เครื่องมือคุณภาพ 7 อย าง 7 qc tools

165
เครื่องมือคุณภาพ 7 อยาง 7 QC Tools 1

Upload: khangminh22

Post on 22-Jan-2023

3 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

เคร่ืองมือคุณภาพ 7 อยาง 7 QC Tools

1

คุณภาพ ?

• ความถูกตองตรงตามความตองการของผูใช (quality is fitness for use)

• การผลิตสินคาใหถูกตองตรงกับขอกําหนดหรือมาตรฐานของสินคาน้ันๆ

"คุณภาพคือ ลักษณะตางๆของสินคา หรือบริการ ที่ตรงตามความตองการของผู บร ิโภค ผู ร ับบร ิการ หร ือทําให ผ ู บร ิโภค และผูรับบริการมีความพอใจ"

2

3

อะไร คือสาเหตุของของเสีย (What Causes Defective)

อะไร คือสาเหตุของของเสีย (What Causes Defective)

4M • MATERIAL หรือวัสดุท่ีใช

• MACHINE หรือเครื่องจักรจักรกลที่ใชผลิต

• METHOD OF WORK หรือวิธีการการทํางาน

• MAN หรือความบกพรองที่เกิดจากการกระทําของบุคคลที่เก่ียวของ

4

เครื่องมือคุณภาพ 7 อยาง (7 QC Tools)

7 QC Tools กลุมของเครื ่องมือวิเคราะหขอมูลในรูปแบบที่

มองเห็นสภาพจริงและเขาใจงาย

5

จุดเดนของ 7 QC Tools

• ทุกคนสามารถเรียนรูและปฏิบัติไดงาย • ชวยในการวางแผนและกําหนดเปาหมายในการ

ปฏิบัติใหมีประสิทธิภาพ • ใชเปนเครื่องมือ เพ่ือรวบรวมขอมูล นําเสนอขอมูล

วิเคราะห และควบคุมปญหา

6

เครื่องมือคณุภาพ 7 ชนิด (แบบเดิม)

1. แผนตรวจสอบ (Check Sheet) 2. ผังพาเรโต (Pareto diagram) 3. กราฟ (Graph) 4. ผังเหตุและผล (Cause & Effect diagram) 5. ผังการกระจาย (Scatter diagram)

6. แผนภูมิควบคุม (Control chart) 7. ฮิสโตแกรม (Histogram)

0

20

40

60

80

100

120

140

160

180

200

D B F A C E G

0

10

20

30

40

50

60

70

80

90

100

0

50

100

0

10

20

30

ความถี�2.51 2.532.52 2.54 2.552.50

ปญหา, ผล

1 2 3 4

ไตรมาส

ยอดขายสินค้าชนิดที� 1

สินค้าชนิดที� 2

สินค้าชนิดที� 3

เครื�องกลไฮดรอลิกส์

ไฟฟ้าอื�น ๆ

ST-C-PD-004

1. แผนตรวจสอบ (CHECK SHEET)

แผนตรวจสอบ คือ แบบฟอรมที่มีการออกแบบชองวางตาง ๆ ไวเรียบรอย เพื่อจะใชในการบันทึกขอมูลไดงายและสะดวก ถูกตอง ไมยุงยาก ในการออกแบบฟอรมทุกครั้งตองมีวัตถุประสงคที่ชัดเจน

วัตถุประสงคของการออกแบบฟอรมในการเก็บขอมูล 1. เพื่อควบคุมและติดตาม (Monitoring) ดูผลการดําเนินการผลิต 2. เพื่อการตรวจเช็ค 3. เพื่อวิเคราะหหาสาเหตุของความไมสอดคลอง

แผนตรวจสอบ (Check Sheet)

• หลักการเกบ็ขอมลู (How to Collect Data)

• ความหมายของแผนตรวจสอบ • ประเภทของแผนตรวจสอบ (Type of Check Sheet)

หลักการเก็บขอมูล (How to Collect Data)

ตองมีวัตถุประสงคที่ชัดเจนกอน ◦ เพ่ือควบคุมและติดตาม (Monitoring) ดูผลการดําเนินการผลิต ◦ เพ่ือการตรวจเช็ค ◦ เพ่ือวิเคราะหหาสาเหตุของความไมสอดคลอง

อะไรคือวัตถุประสงคของคุณ ◦ หากวามีการกําหนดใหสุมตัวอยางสินคาจากปลายสายการผลิต

เพียง 1 ตัวอยางตอวัน ขอมูลที่ไดอาจไมมีประโยชนเลย เพราะไมอาจบอกไดวาชิ้นงานนั้นผลิตจากเครื่องจักรชุดใด ใครเปนคนผลิต จากวัตถุดิบล็อตใด และบกพรองจากข้ันตอนใด

ประเภทของแผนตรวจสอบ

1. แผนตรวจสอบการปฏิบัติงานประจําวัน

1.1 แผนตรวจสอบเพื่อใชดูการแจกแจงของขอมูลอยางงาย

1.2 แผนตรวจสอบเพื่อการตรวจสอบยืนยัน

2.แผนตรวจสอบการตรวจสอบคุณภาพ

2.1 แผนตรวจสอบสําหรับบันทึกของเสีย 2.2 แผนตรวจสอบแสดงสาเหตุของความบกพรอง 2.3 แผนตรวจสอบเพื่อใชแสดงตําแหนงจุดบกพรองหรือจุดเกิดเหตุ

แผนตรวจสอบ (Check Sheet)

แผนท่ีมีแบบฟอรมซึ่งไดรับการออกแบบชองวางตางๆ และพิมพมาเรียบรอย

ผูบันทึกสามารถลงบันทึกขอมูลตางๆ ลงในแตละชองวางไดอยางสะดวก ถูกตอง ไมยุงยากและตองเขียนนอยท่ีสุด

ผูท่ีอานขอมูลหลังการจดบันทึกแลวตองเขาใจไดงายนําไปใชไดทันที การออกแบบแผนตรวจสอบจึงตองมีเปาหมายอยางนอย 2 ประการคือ

1. เพื่อชวยใหการกรอกขอมูลสะดวกสบายท่ีสุด 2. เพื่อใหขอมูลท่ีจดบันทึกสามารถนําไปใชไดอยางงายดายท่ีสุด

ข้ันตอนการออกแบบแผนตรวจสอบ

1. ตองกําหนดวัตถุประสงค ตั้งชื่อ ของแผนตรวจสอบ 2. กําหนดปจจัย (4M) 3. ทดลองออกแบบ กําหนดสัญลักษณ 4. ทดลองนําไปใชเก็บขอมูล 5. ปรับปรุงแกไข ทดลองเก็บ 6. กําหนดการใชแผนตรวจสอบ (5W 1H) 7. นําขอมูลมาวิเคราะหและสรุป 8. แบบฟอรมขอมูลดิบ + แบบฟอรมสรุป

แผนตรวจสอบควรยึดหลักที่วา

“ยิ่งมีการเขียนมากเทาใดโอกาสผดิมมีากเทานัน้และยิ่งมีการคัดลอกขอมลูมากครั้งเทาใดโอกาส

ผิดเพี้ยนกจ็ะมมีากเทานัน้” ดังน้ันแผนตรวจสอบท่ีดีจึงทําไวใหเขียนนอยท่ีสุด อาจบันทึกเพียง

เครื่องหมายงายๆ ลงในชองวาง เทาน้ัน

ประเภทของแผนตรวจสอบ (Type of Check Sheet)

แผนตรวจสอบสําหรับบันทึกของเสีย

ประเภทของแผนตรวจสอบ (Type of Check Sheet)

แผนตรวจสอบเพื่อใชแสดงตําแหนงจุกบกพรองหรือจุดเกิดเหตุ

ประเภทของแผนตรวจสอบ (Type of Check Sheet)

แผนตรวจสอบแสดงสาเหตุของความบกพรอง

18

ตัวอยางแผนตรวจสอบ (Check Sheet)

ผังพาเรโต (Pareto diagram)

• ผังพาเรโตคอือะไร (What are Pareto diagram?)

• วิธีสรางพาเรโต (How to Make Pareto Diagram)

• ประโยชนของผงัพาเรโต • ประเภทของผงัพาเรโต

2.

แผนภูมิพาเรโต (PARETO DIAGRAMS)

เปนแผนภูมิท่ีใชแสดงใหเห็นถึงความสัมพันธระหวางสาเหตุของความบกพรองกับปริมาณความสูญเสียท่ีเกิดข้ึน

- จํานวนชิ้นงานเสีย - มูลคาความเสียหายจากของเสีย - ความถี่ของการเกิด

0

20

40

60

80

100

120

140

160

180

200

D B F A C E G

0

10

20

30

40

50

60

70

80

90

100

- ตามชนิดของความบกพรอง - ตําแหนงที่พบความบกพรอง - เครื่องจักรที่กอจุดบกพรอง

การวิเคราะหแบบพาเรโต

ป ค . ศ 1 8 9 7 น ั กเศรษฐศาสตรชื ่อ นายวิเฟรดโด พาเรโต ไดวิจัยเรื ่อง การกระจายของรายไดของประชากรที่ไมเทากัน

ซึ่งสรุปวา 80% รายไดของประเทศ มา

จากคนรวยเพ ียง 20% เท าน ั ้ น ตอมา ดร.จูรานนําเอาหลักนี้มาใชในการควบคุมคุณภาพ

นายวิเฟรดโด พาเรโต

20%

20%

80%

80%

เหตุ ผล

จํานวนสาเหตุนอยแตมีมูลคาความสูญเสียมาก จํานวนสาเหตุมากแตมีมูลคาความสูญเสียนอย

ซึ่งเรียกการวเิคราะหแบบนี้วา “การวิเคราะหแบบพาเรโต”

วิธีสรางพาเรโต(How to Make Pareto Diagram)

ข้ันท่ี 1 ตัดสินใจวาจะศึกษาปญหาอะไร และตองการเก็บขอมูลชนิดไหน

เลือกปญหา (แกน Y) ปญหาชนดิใด - จํานวนเสยี (ชิ้น) - ความถี่ของการเกดิ (ครั้ง) - มูลคา

ชนิดขอมลู (แกน X) การจาํแนกขอมูล - ลักษณะของเสยี - ตําแหนงของเสีย - 4M

ข้ันที่ 3 ออกแบบแผนบันทึกความบอยของขอมูลที่ตรวจสอบ (Data Tally Sheet)

ขั้นที่ 2 กําหนดวิธีการเก็บขอมูลและชวงเวลาที่จะทําการเก็บ

ควรใชแบบฟอรมการบันทึกขอมูลท่ีออกแบบเปนพิเศษเฉพาะแตละงานจะดีกวา

ข้ันที่ 4 ทําการตรวจสอบแลวเติมขอมูลลงในแผนบันทึกความบอย แลวคํานวณหายอดรวมแตละรายการ

ลักษณะของเสีย จํานวนชิ้น

รอยแตก 10

รอยข่วน 42

คราบสกปรก 6

รอยย่น 104

เป็นครีบ 4

รูเข็ม 20

อื่น 14

รวม 200

รายงานของเสียประจําวัน

ขั้นที่ 5 นําขอมูลมาสรุปจัดเรียงลําดับ โดยเรียงจากรายการที่ตรวจพบจํานวนจุดบกพรองมากที่สุดกอนแลวกรอกตามลําดับมาจากมากที่สุดไปนอยที่สุด ยกเวนรายการอ่ืนๆ ใหเอาไวทายสุดเสมอ

ลําดับจํานวนของเสีย จํานวน(ชิ�น)

1. รอยย่น 104

2. รอยข่วน 42

3. รูเข็ม 20

4. รอยแตก 10

5. คราบสกปรก 6

6. เป็นครีบ 4

7. อื�นๆ 14

รวมของเสีย 200

สะสม

104

146

166

176

182

186

200

% สะสม

52%

73%

83%

88%

91%

93%

100%

104 +42 166/200

ข้ันที่ 6 เขียนกรอบของแผนกราฟโดยมีแกนตั้ง 2 แกนและแกนนอน 1 แกน

• แกนตั้งซายมือ แบงสเกลเทาๆ กัน โดยใหสเกลสูงสุดคือ เทากับจํานวนจุดบกพรองท่ีตรวจพบ

• แกนตั้งขวามือ แบงสเกล 0-100 เปน % โดยเขียน 100% ตรงกับจํานวนจุดบกพรองสูงสุดในแกนซายมือ

• แกนนอน ใหแบงสเกลเทาๆ กัน จํานวนชองจะเทากับจํานวนชนิดของจุดบกพรองท่ีทําการแยกตรวจ และเพิ่มชองสุดทายเปนชองอื่นๆ ดวยอีก 1 ชองเสมอ

0

40

80

120

160

200

รอยย่น รอยข่วน รูเข็ม รอยแตก คราบสกปรก เป็นครีบ อื�นๆ

0

20

40

60

80

100

52 % 73 %

88 % 83 %

91 % 93 %

งานเสีย(ชิ้น)

ชนิดของเสีย

%

ขั้นท่ี 7 เขียนเสนกราฟพาเรโต

ประโยชนของผังพาเรโต

สามารถบงชี้ใหเห็นวาหัวขอใดเปนปญหามากที่สุด

สามารถเขาใจลําดับความสําคัญมากนอยของปญหาไดทันที

สามารถเขาใจวาแตละหัวขอมีอัตราสวนเปนเทาใดในสวนทั้งหมด

ใชกราฟแทงบงชี้ขนาดของปญหา ทําใหโนมนาวจิตใจไดดี

ไมตองใชการคํานวณที่ยุงยาก ก็สามารถจัดทําได

สามารถใชในเปรียบเทียบผลได

ใชสําหรับการตั้งเปาหมาย ทั้งตัวเลขและปญหา

ตัวอยางผงัพาเรโต (Pareto diagram)

กราฟ (Graphs)

แผนภาพท่ีแสดงถึงตัวเลขหรอืขอมูลทางสถิต ิ ท่ีใช เม่ือตองการนําเสนอขอมูล และวิเคราะหผลของขอมูลดังกลาวเพื่อทําใหงายและรวดเร็วตอการทําความเขาใจ

3.

ประโยชนของกราฟ 1. อธิบาย เชน จํานวนของเสีย ผลการผลิต ยอดขาย เปนตน 2. วิเคราะห เชน การวิเคราะหขอมูลในอดีต เทียบกับปจจุบัน 3. ควบคุม เชน ระดับการผลิต ยอดขาย อัตราของเสีย

น้ําหนัก อุณหภูมิ เปนตน 4. วางแผน เชน แผนการผลิต 5. ประกอบเครื่องมืออื่น เชน ผังควบคุม ฮีสโตแกรม

ชนิดของกราฟ

กราฟเรดาห

0

20

40

60

80

คุณภาพ

ต้

การส่งมอบผลิตภาพ

มปลอดภัย

เพื่อเปรียบเทียบความแตกตางทางปริมาณ

วัตถุประสงค ลักษณะ

กราฟแทง

1. ทุกแทงมีความกวางเทากัน 2. ความยาวของแตละแทงขึ้นกับ

จํานวนที่เปรียบเทียบ

กราฟเสน

กําหนดหัวขอทีว่ัดคาได แลวแสดงคาในแตละเรือ่ง จะชวยใหมองเห็นภาพรวม และเขาใจไดงายข้ึน

ดูการเปลี่ยนแปลงเม่ือ เวลา หรือสถานการณเปลี่ยน

ความสูง/ตํ่า ของเสนกราฟ ขึ้นกับปริมาณจํานวนที่เก็บขอมูลได

แสดงภาพรวมทั้งหมดของส่ิงที่สนใจศึกษา กับปริมาณที่เกิดขึ้นจริง

วัตถุประสงค ลักษณะ

กราฟวงกลม

แสดงสัดสวนของส่ิงที่ตางกัน

เปนภาพวงกลมแยกเปนสัดสวนตามปริมาณที่เกิดขึ้นในแตละเรื่อง ชวยใหเขาใจความสัมพันธของสัดสวนไดงายขึ้น

กราฟเข็มขัด

แสดงสัดสวนของส่ิงที่ตางกัน

เปนเสนเข็มขัด หรือคลายกราฟแทงแนวนอน แตแยกเปนสัดสวนตามปริมาณที่เกิดขึ้นในแตละเรื่อง ชวยใหเขาใจความสัมพันธของสัดสวนไดงายขึ้น

ชนิดของกราฟ

การสรางกราฟแทง

1. วาดแกนตั้ง และแกนนอน (เปนรูปตัว L) พรอมใสสเกลลงไป 2. ใสขอมูลลงไปในกราฟ 3. วาดแทงกราฟ 4. เปรียบเทียบขอมูลในแตละแทงกราฟนั้น

การอานและการใชกราฟแทง

เปนการเปรียบเทียบจํานวนของแตละเร่ืองในจุดหรือ ชวงเวลาใดเวลาหน่ึง แตไมสามารถแสดงการเปลี่ยนแปลงอยางตอเน่ืองตามชวงเวลาได

ตัวอยาง กราฟแทงเรื่องความพงึพอใจของลกูคา

00.5

11.5

22.5

33.5

4

กทม. สงขลา พัทยา เชียงใหม่

การสรางกราฟเสน 1. วาดแกนตั้ง และแกนนอน พรอมใสสเกลลงไป 2. ใสขอมูลลงไปในกราฟ 3. ลากเสนเชื่อมแตละจุด 4. เมื่อตองการดูการเปล่ียนแปลงตามระยะเวลาใชกราฟเสนดีที่สุด

การอานและการใชกราฟเสน

การเปลี่ยนแปลงของแตละจุดขอมูล แสดงถึงการเปลี่ยนแปลงตามชวงเวลา หรือเงื ่อนไขที ่เปลี ่ยนแปลงไป ดังนั ้นการใหรายละเอียดการเปลี่ยนแปลงเง่ือนไขดังกลาวจะชวยใหเขาใจขอมูลไดงายข้ึน

ตัวอยางกราฟเสน แสดงปริมาณของผลิตภัณฑท่ีไมไดมาตรฐาน

0

10

20

30

40

50

60

70

80

10 11 12 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 1 2 3

1999 2001 2000

จํานวน (ชิ้น)

การสรางกราฟวงกลม 1. วาดวงกลม แลวลากเสนตรงตาม 12 นาิกา 2. แบงสัดสวนตามมุมที่เกิดขึ้น a) เริ่มจากสัดสวนที่มากไปหานอย ตามเข็มนาิกา b) ใสอ่ืน ๆ ไวทายสุด 3. เขียนชื่อกับจํานวนเปอรเซ็นตไวในกราฟ

การอานและการใชกราฟวงกลม

พื้นท่ีในวงกลมจะบอกสัดสวน ความสําคัญ ของขอมูล

ตัวอยาง PIE CHARTS แสดงสัดสวนของงานซอม

ไมไดสเปค 35 %

เปอน 15 % ดายงอก 20 %

ดายกระโดด 30 %

กราฟเรดาร (Radar Chart)

เปนกราฟรูปหลายเหลี่ยมซึ่งแสดงการเปรียบเทียบปริมาณความมากนอยของแตละสวน ของขอมูลแตละชุด

ผังเหตุและผล (Cause and Effect diagram)

• ผังแสดงเหตุและผลคืออะไร (What are Cause-and-Effect Diagrams)

• วิธีสรางผังแสดงเหตุและผล (How to Make Cause-and-Effect Diagram)

• ขอสังเกตเกี่ยวกับผังเหตุและผล

4.

ผังแสดงเหตุและผลคืออะไร (What are Cause-and-Effect Diagrams)

• ผังท่ีแสดงความสัมพันธระหวางคุณลักษณะทางคุณภาพกับปจจัยตางๆ ท่ีเก่ียวของ

MC

METHOD

คุณลักษณะ,ปญหา, ผล

MATERIAL

สาเหตุหลัก

MAN

สาเหตุรอง

สาเหตุยอย

ประโยชนของการใชผังกางปลา

นอกจากจะทําใหรูถึงสาเหตุของปญหาแลว

1. จะไดแลกเปล่ียนความคิดเห็น ความชํานาญและประสบการณ

ของสมาชิกในกลุม

2. สามารถนําไปใชไดกับทุกประเภทของปญหา

3. สามารถมองภาพรวมและความสัมพันธของสาเหตุท่ีกอใหเกิด

ปญหาไดงายขึ้น

ขอสังเกตการสรางผังกางปลา

เปนกลุมความคิดเห็นรวมกันจากการระดมสมองอยางเปนระบบ เขียนหัวปลา (ปญหา) ใหกระชับ ชัดเจน เจาะจงใหชัดเจนในเรื่องขนาดและปริมาณดวยขอมูล

ท้ังหัวปลาและกางปลา ตองมีการแกไขเม่ือมีขอมูลใหมท่ีชัดเจน

ขอสังเกตการสรางผังกางปลา (ตอ)

อยาพึงพอใจกับสาเหตุที่ไดเพียง 4 - 5 สาเหตุ เพราะสาเหตุแรก ๆ ที่เรารูอยูแลวเปนสาเหตุจากประสบการณ แตสาเหตุหลังๆ จะเปนสาเหตุที่ไดจากความคิดริเริ่มสรางสรรค โดยจะสังเกตไดวาถามีเพียงไมกี่สาเหตุเมื่อแกไขแลวปญหามักจะยังเกิดข้ึนอีก

การแกปญหาจากผังกางปลา

ตัดสาเหตุท่ีไมจําเปนออก

ลําดับความเรงดวนและความสําคัญของปญหา

ถายืนยันสาเหตุน้ันไมไดตองกลับไปเก็บขอมูลอีกคร้ัง

คิดหาวิธีการแกไข

กําหนดวิธีการแกไข กําหนดผูรับผิดชอบ เวลาเร่ิมตน ระยะเวลาเสร็จ

ตองมีการติดตามผลการแกไขในรูปแบบท่ีเปนตัวเลขสามารถวัดได

ข้ันตอนการสรางผังกางปลา

1. ชี้ลักษณะคุณภาพที่เปนปญหาออกมาใหชัดเจน 2. ดานขวาสุดเขียนปญหาหรือความผิดพลาด ลากเสนจากซายไปขวามาที่กรอบหรือตัว

ปญหา 3. เขียนสาเหตุหลักของปญหาที่เกิดขึ้น โดยใชองคประกอบ 4M 4. เขียนสาเหตุรองและสาเหตุยอย ๆ ลงไป ที่สงผลตอ ๆ กันไป 5. สํารวจดูวามีสาเหตุอ่ืนใดอีกหรือไม 6. จัดลําดับความสําคัญมากนอยของสาเหตุ เพื่อการแกไขตอไป 7. เติมหัวขอที่เกี่ยวของลงไป เชน ชื่อผลิตภัณฑ ขั้นตอนการผลิต วัน เดือน ป ชื่อผูที่

ระดมสมอง

การสรางผังกางปลา ข้ันตอนท่ี 1 กําหนดปญหาหรืออาการท่ีจะตองหาสาเหตุ อยางชัดเจน

X ฝายบริการลูกคาไดรับขอรองเรียนมากมาย

จํานวนลูกคาท่ีรองเรียนเก่ียวกับการจองตั๋วเคร่ืองบิน แลวท่ีน่ังซํ้ากันเพิ่มเปน 3 เทา เม่ือปท่ีแลว

ข้ันตอนท่ี 2 เขียนปญหาใหอยูในชองสี่เหลี่ยมดานขวามือแลวลาก ลูกศรชี้มาท่ีผล ดังรูป

ปญหา

ข้ันตอนท่ี 3 ระดมสมองหาสาเหตุท่ีนาจะเปนไปได

(ถานึกไมออกใหใช 5 M’s (คน,เครี่องจักร, วัตถุดิบ, วิธีการ, การวัด) หรือ 4 W’s (What , Why , When , Where)

แลวถามเสมอวา

“ ทําไมจึงเกิดข้ึน”, “ทําไมจึงเกิดข้ึน ” จนกวาจะหมดความคิดแลว

ข้ันตอนท่ี 4

เขียนสาเหตุหลักท่ีนาจะเปนไปได ( 3 ถึง 6 สาเหต)ุ ลงในชองสี่เหลี่ยมแลวลากเสนมายังเสนกลาง ดังรูป

ผลิตภัณฑไมไดมาตรฐาน

คน สาเหตุหลัก

ข้ันตอนท่ี 5 เขียนสาเหตุรองโดยลากเสนตอจากเสนสาเหตุหลักแลวเขียนสาเหตุท่ีปลายเสน

ผลิตภัณฑไมไดมาตรฐาน

คน เครื่องจักร การวัด

เครื่องมือ วิธีการ

ความกระตือรือรน

บุคลิกภาพ การศึกษา

วัตถุดิบ

สาเหตุรอง

สาเหตุหลัก

ขั้นตอนที ่6 เขียนสาเหตยุอยโดยลากเสนตอจากเสนสาเหตรุอง

ผลิตภณัฑไมไดมาตรฐาน

คน เครื่องจกัร การวดั

วัตถดุบิ เครื่องมอื วิธีการ

ความกระตือรือรน

บุคลิกภาพ

ความชํานาญ

การฝกอบรม

การสงช้ินงาน

ความสามารถ แกนหมุน

ตําแหนง

วัดผิด เครื่องมือวัด

วิธีการวัด คามาตรฐาน

แข็งเกิน

สีเพ้ียน

ขนาดไมไดมาตรฐาน

คุณภาพ

ดามจับ การเปล่ียนเครื่องมือ

การเตรียมงาน

มาตรฐาน

สาเหตหุลกั

สาเหตรุอง

สาเหตยุอย

ควบคุม

รถไมได

ยางแบน ถนนล่ืน

ช้ินสวนเสีย คนขับผิดพลาด

ตะปู

ยางรั่ว

เศษแกว นํ้ามัน

หิมะ

ฝนตก

ปฏิกิริยาโตตอบไมด ีงวงนอน สะเพรา

ฝกอบรมไมดี คันชักหัก คันเรงคาง

เบรกเสีย

การอานผังกางปลา

1. “ หิมะตกทําใหถนนลื่น ถนนลื่นทําใหควบคุมรถไมได ”

2. “ ควบคุมรถไมไดเน่ืองจากถนนลื่น ถนนลื่นเน่ืองจากหิมะตก ”

ฮิสโตแกรม (Histogram)

• การแจกแจงและฮีสโตแกรม (Distributions and Histograms)

• วิธีสรางฮีสโตแกรม (How to make Histograms)

• วิธีการอานฮีสโตแกรม (How to read Histograms)

• การเปรียบเทียบฮีสโตแกรมกับขอบเขตสเปค

5.

ความผันแปรและการแจกแจง

หากสามารถควบคุมปจจัยตางๆในกระบวนการผลิตใหคงท่ีสม่ําเสมอได ขอมูลจากผลผลิตตางๆ ก็จะมีคาเทากันหรือเหมือนๆกันตลอด แตในทางปฏิบัติไมสามารถทําได เพราะปจจัยในการผลิตมีความผันแปร (Variation) อยูตลอดเวลาทําใหขอมูลท่ีไดก็จะมีความผนัแปรไปดวย ซึ่งความผันแปรเหลาน้ันไดเกิดขึ้นเปนไปตามกฎเกณฑบางอยางท่ีเรียกวา การแจกแจง (Distribution)

ประชากรและสิ่งตัวอยาง

สินคาหรือชิ้นงานที่เราชกัออกมาเรียกวา สิง่ตวัอยาง และผลจากการตรวจสอบสินคานัน้ เราจะนาํไปทํานายหรือคาดหมายคุณสมบัติของกระบวนการผลิต ซึ่งถือวาเปน ประชากร ดงันั้นเราจึงจาํเปนตองม ีหลกัการ ชักสิ่งตัวอยางที่ถกูตอง เพื่อใหมัน่ใจไดวาขอมูลจากสิ่งตัวอยางจะใชอธิบายคุณสมบตัิของประชากรได

หลักการชักสิ่งตัวอยางที่นิยม

“ตองใหไดสิง่ตวัอยางที่กระจายตวัและมาจากจดุใดๆ ของประชากรโดยไมจาํเพาะเจาะจงวามาจากสวนไหนและทุกๆ สมาชกิในประชากรมโีอกาส (Probability) ที่ถูกชักออกมาเปนสิง่ตวัอยางไดเทาๆกัน”

• วิธีดังกลาวเรียกวา วธิชีักสิง่ตวัอยาง (Random Sampling) และเรียกส่ิงตัวอยางที่ชักข้ึนมาวา สิ่งตัวอยางแบบสุม (Random sample)

วิธีสรางฮีสโตแกรม (How to make Histograms)

• การสรางตารางแสดงความถีข่องขอมลู • วิธีการสรางฮสีโตแกรม

การสรางตารางแสดงความถี่ของขอมูล

ตัวอยาง ตัวอยางน้ีเปนขอมูลเก่ียวกับขนาดผานศูนยกลางของเพลาเหล็กท่ีผลิตจากเคร่ืองเจียระไน โดยทําการสุมตัวอยางจํานวน 30 ทอน วัดขนาดแลวจดบันทึกไวดังแสดง

ส่ิงตัวอยางอันดับที่ ผลการวัดขนาดผานศูนยกลาง

1-10 2.510 2.517 2.522 2.522 2.510 2.511 2.519 2.532 2.543 2.525

11-20 2.535 2.523 2.526 2.525 2.532 2.522 2.502 2.530 2.522 2.514

21-30 2.518 2.527 2.511 2.519 2.531 2.527 2.529 2.528 2.519 2.521

วิธีการสรางฮีสโตแกรม

ข้ันท่ี 1 เขียนแกน X (แกนนอน) แลวแบงชองใหสอดคลองกับหนวยวัดของโจทย ตองมีจํานวนชองเพื่อเขียนกราฟแทงเทาจํานวนท่ีตองเขียนในโจทยขอน้ันๆ แลวบวก 2 ชองหัวทาย

ข้ันท่ี 2 เขียนเสนแกน y (แกนตั้ง) ท่ีปลายท้ังดานซายและขวา โดยดานซายแทนแกนดวยความถ่ี และดานขวาแทนแกนดวยความถ่ีสัมพันธ

ข้ันท่ี 3 เขียนคาขอบเขตท้ัง 2 คาของกราฟแทงแตละแทงลงในแกนนอน

วิธีการสรางฮีสโตแกรม

ข้ันท่ี 4 จากคาขอบเขตคาสูงและคาตํ่าของแตละชั้นขอมูลท่ีขีดบนแกนนอน น้ันใหเขียนรูปสี่เหลี่ยมผืนผาข้ึนไปโดยใหความสูงของสี่เหลี่ยมแตละ รูปสอดคลองกับคาความถ่ีของขอมูลท่ีพบในชั้นน้ันๆ

ข้ันท่ี 5 เขียนเสนประยาวเพื่อแสดงคาเฉลี่ยของคาในแกนนอน

ข้ันท่ี 6 เขียนขอมูลประกอบท่ีสําคัญอาทิ จํานวนขอมูล (n), คาเฉลี่ย, คา เบ่ียงเบนมาตรฐาน (S)

แบบปกติ (Normal Distribution) การกระจายของการผลิตเปนไปตามปกติ คาเฉล่ียสวนใหญจะอยูตรงกลาง

แบบแยกเปนเกาะ (Detached Island Type) พบเม่ือกระบวนการผลิตขาดการปรับปรุง/หรือการผลิตไมไดผล

แบบระฆังคู (Double Hump Type) พบเม่ือนําผลิตภัณฑของเคร่ืองจักร 2 เคร่ือง/2 แบบมารวมกัน

แบบฟนปลา (Serrated Type) พบเม่ือเคร่ืองมือวัดมีคุณภาพต่ํา หรือการอานคามีความแตกตางกันไป

แบบหนาผา (Cliff Type) พบเม่ือมีการตรวจสอบแบบ TOTAL INSPECTION เพ่ือคัดของเสียออกไป

ลักษณะตางๆ ของฮีสโตแกรม

a

รูปทรงทั่วไป

เหมือนระฆังควํ่า สมมาตรท้ังซายและขวา คาเฉลี่ยจะอยูก่ึงกลาง เปนรูปทรงท่ีมีการแจกแจงแบบปกติ

ชวงชั้นของขอมูล มีความถ่ีมากนอยสลับกันไป เกิดไดเม่ือจํานวนขอมูลมีคาไมเทากันและแตกตางกันมากระหวางชั้นขอมูลท่ีอยูติดกัน หรืออาจเกิดจากการปดเศษคาของแตละขอมูล

รูปทรงฟนปลา a

ลักษณะตางๆ ของฮีสโตแกรม

คาเฉลี่ยจะอยูทางซายมือของรูป คาทางซายมือจะลดลงอยางรวดเร็ว สวนคาทางขวาจะคอย ๆ ลดลง เกิดจากขอมูลท่ีถูกควบคุมดวยคาขอบเขตดานตํ่า ทําใหขอมูลท่ีตํ่ากวาคาขอบเขตไมไดรับการบันทึก ทําใหคาเฉลี่ยมีแนวโนมอยูทางดานคาตํ่า (ชนิดเบซาย จะมีคุณสมบัติคลายกัน แตสัมพันธกับขอบเขตดานสูง) รูปทรงเบขวา

a

ลักษณะตางๆ ของฮีสโตแกรม

คลายกับชนิดเบขวา แตความถี่ของขอมูลดานขอบเขตตํ่าจะลดลงมากกวา ทําใหคาเฉล่ียอยูใกลกับคาขอบเขตตํ่ามาก จะพบไดจากขอมูลประเภทตรวจสอบ 100% แลวคาสวนใหญอยูใกลกับคาขอบเขตตํ่า (ชนิดหนาผาขวามีคุณสมบัติลักษณะเดียวกัน แตขอมูลสวนใหญอยูใกลกับขอบเขตสูง ชนิดหนาผาซาย

a

ลักษณะตางๆ ของฮีสโตแกรม

aชนิดทรงที่ราบสูง

ขอมูลในชั้นบริเวณกลาง ๆ จะมีความถี่ใกลเคียงกัน แตละลดลงทันทีในชั้นขอมูลหัวทาย เกิดจากขอมูลที่มีการแจกแจงแตกตางกันหลายแบบมาปะปนกันแตมีคาเฉล่ียไมเทากัน (ใกลเคียงกัน)

ความถี่สูง 2 ยอดหางกัน โดยตรงกลางเปนคาความถี่ตํ่า เกิดจากขอมูลที่มาจากการแจกแจง 2 ชุด ซึ่งมีคาเฉล่ียไมเทากัน อาจมาจากแหลงขอมูลแตกตางกัน เชน เครื่องจักร 2 เครื่อง วัตถุดิบ 2 รุน เปนตน

ชนิดระฆังคู a

ลักษณะตางๆ ของฮีสโตแกรม

ชนิดแยกเปนเกาะ

ขอมูลท่ีมีความถ่ีสูง แยกกระจายออกจากกัน อาจมาจากการเก็บขอมูลจากกระบวนการอื่นปะปนมาหรือเกิดจากความผิดพลาดในการวัดชิ้นงาน

ลักษณะตางๆ ของฮีสโตแกรม

a

ผังการกระจาย (SCATTER DIAGRAM) คือ ผังท่ีใชแสดงคาของขอมูลท่ีเกิดจากความสัมพันธของตัวแปรสอง

ตัว วามีแนวโนมไปในทางใด เพื่อท่ีจะใชหาความสัมพันธท่ีแทจริง

ตัวแปร X คือ คาที่ปรับเปล่ียนไป ตัวแปร Y คือ ผลที่เกิดขึ้นในแตละคาที่

เปล่ียนแปลงของตัวแปร X

6.

การสรางผงัการกระจาย

1. ออกแบบแผนบันทึก

เพื่อจัดเก็บขอมูลหรือตัวแปร ( x ,y ) ที่ตองการอยางนอย 30 คู โดยออกแบบเปนรูปแบบตารางกอนแลวนําไปเขียนกราฟ เปนรูปแบบกราฟที่พล็อตขอมูลไดเลย (ถาทราบคาสูงสุด/ตํ่าสุดของตัวแปร)

ลําดับ ส่วนสูง นํ�าหนัก ลําดับ ส่วนสูง นํ�าหนัก ลําดับ ส่วนสูง นํ�าหนัก

ที่ (ซม.) (กก.) ที่ (ซม.) (กก.) ที่ (ซม.) (กก.)

1 11 21

2 12 22

3 13 23

4 14 24

5 15 25

6 16 26

7 17 27

8 18 28

9 19 29

10 20 30

ตัวอยางแผนบันทึกรูปแบบกราฟ ตัวอยางแผนบันทึกรูปแบบตาราง

ความสัมพันธ์ ส่วนสูง-นํ�าหนัก

0

20

40

60

80

100

120

140

160

180

200

0 50 100 150 200

นํ�าหนัก (กก.)

ส่วนสูง (ซม.)

การสรางผงัการกระจาย

2. การเขียนกราฟของผงัการกระจาย มีหลักเกณฑดังนี้

หาคาสเกลตํ่าสุด และสูงสุด ของเสนแกนนอน (x) และ เสนแกนตั้ง (y) เพื่อกําหนดคาแรกและคาสุดทายของแตละแกน

กําหนดคาแบงชวงสเกลของทั้งสองแกน ใหสมมาตรกัน คาสเกลแกนนอน (x) และแกนตั้ง (y) ควรเปนตัวเลขที่ปดเศษ ถาบังเอิญมีขอมูล (x,y) คูใดทับกันใหทําวงกลมลอมรอบจุดที่ทับกัน l ถาเปนไปได ใหกําหนดแกนตั้ง (y) เปนผลการเปล่ียนแปลงจากปจจัย (x) และแกน

นอน (x) เปนปจจัยหรือสาเหตุ

การสรางผงัการกระจาย

3. การเขียนรายละเอียดประกอบรูปกราฟ ประกอบดวย

ชื่อ ของรูปกราฟ (เชน ชื่อผลิตภัณฑ ชื่อกระบวนการ) ชื่อ ของแกนนอน (x) และแกนตั้ง (y) ชื่อ ของผูปฎิบัติงาน, ผูเก็บขอมูล, และ เคร่ืองจักร หนวยวัด ของ แกนนอน (x) และ แกนตั้ง (y) ชวงเวลาท่ีเก็บขอมูล และ วันเดือนปท่ีผลิตหรือบริการ จํานวนขอมูล (x , y) ท่ีจัดเก็บก่ีคู (n = ?)

ตัวอยางผังการกระจาย และวิธีการคํานวณ

โรงงานผลิตเส้ือผาแหงหนึ่ง ตองการศึกษาความสัมพันธระหวางจํานวนสินคาที่มีขอบกพรองกับอัตราการขาดงานของคนงาน จึงทําการเก็บขอมูลเก่ียวกับ อัตราเฉล่ียของการขาดงาน ( x ) ซึ่งวัดเปนจํานวนวันตอเดือน และจํานวนเครื่องท่ีมีขอบกพรอง ( y ) ตามตารางตอไปน้ี

ลําดับ x y ลําดับ x y ลําดับ x yที� ที� ที�

1 7.3 22 11 10 33 21 4.5 62 6.4 17 12 7.2 18 22 6.1 103 6.2 9 13 4.9 6 23 9.3 274 5.5 8 14 6.5 16 24 5.9 125 6.4 12 15 7.1 20 25 6.9 156 4.7 5 16 9.5 30 26 10 357 5.8 7 17 5.7 10 27 7.5 248 7.9 19 18 7.5 20 28 7.9 239 6.7 13 19 9.8 32 29 9.4 29

10 9.6 29 20 10 30 30 5.2 8

การเขียนกราฟของผังการกระจาย ตารางขอมูลตามตัวอยาง

ความสัมพันธ์ การขาดงาน-จํานวนเครื�องบกพร่อง

0

2

4

6

8

10

12

0 50

จํานวนเครื�องที�บกพร่อง

จํานวนวันต่อ

เดือน

สัปดาห์ท่ี 1-30 จดัทาํโดย สุรเดช n = 30

การอ่านผังการกระจาย

x

y 1. ผงัการกระจายที่มีสหสมัพนัธ ์

แบบบวก (Positive Correlation)

แสดงว่า * เมือ่ค่า X เพิม่ข้ึน

ค่า Y จะเพิม่ข้ึนเป็นสดัส่วนโดยตรง

* แบบบวกชดัเจน

2. ผงัการกระจายที่มีสหสมัพนัธ ์

แบบลบ (Negative Correlation)

แสดงว่า * เมือ่ค่า X เพิม่ข้ึน จะ

ทําใหค่้า Y ลดลง

* แบบลบชดัเจน

การอ่านผังการกระจาย

3. ผงัการกระจายไม่มีสหสมัพนัธ ์

(Non-Correlation)

แสดงว่า การเพิม่หรือลดของค่า X

อาจทําให ้ค่า Y เป็นไปไดท้ั้งเพิม่และลด

การอ่านผังการกระจาย

แสดงว่า * เมือ่ค่า X เพิม่ข้ึน

ไม่แน่นอนเสมอไปว่า ค่า Y จะ

เพิม่ดว้ย

* แบบบวกไม่ชดัเจน

แสดงว่า * เมือ่ค่า X เพิม่ข้ึน ไม่

แน่นอนเสมอไปว่าจะทําใหค่้า Y

ลดลง

* แบบลบไม่ชดัเจน

แผนภูมิควบคุม (CONTROL CHART)

คือ แผนภูมิท่ีมีการเขียนขอบเขตท่ียอมรับได เพื่อนําไปเปนแนวทางในการควบคุมกระบวนการ โดยการติดตามและตรวจจับขอมูลท่ีออกนอกขอบเขต

0

50

100 UCL : ขอบเขตบน

CL : คากลาง

LCL : ขอบเขตลาง

7.

Central Line

OCL

UCL

X

ลักษณะขอมูลถูกกําหนดใหเปนจดุ จะเกิดปรากฏการณ 2 แบบ • จุดทุกจุดอยูระหวางพกัิดควบคุม เรียกวา “ขบวนการอยูใตการ

ควบคุม” (Under Control)

• จุดบางจุดอยูนอกเสนพิกัดควบคุม เรียกวา “ขบวนการอยูนอกการควบคุม” (Out of Control)

Takt Time (แท็คไทม) VS Cycle Time (ไซเคิลไทม)

ตัวอยางแผนภูมคิวบคุม (CONTROL CHART)

Takt Time (แท็คไทม) VS Cycle Time (ไซเคิลไทม)

ตัวอยางแผนภูมิควบคุม (CONTROL CHART)

การประยุกตใชกับกิจกรรม P-D-C-A

ข้ันตอนการปรับปรงุ เครื่องมือคุณภาพที่ใช -การศึกษาความสูญเสียปจจุบัน

-การกําหนดหัวขอปรับปรุง

-การสํารวจและแยกแยะปญหา

-การกําหนดเปาหมาย

-การจัดทําแผนกิจกรรม

CHECK SHEET,GRAPH

GRAPH, PARETO

PARETO,GRAPH

GRAPH, PARETO, HISTOGRAM

GRAPH AND CHART

การประยุกตใชกับกิจกรรม P-D-C-A

-การติดตามผลการแกไข

-การวิเคราะหสาเหตุและ แนวทางการแกไข

-การกําหนดมาตรฐาน

-การสรุปผลการแกไข

GRAPH, PARETO, HISTOGRAM CAUSE AND EFFECT DIAGRAM, SCATTER DIAGRAM

CHECK SHEET,GRAPH, HISTOGRAM CONTROL CHART, PARETO

CHECK SHEET CONTROL CHART

7 New QC Tools

Seven New QC Tool 7 Old QC Tool จะไมเหมาะสมกับการนํามาใชงานในเรื่องของ FMEA มากนักในชวงเริ่มตน เพราะการทํา FMEA เปนการทํานาย ในส่ิงที่ยังไม เกิดขึ้น

7 New QC Tool นาจะเหมาะสมมากกวา

Seven New Q.C. Tools คือะไร?

Seven New QC Tools จะประกอบดวย 1) แผนผังกลุมเชื่อมโยง (Affinity Diagrams) 2) แผนผังความสัมพันธ (Relations Diagrams) 3) แผนผังตนไม (Tree Diagrams) 4) แผนผังแมทริกซ (Matrix Diagrams) 5) แผนผังลูกศร (Arrow Diagrams) 6) แผนผัง PDPC (Process Decision Program Charts (PDPC)) 7) การวิเคราะหขอมูลแบบแมทริกซ (Matrix Data Analysis)

Seven New Q.C. Tools เกิดข้ึนเมื่อใด ?

คณะกรรมการเพื่อพัฒนาเคร่ืองมือควบคุมคุณภาพ ภายใตการดูแล

ของ J.U.S.E. ไดกอตั้งข้ึนในป 1972 โดยมุงเนนพัฒนาเทคนิคในการ

ควบคุมคุณภาพ สําหรับ ใหผูจัดการและเจาหนาท่ีนําไปใชงานใน

ลักษณะของ design approach และ สามารถใชงานรวมกับ Original

Basic Seven Tools ไดเปนอยางดี

New set of methods (N7) ถูกนํามาใชในป 1977

Seven New Q.C. Tools เกิดข้ึนเมื่อใด ?

เคร่ืองมือแบบใหมมุงเนนการนําไปใชงานในลักษณะ: Developed to organize verbal data diagrammatically.

สวนเคร่ืองแบบเดิม จะใชงานไดดีในลักษณะ: Data analysis, process control, and quality improvement

(numerical data)

การใชเคร่ืองมือท้ังสองแบบทําให increases TQM effectiveness

ตัวอยางเชน สมมุติวา เครื่องซักผาไดรับการออกแบบและผลิตขึ้นมาขายแลว ปรากฏวา ผู

ซื้อ เครื่องไมพอใจ รองทุกขวาใชลําบาก เพราะปุมควบคุมอยูในตําแหนงที่แยมาก ผูใชไมสามารถกําหนดออกมาเปนตัวเลขได เพียงแตบอกวา “ใชไมสะดวก” “รูป แบบไมเหมาะสม” ฯลฯ

ผูออกแบบสินคารุนใหม ควรรวบรวมขอมูลเหลานี้เขาไปในสินคาแบบใหม ผูใช อาจใหความคิดเห็นเกี่ยวกับรูปแบบของตัวเครื่อง สี และ ลักษณะอ่ืน ๆ เชนเดียว กับความสะดวกในการใช

แตลูกคาไมสามารถแสดงเปนตัวเลขได เพียงแตสามารถระบุเปนคําพูดได ซึ่งก็ ตองถือวา ขอมูลที่ลูกคาบอกมานั้น เปนขอเท็จจริง ขอมูลในลักษณะ นี้เราเรียกวา ขอมูลที่เปนคําพูด (Verbal Data)

ขอมูลในเชิงคําพูด บางครั้งเราเองก็ใชโดยไมรูตัว เชน นาจะดีกวานี้ นาจะเงางาม กวานี้ เปนตน

ความสัมพันธระหวาง New Seven Q.C. Tools กับ Basic Seven Tools

การตัดสินใจวาจะใช Tool แบบเดิม หรือ แบบใหม จะข้ึนอยูกับขอมูลใน ขณะน้ัน ๆ ◦ ถาขอมูลเปนตัวเลข ใหใช Tool แบบเดิมมาทําการวิเคราะหปญหา ◦ ถาขอมูลเปน คําพูด ความรูสึก ใหใช New QC Tool เพื่อแจกแจง

ปญหา หาแนวทางแกใข (แลวจึงใช Tool แบบเดิมชวยในการเก็บ ขอมูลมาทํา การวิเคราะหตอไปก็ได)

ถาไมใช 7 New QC Tool แลวจะเปนอยางไร? • ในกรณีที่ปญหาที่เกิดขึ้นมีลักษณะที่ไมเปนโครงสราง ขอมูลอยูในเชิงคําพูด เมื่อ

ขอมูลมากขึ้น การที่จะกําหนดขอบเขตของปญหาจะยุงยากมากขึ้น ขอมูล จะสับสน วกวน ทําใหกําหนดกลยุทธในการแกปญหาไดยาก เพราะความคิด จะวกวน กระจาย บางประเด็นอาจคลุมเครือ ไมชัดเจน

• จากการระดมความคิดในหัวขอที่แลวนั้น ขอมูลที่ไดตาง ๆ จะถูกนํามาจัดกลุม กอนเพื่อประเมินและกําหนดแนวทางการแกปญหา 7 New QC Tool จะชวย ตรงนี้ไดมาก เพราะขอมูลที่เกิดจากการระดมความคิดขางตน จะถูกจัดกลุม และ เชื่อมโยงกันอยางเปนระบบ ทําใหกลุมสามารถพิจารณาไดอยางชัดเจน มากขึ้น

ประโยชนที่ไดรับจากการใช New Seven Q.C. Tools (1)

ความสามารถท่ีไดรับการสนับสนุนจาก New Seven Q.C. Tools 1) จัดระเบียบขอมูลท่ีอยูในเชิงบอกเลา หรือ คําพูด 2) กอกําเนิดความคิดเห็น 3) ปรับปรุงการวางแผน 4) ขจัดความผิดพลาดและการมองขามประเด็นท่ีอาจตกหลน 5) อธิบายปญหาอยางชาญฉลาด ทําใหเขาใจงาย 6) รักษาความรวมมือกันไวอยางเต็มท่ี 7) ชักชวนกันทําอยางมีพลัง

ประโยชนที่ไดรับจากการใช New Seven Q.C. Tools (2) กุญแจ 7 ดอกที่นําไปสูการปฏิรูปวัฒนธรรมและองคกร 1) ตรวจสอบสอบสถานการณปจจุบันในหลาย ๆ แงมุม 2) บรรยายสถานการณที่เผชิญอยูอยางชัดเจน 3) จัดลําดับความสําคัญของงานอยางมีประสิทธิผล 4) ดําเนินการอยางมีระบบ 5) คาดคะเนเหตุการณในอนาคต 6) การเปล่ียนแปลงเปนไปในลักษณะเชิงรุก (Proactive) 7) ทําใหถูกตองต้ังแตครั้งแรก

ประโยชนที่ไดรับจากการใช New Seven Q.C. Tools (3)

กุญแจ 5 ดอกสําหรับปลูกฝงวัฒนธรรมขององคกร 1) แยกแยะปญหาตาง ๆ (Identifies problems) 2) ใหความสําคัญในการวางแผน (Gives importance to planning)

3) มุงเนนไปยังสวนสําคัญของกระบวนการ (Stresses the importance of the process)

4) กําหนดลําดับความสําคัญของงาน (Prioritizes tasks) 5) สงเสริมใหทุกคนมีความคิดเชิงระบบ (Encourages everyone to think systematically)

Unstructured Problem [must be put into solvable form]

Problem is mapped

Problem becomes obvious to all

Problem is in solvable form

Slide 4 0f 4

The Seven New Tools

Thoughts are easily organized

Things go well

People understand problem

Cooperation is obtained

Countermeasures are on target

Problem becomes obvious to all

Nub of problem is identified

Problem can be clearly articulated

Plans are

easily laid

Nothing is omitted

Source: Nayatani, Y., The Seven New QC Tools (Tokyo, Japan, 3A Corporation, 1984)

ผลประโยชนที่ไดรับจากการใช New Seven Q.C. Tools (4)

เมื่อใดจะใชอะไร • 1) เรามักจะเริ่มตนดวย การคนหาความซับซอน/สับสน เพื่อทําการแจก แจง

ปญหาที่เราเผชิญอยู – ถาขอมูลขึ้นอยูกับความรูสึก (Feeling) ใหใชแผนผังกลุมเชือ่มโยง – ถาขอมูลเปนเหตเุปนผล (Logic) ใหใชแผนผังความสัมพันธ

• ส้ินสุดขั้นตอนนี้ เราจะสามารถมองปญหา และ ความซับซอนได จากนั้นเราจะเขาสูกระบวนการที่ 2

• 2) เปนการพัฒนากลยุทธเพื่อการแกปญหา – ใชแผนผังแมทริกซเพ่ือสาํรวจดวูาความสมัพันธของวัตถปุระสงคท่ีตองการกับ กลยุทธใน

การแกปญหาสอดคลองกันหรือไม – ใชแผนผังตนไมสําหรบัแยกยอยวัตถุประสงค หรือ กลยุทธ

• 3) จัดแผนดําเนินการเฉพาะโดยจัดเรียงกลยุทธตามลําดบัเวลา – ใชแผนผังลูกศร เพื่อเชื่อมโยงการกระทําของแผนท่ีวางข้ึน หรือ

เหตุการณท่ี เกิดตามลําดับเวลา – PDPC ใชวางแผนฉุกเฉินและความไมแนนอนท่ีคาดการไวลวงหนา

• เม่ือเราไดแผนการการแกปญหาออกมาแลว เม่ือลงมือทําตาม

แผนจะ ตองมีการ เก็บขอมูล วิเคราะหปญหา คราวน้ีเราสามารถใชเครื่องมือ QC Tool แบบเดิม มาใชได

แผนผังกลุมเช่ือมโยง (Affinity Diagrams)

ใชสําหรับการจับประเด็นปญหาในสถานการณท่ียุงเหยิง และ การกําเนิด กลยุทธการแกปญหา

ใชเมื่อพูดถึงเรื่องที่เปนหลักใหญ จะเปนเครื่องมือที่มีประสิทธิภาพสูง สําหรับชวย แกไขความสับสน และการนําปญหามาสรางภาพที่ชัดเจนเปนหนทางที่จะจัดวาง และจัดโครงสรางของปญหา เมื่อเกิดสถานการณที่จุกจิก ตัดสินใจไมได แจกแจง ไมดี สามารถกลาวงาย ๆ วา

ใชรวบรวมขอมูลจํานวนมากที่เกิดจากการซักถาม พูดคุย (ขอมูลในเชิง แนวความคิด, ความเห็น, เรื่องตาง ๆ)

1.

แผนผังกลุมเช่ือมโยง (Affinity Diagrams)

– ใชในการจัดขอมูลเปนกลุมโดยอาศัยความสัมพันธโดยธรรมชาติที่ ควรเปน (natural relationship)

– การจัดกลุมควรเอ้ือตอการวิเคราะหในอนาคตเพื่อหาคําตอบของ ปญหา

• แผนผังกลุมเชื่อมโยงน้ี บางทีเรียกวา KJ Method (เรียกชื่อตามผูคิด คือ Kawakita Jiro)

แผนผังกลุมเช่ือมโยง (Affinity Diagrams)

ขอดีของแผนผังกลุมเชื่อมโยง ทําใหเกิดความคิดแหวกแนว และ กระตุนใหเกิดความคิดใหม ๆ ออกมา

ทําใหสามารถขุดปญหาขึ้นมา โดยการกล่ันกรองขอมูลที่เปนคําพูดที่ได จากสถานการณอันยุงเหยิง และ จัดแยกออกเปนกลุมตามะรรมชาติของ ปญหา

เปดทางใหปจจัยสําคัญของปญหาถูกเจาะไดอยางแมนยํา และแนใจไดวา ทุกคนที่เกี่ยวของมองเห็นปญหาอยางชัดเจน

โดยการรวมความคิดเห็นของสมาชิกทุกคนในกลุมเขาดวยกัน จึงทําให ยกระดับการรับรูของทุกคนและกระตุนใหกลุมลงมือทํา

แผนผังกลุมเช่ือมโยง (Affinity Diagrams)

วิธีการสรางแผนผังกลุมเชื่อมโยง

เลือกหัวขอ (Select a topic) รวมรวมขอมูลเชิงคําพูด(verbal data)โดยการระดมความคิด ชี้แจงขอมูลที่ตองการรวบรวมใหทุกคนเขาใจอยางชัดเจน เขียนขอมูลแตละอันลงบนบัตรขอมูล (Data Card) วางบัตรขอมูลที่บันทึกแลวลงบนโตะเพื่อใหเห็นทั่วกัน จัดขอมูลที่สัมพันธกัน หรือ เชื่อมโยง ใหอยูในกลุมเดียวกัน รวมลักษณะขอมูลของกลุมนั้น ๆ แลวตั้งชื่อใหมใหครอบคลุมขอมูลในกลุม

นั้นทั้งหมด

แผนผังกลุมเช่ือมโยง (Affinity Diagrams)

Topic

Data Card

Data Card

Data Card Data Card

Data Card Data Card

Data Card

Data Card Data Card

Data Card

Data Card

Data Card Data Card

Data Card Data Card

Data Card Data Card

วางขอมูลท้ังหมดลงบนโตะ

แผนผังกลุมเช่ือมโยง (Affinity Diagrams)

Topic

Data Card

Data Card Data Card

Data Card

Data Card Data Card

Data Card Data Card

Data Card Data Card

Data Card

Data Card Data Card

Data Card Data Card

Data Card Data Card

ทําการจัดกลุมขอมูล ท่ีสัมพันธกัน

แผนผังกลุมเช่ือมโยง (Affinity Diagrams)

ทําบัตรใหมขึ้นมาเพื่อใชแทนกลุมบัตรเกาโดยใชชื่อที่ตั้งขึ้นมาใหม บัตรใหม นี้เรียกวา บัตรเชื่อมโยง (Affinity Card)

ทําการรวมในลักษณะขางตน จนกระทั่งเหลือนอยกวา 5 กลุม

เอาบัตรของกลุมบัตรขอมูลเดิมออกไป เหลือไวแตบัตรใหม (the affinity clusters)

แผนผังกลุมเช่ือมโยง (Affinity Diagrams)

กําหนด Affinity Statement ของแตละกลุมขอมูล

Topic Affinity Statement

Data Card Data Card

Data Card Data Card

Affinity Statement

Data Card Data Card

Data Card Data Card

Affinity Statement

Data Card Data Card

Data Card

Affinity Statement

Data Card Data Card

Data Card Data Card

Data Card Data Card

แผนผังกลุมเช่ือมโยง (Affinity Diagrams)

แผนผังกลุมเช่ือมโยง (Affinity Diagrams)

แผนผังกลุมเช่ือมโยง (Affinity Diagrams) สมมุติวา เรามีปญหาเก่ียวกับระบบโครงขายใชงานไดบาง ไมได บาง

เราจึงตั้งกลุมข้ึนมาเพื่อหาวาปญหานาจะเกิดจาก อะไรไดบาง มีแนวทางในการแกปญหาอยางไร

หลังจากกลุมทําการระดมความคิดแลว ไดขอมูลในบัตรขอมูล ดังน้ี Hardware OS DBMS Compiler Test Network Install Data อื่น ๆ

หลังจากวางบัตรขอมูลลงบนโตะแลว จึงทําการจัดกลุมขอมูล แลว กําหนด Affinity Statement (ประโยคเชื่อมโยง) ไดสามกลุม คือ

แผนผังกลุมเช่ือมโยง (Affinity Diagrams)

–Hardware ของ Network ซึ่งประกอบดวยบัตรขอมูล • Design, Repair และ Install

–System • System Software ซึ่งประกอบดวยบัตรขอมูล

–OS, DBMS และ Compiler

• System Hardware

–Application Software ซึ่งประกอบไปดวยบัตรขอมูล • Reqts, Test, Design, Install, Code, Repair และ Data

แผนผังกลุมเชื่อมโยง (Affinity Diagrams)

สรุปโดยรวม • ใหทุกคนในองคประชุมชวยกันคิดถึงเหตุการณที่เกี่ยวของกับหัวขอเรื่องที่

กําหนด อาจวนถามไปทีละคนก็ได

• จากนั้นนําเรื่องที่เสนอขึ้นมาของแตละคนกรอกลงในบัตรขอมูล

• พยามยามจัดขอมูลที่เกี่ยวของกัน คลายกัน หรือ สัมพันธกันใหอยูใน กลุมเดียวกัน

• กําหนดชื่อกลุมขอมูลขางตนขึ้นมาใหม โดยใหมีขอความเชื่อมโยงหรือ ส่ือใหเห็นความหมายของขอมูลของกลุมนั้น ๆ (Affinity statement) อยางชัดเจน

• จะเห็นไดวา แตละ Affinity statement ทานสามารถนํามาเปนหัวใจในการ review ในเร่ืองตาง ๆ ของ FMEA ได

• นอกจากนั้น จะสังเกตเห็นไดวา แผนผังกลุมเชื่อมโยง จะเปนการจัดกลุมขอมูล ที่เปนแบบคําพูด ไมมีการกระทําในเชิงโครงสราง ไมมีนัยของการสัมพันธกัน ของปญหา เพียงแตเปนการจัดกลุมขอมูลเทานั้น

• ทานอาจตองใชแผนผังความสัมพันธเขาชวยในการแสดงถึง ความสัมพันธกัน ของขอมูลแตละกลุม

ตัวอยางงาย ๆ ของ “ดินสอ” • Topic • สมมุติวา เราเปนผูผลิตดินสอ อะไรบาง ที่จะ

กระทบตอผูใช เมื่อเขาใชดินสอ ที่ เราผลิตขึ้น

• ผูดําเนินการประชุม อธิบายจุดมุงหมาย ของ Topic นี้ใหทุกคนเขาใจ

• เริ่มระดมความคิดโดยถามวนจากดานหนึ่ง ไปอีกดานหนึ่ง

• อธิบายแตละความคิดที่ไดมาใหชัดเจน แลวบันทึกลงในบัตรขอมูล

แผนผังความสัมพันธ (Relations Diagrams)

เปนเคร่ืองมือท่ีใชสําหรับแกไขเร่ืองยุงยากโดยการคลี่คลายการเชื่อม โยงกันอยางมีเหตุผล (Logical connection) ระหวางสาเหตุ และผลท่ี เกิดข้ึน ซึ่งเก่ียวของกัน (หรือ วัตถุประสงค และกลยุทธที่จะบรรลุ ความสําเร็จในเรื่องนี้)

รูปแบบของแผนผังความสัมพันธหลัก ๆ มีอยู 4 แบบ ไดแก แบบรวม ศูนย แบบมีทิศทาง แบบแสดงความสัมพันธ แบบตามการประ ยุกตใช

2.

แผนผังความสัมพันธ (Relations Diagrams) ขอดีของแผนผังความสัมพันธ

มีประโยชนในชวงการวางแผน ทําใหมองเห็นภาพพจนของสถานการณ ตาง ๆ ไดครบถวน

ทําใหทีมลงความเห็นเปนเอกฉันทไดงาย

ชวยในการพัฒนาและเปล่ียนกระบวนการคิดของคน

ทําใหกําหนดลําดับความสําคัญเพื่อชี้บงไดอยางแมนยํา

ทําใหมองปญหาที่เกิดจากความสัมพันธของหลายสาเหตุ ไดอยางชัดเจน

แผนผังความสัมพันธ (Relations Diagrams)

ตัวอยางเชน E1 เปนปญหาท่ีเกิดข้ึน อะไรบางท่ีเปนสาเหตุท่ีทําใหเกิด ใน ท่ีน้ีไดแก E2, E3, E4, E5, E6 ซึ่งเรียก วา เปน Primary Cause ถาทําแบบเดิมอีกเชน อะไรทําใหเกิด ปญหา E2 สาเหตุท่ีทําใหเกิดปญหา E2 เรียกวา Secondary Cause

แบบรวมศูนย และ มีทิศทาง

แผนผังความสัมพันธ (Relations Diagrams) วิธีการสรางแผนผังแสดงความสัมพันธ

อธิบายถึงปญหาในรูปแบบของ“Why isn’t something happening?”

ใหสมาชิกแตละคน เสนอ 5 สาเหตุ ที่กระทบถึงปญหา

เขียนแตละสาเหตุลงบนบัตรใบหนึ่ง

รวมกันวิเคราะหขอมูลขางตนจนกวาจะมีใครคนใดคนหนึ่งเขาใจอยางทะลุ ปรุโปรง

รวมบัตรที่มีลักษณะเดียวกันใหอยูในกลุมเดียวกัน

ใชคําถาม “Why” หรือ ผังกางปลา เพื่อแบงลําดับความสําคัญเปน Primary, Secondary และ tertiary causes

Relationship between Ishikawa and Relations Diagra

แผนผังความสัมพันธ (Relations Diagrams)

เชื่อมตอบัตรทั้งหมดเขาดวยกันโดยอาศัยความสัมพันธขางตน

ทําการวิเคราะหตอไปจนกระทั่ง all possible causes ถูกบงชี้อยาง ชัดเจน ทบทวนผังทั้งหมด โดยเนนที่ความสัมพันธระหวางสาเหตุตาง ๆ

เชื่อมตอกลุมที่สัมพันธกันเขาดวยกัน

แผนผังความสัมพันธ (Relations Diagrams)

Why doesn’t X happen?

Primary Cause

Primary Cause

Primary Cause

Primary Cause

Tertiary Cause

Secondary Cause

Secondary Cause

Secondary Cause

Secondary Cause

Tertiary Cause

4th level Cause

Tertiary Cause

Tertiary Cause

4th level Cause

5th level Cause

6th level Cause

Tertiary Cause

Secondary Cause

แผนผังความสัมพันธ (Relations Diagrams)

จากตัวอยางท่ีแลวเก่ียวกับ เร่ืองระบบโครงขาย เรา สามารถเขียนแผนผังความ สัมพันธของสาเหตุตาง ๆ ไดดังรูป

สรุป • เมื่อมองในแงมุมอื่น ……..

• แผนผังความสัมพันธสามารถอธิบายไดวาเปนเทคนิคสําหรับการทําให ความสัมพันธ

ระหวางกันที่ซับซอนของกลุมปจจัยที่มีผลกระทบมากมายหลายประการ กอตัวเปนลําตน กิ่งและกานของแผนผังเหตุและผลของเครื่องมือแบบเดิม

• แผนผังความสัมพันธจะถูกใชในการสรุปความสัมพันธที่มีผลกระทบซึ่งกันและ กันอยางซับซอนเกินกวาที่จะใชแผนผังเหตุและผลมาอธิบาย ใหมีความชัดเจน

• เมื่อมาถึงจุดนี้ พอเรียบเรียงส่ิงที่เราผานมาไดวา การเริ่มจากการระดม ความคิด แลวเรานําความคิดตาง ๆ มาแยกออกเปนกลุมโดยอาศัยแผนผังเชื่อมโยง จากนั้น จึงใชแผนผังความสัมพันธมาแสดงความสัมพันธของเหตุการณ และ ลําดับความสําคัญของเหตุการณ

แผนผังตนไม (Tree Diagrams) แผนผังความสัมพันธจะเปนตัวบอกถึงปญหาตาง ๆ รวมทั้งความสัมพันธซึ่งกัน และกัน

แผนผังตันไมจะถูกนํามาใชแกปญหาเหมาะ สําหรับการผลักดันกลยุทธ ที่ดีเยี่ยมที่สุดอยางเปนระบบ เพื่อใหสําเร็จตามวัตถุประสงค

แผนผังตนไมพัฒนามาจากการวิเคราะหหนาที่งานใน Value Engineering เริ่มจากการตั้งวัตถุประสงค (เชน Target Goal หรือ Result) แลวดําเนินการ พัฒนากลยุทธสืบตอไปเรื่อย ๆ เพื่อใหบรรลุ ผลสําเร็จ

บางทีเรียกวา Systematic diagrams หรือ Dendrograms

3.

Target Goal

Target Goal

Target Goal

แผนผังตนไม (Tree Diagrams)

Target = วัตถุประสงค Goal = กลยุทธ

แผนผังตนไม (Tree Diagrams) แผนผังทําใหมีกลยุทธสําหรับแกปญหาเปนระบบ หรือ เปนตัวกลางในการ

บรรลุวัตถุประสงคซ่ึงถูกพัฒนาอยางมีระบบและมีเหตุผล ทําใหรายการที่ สําคัญอันใดอันหนึ่งไมตกหลนไป

ทําใหการตกลงกันภายในสมาชิกสะดวกขึ้น

ทําใหบงชี้และแสดงกลยุทธในการแกปญหาอยางขัดเจน ทําใหเกิดความมั่นใจ

To Accomplish

Primary means

Constraints

Secondary means

Secondary means 3rd means 3rd means 3rd means

3rd means

4th means 4th means

4th means 4th means 4th means 4th means 4th means

แผนผังตนไม (Tree Diagrams) วิธีการทําผังตนไม เขียนเรื่องที่ตองการแกไข หรือ เปาหมายที่คัดเลือกมาจากแผนผังความสัมพันธลงใน

“บัตรวัตถุประสงค (Objective card)” เพื่อใชบัตรนี้ เปนเปาหมายในการดําเนินงาน

ระบุขอจํากัดตาง ๆ ที่ขัดขวางไมใหบรรลุวัตถุประสงค

พิจารณากลยุทธหรือวิธีการที่เปนไปไดที่จะทําใหบรรลุวัตถุประสงคโดยระบุลงไปใน “บัตรวิธีการ” กลยุทธระดับแรกนี้เรียกวา “วิธีการลําดับแรก (Primary means)”

นํา “บัตรวิธีการลําดับแรก” แตละอันมาเปนวัตถุประสงคตอไป เขียนกลยุทธตาง ๆ ที่จะทําใหบรรลุวัตถุประสงค ซึ่งเรียกกันวา “วิธีการลําดับที่ 2”

จัดเรียงบัตรวิธีการตามลําดับ จากซายไปขวาหรือบนลงลาง และ ลากเสนเชื่อมตอกัน

แผนผังตนไม (Tree Diagrams)

เขียนแผนผังขยายตอไปจนถึงระดับท่ี 4 โดยทบทวนแตละวิธีการ กลับไปกลับ มา (from objective to means and means to objective)

เพิ่มการดใหมากข้ึนถาจําเปน

แผนผังตนไม (Tree Diagrams) Completing a Tree Diagram

To Accomplish

3rd means

3rd means

Primary means

3rd means

3rd means

Constraints

Primary means

Secondary means

Secondary means

Secondary means

Secondary means

3rd means

3rd means

3rd means

3rd means

4th means

4th means

4th means

4th means

4th means

4th means

4th means

4th means

4th means

4th means

4th means

4th means

แผนผงัตนไม (Tree Diagrams)

สามารถนําแผนผัง ความสัมพันธมาเขียนใหม แตทําในลักษณะ ของการแกปญหา เชน ปญหาเรื่อง Network Reliability แนวทางการ แกปญหาคือ ใหผูขายเขามาชวย

ปญหา

ทางแก

แผนผังแมทริกซ (Matrix Diagrams)

สําหรับการทําใหปญหากระจางชัดโดยการคิดแบบหลาย ๆ มิติ

ประกอบดวยอาเรยแบบ 2 มิติทําใหมองเห็น location และ nature of problem ในเวลาเดียวกัน

เพื่อใชในการคนหาสาเหตุหลักของปญหา หรือ แนวทางท่ีเปนกุญแจสําคัญ ในการแกปญหา โดยมองจากความสัมพันธในเซลตาง ๆ ของแมทริกซ

4.

แผนผังแมทริกซ (Matrix Diagrams)

ขอดีของแผนผังแมทริกซ

ชวยใหสามารถนําขอมูลจากความคิดเห็นท่ีมีฐานจากประสบการณ ออกมาใช งานไดอยางรวดเร็วและเต็มท่ี บางทีเราจะเห็นวา ขอมูล เหลาน้ี สามารถนํามาใชไดอยางมีประสิทธิผลมากกวาขอมูลท่ีเปน ตัวเลขเสียอีก

ทําใหความสัมพันธกันในกลุมท่ีมีสถานการณแตกตางกันกระจาง ชัดเจนข้ึน ซ่ึงทําใหปญหาโดยรวมปรากฏชัดข้ึนมาทันที

แผนผังน้ีชวยกําหนดตําแหนงของปญหาไดอยางชัดเจน

แผนผังแมทริกซ (Matrix Diagrams)

จากแผนผังตนไมสูแผนผังแมทริกซ

L

L1

L2

Lm

R

R1 R2 Rn

R R1 R2 Rj Rn

L1

L2

Li

Lm

L

แนวความคดิที่เปนกญุแจสาํคญัในการแกปญหา

แผนผังแมทริกซ (Matrix Diagrams)

แผนผังแมทริกซ (Matrix Diagrams) การสรางแผนผังแมทริกซ

พิจารณาจากผังตนไมและเลือกกลยุทธท่ีดีท่ีสุดออกมา นํามาเขียนลง ดานซายมือของกระดาษ เพื่อทําเปนแกนนอนของแมทริกซ (Row) ในแกนตั้ง (column) จะแยกเปน 2 กลุมคือ กลุมการประเมินผล (ไดแก ประสิทธิผล การนําไปปฏิบัติได ลําดับตําแหนง) และ กลุมความรับผิด ชอบ (ไดแก ผูมีหนาท่ีรับผิดชอบ) พิจารณาชองแตละชองของแมทริกซและใสสัญลักษณท่ีเหมาะสมลง ไป เพื่อแสดงระดับของคะแนนการประเมิน(ความสําคัญ) และ แสดงระดับความรับผิดชอบวาเปนความรับผิดชอบหลัก หรือ ความรับผิดชอบรอง

แผนผังแมทริกซ (Matrix Diagrams)

ตัวอยางการกําหนดสัญลักษณในเซล

Efficacy: O=good, =satisfactory, X=none

Practicability: O=good,=satisfactory, X=none

แปลความหมายจากแผนผังแมทริกซ จดบันทึกความหมายของสัญลักษณท่ีใช รวมท้ังขอมูลอ่ืน ๆ ท่ีจําเปน

แผนผังแมทริกซ (Matrix Diagrams) O O =1 O =4 Principal

O =2 O X =5 O Subsidiary

=3 X =6

Effica

cy

Prac

ticab

ility

Rank

Site Q

C circ

le

Secti

on/Pl

ant

QC

circl

e sup

porte

r

Secti

on/Pl

ant

Mana

ger

Lead

er

Memb

er

4th level means from Tree diagram O O 1 O4th level means

from Tree diagram O O 1 O Hold 4 times/month4th level means

from Tree diagram O 3 O At every meeting4th level means

from Tree diagram O 2 O4th level means

from Tree diagram O X 5 O At least 3 times/year/person4th level means

from Tree diagram O O 1 O O4th level means

from Tree diagram 4 O4th level means

from Tree diagram O 2 O4th level means

from Tree diagram O O 1 O4th level means

from Tree diagram O O 1 O

Evaluation Responsibilities

Remarks

จากแผนผังความสัมพันธ (Relations Diagrams)

สูผังตนไม

การใชผังแมทริกซรวมกับผังตนไม

แผนผังลูกศร (Arrow Diagrams)

สําหรับจัดทํากําหนดการที่เหมาะสมและการควบคุมกําหนดการอยางมีประสิทธิผล

เพื่อใชในการจัดทํากําหนดการและควบคุมกําหนดการในการแกไขปญหา

แสดงความสัมพันธระหวางงานตาง ๆ (tasks) ที่ตองลงมือทํา ในแผน งานหนึ่ง ๆ

ใชเทคนิคของ Network โดยให nodes แทน events และ arrows แทน activities

ถูกนํามาใชใน PERT (Program Evaluation and Review Technique) และ CPM

(Critical Path Method)

5.

แผนผังลูกศร (Arrow Diagrams)

ขอดีของแผนผังลูกศร ทําใหงานทั้งหมดมองเห็นไดและสามารถระบุอุปสรรคที่อาจเกิดขึ้นกอน เริ่ม

ทํางาน

สามารถเขียนโครงขายนําไปสูการคนพบการปรับปรุงที่เปนไปได ซ่ึงอาจ ถูกมองขามไป

ทําใหการตรวจติดตามความกาวหนาของงานงายขึ้น สามารถจัดการกับ การเปล่ียนแปลงแผนงานไดทันที และมุงไปสูปญหาที่อาจเกิดขึ้น

ปรับปรุงการส่ือสารในระหวางสมาชิกกลุม สงเสริมความเขาใจ และ เอ้ือ อํานวยตอการตกลงกัน

แผนผังลูกศร (Arrow Diagrams)

Strategy

1

Constraints

Activity

2

4

3 5 9

6 8

7

10 13

12

11

แผนผังลูกศร (Arrow Diagrams) การสรางแผนผังลูกศร

พิจารณาจากแผนผังตนไม และ เลือกกลยุทธที่ดีที่สุดที่จะนํามาปฏิบัติ เพื่อเขียน เปนวัตถุประสงคของแผนผังลูกศร

กําหนดขอจํากัดตาง ๆ สําหรับการมุงไปยังวัตถุประสงค จัดเรียงลําดับของกิจกรรมทั้งหมดที่จะทําใหบรรลุวัตถุประสงค กิจกรรมที่ไมจําเปนหรือซับซอนใหตัดออกไป และ เชื่อมโยงกิจกรรมที่เหลืออยู

เขาดวยกัน ทบทวนแผนผังทั้งหมด และ เพิ่มกิจกรรมที่จําเปนเขาไป หาทางเดินของแผนผัง โดยใหผานจุดที่มีจํานวนที่มีกิจกรรมมากที่สุด บันทึกชื่อตาง ๆ หรือ ขอมูลที่จําเปนกํากับไวดวย (ถาตองการ)

แผนผังลูกศร (Arrow Diagrams)

Strategy

1

Constraints

Activity

2

4

3 5 9

6 8

7

10 13

12

11

จากการ Brainstorming สู Affinity…จาก Affinity สู…

Relations Diagram…..และไปสู…

Tree Diagram …..และไปสู …….

Arrow Diagram เพ่ือการควบคุมการดําเนินงาน

เรียนรูอะไรไปแลวบาง • เริ่มจากการระดมความคดิเพ่ือหา Cause ตาง ๆ

• จับกลุม Cause ตาง ๆ ที่ทานคิดข้ึนมา โดยใช Affinity Diagram

• แสดงความสัมพันธกันของแตละกลุมของ Cause โดยใช Relation Diagram

• ยก Cause ที่สําคัญออกมาระดมความคิดเพ่ือหาแนวทางในการแกปญหา โดยใช Tree Diagram

• ใช Matrix Diagram แสดงนัยสําคัญของแนวทางการแกปญหาแตละแบบ แลว เลือกแนวทาง แกปญหาที่เหมาะสม

• ใช Arrow Diagram แสดงกระบวนการดําเนนิการแกปญหาและใชในการควบ คุมข้ันตอนการดําเนินงานตามขางตน

• ข้ันตอนใด กระบวนการใดทีต่องมทีางเลือก หรือ การตัดสินใจใหใช แผนภูมิข้ันตอนการตัดสินใจ (Process Decisions Program Charts) เขาชวย

แผนภูมิขั้นตอนการตัดสินใจ (Process Decisions Program Charts)

สําหรับสรางผลลัพธที่ตองการ จากทางออกที่เปนไปไดหลาย ๆ แบบ

แผนภูมิกระบวนการตัดสินใจ เปนเคร่ืองมืออยางหน่ึงท่ีชวยในการปองกัน การดําเนินการไมใหเบ่ียงเบนออกไปจากแผนท่ีวางไว ซึ่งอาจสงผลใหเกิดปญหา ท่ีรายแรงตามมา

ใชสําหรับวางแผนสําหรับกรณีฉุกเฉินตาง ๆ ท่ีอาจเกิดข้ึน

6.

ขอดีของ Process Decisions Program Charts (PDPC’s)

ประสานการพยากรณและชวยใหสามารถนําประสบการณในอดีตมาใช ในการ คาดการณกรณีฉุกเฉินที่ซับซอนตาง ๆ และรูปญหาที่อาจเกิดขึ้นไดลวงหนา

ชวยใหชี้จุดที่เปนปญหา และ ยืนยันสวนที่มีความสําคัญเปนลําดับแรกได

จะแสดงใหเห็นวิธีการที่จะนําเหตุการณเหลานี้ไปสูขอสรุปที่ประสบผลสําเร็จ แผนภูมินี้จะชวยใหทุกคนที่เกี่ยวของเขาใจความประสงคของผูทําการตัดสินใจ

เปนเครื่องมือในการวางแผนที่มีความยืดหยุน ซ่ึงยอมใหมีการดัดแปลงแผนได อยางงายดาย โดยการรวบรวมความเห็นของทุก ๆ คน

แผนภูมิเขาใจงาย และ สงเสริมความรวมมือและการส่ือสารระหวางกัน

แผนภูมิข้ันตอนการตัดสินใจ (Process Decisions Program Charts)

การสรางแผนภมูิข้ันตอนการตัดสินใจ

พิจารณาจากแผนผังตนไม และเลือกกลยุทธในการแกปญหาที่มีประสิทธิผล มากที่สุดออกมา

กําหนดเปาหมายที่ตองการบรรลุออกมา

ระบุถึงสถานการณในปจจุบัน และ กําหนดเปน “จุดเริ่มตน”

ระบุกลยุทธตาง ๆ ที่จะนําไปสูการบรรลุเปาหมาย

ระบุปญหาเพิ่มเติมที่อาจเกิดขึ้นในแตละกิจกรรมอยางส้ัน ๆ

เชื่อมโยงกิจกรรมตาง ๆ และ ปญหาเขาดวยกัน

พิจารณาแผนผังเพื่อดูวา มีจุดใดที่จะตองมีกิจกรรมเพิ่มเติม เพื่อทําใหการแก ปญหามีประสิทธิผลมากที่สุด และบรรลุเปาหมายที่ตั้งไว

แผนภูมิข้ันตอนการตัดสินใจ (Process Decisions Program Charts)

แผนภูมิข้ันตอนการตัดสินใจ (Process Decisions Program Charts)

Start

GOAL

YES YES

NO NO NO

NO

NO

YES

NO NO

Forward and Backward Chaining

การวิเคราะหขอมูลแบบแมทริกซ (Matrix Data Analysis)

ใชวิเคราะหองคประกอบพืน้ฐานของความสัมพันธ

เพื่อใชในการวิเคราะหองคประกอบพื้นฐานท่ีเก่ียวของกับเร่ืองท่ีเราตองการ พิจารณาวามีความสัมพันธเก่ียวของกันอยางไร

เพื่อใชเปนขอมูลในการตัดสินใจเลือกเร่ืองท่ีมีความสําคัญมากท่ีสุดมาใชใน การทํางาน

7.

การวิเคราะหขอมูลแบบแมทริกซ (Matrix Data Analysis)

ขอดีของการวิเคราะหขอมูลแบบแมทริกซ

สามารถใชไดกับหลาย ๆ พื้นที่ที่แตกตางกันออกไป เชน market surveys,

new product planning, process analysis)

นํามาใชเมื่อ Matrix diagram ไมสามารถใหขอมูลไดอยางพอเพียง ในการ

ตัดสินใจ

ใชชวยในการตัดสินใจในการกําหนดความสําคัญ (Prioritization Grid)

การวิเคราะหขอมูลแบบแมทริกซ (Matrix Data Analysis) การสราง Prioritization Grid แยกแยะ goal, ทางเลือกอ่ืน ๆ และ แนวทางในการตัดสินใจ

จัดวางทางเลือกตามลําดับความสําคัญ

ใหคานํ้าหนักเปนเปอรเซ็นตแตละทางเลือก(all weights should add up to 1)

รวม ratings แตละอันเขาดวยกัน เพื่อกําหนด overall ranking (Divide by number of options for average ranking)

จัดลําดับ Rank ของแตละทางเลือก(Average the rankings and apply a completed ranking)

คูณคานํ้าหนัก (weight) ดวยคา rank ในแมทริกซ (in example, 4 is best, 1 is worst)

การวิเคราะหขอมูลแบบแมทริกซ (Matrix Data Analysis)

ผลที่ไดคือคา Importance Score รวมคา Importance Scores ของแตละทางเลือก Rank order the alternatives according to

importance

การวิเคราะหขอมูลแบบแมทรกิซ (Matrix Data Analysis)

Source: Foster, S., Managing Quality (Upper Saddle River, NJ: Prentice Hall, 2001)

Cost ReliabilityOptionsDesign A

.30 .203 3

.90 .60 3.2 1 (tie)Design B

.40 .104 1

1.6 .10 3.0 2Design C

.25 .252 4

.50 1 2.5 3 Design D

.10 .201 3

.10 .60 3.2 1 (tie)1.05 .75.26 .192 4

Importance Sum Score

Option Ranking(least important)

Strength

Importance scoreRank

Percentage weight

Percentage weightRank

Importance score

Percentage weightRank

Importance score

Percentage weightRank

Importance scoreSum of weightsAverage weight

Criterion Ranking

Customer Acceptance(most important)

.404

1.6

.303

.90

.251

.25

0.33

.901.25

2.40

.25

.75

.101

.10

.20

.95

.243

Criteria

.404

3

1.6

.311

173