดทนในการรอคอยนอยลง เราโกรธงายขึ้น ปลอยใหตัวเองเปนทาสของอะไรตางๆ นาๆ มากมาย ติดละคร ติดทีวี ติดชอปปงหางสรรพสินคา และอ่ืนๆ จนทําใหเราลืมไปวา ทั้งหลายทั้งปวงเปนเพียงแคเครื่องอํานวยความสะดวกที่บางครั้งออกจะมากไปแลวดวยซ้ํา

ทั้งรถไฟ รถประจําทาง และเรือ รวมไปถึงวิถีชีวิตแบบเดินชาของคนลาว ทําใหไกไดใชเวลากับกับตัวเองและส่ิงตางรอบตัวมากขึ้น เห็นความงามของชีวิตมากขึ้น นอกจากเรื่องไฟฟาที่ปากเบงแลว ที่หลวงพระบางเอง แมจะเปนเมืองหลวงเกา มีนักทองเที่ยวมาเยี่ยมเยือนมากมาย แตวิถีชีวิตแบบลาวก็หาดูไดอยางดื่นดาษ แมสาวลาวจะหันมานุงยีนสแทนซิ่นบาง แมจะขับ fino แทนการปนจักรยานบาง แตคนลาวนับไดวามีความสามารถที่จะดูแลวัฒนธรรมของตัวเองไมใหไหลไปตามคลื่นอิทธิพลของตะวันตกที่ถาโถมไปทั่วโลกนั่น กลืนกินอยางงายดาย ในตลาดเชายังมีรานขายฟนเพ่ือใชหุงหาอาหาร ยังมีรานขายหมี่หอใบตอง นาฬิกายังไมเปนเรื่องทั่วไปนัก (ไกเองก็ไมใสนาฬิกาขอมือ เพราะแอบเชื่อในใจวา นาฬิกาไมไดเปนเรื่องจําเปนในการใชชีวิตบางรูปแบบ เลยแอบถูกใจมาก)

ไปลาวคราวนี้ไดอาหารสมองกลับมาเพียบ เห็นอะไรชัดเจนขึ้นอีกเยอะ ถอดเปลือก”โลก”ไปไดอีกชั้น เห็นแลวยังแอบคิดถึงโยคะนอกเสื่อ แมคนลาวอาจไมรูจักอาสนะ แตไกมั่นใจวาหากคุยกันเรื่องการมีสติรับรูอยูกับตัว ไกคิดวาเคาอาจเปนครูที่ดีของเราไดนะคะ

รักและเคารพทุกคนคะ ไก

จิตสดใส..ใจจะไมทุกข..

การปลูกฝงความรูสึกที่ดีงาม.. เปรียบเสมือนการเพาะชําเมล็ดพันธุแหงความสุข.. ลงใจจิตใจของคนเรา.. ที่ตองอาศัยวันเวลาในการดูแล- เอาใจใส.. รดน้ํา..พรวนดิน..ใสปุย..

0904 10

Page 11: Yoga Saratta -Apr 2552 (Vol.0904)

โดยการหวานเมล็ดพันธุแหงความคิด.. คิดใหม..ทําใหม.. คิดดี..คิดถูกตอง..ดีงาม.. ใสใจกับทุก ๆ รายละเอียดของความรูสึก.. มีสติ..เรียนรูอยางเขาใจและเทาทัน.. นี้ถือวา..เปนเคล็ดลับในการปรับเปล่ียนจิตใจของคนเรา.. ไปในทิศทางที่ดีงาม.. เพราะจิตใจเรียนรู.. ทุก ๆ อารมณและความรูสึก..ทั้งสุขและทุกข.. เราพยายามที่จะลืมเรื่องทุกข.. เพียงเพราะคิดวา.. ไมอยากเจอความทุกข.. จึงมองไมเห็นแงดีของความทุกข.. ทําใหอารมณความรูสึกในขณะนั้น.. พยายามปฏิเสธ..โตตอบ..ความทุกขออกมาทันที.. ความสับสนวุนวายตาง ๆ จึงเกิดขึ้นในจิตใจ.. หากเราพยายามเติมความคิดใหม ๆ .. เปนการคิดดี..คิดแตส่ิงที่ดีงาม..มีประโยชน.. จิตใจของเราก็จะรับรูและสัมผัสได.. ถึงความรูสึกสุขสงบภายในไดเปนทันที.. เพราะความคิด.. คือ..พลังอันยิ่งใหญ.. ท่ีจะเปนนําชีวิตของเรา..ใหพบความสุข.. เพียงเพราะคิดอยางมีสติ..และพิจารณาความเปนของชีวิตอยางเขาใจ..

ครูปุม

โยคะสูตรวาดวย การปรุงแตงของจิต ๕ ประการ (ตอนจบ) และการบรรลุถึงการดับการปรุงแตงของจิต วีระพงษ ไกรวิทย และจิรวรรณ ตั้งจิตเมธ ี

แปลและเรียบเรียง

การปรุงแตงของจิตขอสุดทายหรือขอท่ี ๕ ปตัญชลีกลาวไวในบทที่ ๑ ประโยคที่ ๑๑ วา อนุภูตวิษยาสัมประโมษะห

สมฤติห หมายถึง การจําเหตุการณหรือประสบการณเกาๆ ที่เกิดขึ้นได โดยที่เหตุการณนั้นๆ ไมไดเลือนหายไปทั้งหมด คําวา “อสัมประโมษะห” มีรากศัพทมาจากคํากริยาวา “มัษ” แปลวา ขโมยไป หรือแยงเอาไป จากรากศัพทนี้กลายมาเปนคํานาม “โมษะ” คือ การขโมย หรือการแยงเอาไป สวนคําอุปสรรคทั้งสามคําที่อยูหนาคํานามนี้ไดแก อะคือไม สัมคือโดยทั้งหมด ประคือโดยตลอด เมื่อนํามารวมกันทั้งหมดเปน อสัมประโมษะห จะหมายถึง ไมไดถูกแยงไปหรือเลือนหายไปโดยทั้งหมดและโดยตลอด ประเด็นก็คือวา จิตของคนเรานั้นมีแนวโนมที่จะจดจําเหตุการณตางๆ ที่ไดประสบมาเปนระยะเวลายาวนานชวงหน่ึง แต

0904 11

Page 12: Yoga Saratta -Apr 2552 (Vol.0904)

0904 12

เวลาก็คือผูกลืนกินที่พยายามจะแยงเอาความทรงจําของจิตนั้นไป แมกระนั้นก็ตามเวลาหรือผูกลืนกินนี้ก็ไมมีพลังอํานาจพอที่จะลบเลือนความทรงจําของจิตตอเหตุการณหรือประสบการณเกาๆ ไดโดยทั้งหมดและโดยตลอด นั่นก็คือเหตุการณ

เหลานั้นมิไดเลือนหายไปอยางส้ินเชิงแตยังคงหลงเหลืออยูในจิตอยางนอยที่สุดก็บางสวน ดังนั้น สมฤติ1 ในประโยคนี้จึง

หมายถึง ความทรงจําเกี่ยวกับประสบการณในอดีตที่ยังคงมีอยูแมเพียงบางสวนซึ่งอาจจะไมไดตรงกันกับประสบการณเดิมทั้งหมด ตามประสบการณของคนโดยทั่วไปแลวนับเปนเรื่องยากมากๆ ที่จิตจะจดจําเหตุการณตางๆ ในรายละเอียดทั้งหมดไดเหมือนกับเหตุการณจริงทุกประการ

สรุปอีกครั้งหนึ่งวาการปรุงแตงของจิตทั้ง ๕ ประการไดแก ๑) ความรูที่ถูกตอง ๒) ความรูที่ไมถูกตอง ๓) จนิตนาการ ๔) การหลับโดยไมฝน และ ๕) การจํา ภายหลังจากที่ทําความเขาใจการปรุงแตงของจิตทั้ง ๕ ประการมาแลว ปตัญชลีไดแนะนําในประโยคถัดไปคือประโยคที่ ๑๒ ที่กลาวถึงเรื่องการดับการปรุงแตงของจิตอันเปนเปาหมายของโยคะวา “อภยาสไวราคยาภยาม ตันนิโรธะห” หมายถึง การบรรลุถึงการดับการปรุงแตงของจิตทําไดดวย ๒ วิธีคือ การฝกปฏิบัติ และการถอดถอนหรือละวาง เราลองมาดูคําอธิบายในเรื่องนี้จากประโยคถัดๆ ไปซึ่งเกี่ยวของกัน เร่ิมจากประโยคที่ ๑๓ ที่กลาวไววา “ตตระ สถิเตา ยตโน’ภยาสะห” หมายถึง อภยาสะหรือการฝกปฏิบัติเปนความพยายามที่จะเขาถึงความนิ่งในสภาวะหนึ่ง ในจํานวน ๒ วิธีคืออภยาสะและไวราคยะนั้นอภยาสะไดถูกอธิบายไวในประโยคนี้ ความเพียรที่จะฝกฝนปฏิบัติซ้ําแลวซ้ําเลาในสภาวะหนึ่งเพ่ือใหเกิดหรือเขาถึงสภาวะที่มีเสถียรภาพนี้คือความหมายของอภยาสะ ดังนั้นมันจึงเปนการฝกปฏิบัติซ้ําๆ ในเทคนิคหรือขั้นตอนของโยคะชุดหนึ่ง ซึ่งเทคนิคหรือขั้นตอนเหลานี้ไมไดถูกระบุอยางชัดเจนในที่นี้ จึงเปนไปไดวาขอความในประโยคนี้จะสามารถนําไปประยุกตใชกับเทคนิคหรือขั้นตอนของโยคะไดทั้งหมด ซึ่งคอนขางเปนที่แนชัดวาเทคนิคหรือขั้นตอนของโยคะเหลานั้นก็คือมรรค ๘ ของโยคะซึ่งเปนองคประกอบของระบบการฝกปฏิบัติโยคะทั้ง ๘ ประการที่ปตัญชลีไดแนะนาํไวในบทที่ ๒ ประโยคที่ ๒๙ ซึ่งผูแปลจะไดกลาวถึงในโอกาสตอๆ ไป อรรถกถาจารยบางทาน เชน ทานโกลหัตการ ไดกลาวถึงการฝกปฏิบัติเทคนิคเฉพาะบางอยางวาเปนอภยาสะ ซึ่งดูเหมือนวาบอยครั้งที่ปตัญชลีไมไดพูดถึงเทคนิคเหลานี้อยางชัดเจนวาเปนอภยาสะ ดังนั้นมันจึงยังคงเปนคําถามอยูวาการตีความของอรรถกถาจารยเหลานั้นเปนส่ิงที่สมเหตุสมผลตามมุมมองของปตัญชลีหรือไม โยคะสูตรบทที่ ๑ ประโยคที่ ๑๔ ยังกลาวตอไปวา “สะ ตุ ทีรฆกาลไนรันตรยสัตการาเสวิโต ทฤฒภูมิห” หมายถึง การฝกปฏิบัติเหลานั้นจะหยั่งรากไดอยางมั่นคงก็ตอเมื่ออาศัยเง่ือนไข ๓ อยางคือ ๑) การทําตอเนื่องเปนระยะเวลายาวนาน ๒) การทําเปนประจําสม่ําเสมอ และ ๓) การมีทัศนคติหรือจิตใจท่ีเปดวางและพึงพอใจ เรามาพิจารณาเงื่อนไขแรก คําวา “ทีรฆัตวะ” คือ ความยาว “กาละ” คือ ชวงเวลา ซึ่งชวงเวลาที่ยาวนานในการฝกปฏิบัตินี้ไมไดถูกระบุไวเปนหนวยวัดที่แนชัดแตอยางใด แตความยาวนานนี้อาจจะมีระยะเวลาเปนปๆ หรือแมแตนานตลอดชีวิต เพราะวาการบรรลุถึงส่ิงสูงสุดหรือความสมบูรณในโยคะไมใชเปนเรื่องที่งาย และอันที่จริงแลวตามแนวคิดของชาวอินเดียมีความเชื่อกันวาเรื่องราวตางๆ ไมไดถูกจํากัดอยูเพียงในชวีิตนี้เทานั้น แตยังเกี่ยวของกับชีวิตในอดีตชาติที่ผานๆ มาที่อุทิศใหกับการฝกฝนเพื่อบรรลุเปาหมายสูงสุดของโยคะจนเกิดความสําเร็จกาวหนาอีกเปนจํานวนมาก กลาวอีกนัยหนึ่งก็คือความสําเร็จในการฝกโยคะในชวงชีวิตนี้ยอมขึ้นอยูกับความกาวหนาในการฝกฝนโยคะของตัวเราในชีวิต(ชาติ)กอนๆ ที่ผานมาดวย โดยสรุปคําวา “ทีรฆกาละ” ที่ปตัญชลีใชในที่นี้ก็เพ่ือชี้ใหเห็นถึงความจําเปนของความอดทนอยางตั้งใจมั่นในการฝกปฏิบัติโยคะนั่นเอง หากผูปฏิบัติคาดหวังที่จะบรรลุถึงเปาหมายสูงสุดอยางรีบเรงในระยะเวลาอันส้ันมันจะนําไปสูความทอแทส้ินหวัง ซึ่งเปนอันตรายตอความกาวหนาในการปฏิบัติอยางมาก ความผิดหวังจากการที่ไมสามารถเขาถึงสภาวะใดสภาวะหนึ่งที่ตองการนี้หากมีมากอาจจะทําใหผูปฏิบัติลมเลิกความพยายามในการฝกฝนอยางสิ้นเชิง ดังนั้นเพ่ือท่ีจะหลีกเล่ียงปญหานี้ผูฝกปฏิบัติควรเตรียมจิตใจของตนเองใหพรอมที่จะรับการฝกฝนตอเนื่องอยางไมมีที่ส้ินสุดจนกระทั่งสามารถบรรลุถึงสภาวะที่ตองการได ถาในชวงเริ่มตนของการฝกปฏิบัติโยคะเรามีความเขาใจในเรื่องเวลาที่ถูกตองและมีความตั้งใจอันแนวแนที่จะบรรลุถึงเปาหมายของโยคะเชนนี้แลว ไมวาจะตองใชเวลาในการฝกปฏิบัตินานเทาใดก็ตามความหมดหวังและการลมเลิกความพยายามในการฝกยอมจะไมเกิดขึ้นเปนแน!!!

1

การจาํ (สมฤติ) หมายถึง การนึกยอนถึงประสบการณเกาๆ ท่ีผานมาแลวไดโดยประสบการณน้ันๆ ยังคงเปนภาพพิมพใจที่จิตสามารถนึกยอนทบทวนไปถึงเหตุการณท่ีเคยเกิดข้ึนนั้นได โดยท่ีเหตุการณน้ันๆ ยังไมเลือนหายไปจากความทรงจํา การจําเหตุการณหรือประสบการณเกาๆ ไดก็จัดเปนพฤติภาพ(หรอืการปรุงแตง) อยางหนึ่งของจิต (สุนทร ณ รังษี)

Page 13: Yoga Saratta -Apr 2552 (Vol.0904)

0904 13

เง่ือนไขตอไปคือการฝกเปนประจําสม่ําเสมอ เปนเรื่องที่ชัดเจนวาคงไมมีผูฝกปฏิบัติคนใดที่จะสามารถฝกไดอยางตอเนื่องตลอด ๒๔ ชั่วโมงโดยไมหยุดพักเพ่ือทําภารกิจสวนตัวที่จําเปนบาง (ถึงผูฝกคนนั้นจะเปนคนฉลาดหลักแหลมและจริงใจตอการฝกเพียงใดก็ตาม) ดังนั้นความหมายในเงื่อนไขนี้นาจะเปนวาผูฝกปฏิบัติควรจะฝกสม่ําเสมอทุกๆ วันจะเปนเวลาใดก็ตามขึ้นอยูกับประสบการณสวนตัวของเขาหรือขึ้นอยูกบัคําแนะนําของครูผูสอน มันเปนส่ิงที่จําเปนเพ่ือใหเกิดความกาวหนาในทิศทางที่นาพึงพอใจ จึงไมควรจะมีการเวนวางจากการฝกปฏิบัติแมเพียงวันเดียว แมวาการกระทําเชนนี้จะเปนเรื่องที่ยากมากสําหรับการดําเนินชีวิตตามปกติก็ตาม ดังนั้นจึงเปนเรื่องที่ควรทําความเขาใจกันวา เราตองพยายามหาทางฝกปฏิบัติอยางตอเนื่องและสม่ําเสมอทุกๆ วันโดยมีชวงที่ขาดการฝกนอยที่สุดเทาที่จะเปนไปได อยางไรก็ตามอาจกลาวไดอยางคอนขางชัดเจนวา ยิ่งผูฝกมีความจริงใจและเขาใจเรื่องนี้มากเพียงใด โอกาสที่จะหยุดฝกก็จะย่ิงนอยลงเพียงนั้น! คําวา “ไนรันตรยะ” ที่เพ่ิงไดอธิบายมาขางตนนั้นหมายถึงเพียงแคความเปนประจําสม่ําเสมอเทานั้น อยางไรก็ตามผูฝกปฏิบัติโยคะทุกคนตางก็รูจากประสบการณของตนเองกันวา ความตรงตอเวลาก็เปนส่ิงสําคัญดวยเชนกัน ผูฝกปฏิบัติจะพบวาการฝกมรรคของโยคะใดใดก็ตามหากฝกตามเวลาที่เขาเคยทําจนเปนนิสัยตามปกติแลวเขาก็จะฝกไดอยางงาย ราบรื่น และสะดวกสบาย หรือในอีกแงหนึ่งการฝกอยางเดียวกันนั้นจะกลายเปนเรื่องที่คอนขางยากและไมสะดวกราบรื่นถาผูปฏิบัติไปเลือกฝกในเวลาอ่ืนที่ไมใชเวลาที่เคยฝกตามปกติ ดังนั้นแมในประโยคนี้จะไมไดกลาวถึงเรื่องการตรงตอเวลาไวอยางชัดเจนแตก็ถือไดวาการปฏิบัติตรงตามเวลาเชนเคยนั้นเปนเง่ือนไขที่สําคัญที่ผูฝกปฏิบัติควรพิจารณาดวย ในแงมุมนี้คําวา “ไนรันตรยะ” จึงควรไดรับการตีความวา “ดวยการฝกที่สม่ําเสมอและตรงตอเวลา” กระนั้นก็ตามการปฏิบัติที่ตรงตอเวลาไมควรจะ “ตึงเกินไป” หรือเปนการตรงตอเวลาแบบนาทีตอนาทีเลยทีเดียว เน่ืองจากความตึงหรือความไมยืดหยุนมากๆ เชนนั้นบอยครั้งที่สรางความตึงเครียดใหเกิดขึ้นไดหากผูฝกไมสามารถปฏิบัติตรงตามเวลาที่กําหนดนั้นไดซึ่งอาจจะเปนเพราะเหตุผลบางอยางที่ไมสามารถหลีกเล่ียงได เราจึงไมควรจะกลายเปนทาสของเวลา(นาฬิกา) โดยทั่วไปแลวการรักษาเวลาเดิมของการฝกปฏิบัติจึงเปนส่ิงที่พึงกระทํา ในความพยายามใดใดก็ตามที่จะบรรลุถึงความสําเร็จของบางส่ิงบางอยางที่ปรารถนานั้น ส่ิงจําเปนอยางหนึ่งที่ตองมีก็

คือ ทัศนคติหรือจิตใจท่ีเปดวาง2และพึงพอใจ นี่คือเง่ือนไขสุดทายที่ปตัญชลีไดแนะนําไวในประโยคนี้ ถาขาดซึ่งเง่ือนไขขอนี้

แลวก็อาจจะนําไปสูการขาดความตั้งใจมั่นและไมสามารถบรรลุถึงเปาหมายได หากการปฏิบัติไมไดทําดวยจิตใจท่ีเปดวางและพึงพอใจการปฏิบัตินี้ก็จะกลายเปนเพียงความพยายามธรรมดาๆ ของคนทั่วไปเทานั้น นี่คือเหตุผลที่วาทําไมทัศนคติหรือจิตใจของผูฝกเชนนี้จึงเปนส่ิงสําคัญมากตอความสําเร็จในการกระทําทุกๆ อยาง และย่ิงเปนจรงิมากยิ่งขึ้นในการฝกปฏิบัติโยคะ

โดยความจริงแลวเง่ือนไขทั้ง ๓ ขอเพ่ือนําไปสูความสําเร็จที่กลาวมาในประโยคนี้ ไมวาจะเปนความตอเนื่องเปนเวลานาน ความสม่ําเสมอและตรงเวลา และความมีจิตใจที่เปดวางและพึงพอใจ ลวนเปนส่ิงจําเปนสําหรับการฝกฝนตนเองใหเปนผูเชี่ยวชาญในศาสตรแขนงอื่นๆ ดวย และแนนอนส่ิงเหลานี้ยอมเปนปจจัยที่สําคัญมากๆ ตอการบรรลุถึงความสําเร็จในการฝกโยคะ เอกสารอางอิง : ๑) สุ

นทร ณ รังษี, (๒๕๓๐). ปรัชญาอินเดีย : ประวัติและลัทธิ. (พิมพครั้งที่ ๑). กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. ๒) สัตยานันทปุรี, สวามี, (๒๕๑๑). ปรัชญาฝายโยคะ. พระนคร : อาศรมวัฒนธรรม ไทย-ภารต. ๓) Karambelkar, P. V., (1986). PATANJALA YOGA SUTRAS Sanskrta Sutras with Transliteration, Translation & Commentary. Lonavla : Kaivalyadhama.

2

ทัศนคติหรอืจิตใจที่เปดวาง ในที่น้ีขออธิบายแยกเปน ๒ คํา คือ “เปด” หมายถึง ผูฝกควรมีจิตใจที่เปดกวางพรอมที่จะรับรูหรือเรียนรูส่ิงใหมๆ หรอืประสบการณใหมๆ ท่ีไมเคยรูมากอน รวมทั้งเรียนรูส่ิงที่อาจขัดแยงกับความคิดความเชื่อเดิมๆ ของตนเอง สวนคําวา “วาง” หมายถึง ผูฝกควรทําจิตใจใหวาง ปลอยวางจากความยึดมั่นในความคิดและความเคยชินตางๆ ของตนเองดวย (ผูแปล)

Page 14: Yoga Saratta -Apr 2552 (Vol.0904)

โยคะสารัตถะ

วิถีชีวิตเพ่ือสุขภาวะ เลขท่ีสมาชิก............................

ชื่อ – สกุล ผูสมัคร .................................................................................................................................................................. โทรศัพท.............................................................โทรศัพทมือถือ..................... ....................................................................... อีเมล ...................................................................................................................................................................................... ที่อยูที่จะสงจุลสาร ชื่อจาหนา (ถาไมตรงกับขางตน) ............................................................................................................................................. ชื่อองคกร (ถามี)..................................................................................................................................................................... บานเลขท่ี / ชื่ออาคาร ชั้น ....................................................................................................................................................... ตรอก / ซอย ........................................................................................................................................................................... ถนน....................................................................................................................................................................................... ตําบล / แขวง ......................................................................................................................................................................... อําเภอ / เขต........................................................................................................................................................................... จังหวัด ................................................................................................................................................................................... รหัสไปรษณีย ......................................................................................................................................................................... คาใชจายในการจัดสง 12 ฉบับ 200 บาท เร่ิมต้ังแตเดือน .................... ถึง……………………………. สถาบันฯ มุงที่จะเผยแพร สาระใหถึงผูสนใจไดมากที่สุด จึงเพ่ิมชองทางในการรับ / อาน จดหมายขาวดังนี้ 1 สงใหทางอีเมล (โปรดระบุที่อยูอีเมลเพ่ือการจัดสง). .............................................................................................................. 2 อานจากเวบไซท www.thaiyogainstitute.com ซึ่งจะโพสทขึ้นเวบพรอมๆ กับการสงทางไปรษณีย ผูที่รับจดหมายขาวทางอีเมล หรือ อานจดหมายขาวทางเวบไซท สามารถบริจาคเงินสนับสนุนคาใชจายในการจัดทําจดหมายขาวไดเชนกัน ขอมูลสวนบุคคล เพศ ( ) ชาย ( ) หญิง อายุ ( ) ต่ํากวา 20 ( ) 21-30 ( ) 31-40 ( ) 41-50 ( ) มากกวา 50 การศึกษา ( ) ต่ํากวาปริญญาตรี ( ) ปริญญาตรี ( ) สูงกวาปริญญาตรี อาชีพ ( ) แพทย พยาบาล ( ) ครู อาจารย ( ) ครูโยคะ ( ) พนักงานบริษัทเอกชน

( ) เจาของกิจการ ( ) ขาราชการ ( ) แมบาน นักศึกษา ( ) อื่นๆ ระบุ ........... รายไดตอเดือน ( ) ต่ํากวา 10,000 ( ) 10,101-20,000 ( ) 20,201-30,000

( ) 30,001-40,000 ( ) 40,401-50,000 ( ) มากกวา 50,001 การชําระเงิน โปรดโอนเงินเขาบัญชีออมทรัพย นายกวี คงภักดีพงษ ธนาคารไทยพาณิชย สาขาเตาปูน เลขบัญชี 141-2- 13988-1 และชวยสงใบสมัครพรอมแนบใบโอนเงิน ไปที่สํานักงาน หรือแฟกซมาที่ โทรสาร 02 732 2811 หรืออีเมลใบสมัครและหลักฐานการโอนเงินไปท่ี [email protected]

0904 14