six plus building block สาขาสุขภาพช่องปาก 2014

23
1 การประมเงปการ การดแผนฒนาระบบบการขภาพ Six Building Blocks Plus

Upload: tang-thowr

Post on 29-May-2015

1.636 views

Category:

Healthcare


4 download

DESCRIPTION

เอกสารกระประชุม power point conference Six Plus Building Block dental service plan on 18 April 2014 วันที่ ๑๘ เมษายน ๒๕๕๗ ห้องประชุมชยนาทนเรนทร ชั้น ๒ อาคาร ๑ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสข ภาพรวม Six Plus Building Block สาขาสุขภาพช่องปาก

TRANSCRIPT

Page 1: Six Plus Building Block สาขาสุขภาพช่องปาก 2014

1

การประชุมเชิงปฏิบัติการ การจัดทำแผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ

Six Building Blocks Plus

Core_I7
Sticky Note
credit:ชมรมทันตแพทย์สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดhttp://www.dentssj.net/?p=667
Core_I7
Sticky Note
เอกสารกระประชุม วันที่ 18 เมษายน 2557 ห้องประชุมชยนาทนเรนทร ชั้น ๒ อาคาร ๑ สำนกังานปลัดกระทรวงสาธารณสข
Page 2: Six Plus Building Block สาขาสุขภาพช่องปาก 2014

การประชุมคณะกรรมการ กำกับทิศทางการพัฒนาระบบบริการ

2

ครั้งที่ 2 วันที่ 18 เมษายน 2557

ห้องประชุมชัยนาทนเรนทร ชั้น 2 อาคาร 1 สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข

Page 3: Six Plus Building Block สาขาสุขภาพช่องปาก 2014

EC

1

เขตบริการสุขภาพ

จัดระบบบริการในระดับเขตบริการสุขภาพ

Self Care

2

3

Referral Cascade Management System

Self Contained

Seamless Service Network Management

RS

RS

“เขตบริการสุขภาพ” : จัดบริการสำหรับประชาชน 4-5 ล้านคน โดยเน้นบริการตามService Plan 10

สาขา พัฒนาปฐมภูมิสมบูรณ์แบบ ครอบคลุมพัฒนาทุติยภูมิที่สำคัญจำเป็นให้เบ็ดเสร็จในเขตบริการสุขภาพทุกระดับด้วย

คุณภาพ มาตรฐาน จัดปัจจัยสนับสนุน คน เงิน ของ

ที่เพียงพอพัฒนา ระบบบริหารจัดการ

ภายใต้ คกก.เขตบริการสุขภาพ

Page 4: Six Plus Building Block สาขาสุขภาพช่องปาก 2014

ตติยภูมิ

ทุติยภูมิ

ปฐมภูมิ

SERVICE PLAN และ DHS

“ประชาชนเข้าถึงบริการที่ได้มาตรฐาน โดยเครือข่ายบริการเชื่อมโยงไร้รอยต่อ สามารถบริการเบ็ดเสร็จภายในเครือข่ายบริการประสานชุมชน Self Care”

VISION

หัวใจ

และห

ลอดเลือ

มะเร็ง

อุบัติเหตุ

ทารก

แรกเกิด

จิตเวช

ตา ไต 5สาข

าหลัก

ทันตก

รรม

NC

D

การบริหารร่วมและบริการร่วมโดยการบริหารจัดการของเขตบริการสุขภาพ

DHS : UCARE ; Unity / Community / Appreciation / Resource / Essential

Page 5: Six Plus Building Block สาขาสุขภาพช่องปาก 2014

คณะกรรมการกำกับทิศทางนโยบายฯ ระดับเขต (CSO เขต + CSO จังหวัด + ประธาน SP 10 สาขา ระดับเขต)

คณะกรรมการกำกับทิศทางนโยบายการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (รองปลัดฯวชิระ + CSO ทุกเขต + ประธาน SP 10 สาขา)

Board of CEO ระดับกระทรวง

Service Provider Board ระดับเขต

คณะกรรมการประสานงาน ระดับจังหวัด (คปสจ.)หรือ กวป.

กลไกการกำกับทิศทางนโยบายและการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ

DHS : คณะกรรมการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ ระดับอำเภอ (รพ.สต. อสม. อปท. วิสาหกิจชุมชน ภาคประชาชน บ้านวัดโรงเรียน)

คณะกรรมการประสานงานระดับอำเภอ(คปสอ.)

มะเร็ง

อุบัติเหตุ

ทารก

แรกเกิด

จิตเวช ตา

ไต

5สาข

าหลัก

ทันตก

รรม NC

D

DHS : UCARE • UNITY • COMMUNITY • APPRECIATION • RESOURCE • ESSENTIAL

หัวใจ

และห

ลอดเลือ

PP 5 กลุ่มวัย / ปฐมภูมิ / องค์รวม

SPB จังหวัดคณะกรรมการกำกับทิศทางนโยบายฯ ระดับจังหวัด (CSO ทุกจังหวัด + ประธาน SP 10 สาขา ระดับจังหวัด)

Page 6: Six Plus Building Block สาขาสุขภาพช่องปาก 2014

กลไกการขับเคลื่อนระบบบริการสุขภาพ

6

Page 7: Six Plus Building Block สาขาสุขภาพช่องปาก 2014

การทาํงานของเขตสขุภาพใน 3 ปี

คณะกรรมการเขตสขุภาพ

Regulator + System Supporter

Provider

กลไกสนับสนุนการบรหิารเขตสขุภาพ

สาํนกังานเขตสขุภาพ

บทบาท Regulator ในพื:นที;

ศนูยว์ชิาการ

สถานพยาบาลสงักดั กสธ.

รพศ.

รพท.

รพช.

รพ.ของกรมวชิาการ

รพ.สต.

สถาน พยาบาลรฐันอก กสธ.

สถาน พยาบาลเอกชน

อปท.

•ระดบัจงัหวดั(สสจ.) •ระดบัอาํเภอ (สสอ.)

ผตร/สธน

CEO CSO/CFO/CHRO

M & E

Page 8: Six Plus Building Block สาขาสุขภาพช่องปาก 2014

เขตบริการสุขภาพ

• ให้เขตบริการสุขภาพเป็นนิติบุคคล ตามพรบ.กำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542 หรือ พรบ.องค์การมหาชน พ.ศ.2542 ภายใน 3 ปี จัดทำแผนและประพิจารณ์ ภายใน 2 เดือน

• วางแผนบทบาท regulator ให้ชัดเจนในทุกระดับ พร้อมแผนการเปลี่ยนแปลง

8

Page 9: Six Plus Building Block สาขาสุขภาพช่องปาก 2014

คณะกรรมการกำกับทิศทางนโยบายฯ ระดับเขต (CSO เขต + CSO จังหวัด + ประธาน SP 10 สาขา ระดับเขต)

คณะกรรมการกำกับทิศทางนโยบายการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (รองปลัดฯวชิระ + CSO ทุกเขต + ประธาน SP 10 สาขา)

Board of CEO ระดับกระทรวง

Service Provider Board ระดับเขต

คณะกรรมการประสานงาน ระดับจังหวัด (คปสจ.)หรือ กวป.

DHS : คณะกรรมการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ ระดับอำเภอ (รพ.สต. อสม. อปท. วิสาหกิจชุมชน ภาคประชาชน บ้านวัดโรงเรียน)

คณะกรรมการประสานงานระดับอำเภอ(คปสอ.)

มะเร็ง

อุบัติเหตุ

ทารก

แรกเกิด

จิตเวช

ตา ไต

5สาข

าหลัก

ทันตก

รรม

NC

D

กลไกการกำกับทิศทางนโยบายและการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ

DHS : UCARE • UNITY • COMMUNITY • APPRECIATION • RESOURCE • ESSENTIAL

หัวใจ

และห

ลอดเลือ

PP 5 กลุ่มวัย / ปฐมภูมิ / องค์รวม

คณะกรรมการกำกับทิศทางนโยบายฯ ระดับจังหวัด (CSO ทุกจังหวัด + ประธาน SP 10 สาขา ระดับจังหวัด)

Page 10: Six Plus Building Block สาขาสุขภาพช่องปาก 2014

กลไกระดับจังหวัด

10

• CSO จังหวัด : สสจ. หรือ ผอ. หรือ ผชชว. หรือ รองแพทย์ เป็นประธานคณะกรรมการพัฒนาระบบบริการในจังหวัด

• หน่วยงานใน สสจ. ที่รับผิดชอบระบบบริการในจังหวัด : ฝ่ายประกัน หรือ ฝ่ายส่งเสริม หรือ ฝ่ายพัฒนาคุณภาพ เพื่อเป็นเลขานุการของคณะกรรมการพัฒนาระบบบริการสุขภาพในจังหวัด

• มีวาระประจำทุกเดือนในที่ประชุม คปสจ. หรือ กวป. เพื่อนำเสนอกำกับติดตามและพัฒนาระบบบริการในจังหวัด

• ประเด็นที่ต้องพัฒนา : Quality of Care (SP), Quality of Service (ลดระยะเวลารอคอย, การเข้าถึงบริการ, การลดภาวะแทรกซ้อนและอัตราตาย) : เครื่องมือ เช่น CMI, RW<0.5, Node management, IP refer, Refer in/out เป็นต้น

เขตบริการสุขภาพของพวกเรา เพื่อ ประชาชน สุขภาพดี

Page 11: Six Plus Building Block สาขาสุขภาพช่องปาก 2014

COO : Fulltime

Functional • ข้าราชการส่วนกลาง (สบรส.) • ปฏิบัติงานในส่วนภูมิภาค • ระดับเชี่ยวชาญ • อยู่ในอำนาจปลัดกระทรวง • ดำเนินการได้ทันที

Structure • COO : อำนวยการสูง • C อื่นๆ : เชี่ยวชาญ • ต้องแก้ไขกฎกระทรวง • ขออนุมัติตำแหน่งจาก กพ.

Page 12: Six Plus Building Block สาขาสุขภาพช่องปาก 2014

COO Chief Operational Officer

เป็นเลขานุการคณะกรรมการเขตบริการสุขภาพ มีบทบาท ดังนี้ • ทำหน้าที่ร่วมกับทีมงานในการรวบรวมข้อมูล เพื่อเสนอประธาน และคณะกรรมการ เพื่อใช้ในการตัดสินใจและวางแผนยุทธศาสตร์ • แปลงนโยบายของปลัด และประธาน (CEO) สู่การวางแผนการปฏิบัติ • ทำหน้าที่เป็นหัวหน้าสำนักงานเขตบริการสุขภาพ ในการกำกับดูแลการปฏิบัติงานให้เป็นไปตามเป้าหมาย และตัวชี้วัดของกระทรวงสาธารณสุข เป็นหัวหน้าทีม ในการวางแผนการดำเนินงานด้านต่าง ๆ ดังนี้ • ร่วมกับ CIO กำหนดนโยบาย วัตถุประสงค์ และวางมาตรฐานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อการจัดบริการ และด้านการบริหารจัดการ • ร่วมกับ CHRO กำหนดนโยบายการสรรหาและคัดเลือกบุคลากร รวมถึงการกำหนดหลักเกณฑ์การจ่ายค่าตอบแทน การแต่งตั้งโยกย้าย และการเกลี่ยบุคลากรอย่างเหมาะสมและเป็นธรรม สอดคล้องกับแผน • ร่วมกับ CSO ในการวิเคราะห์ปัญหาสุขภาพ และกำหนดนโยบายการพัฒนาระบบบริการสุขภาพในเขต การส่งต่อที่มีศักยภาพ อย่างเหมาะสม • ร่วมกับ CFO ในการวางนโยบายด้านการเงินการคลัง วางแผนการลงทุนด้านสุขภาพที่เหมาะสม ไม่ซ้ำซ้อน ร่วมบริหารความเสี่ยงด้านการเงินการคลัง เพื่อให้หน่วยบริการไม่ประสบวิกฤติด้านการเงิน

Page 13: Six Plus Building Block สาขาสุขภาพช่องปาก 2014

องค์ประกอบของคณะกรรมการ โดยเฉพาะในระดับอำเภอ เพิ่มการมีส่วนร่วมของ รพช.

โดยมีตัวแทนรพช. ในทุกจังหวัด

คณะกรรมการบริหาร เขตบริการสุขภาพ

Page 14: Six Plus Building Block สาขาสุขภาพช่องปาก 2014

14

แนวทางการพัฒนาระบบบริการ

Page 15: Six Plus Building Block สาขาสุขภาพช่องปาก 2014

แนวทางการพัฒนาระบบบริการ

15

การมีส่วนร่วมของชุมชน

Block 1 บริการ

2 คน 3 ข้อมูล

4 เทคโนโลยี

5 เงิน 6 ธรรมาภิบาล

6+ชุมชน

A

S

M1

M2

F1

F2

F3

รพ.สต.

1

2

3

4

5

6

6+

Page 16: Six Plus Building Block สาขาสุขภาพช่องปาก 2014

16

Block 1 บริการ 2 คน 3 ข้อมูล 4 เทคโนโลยี drug

vaccine

5 เงิน 6 ธรรมาภิบาล

6+ชุมชน

A Invasive Procedure

วุฒิ/HRD data for Dov

Cath Lab งบประมาณ เงินบำรุง บริจาค

การเข้าถึง,ลดเหลื่อมล้ำ

การมีส่วนร่วมของชุมชน

S nonInvasive

M1 thrombolytic

M2 thrombolytic

F1 thrombolytic

F2 thrombolytic

F3 thrombolytic

รพ.สต. Primary Prevention

หัวใจ

Page 17: Six Plus Building Block สาขาสุขภาพช่องปาก 2014

17

Block 1 บริการ 2 คน 3 ข้อมูล 4 เทคโนโลยี

5 เงิน 6 ธรรมาภิบาล

6+ชุมชน

A

S

M1

M2

F1

F2

F3

รพ.สต.

อุบัติเหตุ

Page 18: Six Plus Building Block สาขาสุขภาพช่องปาก 2014

การเปลี่ยนผ่านระบบจัดการสุขภาพจากภาครัฐสู่ภาคประชาชน

Command & ControlInnovate & Create ภาครฐั ภาค

ประชาชน

เพื่อประสิทธิภา

เพื่อผลกระทบ(Impact)

ความพร้อมของทรัพยากร

Issue-based

Activity-based

Page 19: Six Plus Building Block สาขาสุขภาพช่องปาก 2014

19

หัวใจ NCD ไต ตา ทารกแรกเกิด

มะเร็ง อุบัติเหตุ

จิตเวข 5 สาขา ทันตกรรม

ข้อมูลที่ต้องการ 1

ข้อมูลที่ต้องการ 2

ข้อมูลที่ต้องการ 3

จัดกลุ่มข้อมูลที่จำเป็นทั้งระบบ

รพศ A : 3 ข้อมูล

Page 20: Six Plus Building Block สาขาสุขภาพช่องปาก 2014

20

หัวใจ NCD ไต ตา ทารกแรกเกิด

มะเร็ง อุบัติเหตุ

จิตเวข 5 สาขา ทันตกรรม

เครื่องมือหรือเทคโนโลยี่ที่ต้องการใช้

เครื่องมือหรือเทคโนโลยี่ที่ต้องการใช้

เครื่องมือหรือเทคโนโลยี่ที่ต้องการใช้

จัดกลุ่มและเรียงลำดับความสำคัญ ลดความซ้ำซ้อน

รพท S : 4 เทคโนโลยี

Page 21: Six Plus Building Block สาขาสุขภาพช่องปาก 2014

21

หัวใจ NCD ไต ตา ทารกแรกเกิด

มะเร็ง อุบัติเหตุ

จิตเวข 5 สาขา ทันตกรรม

ระบบบริการ 1

ระบบบริการ 2

ระบบบริการ 3

รวบกิจกรรมที่สำคัญของแต่ละ SP จัดกลุ่มให้ รพช. สามารถนำไปดำเนินการ เพื่อลดความซ้ำซ้อนในการทำงาน

รพช. : 1 บริการ

Page 22: Six Plus Building Block สาขาสุขภาพช่องปาก 2014

22

หัวใจ NCD ไต ตา ทารกแรกเกิด

มะเร็ง อุบัติเหตุ

จิตเวข 5 สาขา ทันตกรรม

กิจกรรมที่ 1

เลิกบุหรี่ อาหารหวาน มันเค็ม

คุม DM HT

ANC คัดกรองมะเร็ง

โค้งอันตรา

คัดกรองซึมเศร้า

ขนมกรุบกรอบ

กิจกรรมที่ 2

คุมDM HT

ออกกำลังกาย

คัดกรองต้อกระจ

ภาวะซีดในแม่

อาหารก่อ

มะเร็ง

สวมหมวกกันน๊อค

การเข้าถึง

การแปรงฟัน

กิจกรรมที่ 3

อาหารมัน

งดบุหรี่ ลดอาหารเค็ม

นมแม่ FR ปลดโซ่ตรวน

สรุปควบคุมอาหาร ปรับพฤติกรรม

การดูแลรักษา คัดกรอง

คู่มือสำหรับ รพ.สต.

รพ. สต.

Page 23: Six Plus Building Block สาขาสุขภาพช่องปาก 2014

แผนการดำเนินการ

• ประชุมเชิงปฏิบัติการ ให้แต่ละ SP รวมถึง CSO COO : ต้นเดือน 16 พ.ค. เพื่อดำเนินการตาม 6+ building block

• มิ.ย. : ทำแผนแผนตาม 6+ block ในแต่ละ tract • ก.ค. : คณะทำงานรวบรวมและดำเนินการจัดกลุ่ม ตามระดับ

โรงพยาบาล • ปลาย ก.ค. : จัดประชุมชี้แจง ถ่ายทอดแนวทางสู่การปฏิบัติ • ส.ค.-ก.ย. แต่ละเขตจัดทำแผนSP ตามระดับโรงพยาบาล • ต.ค. : นำไปดำเนินการต่อในปี 2558