division - ricethailand.go.thbrrd.ricethailand.go.th/images/pdf/research2556-2558/pdf/10.pdf ·...

35
ปกใน รายงานผลการวิจัยการใช้เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศในการเพิ่มผลผลิต และพยากรณ์การผลิตข้าว Application of Geographic Information System on Yield Improvement and Prediction of Rice Production โดย นางกิ่งแก้ว คุณเขต และคณะวิจัย กองวิจัยและพัฒนาข้าว กรมการข้าว Rice Research and Development Division

Upload: others

Post on 08-Aug-2020

5 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: Division - ricethailand.go.thbrrd.ricethailand.go.th/images/pdf/research2556-2558/pdf/10.pdf · บทที่ 3 วิธีด้าเนินงานวิจัย. 7. บทที่

ปกใน

รายงานผลการวิจัยการใช้เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศในการเพิ่มผลผลิต

และพยากรณ์การผลิตข้าว

Application of Geographic Information System on Yield Improvement and Prediction of Rice Production

โดย

นางกิ่งแก้ว คุณเขต และคณะวิจัย

กองวิจัยและพัฒนาข้าว

กรมการข้าว

Rice R

esea

rch an

d Dev

elopm

ent D

ivisio

n

Page 2: Division - ricethailand.go.thbrrd.ricethailand.go.th/images/pdf/research2556-2558/pdf/10.pdf · บทที่ 3 วิธีด้าเนินงานวิจัย. 7. บทที่

บทคัดย่อ

การใช้เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศในการเพิ่มผลผลิตและพยากรณ์การผลิตข้าว ด้วยการแปลภาพถ่ายดาวเทียมเบื้องต้น เพื่อพยากรณ์พื้นที่ปลูกข้าว ใน 3 พื้นที่ ได้แก่ พื้นที่ที่มีน้้าท่วมซ้้าซาก หรืออยู่ใกล้ชายฝั่ง มีปัญหาน้้าทะเลท่วมถึงในบางฤดู ท้าความเสียหายให้กับนาข้าว ของจังหวัดปราจีนบุรี พบว่ามีพื้นที่ปลูกข้าวครอบคลุม 5 อ้าเภอ จ้านวน 126,244 ไร่ มีความคลาดเคลื่อนจากพื้นที่จริงเพียงร้อยละ 0.05 ส่วนพื้นที่ภาคเหนือบางส่วนที่สามารถปลูกข้าวฤดูนาปรังได้ เช่นจังหวัดเชียงราย พบว่ามีพื้นที่ปลูกข้าวฤดูนาปี 2553 จ้านวน 1,245,342 ไร่ ซึ่งใกล้เคียงกับข้อมูลเนื้อที่ปลูกข้าวนาปี 2553 ของจังหวัด มีความคลาดเคลื่อนเพียงร้อยละ 1 รวมทั้งแปลภาพเนื้อที่ปลูกข้าวนาปรัง 2553 ของจังหวัดเชียงรายได้ 462,896 ไร่ ซึ่งก็มากกว่าข้อมูลการปลูกข้าวนาปรัง 2553 ของจังหวัด ร้อยละ 3 และพื้นที่นาที่อยู่ในที่สูง หรืออยู่ในหุบเขา เป็นที่อาศัยของชนเผ่าต่างๆ ยากแก่การเข้าถึงพื้นที่ ของจังหวัดแม่ฮ่องสอน ประมาณเนื้อที่เพาะปลูกได้ 113,842 ไร่ ซึ่งมากกว่าข้อมูลพื้นที่ปลูกข้าวนาปีของจังหวัด ที่มีเนื้อที่ 96,809 ไร่ จ้านวน 17,033 ไร่ หรือ ร้อยละ 17

การแปลภาพถ่ายมีความแม่นย้าใน 2 พื้นที่ คือ จังหวัดปราจีนบุรีและเชียงราย ท้าให้ได้ข้อมูลพื้นที่ปลูกที่เป็นปัจจุบันมากขึ้น ส่วนจังหวัดแม่ฮ่องสอน มีความคลาดเคลื่อนมากกว่า 2 จังหวัดแรก เนื่องจากเป็นพื้นที่ขนาดเล็ก กระจายอยู่ทั่วไป อย่างไรก็ดีผลจากการศึกษา สามารถใช้เป็นแนวทางในการคาดคะเนผลผลิตข้าวในพื้นที่ปลูกข้าวนาปรัง เพื่อขยายก้าลังการผลิต ตลอดจนเพื่อความมั่นคงทางอาหารในเขตภาคเหนือตอนบน รวมทั้งเพื่อป้องกันความเสียหายในการปลูกข้าวในพื้นที่ที่อาจเกิดจากภัยธรรมชาติได้

การใช้แบบจ้าลองการเจริญเติบโตของข้าว เพื่อพัฒนาค้าแนะน้าการผลิตข้าวเฉพาะพื้นที่ของประเทศไทย โดยการประเมินปัจจัยที่เป็นข้อจ้ากัดของผลผลิตข้าว เพื่อหาแนวทางในการแก้ไข และคาดการณ์ผลผลิตที่สามารถเพิ่มขึ้นได้ มีผลตอบแทนทางเศรษฐกิจที่เหมาะสม จากการท้าแปลงศึกษาสัมประสิทธิ์ทางพันธุกรรมของข้าว เพื่อน้าไปค้านวนสัมประสิทธิ์ทางพันธุกรรมข้าว โดยท้าการปลูกทุกเดือนในข้าวนาปรัง และวันปลูก ที่ต่างกันในข้าวนาปี โดยที่ ศูนย์วิจัยข้าวพัทลุง ปลูกข้าวนาปรังได้ 12 วันปลูก ข้าวนาปีได้ 4 วันปลูก ศูนย์วิจัยข้าวปทุมธานี ปลูกข้าวนาปรังได้ 13 วันปลูก ข้าวนาปีได้ 4 วันปลูก ศูนย์วิจัยข้าวฉะเชิงเทรา ปลูกข้าวนาปรังได้ 12 วันปลูก ศูนย์วิจัยข้าวปราจีนบุรี ปลูกข้าวนาปรังได้ 8 วันปลูก ศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท ปลูกข้าวนาปีได้ 2 วันปลูก ศูนย์วิจัยข้าวเชียงราย ปลูกข้าวนาปรังได้ 3 วันปลูก ข้าวนาปีได้ 3 วันปลูก และศูนย์วิจัยข้าวอุบลราชธานี ปลูกข้าวนาปีได้ 2 วันปลูก นอกจากนี้ ข้อมูลการเจริญเติบโตของข้าว เชน วันก้าเนิดชอดอก วันออกดอก วันเก็บเกี่ยว พรอมน้้าหนักแหงในแตละชวงของการเจริญเติบโต น้ามาจัดรูปแบบใหสามารถใชไดกับ โปรแกรม DSSATv46 เพื่อปรับคาสัมประสิทธิ์ทางพันธุกรรมของขาว ดวย GENCALC และ GLUE เพื่อให้ได้ความแม่นย้าในการน้าเข้าข้อมูลเกี่ยวกับปัจจัยในส่วนของพันธุกรรมข้าวด้านการเจริญเติบโตและผลผลิต ในการใช้แบบจ้าลองเพื่อพัฒนาค้าแนะน้าการผลิตข้าวเฉพาะพื้นที่ของประเทศไทยต่อไป ค าส าคญั : เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ ภาพถ่ายดาวเทียม ภาคเหนือ พื้นที่นาในที่สูง พืน้ที่น้้าท่วมซ้้าซาก แบบจ้าลองการเจริญเติบโตของข้าว

Rice R

esea

rch an

d Dev

elopm

ent D

ivisio

n

Page 3: Division - ricethailand.go.thbrrd.ricethailand.go.th/images/pdf/research2556-2558/pdf/10.pdf · บทที่ 3 วิธีด้าเนินงานวิจัย. 7. บทที่

Abstract

Application of Geographic Information System for prediction of rice production in 3 pilot areas with visual interpretation of satellite images had been conducted during 2011-2013. Those areas represented flooded area in the Central plain, dry season rice and scattered hill tribe rice growing area or upland in Northern region located in Prachinburi, Chiengrai and Mae Hong Son, respectively. Results showed high accuracy interpretation of 126,244 rai with 0.05% difference in Prachinburi, 1,245,342 rai and 462,895 rai with 1% and 3% difference for wet season and dry season area, respectively, in Chiengrai and around 113,842 rai with 17% error in scattered rice area in Mae Hong Son. However, these interpretation results are current data and can be used for provincial or country strategies for rice production planning in those specific areas. Crop simulation model was used to develop recommendations for specific rice production areas. Factors affecting on rice yield were evaluated for improving the system. Forcasting of rice yield and economic return could be done before rice growing season. However, field experiments for rice Genetic Coefficients calculation need to be done before application of crop model. Both photo period sensitive rice and non photo period sensitive rice varieties were planted on variruos planting dates to evaluate its’ effects on growth and development. Panicle initiation dates, flowering dates, harvestiong dates, biomass, and rice yields were collected and formatted to input into the DSSATv4.6 model. GENCALC and GLUE GC calculator modules in the DSSAT model will be run to calculate rice GC for further developing the recommendations for specific rice production areas. Keywords : Geographic Information System, satellite images, Northern region, upland rice, flooded area, Crop simulation model

Rice R

esea

rch an

d Dev

elopm

ent D

ivisio

n

Page 4: Division - ricethailand.go.thbrrd.ricethailand.go.th/images/pdf/research2556-2558/pdf/10.pdf · บทที่ 3 วิธีด้าเนินงานวิจัย. 7. บทที่

ค าน า

เทคโนโลยีสารสนเทศ มีหลายรูปแบบ เช่น เทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ การใช้ภาพถ่ายดาวเทียม การใช้แผนที่ภูมิศาสตร์ ตลอดจนการใช้แบบจ้าลองเพื่อการท้านายหรือพยากรณ์การผลิตต่างๆ ทั้งทาง การเกษตร ประมง ป่าไม้ ซึ่งในปัจจุบันเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ มีส่วนส้าคัญ ช่วยให้การปฏิบัติงานวิจัยต่างๆ มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น การพยากรณ์ด้านการเกษตรด้วยแบบจ้าลอง มีหลายชนิด เช่น ด้านแบบจ้าลองการผลิตพืช ด้านการจัดการน้้าชลประทาน การจัดการดิน ป่าไม้ และทรัพยากรทางทะเล เป็นต้น การใช้แบบจ้าลองการเจริญเติบโตของข้าว เป็นเครื่องมือที่ช่วยให้การผลิตข้าวมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้ น ภาพถ่ายจากดาวเทียม เป็นข้อมูลสารสนเทศภูมิศาสตร์อีกชนิดหนึ่ง สามารถจัดหาได้จากดาวเทียมหลายดวง เช่น LANSAT SPOT และล่าสุดจากดาวเทียม THEOS ซึ่งเป็นดาวเทียมดวงแรกของคนไทย และเริ่มเปิดบริการข้อมูลสารสนเทศภูมิศาสตร์ เพื่อน้าไปใช้ในการจัดท้าแผนที่ ส้ารวจทรัพยากรธรรมชาติติดตามสถานการณ์ต่างๆ ทั้งด้านการเกษตร ป่าไม้ ประมง ตลอดจนเฝ้าระวังภัยพิบัติต่างๆได้ดี (ส้านักพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ, 2552) การประยุกต์ใช้ภาพถ่ายดาวเทียมเพื่อการพยากรณ์การผลิตข้าว จะท้าให้ได้ข้อมูลที่ทันสมัย เป็นปัจจุบัน ช่วยให้การวางแผนการผลิต สามารถท้าได้อย่างมีประสิทธิภาพ แม่นย้ามากยิ่งขึ้น ดังนั้นเมื่อสามารถพยากรณ์ผลผลิต จากการใช้แบบจ้าลองการผลิต ตามสถานการณ์ต่างๆที่เฉพาะแล้ว การใช้ภาพถ่ายดาวเทียมของพื้นที่จริงนั้นๆมาประกอบพื้นที่ปลูกข้าวของประเทศไทย ที่มีความหลากหลายด้านกายภาพของพื้นที่ บางแห่งอยู่ในที่สูง หรืออยู่ในหุบเขา เป็นที่อาศัยของชนเผ่าต่างๆ ยากแก่การเข้าถึงพื้นที่ บางแห่งมีน้้าท่วมซ้้าซาก บางแห่งอยู่ใกล้ชายฝั่ง มีปัญหาน้้าทะเลท่วมถึงในบางฤดู ท้าความเสียหายให้กับนาข้าว ท้าให้การพัฒนาการผลิตข้าวในพื้นที่เหล่านี้กระท้าได้ยาก จะช่ วยให้ข้อมูลด้านพื้นที่ ที่เป็นปัจจุบันมากที่สุด ช่วยให้ผลการท้านายตรงกับความเป็นจริงมากที่สุดด้วย ช่วยในการคาดคะเนการผลิตข้าวในพื้นที่เหล่านั้น ได้ข้อมูลจริงและแม่นย้ามากยิ่งขึ้น ส่งผลให้การผลิตข้าวในพื้นที่เหล่านั้น มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น

เดือน มกราคม พ.ศ. 2558

Rice R

esea

rch an

d Dev

elopm

ent D

ivisio

n

Page 5: Division - ricethailand.go.thbrrd.ricethailand.go.th/images/pdf/research2556-2558/pdf/10.pdf · บทที่ 3 วิธีด้าเนินงานวิจัย. 7. บทที่

สารบัญ

หน้า

บทที่ 1 บทน้า 1

บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 3

บทที่ 3 วิธีดา้เนินงานวิจัย 7

บทที่ 4 ผลการทดลอง 11

บทที่ 5 สรุปผลการวิจัย อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ 21

เอกสารอ้างอิง 23

ภาคผนวก 25

- รายชื่อกิจกรรมทั้งหมดที่ได้ด้าเนินการ 26

- รายชื่อคณะผู้ด้าเนินการ 27

Rice R

esea

rch an

d Dev

elopm

ent D

ivisio

n

Page 6: Division - ricethailand.go.thbrrd.ricethailand.go.th/images/pdf/research2556-2558/pdf/10.pdf · บทที่ 3 วิธีด้าเนินงานวิจัย. 7. บทที่

สารบัญตาราง

หน้า

ตารางที่ 1 พนัธุ์ข้าวและศูนย์วิจัยข้าวทีร่ับผิดชอบในการด้าเนินการศึกษาสัมประสิทธิ์

ทางพันธุกรรมของข้าว ฤดูนาปี และฤดูนาปรัง พ.ศ. 2554-2556 15

ตารางที่ 2 สว่นหนึ่งของไฟล์ GENCALC2.RUL 17

ตารางที่ 3 สว่นหนึ่งของ ไฟล์ ParameterProperty.xls 18

Rice R

esea

rch an

d Dev

elopm

ent D

ivisio

n

Page 7: Division - ricethailand.go.thbrrd.ricethailand.go.th/images/pdf/research2556-2558/pdf/10.pdf · บทที่ 3 วิธีด้าเนินงานวิจัย. 7. บทที่

สารบัญภาพ

หน้า

ภาพที่ 1 RADARSAT-2 ตุลาคม-ธันวาคม 2010 จงัหวัดปราจีนบุรี 11

ภาพที่ 2 พื้นท่ีปลูกข้าวจากการแปลภาพถ่ายดาวเทยีม จังหวัดปราจีนบุรี 11

ภาพที่ 3 Multispectral จังหวัดเชียงราย จ้านวน 5 ภาพ 12

ภาพที่ 4 พื้นท่ีปลูกข้าวฤดูนาปีจากการแปลภาพถ่ายดาวเทยีม จังหวัดเชียงราย 13

ภาพที่ 5 Multispectral จังหวัดแม่ฮ่องสอน จ้านวน 6 ภาพ 14

ภาพที่ 6 พื้นท่ีปลูกข้าวจากการแปลภาพถ่ายดาวเทยีม จังหวัดแม่ฮ่องสอน 14

Rice R

esea

rch an

d Dev

elopm

ent D

ivisio

n

Page 8: Division - ricethailand.go.thbrrd.ricethailand.go.th/images/pdf/research2556-2558/pdf/10.pdf · บทที่ 3 วิธีด้าเนินงานวิจัย. 7. บทที่

1

บทที่ 1

บทน ำ

ควำมเป็นมำและควำมส ำคัญของปัญหำ

เทคโนโลยีสารสนเทศ มีหลายรูปแบบ เช่น เทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ การใช้ภาพถ่ายดาวเทียม การใช้แผนที่ภูมิศาสตร์ ตลอดจนการใช้แบบจ าลองเพื่อการท านายหรือพยากรณ์การผลิตต่างๆ ทั้งทาง การเกษตร ประมง ป่าไม้ ซึ่งในปัจจุบันเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ มีส่วนส าคัญ ช่วยให้การปฏิบัติงานวิจัยต่างๆ มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น การพยากรณ์ด้านการเกษตรด้วยแบบจ าลอง มีหลายชนิด เช่น ด้านแบบจ าลองการผลิตพืช ด้านการจัดการน้ าชลประทาน การจัดการดิน ป่าไม้ และทรัพยากรทางทะเล เป็นต้น การใช้แบบจ าลองการเจริญเติบโตของข้าว เป็นเครื่องมือที่ช่วยให้การผลิตข้าวมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ภาพถ่ายจากดาวเทียม เป็นข้อมูลสารสนเทศภูมิศาสตร์อีกชนิดหนึ่ง สามารถจัดหาได้จากดาวเทียมหลายดวง เช่น LANSAT SPOT และล่าสุดจากดาวเทียม THEOS ซึ่งเป็นดาวเทียมดวงแรกของคนไทย และเริ่มเปิดบริการข้อมูลสารสนเทศภูมิศาสตร์ เพื่อน าไปใช้ในการจัดท าแผนที่ ส ารวจทรัพยากรธรรมชาติติดตามสถานการณ์ต่างๆ ทั้งด้านการเกษตร ป่าไม้ ประมง ตลอดจนเฝ้าระวังภัยพิบัติต่างๆได้ดี (ส านักพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ, 2552) การประยุกต์ใช้ภาพถ่ายดาวเทียมเพื่อการพยากรณ์การผลิตข้าว จะท าให้ได้ข้อมูลที่ทันสมัย เป็นปัจจุบัน ช่วยให้การวางแผนการผลิต สามารถท าได้อย่างมีประสิทธิภาพ แม่นย ามากยิ่งขึ้น พื้นที่ปลูกข้าวของประเทศไทย ปีเพาะปลูก 2553/2554 มีประมาณ 64.5 ล้านไร่ ให้ผลผลิตข้าวเปลือก 25.4 ล้านตัน ให้ผลผลิตเฉลี่ย 426 กิโลกรัมต่อไร่ (ส านักงานเศรษฐกิจการเกษตร , 2555) พื้นที่ปลูกข้าวในภาคเหนือ มีลักษณะเป็นที่สูง อยู่สูงจากระดับน้ าทะเลประมาณ 500 -1,000 เมตร พื้นที่ปลูกข้าวบางแห่ง เช่น ในจังหวัดแม่ฮ่องสอน อยู่ในที่สูง หรืออยู่ในหุบเขา ยากแก่การเข้าถึงด้วยการเดินทางด้วยรถยนต์ การใช้ข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียมช่วยในการติดตามพื้นที่ปลูกข้าวต่างๆ เช่นจังหวัดแม่ฮ่องสอน ซึ่งมีความหลากหลายของชนเผ่า ทั้งคนเมือง ชาวไต (ชาวไทยใหญ่) จีนฮ่อ พม่า และชาวเขาเผ่าต่าง ๆ ราวร้อยละ 60 ของประชากรทั้งหมด ต้องการการพัฒนาการผลิตข้าวให้พอเพียงกับการบริโภคในพื้นที่ การประเมินผลผลิตและหาข้อจ ากัดของการผลิตข้าวในระดับพ้ืนที่ เช่น ในระดับต าบล อ าเภอ จังหวัด หรือประเทศ มีวิธีการประเมินได้หลายวิธีด้วยกัน เช่น การเก็บข้อมูลด้วยการสอบถามเกษตรกรโดยตรง การสุ่มตัวอย่างในพื้นที่ ซึ่งมีข้อจ ากัดและเป็นการประเมินเฉพาะจุด และต้องการข้อมูลที่เป็นตัวแทนจ านวนมาก ถ้าหาต้องการทราบผลผลิตทั้งหมด ท าได้โดยน าผลผลิตที่ได้คูณด้วยจ านวนพื้นที่ที่มีทั้งหมด ซึ่งความน่าเชื่อถือจะมีมากน้อยเพียงใด ขึ้นอยู่กับข้อมูลที่ได้เป็นตัวแทนที่ดีและเพียงพอหรือไม่ ในการประเมินผลผลิตข้าวเชิงพื้นที่เครื่องมือที่สามารถน ามาประเมินผลผลิตและประเมินอิทธิพลของปัจจัยที่เป็นข้อจ ากัดของผลผลิตข้าวได้อีกชนิดหนึ่งคือ แบบจ าลอง ที่นอกจากจะประเมินผลผลิตข้าวได้ ยังสามารถประเมินผลกระทบจาก

Rice R

esea

rch an

d Dev

elopm

ent D

ivisio

n

Page 9: Division - ricethailand.go.thbrrd.ricethailand.go.th/images/pdf/research2556-2558/pdf/10.pdf · บทที่ 3 วิธีด้าเนินงานวิจัย. 7. บทที่

2

ปัจจัยอื่นที่มีต่อผลผลิตข้าวได้อีกด้วย เช่น ผลกระทบของความอุดมสมบูรณ์ของดิน ผลกระทบของสภาพอากาศ ปริมาณน้ าฝน ผลกระทบของการใส่ปุ๋ยไนโตรเจน และอื่นๆ ดังนั้นการประเมินผลผลิตและผลกระทบในเชิงพื้นที่จึงเป็นแนวทางหนึ่งที่สามารถหาสาเหตุที่เป็นปัจจัยจ ากัดในการผลิตข้าว และน าไปพัฒนา เพื่อแก้ปัญหาและเพิ่มผลผลิตข้าวในพื้นที่ที่สามารถยกระดับของผลผลิตให้สูงขึ้นได้ต่อไป

สมมติฐำนของกำรวิจัย

สามารถคาดคะเนพื้นที่ปลูก ผลผลิตข้าว พยากรณ์และติดตามสถานการณ์การผลิตข้าว ในพื้นที่ปลูกข้าวในพื้นที่เฉพาะต่างๆของประเทศ ได้ใกล้เคียงสภาพความเป็นจริง และป้องกันความเสียหายที่เกิดกับผลผลิต ประเมินผลกระทบของปัจจัยต่างๆ ที่มีต่อผลผลิตข้าวเฉพาะพื้นที่ แล้วสามารถพัฒนาค าแนะน า การผลิตข้าวที่ให้ผลตอบแทนทางเศรษฐกิจที่ดีและเหมาะสมเฉพาะพื้นที่

ขอบเขตของกำรวิจัย

การวิจัยในครั้งนี้ได้ท าการศึกษาขอบเขตพื้นที่ใน 3 จังหวัด ดังนี้ จังหวัดปราจีนบุรี จังหวัดเชียงราย และจังหวัดแม่ฮ่องสอน และใช้ข้อมูลจาดศูนย์วิจัยข้าวต่างๆร่วมในการวิจัยในครั้งนี้ด้วย

วัตถุประสงค์

คาดคะเนพื้นที่ปลูก ผลผลิตข้าว พยากรณ์และติดตามสถานการณ์การผลิตข้าว ในพื้นที่ปลูกข้าวในพื้นที่เฉพาะต่างๆของประเทศ ได้อย่างใกล้เคียงความจริงมากที่สุด สามารถป้องกันความเสียหายของผลผลิตในพื้นที่ที่อาจเกิดจากภัยธรรมชาติ ด้วยการประยุกต์ใช้ข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียม ตลอดจนใช้แบบจ าลอง การเจริญเติบโตของข้าวเพื่อประเมินผลกระทบของปัจจัยต่างๆ ที่มีต่อผลผลิตข้าวเฉพาะพื้นที่ โดยการประเมินปัจจัยที่เป็นข้อจ ากัดของผลผลิตข้าว หาแนวทางในการแก้ไข และคาดการณ์ผลผลิตที่สามารถเพิ่มขึ้นได้ แล้วพัฒนาค าแนะน าการผลิตข้าวที่ให้ผลผลิต และผลตอบแทนทางเศรษฐกิจที่เหมาะสมเฉพาะพื้นที่

ประโยชน์ทีค่ำดว่ำจะได้รับ

สามารถใช้ภาพถ่ายดาวเทียมในการคาดคะเนสถานการณ์ซึ่งมีความใกล้เคียงกับสภาพความเป็นจริงได้มากที่สุด เพื่อประเมินถึงปัจจัยต่างๆที่มีอิทธิพลต่อผลผลิตข้าวและน าไปสู่แนวทางป้องกันการสูญเสียผลผลิตข้าวได้อย่างทันท่วงที หรือสามารถใช้ในการพัฒนาค าแนะน าการผลิตข้าวเฉพาะพื้นที่อันน ามาซึ่งผลตอบแทนทางเศรษฐกิจดีและเกิดประโยชน์สูงสุด

Rice R

esea

rch an

d Dev

elopm

ent D

ivisio

n

Page 10: Division - ricethailand.go.thbrrd.ricethailand.go.th/images/pdf/research2556-2558/pdf/10.pdf · บทที่ 3 วิธีด้าเนินงานวิจัย. 7. บทที่

3

บทที่ 2

แนวคิดทฤษฎีและงำนวิจัยที่เกี่ยวข้อง

แนวคิดทฤษฎี

ภาพถ่ายจากดาวเทียม มีประโยชน์ในการจัดท าแผนที่ ส ารวจทรัพยากรธรรมชาติติดตามสถานการณ์ต่างๆ ทั้งด้านการเกษตร ป่าไม้ ประมง ตลอดจนเฝ้าระวังภัยพิบัติต่างๆได้ดี (ส านักพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ, 2552) ปัจจุบันเริ่มมีการประยุกต์ใช้ภาพถ่ายดาวเทียม เพื่อการพยากรณ์สถานการณ์ต่างๆ ทั้งด้านการเกษตร ประมง ป่าไม้ ตลอดจนด้านประวัติศาสตร์ ด้านความมั่นคงของประเทศ (ส านักพัฒนาเทคโนโลยอีวกาศและภูมิสารสนเทศ, 2550(ก)) เช่น ด้านการเกษตร มีการส ารวจและจ าแนกความเสื่อมโทรมของสวนส้ม โดยใช้ข้อมูลดาวเทียม SPOT ศึกษาพื้นที่ปลูกล าไย จังหวัดเชียงใหม่ โดยใช้ภาพถ่ายดาวเทียมรายละเอียดสูง IKONOS หรือด้านการเฝ้าระวังภัย เช่น การประยุกต์ใช้ภาพถ่ายดาวเทียม LANSAT-5 ติดตามการเกิดไฟป่า หรือการเกิดน้ าท่วมซ้ าซากที่จังหวัดสุโขทัย เป็นต้น (ส านักพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและ ภูมิสารสนเทศ, 2550(ข)) จังหวัดเชียงราย นับเป็นจังหวัดที่มีพื้นที่ปลูกข้าวมากที่สุดของภาคเหนือ มีพื้นที่ปลูกข้าวหนาแน่น ทางตอนเหนือและตอนกลางของจังหวัด ฤดูนาปี 2551 มีพื้นที่ปลูกประมาณ 1.2 ล้านไร่ ให้ผลผลิตข้าวเปลือก 650,000 ตัน ให้ผลผลิตเฉลี่ย 535 กิโลกรัมต่อไร่ ส่วนใหญ่เป็นข้าวเหนียว 530,000 ตัน ให้ผลผลิตเฉลี่ย 533 กิโลกรัมต่อไร่ และข้าวเจ้า ประมาณ 120,000 ตัน ให้ผลผลิตเฉลี่ย 545 กิโลกรัมต่ อไร่ (ผลผลิตพยากรณ์ โดยส านักงานเศรษฐกิจการเกษตร, 2551) พื้นที่บางส่วนของจังหวัดเชียงราย สามารถปลูกข้าวนาปรังได้ การพยากรณ์พื้นที่ปลูกข้าวนาปรังในเวลาปัจจุบันได้ จะท าให้สามารถคาดคะเนผลผลิตได้อย่างแม่นย า ส่งผลให้สามารถวางแผนการตลาดได้อย่างมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ส าหรับภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน นิยมปลูกข้าวเหนียว กข6 เพื่อการบริโภค และจ าหน่ายเมื่อมีปริมาณเกินความต้องการบริโภค ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง นิยมปลูกข้าวขาวดอกมะลิ 105 ซึ่งเป็นข้าวคุณภาพที่มีชื่อเสียงระดับโลก ท ารายได้ให้กับประเทศมาตลอด มีพื้นที่ปลูกประมาณร้อยละ 80 ของพื้นที่ปลูกข้าวของภาค แต่ทั้งนี้ ผลผลิตเฉลี่ยโดยทั่วไปของข้าวขาวดอกมะลิ 105 ยังอยู่ในเกณฑ์ต่ า ประมาณ 300 กิโลกรัมต่อไร่ (ส านักงานเศรษฐกิจการเกษตร, 2552) เนื่องจากปัจจัยหลายประการ ได้แก่ ดินขาดความอุดมสมบูรณ์ ฝนทิ้งช่วงในระยะที่ส าคัญต่อการให้ผลผลิต เช่นระยะก าเนิดช่อดอก ส่งผลให้เกิดเมล็ดลีบ การใส่ปุ๋ยเพื่อเพิ่มผลผลิตไม่สามารถท าได้ นอกจากนี้ ปัญหาดินเปรี้ยว ดินเค็ม น้ าท่วม ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ตลอดจนปัญหาโรค แมลง หอยเชอรี่ รวมทั้งวัชพืช ในภาคเหนือตอนบน

Rice R

esea

rch an

d Dev

elopm

ent D

ivisio

n

Page 11: Division - ricethailand.go.thbrrd.ricethailand.go.th/images/pdf/research2556-2558/pdf/10.pdf · บทที่ 3 วิธีด้าเนินงานวิจัย. 7. บทที่

4

จังหวัดปราจีนบุรี เป็นอีกจังหวัดหนึ่งที่มีพื้นที่ปลูกข้าว ประมาณ 9 แสนไร่ มีพื้นที่ปลูกข้าวมากในอ าเภอบ้านสร้าง อ าเภอเมืองปราจีนบุรี อ าเภอศรีมโหสถ อ าเภอประจันตคาม และอ าเภอกบินทร์บุรี จากการศึกษาเขตศักยภาพการผลิตข้าว พบว่ามีพื้นที่ ประมาณ 300,000 ไร่ ที่สามารถให้ผลผลิต 849 กิโลกรัมต่อไร่ (ศูนย์วิจัยข้าวปราจีนบุรี, 2548) อย่างไรก็ดี บางพื้นที่ประสพปัญหาน้ าทะเลเข้าถึงพื้นที่นาข้าว ท าให้ผลผลิตข้าวเสียหาย ดังนั้นหากน าเทคโนโลยีภาพถ่ายดาวเทียม ช่วยติดตามสถานการณ์น้ าทะเลที่ไหล เข้ามาในแม่น้ าปราจีนบุรี เข้าท าความเสียหายให้กับนาข้าวได้ทันท่วงที จะช่วยลดความสูญเสียและเป็นการเตือนภัยได้ล่วงหน้า การเพ่ิมผลิตภาพการผลิตข้าว ต้องบูรณาการเทคโนโลยีที่ผ่านท าการวิจัยแล้ว แต่ข้อจ ากัดที่ส าคัญคือ งานวิจัยส่วนใหญ่จะเป็นการวิจัยในแปลงทดลองของศูนย์วิจัยข้าวต่างๆ การที่จะผลงานวิจัยไปใช้ในนาเกษตรกรนั้น จ าเป็นต้องน าเทคโนโลยีในด้านต่างๆ ประกอบด้วยเทคโนโลยีด้านพันธุ์ข้าว ต้องเป็นพันธุ์ที่เหมาะส าหรับสภาพพื้นที่ ซึ่งแต่ละแห่งมี ความแตกต่างด้านความอุดมสมบูรณ์ของดินได้แก่ดินที่มี ความเหมาะสมในการปลูกข้าว มาก ปานกลาง และเหมาะสมน้อย ความแตกต่างกันของ สภาพภูมิประเทศ เช่น นาดอน นาลุ่ม นาน้ าท่วมขัง ความแตกต่างในวัตถุประสงค์ในการเพาะปลูก บางพื้นที่เกษตรกรมีพื้นที่ ในการท านามากจึงปลูกข้าวเพื่อจ าหน่ายมากกว่าเก็บไว้เพื่อการบริโภคในครัวเรือน การเลือกใช้พันธุ์ข้าว ก็แตกต่างกัน นอกจากพันธ์ุข้าวที่เกษตรกรใช้ปลูก การเพิ่มผลิตภาพการผลิตข้าว ต้องอาศัยองค์ความรู้ในด้านวิธีการปลูกที่เหมาะสมการจัดการรักษาความอุดมสมบูรณ์ของดิน ให้อยู่ในระดับที่ข้าวจะสามารถให้ผลผลิตตามศักยภาพของพันธุ์ข้าว การป้องกันโรคและแมลงศัตรูข้าวที่ส าคัญซึ่งมักจะท าความเสียหายแก่ข้าว รวมทั้งองค์ความรู้ด้านการปฏิบัติก่อนและหลังการเก็บเกี่ยว การเก็บรักษาผลผลิต ก็เป็นส่วนส าคัญในการรักษาผลผลิต เมื่อน าเทคโนโลยีด้านต่างๆที่ผ่านการวิจัยมาพอสมควรแล้ว น ามาทดสอบและพัฒนาให้เหมาะสมกับการใช้ในพื้นที่ ก็น่าจะสามารถเพิ่มผลิตภาพการผลิตข้าวเฉพาะพื้นที่ในภูมิภาคต่างๆ ของประเทศได ้ ปัจจุบันแนวโน้มการใช้แบบจ าลองพืชมีมากขึ้น ตามการพัฒนาทฤษฎี และข้อมูลงานวิจัยทางเกษตร ที่เกิดขึ้นอย่างมากมาย พร้อมกับการพัฒนาอย่างรวดเร็วของเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และข้อมูลด้านต่างๆ ข้อดีของการใช้แบบจ าลองจะเป็นการประหยัดเวลาและค่าใช้จ่ายได้มากกว่าท าการทดลองจริงมาก และสามารถดูแนวโน้มการตอบสนองของปัจจัยต่างๆ เช่น ภูมิอากาศที่แตกต่างออกไป ดินที่ไม่เหมือนกัน หรือการจัดการ ที่ซับซ้อนมากขึ้น อย่างไรก็ตามถึงแม้ว่าแบบจ าลองจะไม่สามารถทดแทนแปลงทดลองจริงได้อย่างสมบูรณ์ แต่สามารถช่วยลดปริมาณงานและเวลาได้ และการทดลองในพื้นที่จริงเพื่อยืนยันผลยังเป็นเรื่องที่จ าเป็น ประสิทธิภาพและความแม่นย าในการใช้แบบจ าลอง ส่วนหนึ่งขึ้นอยู่กับค่าสัมประสิทธิ์ทางพันธุกรรมของพืช ที่จะท าการจ าลอง นอกจากข้อมูลน าเข้า เช่น ภูมิอากาศ สมบัติของดิน และการจัดการที่มีความละเอียดถูกต้อง

Rice R

esea

rch an

d Dev

elopm

ent D

ivisio

n

Page 12: Division - ricethailand.go.thbrrd.ricethailand.go.th/images/pdf/research2556-2558/pdf/10.pdf · บทที่ 3 วิธีด้าเนินงานวิจัย. 7. บทที่

5

แบบจ าลองที่เป็นที่ยอมรับในวงการวิจัย แบ่งตามล าดับชั้นของระบบการผลิตพืช เป็น 4 ระบบ การผลิต (Penning de Vuries,1982) ได้แก่ 1) ระบบการผลิตพืชขั้นสูงสุดโดยไม่มีปัจจัยเป็นข้อจ ากัด 2) ระบบการผลิตที่มีน้ าเป็นปัจจัยจ ากัด 3) ระบบการผลิตที่มีไนโตเจนเป็นข้อจ ากัด และ 4) ระบบการผลิตพืชที่มีธาตุอาหารอื่น ศัตรูพืชและปัจจัยทางด้านสังคมเป็นตัวจ ากัด ในการวิจัยนี้จะจ าลองในระบบพืชที่มีไนโตรเจนเป็นข้อจ ากัดภายใต้การจัดการน้ าที่เหมาะสม และไม่มีการระบาดท าลายของโรคและแมลง ในการจ าลองการเจริญเติบโตของข้าวมีข้อมูลน าเข้า 4 ประเภท คือ ลักษณะประจ าพันธุ์ของข้าว ความอุดมสมบูรณ์ของดิน สภาพอากาศ และการจัดการผลิต เช่น วันปลูก วิธีปลูก การดูแลรักษา (การใส่ปุ๋ย การจัดการน้ า) งานวิจัยนี้เลือกด าเนินการในขอบเขตพื้นที่ ที่เป็นตัวแทนของแต่ละแห่งบนน้ าหนักของพื้นที่กลุ่มชุดดินและพันธุ์ข้าว เนื่องจากเป็นขอบเขตที่นักวิจัยสามารถตรวจสอบความถูกต้องแม่นย าของข้อมูลน าเข้า และผลที่ได้จากแบบจ าลองได้อย่างทั่วถึง เพื่อสร้างความมั่นใจก่อนที่จะขยายผลในพื้นที่ที่มีขนาดใหญ่กว่าในโอกาสต่อไป ในการวิจัยโดยใช้แบบจ าลองการเจริญเติบโตของข้าว ที่ผ่านมายังไม่เป็นที่นิยมและใช้กันแพร่หลาย ในประเทศไทย อาจด้วยเหตุผลหลายประการ เช่น ขาดนักวิจัยที่มีความรู้ความสามารถทางด้านนี้ ข้อมูล ที่จ าเป็นส าหรับใช้ในการจ าลองไม่สมบูรณ์และมีปัญหาเรื่องความถูกต้องสมบูรณ์ เนื่องจากแบบจ าลอง ส่วนใหญ่ต้องการข้อมูลเป็นรายวัน ประกอบกับเทคโนโลยีทางด้านคอมพิวเตอร์ยังไม่ก้าวหน้าดังในปัจจุบัน อย่างไรก็ตามมีงานวิจัยการใช้แบบจ าลองเพื่อประเมินผลกระทบของปัจจัยต่างๆที่มีต่อผลผลิตของข้าว ทั้งในประเทศและต่างประเทศดังนี้ ในประเทศเนปาล บังคลาเทศ และอินเดีย มีการใช้ CERES-Rice Model เพื่อทดสอบการตอบสนองการใช้ปุ๋ยไนโตรเจนในอัตราต่างๆ ในดินที่แตกต่างกันร่วมกับการทดลองจริงในแปลง เพื่อน าข้อมูลที่ได้มาท าการเปรียบเทียบความถูกต้องแม่นย าของแบบจ าลอง (Timsima et al., 1995) ซึ่งแบบจ าลองนี้ผู้ใช้สามารถ ที่จะเปลี่ยนแปลงพันธุ์ข้าว วันปลูก ระยะปลูกหรือความหนาแน่นของต้นข้าวต่อพื้นที่ การจัดการน้ า การจัดการเศษซากพืชจากฤดูที่ผ่านมา นอกจากนี้ยังสามารถดัดแปลงสภาพแวดล้อม เช่น อุณหภูมิ และปริมาณคาร์บอนไดออกไซด์ในอากาศเพื่อประเมินผลกระทบได้อีกด้วย มีการจ าลองและ Validate โปรแกรม CERES-Rice Model ระหว่างปี 1998-1999 ที่ North-Western Himalayas (Kumar and Sharma, 2004) ส าหรบัในประเทศไทย มีการใช้ CERES-Rice Model เพื่อประเมินผลผลิตข้าวในพื้นที่ภาคกลาง พบว่าสามารถใช้เพื่อหาทางเลือกในการพัฒนาเพื่อเพิ่มผลผลิตข้าวได้ (Cheyglinted et al., 2001) แบบจ าลองสามารถใช้ได้ในหลายวัตถุประสงค์ขึ้นอยู่กับผู้ด าเนินงานวิจัย เช่น การจัดการปลูก การจัดการปุ๋ย การจัดการน้ า การจัดการศัตรูพืช ดูผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงและแปรปรวนของสภาพอากาศ การพยากรณ์ผลผลิต และประเมินความยั่งยืนของระบบการผลิตเป็นต้น

Rice R

esea

rch an

d Dev

elopm

ent D

ivisio

n

Page 13: Division - ricethailand.go.thbrrd.ricethailand.go.th/images/pdf/research2556-2558/pdf/10.pdf · บทที่ 3 วิธีด้าเนินงานวิจัย. 7. บทที่

6

โปรแกรม CropDSS เป็นโปรแกรมจ าลองพืชที่พัฒนาเพิ่มเติมในประเทศไทย ที่ประกอบด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูลเชิงพื้นที่ (Spatial Data Base Management System, SDBMS) ระบบฐานข้อมูลแบบจ าลอง (ModelBase Management System, MBMS) โปรแกรมวิเคราะห์ และโปรแกรมแสดงผล เชิงพื้นที่ (Analysis program and map display) ได้มีการทดลองใช้เพื่อจ าลองศักยภาพการให้ผลผลิตข้าวจากปี 1980 ถึง พบว่าปี 2070 ถึง ปี 2099 ผลผลิตข้าวจะลดลง 7 -40% เมื่อเทียบกับช่วงปี 1980-89 (Jintawet, 2009)

ตรวจเอกสำรและงำนวิจัยที่เก่ียวข้อง

การจ าลองผลผลิตข้าวนาน้ าฝนที่จังหวัดนครราชสีมา ภายใต้สภาวะอากาศแปรปรวน โดยใช้ CERES-Rice Model พบว่า ข้าวขาวดอกมะลิ105 ให้ผลผลิต 312 ถึง 512 กิโลกรัมต่อไร่ (Boonjung, 2000) จากการศึกษาผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศต่อผลผลิตข้าวขาวดอกมะลิ 105 พบว่ามีผลกระทบ ในทางบวกต่อผลผลิตข้าวขาวดอกมะลิ 105 ในทุ่งกุลาร้องไห้ ภายใต้เทคโนโลยีในการผลิตเดียวกัน หากเกษตรกรหว่านข้าวในวันที่ 15 พฤษภาคม ผลผลิตข้าวขาวดอกมะลิ 105 ไม่แตกต่างกันทั้ง 3 ช่วงเวลาคือ ช่วงปี พ.ศ. 2523-32, 2583-2592 และ 2609-2618 (วิเชียร และคณะ, 2547)

เมธี และคณะ (ม.ป.ป.) ได้พัฒนาระบบสนับสนุนการตัดสินใจการผลิตข้าว ซึ่งประกอบด้วยฐานข้อมูลเชิงพื้นที่ แบบจ าลองที่ผ่านการทดสอบภาคสนามในภาคเหนือและระบบเรียกใช้และแสดงผลบนไมโครคอมพิวเตอร์ เพื่อสนับสนุนงานวิจัย พัฒนาและวางนโยบายการผลิตข้าวระดับจังหวัด โครงการได้พัฒนาชั้นข้อมูลชุดดิน (soil series) มาตราส่วน 1:50,000 ของจังหวัดเชียงใหม่และพิษณุโลก พร้อมข้อมูลคุณสมบัติทางกายภาพและเคมีของแต่ละชั้นดินที่เชื่อมโยงได้อย่างสมบรูณ์กับแบบจ าลองพืช ในส่วนของการทดสอบแบบจ าลอง การเจริญเติบโตของข้าว CERES-Rice ในแปลงทดลองของจังหวัดเชียงใหม่และพิษณุโลก เพื่อประเมินค่าพารามิเตอร์พันธุกรรมของข้าว 4 พันธุ์ คือ ขาวดอกมะลิ 105 สันป่าตอง 1 ชัยนาท 1 และกวก.1 พบว่าแบบจ าลองข้าว CERES-Rice สามารถจ าลองการเจริญเติบโตของข้าวได้แม่นย า

Rice R

esea

rch an

d Dev

elopm

ent D

ivisio

n

Page 14: Division - ricethailand.go.thbrrd.ricethailand.go.th/images/pdf/research2556-2558/pdf/10.pdf · บทที่ 3 วิธีด้าเนินงานวิจัย. 7. บทที่

7

บทที่ 3

วิธีด ำเนินกำรวิจัย

แบบแผนกำรวิจัย (Research Design) และระเบียบวิธีวิจัย (Methodology)

1. กำรประยุกต์ใช้ภำพถ่ำยดำวเทียมเพื่อพยำกรณ์กำรผลิตข้ำว 1) ก าหนดพื้นที่ศึกษาระดับ field scale 2) จัดซื้อภาพถ่ายทางอากาศจากดาวเทียมธีออส (THEOS) ของพื้นที่ 3 จังหวัด ได้แก่ แม่ฮ่องสอน เชียงราย และ ปราจีนบุรี จากส านักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน) กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประมาณ 15 ภาพ 3) วิเคราะห์ข้อมูลจากภาพถ่ายดาวเทียมร่วมกับข้อมูลสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS) ของพื้นที่ศึกษา โดยการแปลด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์และด้วยสายตา ทั้งด้านองค์ประกอบ ความเข้มของสี ความหยาบ ละเอียด รูปร่าง รูปแบบ ขนาด ที่ตั้งและความสัมพันธ์เชิงภูมิศาสตร์ โดยใช้โปรแกรม Arc View, Arc GIS ใช้ข้อมูลประกอบหลายประการ ได้แก่ ขนาด (size) รูปทรงหรือขอบเขต (shape) เงา (shadow) ระดับความเข้มของสี (tone or color) ลวดลาย (texture) รูปแบบการจัดเรียงตัว (pattern) ต าแหน่งที่ตั้ง (site) และ ข้อมูลแวดล้อม (association) 4) ออกส ารวจข้อมูลภาคสนามเพื่อเก็บรวบรวมข้อมูล สภาวะการปลูกข้าวของพื้นที่ ระยะการเจริญของข้าว ในเวลาใกล้เคียงกับเวลาที่รับภาพดาวเทียม 5) เปรียบเทียบข้อมูลที่แปลจากภาพถ่ายดาวเทียมกับสภาพจริงของพ้ืนที่ศึกษา เพื่อหาความสัมพันธ์ 6) สรุปและรายงานผลการศึกษา 2. กำรใช้แบบจ ำลองเพื่อพัฒนำค ำแนะน ำกำรผลิตข้ำวเฉพำะพื้นที่ของประเทศไทย การด าเนินงานวิจัยแบ่งออกเป็นขั้นตอนดังนี้ คือ ก.การวิเคราะห์ศักยภาพการผลิตข้าวในพื้นที่ปลูกที่ส าคัญของแต่ละภาคของประเทศไทย - การรวบรวมและจัดท าฐานข้อมูลเชิงพื้นที่ ประกอบด้วยข้อมูลขอบเขตการปกครอง พื้นที่ปลูกข้าว ชุดดิน และขอบเขตภูมิอากาศ - สร้างแผนที่ภูมินิเวศของพื้นที่ปลูกข้าว โดยการน าข้อมูลเชิงพื้ นที่จากขั้นตอนที่ 1 มาวิเคราะห์เชิงซ้อนโดยใช้เทคนิค GIS (Overlay operation) ท าให้ได้ช้ันข้อมูลใหม่ในแต่ละหน่วยแผนที่เรียกว่าหน่วยจ าลองการผลิต (Simulation Mapping Units - SMU) ซึ่งในแต่ละ SMU จะมีข้อมูลระบุชุดดินและเขตภูมิอากาศ ซึ่งเป็นข้อมูลส าคัญส าหรับแบบจ าลองข้าวในการคาดการณ์ผลผลิต

Rice R

esea

rch an

d Dev

elopm

ent D

ivisio

n

Page 15: Division - ricethailand.go.thbrrd.ricethailand.go.th/images/pdf/research2556-2558/pdf/10.pdf · บทที่ 3 วิธีด้าเนินงานวิจัย. 7. บทที่

8

- สร้างฐานข้อมูลภูมิอากาศ ที่เป็นชุดข้อมูลภูมิอากาศรายวัน ประกอบด้วย ข้อมูลพลังงานแสงอาทิตย์ อุณหภูมิต่ าสุด อุณหภูมิสูงสุด และปริมาณน้ าฝน - จ าลองสถานการณ์การผลิตข้าว โดยใช้โปรแกรม DSSAT Ver. 4.5 และ CropDSS เพื่อประเมินศักยภาพการผลิตในแต่ละ SMU โดยใช้พันธ์ุข้าวที่เป็นตัวแทนของแต่ละพ้ืนที่ - น าผลการประเมินจากแบบจ าลองมาจัดท าแผนที่ศักยภาพการผลิตข้าวในพื้นที่ภาคต่างๆ และเขตการปลูกข้าวเพ่ือการค้าตามยุทธศาสตร์ข้าว ข. การสืบค้นข้อมูลเพ่ือวางแผนการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีการปลูกข้าวเฉพาะพ้ืนที่ - ขั้นตอนที่ 1 การสืบค้นข้อมูล โดยการจัดประชุมเสวนากลุ่มเกษตรกร เพื่อสืบค้นข้อมูลด้านต่างๆ ได้แก่ ข้อมูลการปฏิบัติดูแลรักษาของเกษตรกรในแต่ละพื้นที่ ต้นทุนการผลิตและผลตอบแทน ประเด็นปัญหาที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งภูมิปัญญาที่จะน าทดสอบเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตข้าวในพื้นที่ ที่เป็นตัวแทนในกลุ่มชุดดินหลักที่ปลูกข้าวในแต่ละภาค - ขั้นตอนที่ 2 การวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูลที่ได้จากการประชุมเสวนา เพื่อใช้ในการวางแผนการพัฒนาเทคโนโลยีการปลูกข้าวเฉพาะพื้นที่ รวมทั้งเพื่อการวิเคราะห์ ข้อมูลเป็นโจทย์วิจัยต่อไป ประกอบด้วยข้อมูลดังนี้ 1. วิธีการปลูกและปฏิบัติของเกษตรกร 2. ต้นทุนการผลิตและผลตอบแทน 3. ประเด็นปัญหาที่เกี่ยวข้องกับการปลูกข้าว 4. ประเด็นที่เกษตรกรต้องการปรับเปลี่ยนเพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพการปลูกข้าว 5. การวางแผนการทดสอบเพื่อเปรียบเทียบระหว่างวิธีการปฏิบัติที่จะปรับเปลี่ยนกับวิธีการปฏิบัติเดิมของเกษตรกร และรับสมัครเกษตรกรอาสาท าแปลงทดสอบ ค. การทดสอบเทคโนโลยีเพ่ือแก้ไขปัญหาการปลูกข้าวในพื้นที่ - น าวิธีการปฏิบัติที่จะปรับเปลี่ยน เปรียบเทียบกับวิธีการปฏิ บัติเดิมของเกษตรกร การทดสอบด าเนินการในแปลงเกษตรกร โดยเกษตรกรเป็นผู้ด าเนินการทดสอบ - ใช้พันธ์ุข้าวพันธุ์แนะน าที่เกษตรกรนิยมปลูกในท้องถิ่น ขนาดแปลงย่อย 7 X 7 เมตร ระยะเว้นระหว่างแปลงย่อยและระหว่างซ้ า 1 เมตร ปลูกตามวิธีที่เกษตรกรนิยมในท้องถิ่น ถ้าปลูกด้วยวิธีหว่าน ใช้อัตราเมล็ดพันธุ์ 20 กิโลกรัมต่อไร่ ถ้าปลูกโดยวิธีปักด า ปักด าที่อายุกล้า 25 วัน ปักด า 3 ต้นต่อจับ ระยะห่างระหว่างต้นและแถว 20 X 20 เซนติเมตร ส าหรับข้าวนาชลประทาน และระยะ 25 X 25 เซนติเมตร ส าหรับข้าวนาปี

Rice R

esea

rch an

d Dev

elopm

ent D

ivisio

n

Page 16: Division - ricethailand.go.thbrrd.ricethailand.go.th/images/pdf/research2556-2558/pdf/10.pdf · บทที่ 3 วิธีด้าเนินงานวิจัย. 7. บทที่

9

การเก็บข้อมูล - วัดพิกัดต าแหน่งแปลงทดลอง - เก็บตัวอย่างดิน (Composite Sample) ในแปลงทดลองก่อนการเตรียมดิน - เก็บน้ าหนักต้นข้าว น้ าหนักใบข้าว ที่ระยะกล้า (อายุ 25 วัน) ระยะก าเนิดช่อดอก ระยะออกดอก 50% ระยะน้ านม และระยะเก็บเกี่ยว - วัดดัชนีพื้นที่ในที่ระยะเดียวกับการเก็บน้ าหนักต้น - วิเคราะห์ธาตุอาหารไนโตรเจนในใบข้าวทีร่ะยะก าเนิดช่อดอก - วัดผลผลิตและองค์ประกอบผลผลิต - เก็บตัวอย่างดินในแต่กรรมวิธี โดยเก็บเป็นตัวแทนในแต่ละแปลงย่อยการจ าลอง การเจริญเติบโตของข้าว - ฝึกอบรมพื้นฐานการใช้แบบจ าลอง ให้กับนักวิชาการและเจ้าหน้าที่ ในแต่ละศูนย์ ที่ด าเนินงานวิจัย - เก็บและรวบรวมข้อมูลที่จ าเป็นต้องใช้ และน าเข้าเพื่อในโปรแกรมแบบจ าลองข้าว ประกอบด้วยพันธุ์ข้าว ข้อมูลดินในพื้นที่ ข้อมูลภูมิอากาศ (จากสถานีอากาศที่ใกล้แปลงที่สุด) และข้อมูลการจัดการจากแปลงทดลอง ที่เป็นตัวแทนของพื้นที่มาจัดรูปแบบของไฟล์ที่ใช้ได้กับแบบจ าลอง - ท าการจ าลองและประเมินค่าที่ได้จากแบบจ าลองเปรียบเทียบกับค่าที่ได้จากแปลงทดลอง - ท าการจ าลองและประเมินค่าที่ได้จากแบบจ าลองเปรียบเทียบกับค่าที่ได้จากแปลงเกษตรกร - จ าลองเพื่อหาวิธีการและทางเลือกที่เหมาะสมในการจัดการผลิตข้าวของแต่ละพ้ืนที่

การเก็บข้อมูล - ข้อมูลตัวแทนเกษตรกรในการเปรียบเทียบ จ านวน 10 จุด โดยให้น้ าหนักตามขนาดของกลุ่มชุดดิน ในแต่ละภูมิภาค - เก็บน้ าหนักต้นข้าว น้ าหนักใบข้าว ที่ระยะกล้า (อายุ 25 วัน) ระยะก าเนิดช่อดอก ระยะออกดอก 50% ระยะน้ านม และระยะเก็บเกี่ยว จุดละ 3 ตัวอย่าง - วัดดัชนีพื้นที่ใบที่ระยะเดียวกับ การเก็บน้ าหนักต้นจุดละ 3 ตัวอย่าง - วิเคราะห์ธาตุอาหารไนโตรเจนในใบข้าวทีร่ะยะก าเนิดช่อดอก จุดละ 3 ตัวอย่าง - วัดผลผลิตและองค์ประกอบผลผลิต - การติดตามและประเมินผล โดยนักวิชาการและเกษตรกร ร่วมกันประเมินผลในด้านการผลิต ผลตอบแทนทางเศรษฐกิจ การยอมรับของเกษตรกร รวมทั้งเงื่อนไขและปัญหา/อุปสรรคในการทดสอบ - การขยายผล เกษตรกรเจ้าของแปลงเชิญเกษตรกรในพื้นที่และองค์กรภาครัฐ/เอกชน ที่เกี่ยวข้อง ร่วมสรุปและวิจารณ์การด าเนินงานเพ่ือน าผลทดสอบไปใช้ในพื้นที่

Rice R

esea

rch an

d Dev

elopm

ent D

ivisio

n

Page 17: Division - ricethailand.go.thbrrd.ricethailand.go.th/images/pdf/research2556-2558/pdf/10.pdf · บทที่ 3 วิธีด้าเนินงานวิจัย. 7. บทที่

10

ง. น าข้อมูลที่ได้จากการทดสอบมาพัฒนาเป็นแบบจ าลองการปลูกข้าวเฉพาะพื้นที่ของแต่ละ SMU รวมทั้งจัดท าค าแนะน าการปลูกข้าวเฉพาะพื้นที่ของแต่ละ SMU

Rice R

esea

rch an

d Dev

elopm

ent D

ivisio

n

Page 18: Division - ricethailand.go.thbrrd.ricethailand.go.th/images/pdf/research2556-2558/pdf/10.pdf · บทที่ 3 วิธีด้าเนินงานวิจัย. 7. บทที่

11

บทที่ 4

ผลกำรวิจัย

ผลการศึกษาการใช้เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศในการเพิ่มผลผลิตและพยากรณ์การผลิตข้าว ด้วยการแปลภาพถ่ายดาวเทียมเบื้องต้น เพื่อพยากรณ์พื้นที่ปลูกข้าว ใน 3 พื้นที่ซึ่งการพัฒนาการผลิตข้าวในพื้นที่เหล่านี้กระท าได้ยาก ได้แก่ พื้นที่นาที่อยู่ในที่สูง หรืออยู่ในหุบเขา เป็นที่อาศัยของชนเผ่าต่างๆ ยากแก่การเข้าถึงพื้นที่ เช่น จังหวัดแม่ฮ่องสอน บางแห่งมีน้ าท่วมซ้ าซาก บางแห่งอยู่ใกล้ชายฝั่ง มีปัญหาน้ าทะเลท่วมถึงในบางฤดู ท าความเสียหายให้กับนาข้าว เช่น จังหวัดปราจีนบุรี หรือพื้นที่ภาคเหนือบางส่วนที่สามารถปลูกข้าวฤดูนาปรังได้ เช่น จังหวัดเชียงราย พบว่าการคาดคะเนพื้นที่ปลูกข้าวจากการแปลภาพถ่ายมีความแม่นย ามากใน 2 พื้นที่ คือ จังหวัดปราจีนบุรีและเชียงราย ท าให้ได้ข้อมูลพื้นที่ปลูกที่เป็นปัจจุบันมากขึ้น ส่วนจังหวัดแม่ฮ่องสอน มีความคลาดเคลื่อนมากกว่า 2 จังหวัดแรก แต่สามารถใช้เป็นแนวทางในการคาดคะเนผลผลิตข้าวในพื้นที่ปลูกข้าวนาปรัง เพื่อขยายก าลังการผลิต ตลอดจนเพื่อความมั่นคงทางอาหารในเขตภาคเหนือตอนบน รวมทั้งเพื่อป้องกันความเสียหายในการปลูกข้าวในพื้นที่ที่อาจเกิดจากภัยธรรมชาติได้ และการใช้แบบจ าลองการเจริญเติบโตของข้าวเพื่อพัฒนาค าแนะน าการผลิตข้าวเฉพาะพื้นที่ของประเทศไทย โดยการประเมินปัจจัยที่เป็นข้อจ ากัดของผลผลิตข้าว เพื่อหาแนวทางในการแก้ไข และคาดการณ์ผลผลิตที่สามารถเพิ่มขึ้นได้ มีผลตอบแทนทางเศรษฐกิจที่เหมาะสม โดยมีรายละเอียดดังนี้ 1. กำรประยุกต์ใช้ภำพถ่ำยดำวเทียมเพื่อพยำกรณ์กำรผลิตข้ำว จังหวัดปราจีนบุรี ด าเนินการประเมินพื้นที่ปลูกข้าวน้ าลึก ด้วยการแปลภาพถ่าย (ภาพที่ 1) โดยตรวจสอบภาคพื้นดิน (ground truth) และการใช้โปรแกรม Arcview 3.3 เพื่อช่วยในการจ าแนกพื้นที่ปลูกข้าวนาน้ าลึกด้วยระดับความแตกต่างของแถบสี พบว่าพื้นที่ปลูกข้าวนาน้ าลึ กในจังหวัดปราจีนบุรี ครอบคลุม 5 อ าเภอ ได้แก่ อ าเภอเมือง อ าเภอบ้านสร้าง อ าเภอประจันตคราม อ าเภอกบินทร์บุรี และอ าเภอศรีมหาโพธิ จ านวน 126,244 ไร่ (ภาพที่ 2) จากการตรวจสอบความถูกต้องของการแปลภาพถ่ายดาวเทียมจ านวน 110 จุด พบว่ามีความคลาดเคลื่อนจากพื้นที่จริง 0.05 เปอร์เซ็นต์ การศึกษาดังกล่าวจึงเป็นแนวทางใหม่ในการเพิ่มขีดความสามารถการส ารวจพื้นที่ปลูก รวมทั้งยังสามารถติดตามการเปลี่ยนแปลงของพื้นที่ นาน้ าลึกได้อย่างต่อเนื่อง และเป็นการพัฒนาระบบฐานข้อมูลต่อไป ท าให้สามารถสรุปเบื้องต้นได้ว่า การประเมินพื้นที่ปลูกข้าวด้วยภาพถ่ายดาวเทียมร่วมกับความสามารถของนักวิจัยในพื้นที่ ท าให้ผลการประเมินมีความแม่นย าสูงมาก

Rice R

esea

rch an

d Dev

elopm

ent D

ivisio

n

Page 19: Division - ricethailand.go.thbrrd.ricethailand.go.th/images/pdf/research2556-2558/pdf/10.pdf · บทที่ 3 วิธีด้าเนินงานวิจัย. 7. บทที่

ภาพที่ 1 RADARSAT-2 ตลุาคม-ธันวาคม 2010จังหวัดปราจีนบุรี

ภาพที่ 2พื้นที่ปลกูขาวจากการแปลภาพถายดาวเทยีม จังหวัดปราจีนบุรี

จังหวัดเชียงราย จากการประเมินเน้ือที่ปลูกขาวนาปของโดยใชภาพถายดาวเทียมธีออส (ภาพที่ 3)

ประมาณเน้ือที่ปลูกขาวนาป 2553 ได จํานวน 1,245,342 ไร (ภาพที่ 4) ซ่ึงใกลเคียงกับขอมูลเน้ือที่ปลูกขาวนาป

2553 ของจังหวัดเชียงรายจากสํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร ที่มีเน้ือที่ 1,261,022 ไร แตกตางกันเพียง 15,680 ไร

หรือ รอยละ 1 โดยที่การแปลขอมูลจากภาพถายดาวเทียมธีออสมีเนื้อที่มากกวาและสอดคลองกันกับสํานักงาน

พัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและสารสนเทศ (องคการมหาชน) ไดสํารวจเนื้อที่ปลูกขาวนาปรัง 2553 ของจังหวัดเชียงราย

โดยใชภาพถายดาวเทียม มีเน้ือที่ 462,895.786 ไร ซ่ึงก็มากกวาขอมูลการปลูกขาวนาปรัง 2553 ของจังหวัด

เชียงรายจากสํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร ที่มีเน้ือที่ 445,675 ไร จํานวน 17,220.781 ไร หรือรอยละ 3 แตในบาง

อําเภอที่ประมาณพ้ืนที่ปลูกขาวไดนอย เชนในอําเภอแมฟาหลวง อําเภอเวียงแกน ที่ประเมินเนื้อที่ปลูกขาวนาปได

153 และ 5,985 ไร เนื่องจากสภาพภูมิประเทศพ้ืนที่ดังกลาวเปนภูเขาจึงเกิดความผิดพลาดในการจําแนกพ้ืนที่ของ

ผูดําเนินการ หรืออาจเปนเพราะขอมูลภาพถายที่ไมมีความละเอียดเพียงพอ และไมสอดคลองกับฤดูกาลปลูกขาว

###

#

# ##

## ########

####

## #

#

#

#

##

#

#

#

#

##

##

#

#####

##

# ### #

#

#

# ###

#

#

#

#

#

#

#

# ##

###

##

#

#####

##

###

##

##

# #

#

#

#

# #

#

# #

### # #

#

#

##

#

###

#1

2

3

4

5 6

7

8

9

10

11

12

13

14

15

16

17

18

19

20

21

22

2324

25

26

27

28

29

30

31

32

33

34

35

36

37

38

39

40

41

42

43

44

45

46 47

48

4950

51

52

53

54

55

56

57

58

59

60

61

62

63

64 65

66

67

68

69

70

71

72

73

74

75

76

77

78

79

80

81

82

83

84

85

86

87

88

89

90

91

92

93

94

95

96

97

98

99

100

101

102

103

104

105

106

107

108

109

110

อ.ประจ ันตคาม อ.นาด ี

อ.กบ ินทร บ ุร ีอ.ศร ีมหาโพธ ิอ.ศร ีมโหสถ

อ.บ านสร าง

อ.เม ืองปราจ ีนบ ุร ี

30 0 30 60 Kilometers

N

EW

S

Rice R

esea

rch an

d Dev

elopm

ent D

ivisio

n

Page 20: Division - ricethailand.go.thbrrd.ricethailand.go.th/images/pdf/research2556-2558/pdf/10.pdf · บทที่ 3 วิธีด้าเนินงานวิจัย. 7. บทที่

ภาพที่ 3 Multispectral จังหวัดเชยีงราย จํานวน 5 ภาพ

ภาพที่ 4 พื้นที่ปลกูขาวฤดูนาปจากการแปลภาพถายดาวเทยีม จังหวดัเชยีงราย

จังหวัดแมฮองสอน จากการประเมินเน้ือที่ปลูกขาวนาปของโดยใชภาพถายดาวเทียมธีออส (ภาพที่ 5)

ประมาณเนื้อที่เพาะปลูกได 113,842 ไร (ภาพที่ 6) ซึ่งมากกวาขอมูลปลูกขาวนาปของจังหวัดแมฮองสอนจาก

สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร ที่มีเนื้อที่ 96,809 ไร จํานวน 17,033 ไร หรือ รอยละ 17 ไมสอดคลองกับสํานักงาน

พัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและสารสนเทศ (องคการมหาชน) ไดประเมินเน้ือที่ปลูกขาวนาปรัง 2553 ของจังหวัด

แมฮองสอนโดยใชภาพถายดาวเทียมไดเนื้อที่ 1,050.681 ไร ซ่ึงก็มากกวาขอมูลการปลูกขาวนาปรัง 2553 ของ

Rice R

esea

rch an

d Dev

elopm

ent D

ivisio

n

Page 21: Division - ricethailand.go.thbrrd.ricethailand.go.th/images/pdf/research2556-2558/pdf/10.pdf · บทที่ 3 วิธีด้าเนินงานวิจัย. 7. บทที่

จังหวัดแมฮองสอนจากสํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร ที่มีเน้ือที่ 998 ไร จํานวน 52.83 ไร คิดเปนรอยละ 5

นอกจากน้ันแลวยังพบวา ในอําเภอแมลานอยน้ัน โปรแกรมระบบสารสนเทศภูมิศาสตรไมสามารถคํานวณเน้ือที่ปลูก

ขาวได ทั้งน้ีนาจะสืบเน่ืองมาจากพื้นที่จังหวัดแมฮองสอนสภาพภูมิประเทศสวนใหญเปนภูเขา และขอมูลภาพถาย

ดาวเทียมไมสอดคลองกับฤดูปลูกขาวเชนเดียวกับบางอําเภอของจังหวัดเชียงราย

ภาพที่ 5 Multispectral จังหวัดแมฮองสอน จํานวน 6 ภาพ

ภาพที่ 6 พ้ืนที่ปลกูขาวจากการแปลภาพถายดาวเทยีม จังหวัดแมฮองสอน

Rice R

esea

rch an

d Dev

elopm

ent D

ivisio

n

Page 22: Division - ricethailand.go.thbrrd.ricethailand.go.th/images/pdf/research2556-2558/pdf/10.pdf · บทที่ 3 วิธีด้าเนินงานวิจัย. 7. บทที่

จากผลการจําแนกพ้ืนที่ปลูกขาวนาปของจังหวัดเชียงราย มีความเปนไปไดในการใชเทคโนโลยี

สารสนเทศทางภูมิศาสตรสําหรับจําแนกพ้ืนที่ปลูกขาวเพ่ือประมาณการเน้ือที่ปลูกและผลผลิตสําหรับงานดาน

สงเสริมการผลิตและงานวิจัยไดในอนาคต สวนการแปลภาพจังหวัดแมฮองสอน มีความยากลําบากมากกวา

เนื่องจากเปนพ้ืนที่ขนาดเล็ก กระจัดกระจาย แตเปนประโยชนในการประเมินพื้นที่ปลูกขาวที่เขาถึงยาก เพื่อ

ประโยชนในการวางแผนการปลูกขาวเพ่ือความมั่นคงทางอาหาร หรือลดการทําไรเลื่อนลอย

นอกจากน้ี ไดทําการจัดซ้ือภาพพ้ืนที่นํ้าทวม เพ่ือการแปลภาพเพ่ิมขึ้น อีก 20 จังหวัด และจัดซื้อภาพ

จังหวัดเชียงราย เพ่ือการแปลภาพพ้ืนที่ปลูกขาวฤดูนาปรังเพ่ิมเติมดวย

2. การใชแบบจําลองเพ่ือพัฒนาคําแนะนําการผลิตขาวเฉพาะพ้ืนทีข่องประเทศไทย

ผลการดําเนินงานที่ผานมา ไดรวบรวมและปรับปรุงฐานขอมูลดินในพ้ืนที่นาขาวของประเทศ

ฐานขอมูลอากาศ ทั้งขอมูลอากาศที่ไดจากการบันทึกของกรมอุตุนิยมวิทยา และขอมูลอากาศในอนาคตที่ได

จากการจําลองโดยโมเดลจําลองสภาพอากาศโลก (Global Climate Model) เชน GFDL HadCM3 และ

ECHAM5

ในสวนของการเตรียมขอมูลสัมประสิทธิ์ทางพันธุกรรม (Genetic Coefficient; GC) ของขาวที่นิยม

ปลูกในพ้ืนที่ตางๆ ของประเทศไทย ไดทําแปลงทดลองเพื่อเก็บขอมูล เพ่ือนํามาใชกับแบบจําลอง ศึกษา

สัมประสิทธิ์ทางพันธุกรรมของขาว ใหไดความแมนยําในการนําเขาขอมูลเก่ียวกับปจจัยในสวนของพันธุกรรม

ขาวดานการเจริญเติบโตและผลผลิต (ตารางที่ 1)

Rice R

esea

rch an

d Dev

elopm

ent D

ivisio

n

Page 23: Division - ricethailand.go.thbrrd.ricethailand.go.th/images/pdf/research2556-2558/pdf/10.pdf · บทที่ 3 วิธีด้าเนินงานวิจัย. 7. บทที่

ตารางที่ 1 พันธุขาวและศูนยวิจัยขาวที่รับผิดชอบในการดําเนินการศึกษาสัมประสิทธิ์ทางพันธุกรรมของขาว

ฤดูนาป และฤดูนาปรัง พ.ศ. 2554-2556

ศูนยวิจัยขาว พันธุขาว

นาป นาปรัง

พทัลุง เล็บนกปตตานี สังขหยดพทัลุง กข37 สุพรรณบุร ี1 สุพรรณบุรี 2 ชัยนาท 1

ปทุมธานี เจกเชย ปทุมธานี 1 กข41 สุพรรณบุร ี1

ฉะเชิงเทรา ปทุมธานี 1 กข31 กข47

ปราจีนบุร ี พิษณุโลก 2 ชัยนาท 1 สุพรรณบุร ี3 กข29 กข31

ชัยนาท ขาวดอกมะลิ 105

เชียงราย กข6 กข14 กข15 กข16

ขาวดอกมะลิ 105

สันปาตอง 1 สุพรรณบุรี 1 พษิณุโลก 2 ปทุมธาน ี1

กข31 กข41

อุบลราชธานี ขาวดอกมะลิ 105 กข6 กข15

การเตรียมขอมูลนําเขา

ขอมูลที่ไดจากการเก็บรวมรวม และจากการวิเคราะหนําเขาสําหรับการประเมินคาสัมประสิทธิ์ทาง

พันธุกรรมของขาวดวยการใชโปรแกรม GENCALC และ GLUE ที่เปน sub model อยูในโปรแกรม DSSAT

v4.5 6 package ประกอบดวยไฟลขอมูลตางๆ ดังตอไปน้ีคือ ขอมูลการจัดการ ประกอบดวยรายละเอียดใน

การปลูก การใสปุย การจัดการนํ้า และอ่ืนๆ เรียกวา FileX ขอมูลดิน เปนการนําขอมูลที่ไดจากการวิเคราะห

ใหอยูในรูปแบบที่โปรแกรมอานได ขอมูลกาลอากาศ ประกอบดวยอุณหภูมิสูงสุด-ต่ําสุด ปริมาณน้ําฝน และ

ปริมาณพลังงานแสง รายวัน ขอมูลสัมประสิทธิ์ทางพันธุกรรมที่เปนคาเร่ิมตนจากคาของพันธุที่มีลักษณะ

ใกลเคียงกันที่มีอยูแลวในโปรแกรมหรือกําหนดขึ้นโดยประมาณ เพ่ือเปนฐานขอมูลในการเปรียบเทียบ

ระหวางขอมูลจริงจากแปลงทดลองกับขอมูลที่ไดจากการจําลอง จําเปนตองมีชุดขอมูลตอไปนี้ คือ FileA

ที่ประกอบไปดวยรายละเอียดของวันออกดอก วันเก็บเก่ียว ผลผลิต น้ําหนักชีวมวลเปนตน และ FileT

จะประกอบดวยรายละเอียดของการเปลี่ยนแปลงคาที่ตรวจวัดในแตละระยะเวลา เชน นํ้าหนักลําตน น้ําหนัก

ใบ การแตกกอ น้ําหนักเมล็ด คาการสะสมของธาตุไนโตรเจนที่ใบขาวในแตละอายุของการเจริญเติบโตของขาว เปน

ตน ที่สําคัญคือคาตางๆ ที่นํามาจัดทําไฟลเพ่ือนําเขาไปในแบบจําลองตองไดรับการตรวจสอบ และม่ันใจใน

ความถูกตอง สมบูรณ ปราศจากขอสงสัย ซ่ึงจะนําไปสูความม่ันใจในผลของการจําลองตอไป

Rice R

esea

rch an

d Dev

elopm

ent D

ivisio

n

Page 24: Division - ricethailand.go.thbrrd.ricethailand.go.th/images/pdf/research2556-2558/pdf/10.pdf · บทที่ 3 วิธีด้าเนินงานวิจัย. 7. บทที่

ผลการดําเนินงาน พบวา แตละศูนยวิจัยขาวทําแปลงศึกษาสัมประสิทธิ์ทางพันธุกรรมของขาว เพ่ือ

นําไปคํานวนสัมประสิทธิ์ทางพันธุกรรมขาว โดยทําการปลูกทุกเดือนในขาวนาปรัง และวันปลูกที่ตางกันในขาว

นาป โดยที่ ศูนยวิจัยขาวพัทลุง ปลูกขาวนาปรังได 12 วันปลูก ขาวนาปได 4 วันปลูก ศูนยวิจัยขาวปทุมธานี

ปลูกขาวนาปรังได 13 วันปลูก ขาวนาปได 4 วันปลูก ศูนยวิจัยขาวฉะเชิงเทรา ปลูกขาวนาปรังได 12 วันปลูก

ศูนยวิจัยขาวปราจีนบุรี ปลูกขาวนาปรังได 8 วันปลูก ศูนยวิจัยขาวชัยนาท ปลูกขาวนาปได 2 วันปลูก

ศูนยวิจัยขาวเชียงราย ปลูกขาวนาปรังได 3 วันปลูก ขาวนาปได 3 วันปลูก และศูนยวิจัยขาวอุบลราชธานี

ปลูกขาวนาปได 2 วันปลูก

การปรับคาสัมประสทิธ์ิทางพันธุกรรมขาวดวย GENCALC

ในการปรับคา GC ของขาวดวยการใชโปรแกรม GENCALC ผูใชสามารถกําหนดคาการเปลี่ยนแปลง

ของคาสัมประสิทธิ์ ในการคํานวน ได โดยเขาไปที่ File GENCALC2 .RUL ซึ่งอยูใน Directory

C:\DSSAT45\Tools\GenCalcจากน้ันกําหนด คาสัมประสิทธิ์ที่ตองการปรับ เปอรเซ็นตของการเปลี่ยนแปลง

คา และจํานวนรอบที่ตองการคํานวน รายละเอียดของ File GENCALC2.RUL สําหรับแสดงใน ตารางที่ 2

ตารางที่ 2 สวนหน่ึงของไฟล GENCALC2.RUL

!RICER045 DSCSM045 RICE

@TARGET.......... STEP COEFF LOOPS

!ADAP ANTHESIS 3.0 P1 5 3.0 P2O 5 3.0 P2R 5 3.0 P5 5

!ADAP ANTHESIS 3.0 P1 10

!ADAP ANTHESIS 3.0 P2O 10

!ADAP ANTHESIS 3.0 P2R 10

!MDAP MATURITY 3.0 P5 10

!HWAM GRAIN YLD 3.0 G1 5 3.0 G2 5 3.0 G3 5

HWAM GRAIN YLD 3.0 G1 10

!HWAM GRAIN YLD 3.0 G2 10

!H#AM GRAIN NO 3.0 G1 10 ! Needs yield analysis data

!HWUM GRAIN WT 3.0 G2 10 ! Needs yield analysis data

!T#AM TILLER NO 3.0 G3 10 ! Needs tiller # data

โดยทั่ ว ไปการป รับคาสัมประสิท ธ์ิจะเ ร่ิมจากค า P1 ต ามลํ าดับจนถึ งค า G3 จาก File

GENCALC2.RUL จะเห็นวากําหนดใหปรับคาสัมประสิทธิ์ G1 ซึ่งจะสงผลตอคาผลผลิต โดยไมใหมีเคร่ืองหมาย

อัศเจรีย ! (exclamation mark) ดานหนาของบรรทัดคาที่ตองการปรับ (TARGET) ซึ่งมีคําอธิบายคาที่ปรับจะ

มีผลตอพัฒนาการหรือผลผลิต เชน วันออกดอก วันสุกแกทางสรีรวิทยา จํานวนการแตกกอ น้ําหนักเมล็ด

Rice R

esea

rch an

d Dev

elopm

ent D

ivisio

n

Page 25: Division - ricethailand.go.thbrrd.ricethailand.go.th/images/pdf/research2556-2558/pdf/10.pdf · บทที่ 3 วิธีด้าเนินงานวิจัย. 7. บทที่

จํานวนเมล็ด และผลผลิต จากตัวอยางกําหนดใหมีการประเมินคาสัมประสิทธ์ิเพื่อปรับคาผลผลิตใหใกลเคียง

กับคาที่ไดจากแปลงทดลอง ใน Column STEP จะกําหนดการเปลี่ยนแปลงของคาสัมประสิทธิ์น้ันในการ

คํานวณแตละคร้ัง โดยกําหนดเปนรอยละ ในกรณีน้ีกําหนดใหมีการเปลี่ยนแปลงคร้ังละรอยละ 3 Column

สุดทาย คือ LOOPS เปนการกําหนดจํานวนรอบในการคํานวณแตละคร้ัง ในกรณีน้ีกําหนดใหมีการคํานวณ 10

รอบ จากนั้นโปรแกรมจะเลือกรอบที่มีคา เปอรเซ็นต RMSE ที่ต่ําที่สุดมาแสดงเปรียบเทียบ สามารถแสดงได

ในแตละชวงของการคํานวณ หากคาที่ไดยังไมเปนที่พอใจสามารถคํานวณตอไดโดยใสคาสัมประสิทธ์ิที่ไดจาก

การคํานวณคร้ังที่ผานลงในไฟล RICER045.CUL ซึ่งสามารถใสไดทั้งแบบอัตโนมัติและแบบใสโดยพิมพตัวเลข

ลงไปโดยตรง ทําเชนนี้จนกวาจะไดคาที่เห็นวาดีที่สุดสําหรับคาสัมประสิทธิ์น้ัน จากน้ันก็ปรับคาอื่นจนกวาจะ

แลวเสร็จ ขอสังเกตสําหรับโปรแกรม GENCALC ไดแกโปรแกรมไมมีการปรับคา G4

การปรับคาสัมประสทิธ์ิทางพันธุกรรมขาวดวย GLUE

การปรับคาสัมประสิทธิ์ทางพันธุกรรมขาวดวยการใช GLUE จะเปนการคํานวนแบบสุมในการ

เปลี่ยนแปลงคาสัมประสิทธิ์ภายใตคาสูงสุดและคาต่ําสุดของที่กําหนดของสัมประสิทธิ์น้ัน ผูใชสามารถเลอืกให

ปรับคาพัฒนาการ (Phenology) หรือ คา การเจริญเติบโตหรือผลผลิต (Growth) หรือทัง้สองอยางพรอมกัน

ได ในการกํ าหนดค าสู งสุดต่ํ าสุดของสัมประสิทธิ์ทางพันธุกรรมแตละคาสามารถ กําหนดได ที่

C:\DSSAT45\Tools\GLUE ไฟล ParameterProperty.xls (ตาราง 3) จะประกอบดวย Column ของคา

สัมประสิทธิ์ คาสูงสุด คาต่ําสุด และColumn Flag ที่จะกําหนดวา คาสัมประสิทธิ์น้ันเปนคาสัมประสิทธิ์ทาง

พัฒนาการ (1) หรือ ทางการเจริญเติบโตหรือผลผลิต (2) สวน 0 หมายถึงกําหนดใหไมมีการคํานวณคา

สัมประสิทธิ์น้ัน ดังแสดงรายในละเอียดของแฟมขอมูล จากการคํานวณเพ่ือปรับคาสัมประสิทธิ์โดยใช GLUE

และรวมการปรับคา G4 เขาไปดวยพบวา จะไมไดคาที่เหมาะสมเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงของคา G4 จะมีผล

ทําให คาสัมประสิทธิ์อ่ืนกระทบไปดวย ดังน้ันจึงตองมีการปรับคาดังกลาวดวยวิธีการลองผิดลองถูก (Trial

and error) และสิ้นสุดการปรับเม่ือไดคาสัมประสิทธิ์ที่เหมาะสมที่สุด และกําหนดคา Flag ใหเปน 0 แลวจึงทาํ

การปรับดวยโปรแกรม จํานวนรอบในการปรับเพ่ือใหไดคาสัมประสิทธิ์ที่เหมาะสมน้ัน ผูพัฒนาโปรแกรม

แนะนําใหเร่ิมตนที่ 6000 ซึ่งหมายถึง 12,000 สําหรับการปรับที่สัมประสิทธ์ิดานพัฒนาการ (Phenology

coefficients) และดานการเจริญเติบโตหรือผลผลิต (Growth coefficients) ซึ่งตองใชเวลามากในการ

คํานวณ

Rice R

esea

rch an

d Dev

elopm

ent D

ivisio

n

Page 26: Division - ricethailand.go.thbrrd.ricethailand.go.th/images/pdf/research2556-2558/pdf/10.pdf · บทที่ 3 วิธีด้าเนินงานวิจัย. 7. บทที่

ตารางที่ 3 สวนหน่ึงของ ไฟล ParameterProperty.xls

Coefficient Minimum Maximum Flag

RI 8 8 8

RI_P1 210 900 1

RI_P2R 30 200 1

RI_P5 330 580 1

RI_P20 10.4 13 1

RI_G1 50 80 2

RI_G2 0.02 0.03 2

RI_G3 0.3 1 2

RI_G4 0.8 1.25 0

นอกจากน้ี ยังมีการเก็บขอมูลการเจริญเติบโตของขาว เชน วันกําเนิดชอดอก วันออกดอก วันเก็บเก่ียว พรอม

นํ้าหนักแหงในแตละชวงของการเจริญเติบโต นําขอมูลทั้งหมดมาจัดรูปแบบใหสามารถใชไดกับ โปรแกรม

DSSATv4.6 เพื่อปรับคาสัมประสิทธ์ิทางพันธุกรรมของขาว ดวย GENCALC และ GLUE เพื่อใหไดความ

แมนยําในการนําเขาขอมูลเก่ียวกับปจจัยในสวนของพันธุกรรมขาวดานการเจริญเติบโตและผลผลิต ในการใช

แบบจําลองเพ่ือพัฒนาคําแนะนําการผลิตขาวเฉพาะพ้ืนที่ของประเทศไทย

Rice R

esea

rch an

d Dev

elopm

ent D

ivisio

n

Page 27: Division - ricethailand.go.thbrrd.ricethailand.go.th/images/pdf/research2556-2558/pdf/10.pdf · บทที่ 3 วิธีด้าเนินงานวิจัย. 7. บทที่

21

บทที่ 5

สรุปผลกำรวิจัย อภิปรำยผลและข้อเสนอแนะ

สรุปผลกำรวิจัย การใช้เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศในการเพิ่มผลผลิตและพยากรณ์การผลิตข้าว ด้วยการแปลภาพถ่าย

ดาวเทียมเบื้องต้น เพื่อพยากรณ์พื้นที่ปลูกข้าว ใน 3 พื้นที่ซึ่งการพัฒนาการผลิตข้าวในพื้นที่เหล่านี้กระท าได้ยาก ได้แก่ พื้นที่บางแห่งที่มีน้ าท่วมซ้ าซาก บางแห่งอยู่ใกล้ชายฝั่ง มีปัญหาน้ าทะเลท่วมถึงในบางฤดู ท าความเสียหายให้กับนาข้าว เช่น จังหวัดปราจีนบุรี พบว่ามีพื้นที่ปลูกข้าวครอบคลุม 5 อ าเภอ ได้แก่ อ าเภอเมือง อ าเภอบ้านสร้าง อ าเภอประจันตคราม อ าเภอกบินทร์บุรี และอ าเภอศรีมหาโพธิ จ านวน 126,244 ไร่ มีความคลาดเคลื่อนจากพื้นที่จริงเพียงร้อยละ 0.05 หรือพื้นที่ภาคเหนือบางส่วนที่สามารถปลูกข้าวฤดูนาปรังได้ เช่น จังหวัดเชียงราย พบว่ามีพื้นที่ปลูกข้าวฤดูนาปี 2553 จ านวน 1,245,342 ไร่ ซึ่งใกล้เคียงกับข้อมูลเนื้อที่ปลูกข้าวนาปี 2553 ของจังหวัด มีความคลาดเคลื่อนเพียงร้อยละ 1 รวมทั้งแปลภาพเนื้อที่ปลูกข้าว นาปรัง 2553 ของจังหวัดเชียงรายได้ 462,896ไร่ ซึ่งก็มากกว่าข้อมูลการปลูกข้าวนาปรัง 2553 ของจังหวัดร้อยละ 3 ส่วนพื้นที่นาที่อยู่ในที่สูง หรืออยู่ในหุบเขา เป็นที่อาศัยของชนเผ่าต่างๆ ยากแก่การเข้าถึงพื้นที่ เช่นจังหวัดแม่ฮ่องสอน ประมาณเนื้อที่เพาะปลูกได้ 113,842 ไร่ ซึ่งมากกว่าข้อมูลปลูกข้าวนาปีของจังหวัด ที่มีเนื้อที่ 96,809 ไร่ จ านวน 17,033 ไร่ หรือ ร้อยละ 17

การแปลภาพถ่ายมีความแม่นย ามากใน 2 พื้นที่ คือ จังหวัดปราจีนบุรีและเชียงราย ท าให้ได้ข้อมูลพื้นที่ปลูกที่ เป็นปัจจุบันมากขึ้น ส่วนจังหวัดแม่ฮ่องสอน มีความคลาดเคลื่อนมากกว่า 2 จังหวัดแรก แต่สามารถใช้เป็นแนวทางในการคาดคะเนผลผลิตข้าวในพื้นที ่ปลูกข้าวนาปรัง เพื ่อขยายก าลังการผลิต ตลอดจนเพื่อความมั่นคงทางอาหารในเขตภาคเหนือตอนบน รวมทั้งเพื่อป้องกันความเสียหายในการปลูกข้าวในพื้นที่ที่อาจเกิดจากภัยธรรมชาติได้ และการใช้แบบจ าลองการเจริญเติบโตของข้าวเพื่อพัฒนาค าแนะน าการผลิตข้าวเฉพาะพื้นที่ของประเทศไทย โดยการประเมินปัจจัยที่เป็นข้อจ ากัดของผลผลิตข้าว เพื่อหาแนวทาง ในการแก้ไข และคาดการณ์ผลผลิตที่สามารถเพิ่มขึ้นได้ มีผลตอบแทนทางเศรษฐกิจที่เหมาะสม

การใช้แบบจ าลองการเจริญเติบโตของข้าวเพื่อพัฒนาค าแนะน าการผลิตข้าวเฉพาะพื้นที่ของประเทศไทย โดยการประเมินปัจจัยที่เป็นข้อจ ากัดของผลผลิตข้าว เพื่อหาแนวทางในการแก้ไข และคาดการณ์ผลผลิตที่สามารถเพิ่มขึ้นได้ มีผลตอบแทนทางเศรษฐกิจที่เหมาะสม จากการท าแปลงศึกษาสัมประสิทธิ์ทางพันธุกรรมของข้าว เพื่อน าไปค านวนสัมประสิทธิ์ทางพันธุกรรมข้าว โดยท าการปลูกทุกเดือนในข้าวนาปรัง และวันปลูก ที่ต่างกันในข้าวนาปี โดยที่ ศูนย์วิจัยข้าวพัทลุง ปลูกข้าวนาปรังได้ 12 วันปลูก ข้าวนาปีได้ 4 วันปลูก ศูนย์วิจัยข้าวปทุมธานี ปลูกข้าวนาปรังได้ 13 วันปลูก ข้าวนาปีได้ 4 วันปลูก ศูนย์วิจัยข้าวฉะเชิงเทรา ปลูกข้าวนาปรังได้ 12 วันปลูก ศูนย์วิจัยข้าวปราจีนบุรี ปลูกข้าวนาปรังได้ 8 วันปลูก ศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท ปลูกข้าวนาปีได้ 2 วันปลูก ศูนย์วิจัยข้าวเชียงราย ปลูกข้าวนาปรังได้ 3 วันปลูก ข้าวนาปีได้ 3 วันปลูก และศูนย์วิจัยข้าวอุบลราชธานี ปลูกข้าวนาปีได้ 2 วันปลูก นอกจากนี้ข้อมูลการเจริญเติบโตของข้าว เชน วันก าเนิดชอดอก

Rice R

esea

rch an

d Dev

elopm

ent D

ivisio

n

Page 28: Division - ricethailand.go.thbrrd.ricethailand.go.th/images/pdf/research2556-2558/pdf/10.pdf · บทที่ 3 วิธีด้าเนินงานวิจัย. 7. บทที่

22

วันออกดอก วันเก็บเกี่ยว พรอมน้ าหนักแหงในแตละชวงของการเจริญเติบโต น ามาจัดรูปแบบใหสามารถใชไดกับโปรแกรม DSSATv45 เพื่อปรับคาสัมประสิทธิ์ทางพันธุกรรมของขาว ดวย GENCALC และ GLUE เพื่อให้ได้ความแม่นย าในการน าเข้าข้อมูลเกี่ยวกับปัจจัยในส่วนของพันธุกรรมข้าวด้านการเจริญเติบโตและผลผลิต ในการใช้แบบจ าลองเพ่ือพัฒนาค าแนะน าการผลิตข้าวเฉพาะพื้นที่ของประเทศไทยต่อไป

Rice R

esea

rch an

d Dev

elopm

ent D

ivisio

n

Page 29: Division - ricethailand.go.thbrrd.ricethailand.go.th/images/pdf/research2556-2558/pdf/10.pdf · บทที่ 3 วิธีด้าเนินงานวิจัย. 7. บทที่

23

เอกสำรอ้ำงอิง

กรมวิชาการเกษตร. 2545. การจัดเขตศักยภาพการผลิตข้าวจังหวัดเชียงราย. สถาบันวิจัยข้าว ร่วมกับ กองปฐพีวิทยาและส านักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 1. 96 หน้า.

กรมวิชาการเกษตร. 2547. การจัดเขตศักยภาพการผลิตข้าวจังหวัดปราจีนบุรีและสระแก้ว. สถาบันวิจัยข้าว ร่วมกับ กองปฐพีวิทยาและส านักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 6. 96 หน้า.

เมธี เอกะสิงห์, อรรถชัย จินตะเวช, พนมศักดิ์ พรหมบุรมย์, จีรวัฒน์ เวชแพศย์, จุไรพร แก้วทิพย์, เฉลิมพล ส าราญพงษ์, ศักดา จงแก้ววัฒนา, ถาวร อ่อนประไพ, อลงกต กองมณี, ทะนงเกีรยติ อุปปันโน, สุรีย์ พร สุดชาลี, สิทธิเดช ณ เชียงใหม่, ทวีศักดิ์ เวียรศิลป์, อานันท์ ผลวัฒนะ. (ม.ป.ป.). ระบบสนับสนุน การตัดสินใจการผลิตพืช: ข้าวในภาคเหนือ. Available at http://www.trf.or.th/research/

abstract/Thai/RDG4020010.txtt

วิเชียร เกิดสุข, สหัสชัย คงทน และ อรรถชัย จินตะเวช. 2547. Impact of climate change on rice production in Tung Kula Field, Thailand. Journal of Remote Sensing and GIS Association of Thailand., Vol 5. Available at http://202.12.97.98/journal/Vol5/vol5n2

story2.php

ศูนย์วิจัยข้าวปราจีนบุรี. 2548. การจัดเขตศักยภาพการผลิตข้าวจังหวัดปราจีนบุรีและสระแก้ว. สถาบันวิจัยข้าว และส านักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 6 กรมวิชาการเกษตร. 47 หน้า.

สมชาย ใบม่วง, วิรัช วรานุจิตต์, สมาน ปราการรัตน์, ปรเมศร์ อมตยกุล, เทวินทร์ โจมทา, อภันตรี ยุทธพันธ์, อาคม พะยอมแจ่มศรี, มนูญ ปรางพรหม, อดิศร สมหวัง และฤทัยกาญจน์ บัวเผียน. 2550. การศึกษาสภาวะการเจริญเติบโตของพืชเศรษฐกิจโดยใช้เทคนิคของ Satellite Remote Sensing เพื่อพยากรณ์อากาศเกษตร. ส านักพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์กรมหาชน). กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. หน้า 52-59.

ส านักพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ. 2550(ก). โครงการสร้างขีดความสามารถในการใช้ประโยชน ์ จากข้อมูลดาวเทียม SPOT/THEOS. ส านักพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์กรมหาชน).

กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. 134 หน้า.

ส านักพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ. 2550(ข). การประชุมวิชาการ การแผนที่และภูมิสารสนเทศ แห่งชาติ ประจ าปี 2550. 28 พฤศจิกายน-1 ธันวาคม 2550 ณ โรงแรมแอมบาสเดอร์ กรุงเทพฯ 66 หน้า.

ส านักพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ. 2552. การใช้ข้อมูลดาวเทียมกับสถานการณ์ต่างๆ. ส า นั ก พั ฒ น า เ ท ค โ น โ ล ยี อ ว ก า ศ แ ล ะ ภู มิ ส า ร ส น เ ท ศ ( อ ง ค์ ก ร ม ห า ช น ) . http://new.gisdta.or.th/index.php/gallery-events. 7/8/2552.

Rice R

esea

rch an

d Dev

elopm

ent D

ivisio

n

Page 30: Division - ricethailand.go.thbrrd.ricethailand.go.th/images/pdf/research2556-2558/pdf/10.pdf · บทที่ 3 วิธีด้าเนินงานวิจัย. 7. บทที่

24

Boonjung, B. 2000. Ckimatic variability and rice production in rainfed rice area in northeast Thailand: Risk analysis and Management Applications. Available at http://www.earthscape.org/r1/boh01/

Cheyglinted S., S.L.Ranamukhaarachchi, and G.Singh. 2001. Assessment of the CERES- Rice model for rice production in the Central plain of Thailand. Journal of agricultural science 137:10.

Jintrawet, A. 2009. Global warming and Thai rice production system. Available at http://www.trf.or.th/tips/x.asp?Art_ID=1666

Kumar, R. and H.L.Shamar. 2004. Simulation and validation of CERES-Rice (DSSAT) model in north western himalayas. Indian Journal of Agricultur Science 74:5.

Penning de Vries, F.W.T. 1982. System analysis and model of crop growth. In F.W.T. Penning de Vries and H.H. Van Laar (eds.) Simulation of plant growth and crop production. PUDOC, Wageningen, The Netherlands, 9-19.

Timsima, J., and U. Singh. 1995. Adressing sustainability of rice - wheat systems: Testing and application of CERES-Rice and SUCROS models. Fragile live in fragile ecosystems (ed.) 1995. Fragile live in fragile ecosystems. 13-17 Feb 1995.

Rice R

esea

rch an

d Dev

elopm

ent D

ivisio

n

Page 31: Division - ricethailand.go.thbrrd.ricethailand.go.th/images/pdf/research2556-2558/pdf/10.pdf · บทที่ 3 วิธีด้าเนินงานวิจัย. 7. บทที่

25

ภำคผนวก

Rice R

esea

rch an

d Dev

elopm

ent D

ivisio

n

Page 32: Division - ricethailand.go.thbrrd.ricethailand.go.th/images/pdf/research2556-2558/pdf/10.pdf · บทที่ 3 วิธีด้าเนินงานวิจัย. 7. บทที่

26

รำยชื่อกิจกรรมทั้งหมดที่ได้ด ำเนินกำร กำรใช้เทคโนโลยีสำรสนเทศในกำรเพิ่มผลผลิตและพยำกรณ์กำรผลิตข้ำว ประกอบด้วย 2 โครงการย่อย 1.กำรประยุกต์ใช้ภำพถ่ำยดำวเทียมเพื่อพยำกรณ์กำรผลิตข้ำว ประกอบด้วย 3 กิจกรรม 1.1 การประยกุต์ใช้ภาพถ่ายดาวเทียมเพื่อพยากรณ์ปลูกข้าวไร่เพื่อความมั่นคงทางอาหาร จังหวัดแม่ฮ่องสอน 1.2 การประยกุต์ใช้ภาพถ่ายดาวเทียมเพื่อพยากรณ์การปลูกข้าวนาปรัง จังหวัดเชียงราย 1.3 การประยกุต์ใช้ภาพถ่ายดาวเทียมติดตามพื้นที่เสี่ยงภัยน้ าทะเลท่วมถึงในพื้นที่ปลูกข้าวจังหวัดปราจีนบุรี 2.กำรใช้แบบจ ำลองเพื่อพัฒนำค ำแนะน ำกำรผลิตข้ำวเฉพำะพื้นที่ของประเทศไทย ประกอบด้วย 4 กิจกรรม 2.1 การใช้แบบจ าลองการเจริญเติบโตเพื่อพัฒนาการผลิตข้าวเฉพาะพื้นที่ของภาคตะวันออก 2.2 การใช้แบบจ าลองการเจริญเติบโตเพื่อพัฒนาการผลิตข้าวเฉพาะพ้ืนที่ของภาคกลาง 2.3 การใช้แบบจ าลองการเจริญเติบโตเพื่อพัฒนาการผลิตข้าวเฉพาะพื้นที่ของภาคเหนือ 2.4 การใช้แบบจ าลองการเจริญเติบโตเพื่อพัฒนาการผลิตข้าวเฉพาะพื้นที่ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 2.5 การใช้แบบจ าลองการเจริญเติบโตเพื่อพัฒนาการผลิตข้าวเฉพาะพื้นที่ของภาคใต้

Rice R

esea

rch an

d Dev

elopm

ent D

ivisio

n

Page 33: Division - ricethailand.go.thbrrd.ricethailand.go.th/images/pdf/research2556-2558/pdf/10.pdf · บทที่ 3 วิธีด้าเนินงานวิจัย. 7. บทที่

27

รำยชื่อคณะผู้ด ำเนินกำร

กำรใช้เทคโนโลยีสำรสนเทศในกำรเพิ่มผลผลิตและพยำกรณ์กำรผลิตข้ำว นางกิ่งแก้ว คุณเขต สังกัด กองวิจัยและพัฒนาข้าว กองวิจัยและพัฒนาข้าว กรมการข้าว เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900 โทร.0-2579-7560 โทรสาร 0-2561-1732 e-mail : [email protected] 1.กำรประยุกต์ใช้ภำพถ่ำยดำวเทียมเพื่อพยำกรณ์กำรผลิตข้ำว นางกิ่งแก้ว คุณเขต สังกัด กองวิจัยและพัฒนาข้าว

1.1 การประยกุต์ใช้ภาพถ่ายดาวเทียมเพื่อพยากรณ์ปลูกข้าวไร่เพื่อความมั่นคงทางอาหาร จังหวัดแม่ฮ่องสอน นางกิ่งแก้ว คุณเขต สังกัด ส านักวิจัยและพัฒนาข้าว นายปิยะพันธุ์ ศรีคุ้ม สังกัด ศูนย์วิจัยข้าวเชียงราย นางสาวนงนุช ประดิษฐ์ สังกัด ศูนย์วิจัยข้าวแม่ฮ่องสอน

1.2 การประยกุต์ใช้ภาพถ่ายดาวเทียมเพื่อพยากรณ์การปลูกข้าวนาปรัง จังหวัดเชียงราย นายปิยะพันธุ์ ศรีคุ้ม สังกัด ศูนย์วิจัยข้าวเชียงราย นายนิทัศน์ สิทธิวงศ์ สังกัด ศูนย์วิจัยข้าวเชียงราย นายพายัพภูเบศก์ มากกูล สังกัด ศูนย์วิจัยข้าวเชียงราย

1.3 การประยกุต์ใช้ภาพถ่ายดาวเทียมติดตามพื้นที่เสี่ยงภัยน้ าทะเลท่วมถึงในพื้นที่ปลูกข้าวจังหวัดปราจีนบุรี นายชิษณุชา บุดดาบุญ สังกัด ศูนย์วิจยัข้าวปราจีนบุรี นางสมโรจน์ ประกอบบุญ สังกัด ศูนย์วิจัยข้าวปราจีนบุรี นายพีระ ดุงสูงเนิน สังกัด ศูนย์วิจยัข้าวปราจีนบุรี 2.กำรใช้แบบจ ำลองเพื่อพัฒนำค ำแนะน ำกำรผลิตข้ำวเฉพำะพื้นที่ของประเทศไทย

2.1 การใช้แบบจ าลองการเจริญเติบโตเพื่อพัฒนาการผลิตข้าวเฉพาะพื้นที่ของภาคตะวันออก นายชิษณุชา บุดดาบุญ สังกัด ศูนย์วิจัยข้าวปราจีนบุรี นางสมโรจน์ ประกอบบุญ สังกัด ศูนย์วิจัยข้าวปราจีนบุรี นายโอภาส วรวาท สังกัด ศูนย์วิจัยข้าวฉะเชิงเทรา

Rice R

esea

rch an

d Dev

elopm

ent D

ivisio

n

Page 34: Division - ricethailand.go.thbrrd.ricethailand.go.th/images/pdf/research2556-2558/pdf/10.pdf · บทที่ 3 วิธีด้าเนินงานวิจัย. 7. บทที่

28

2.2 การใช้แบบจ าลองการเจริญเติบโตเพื่อพัฒนาการผลิตข้าวเฉพาะพื้นที่ของภาคกลาง นางกิ่งแก้ว คุณเขต สังกัด กองวิจัยและพัฒนาข้าว นางสาวอมรรัตน์ อินทร์มั่น สังกัด ศูนย์วิจัยข้าวสุพรรณบุร ี นางสาวดวงพร วิธูรกิตต์ สังกัด ศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท

2.3 การใช้แบบจ าลองการเจริญเติบโตเพื่อพัฒนาการผลิตข้าวเฉพาะพื้นที่ของภาคเหนือ นายปิยะพันธุ์ ศรีคุ้ม สังกัด ศูนยว์ิจัยข้าวเชียงราย นายนิทัศน์ สิทธิวงศ์ สังกัด ศูนยว์ิจัยข้าวเชียงราย นางพรรณี จิตตา สังกัด ศูนย์วิจัยข้าวเชียงใหม่

2.4 การใช้แบบจ าลองการเจริญเติบโตเพื่อพัฒนาการผลิตข้าวเฉพาะพื้นที่ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ นางสาววราภรณ์ วงศ์บุญ สังกัด ศูนย์วิจัยข้าวอุบลราชธานี นางสาวกรรณิกา นากลาง สังกัด ศูนย์วิจัยข้าวสุรินทร ์ นายธานี ชื่นบาน สังกัด ศูนย์วิจัยข้าวสุรินทร ์ นายพิบูลวัฒน์ ยังสุข สังกัด ศูนย์วิจัยข้าวสกลนคร นายรณชัย ช่างศรี สังกัด ศูนย์วิจัยข้าวสุรินทร ์ นายสมหมาย เลิศนา สังกัด ศูนย์วิจัยข้าวนครราชสีมา นายประทาย เคนเหลื่อม สังกัด ศูนย์วิจัยข้าวอุบลราชธานี นายเอกสิทธิ์ สกุลคู สังกัด ศูนย์วิจัยข้าวชุมแพ

2.5 การใช้แบบจ าลองการเจริญเติบโตเพื่อพัฒนาการผลิตข้าวเฉพาะพื้นที่ของภาคใต้ นางสาวยุพิน รามณีย์ สังกัด ศูนย์วิจัยข้าวพัทลุง นายจรัล ขาวหนูนา สังกัด ศูนย์วิจัยข้าวนครศรีธรรมราช นายชูชาติ สวนกูล สังกัด ศูนย์วิจัยข้าวกระบี ่ นายบุญสุข ซุ่นเลี่ยง สังกัด ศูนย์วิจัยข้าวกระบี ่ หน่วยงานหลัก และหน่วยงานสนับสนุน

กองวิจัยและพัฒนาข้าว กรมการข้าว เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900 โทร.0-2579-7560 โทรสาร 0-2561-1732 e-mail : [email protected]

ศูนย์วิจัยข้าวปทุมธานี ต.รังสิต อ.ธัญบุรี จ.ปทุมธานี 12110 โทร.0-2577-1688-9 โทรสาร 0-2577-1688-9 ต่อ 244 e-mail : [email protected]

Rice R

esea

rch an

d Dev

elopm

ent D

ivisio

n

Page 35: Division - ricethailand.go.thbrrd.ricethailand.go.th/images/pdf/research2556-2558/pdf/10.pdf · บทที่ 3 วิธีด้าเนินงานวิจัย. 7. บทที่

Rice R

esea

rch an

d Dev

elopm

ent D

ivisio

n