development of ability and attitude in creative problem...

12
ISSN 2228-9453 Journal of Behavioral Science for Development Vol.7 No.1 January 2015 Page | 187 วารสารพฤติกรรมศาสตร์เพื่อการพัฒนา ปี ที7 ฉบับที1 มกราคม 2558 ลิขสิทธิ โดย สถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ Development of Ability and Attitude in Creative Problem Solving Among High School Students in The Enrichment Science Classroom Project 1 Siriporn Kaeworn 2 Dusadee Yoelao 3 Kamolwan Karomprach Klaykaew 4 Received: May 1, 2014 Accepted: May 19, 2014 Abstract This research aims to 1) study of the development of the creative problem solving ability and creative problem solving attitude of the experimental group and control group before and after participation in the creative problem solving development program; and 2) to compare the differences in the score of creative problem solving ability and creative problem solving attitude of the experimental group and control group after the program participation. The participants in this research consisted of the High school students in enrichment science classroom project of Loengnoktha School, Yasothon. The research instruments were creative problem solving development program, the creative problem solving ability test and the creative problem solving attitude questionnaire. The research design was Randomized control group pretest posttest design. The data were analyzed using average, standard deviation, Dependent and Independent sample t-test. After participation in the creative problem solving development program, the results showed that;1)The creative problem solving ability, and the attitude toward creative problem solving of the experimental group was statistically higher than before participation at the .05 level and 2)The creative problem solving gain score, and the attitude toward creative problem solving of the experimental group was statistically higher than that of the control group at the .005 level Keywords: Creative problem solving, Attitude, Enrichment science classroom students 1 Thesis for the Master of Science degree in Applied Behavioral Science Research 2 Graduate Student, Master of Science degree in Applied Behavioral Science Research, Srinakharinwirot University, E-mail: [email protected] , Tel. 668-9499-2349 3 Associate professor in Behavioral Science Research Institute, Srinakharinwirot University 4 Lecturer in Innovative Learning Center, Srinakharinwirot University

Upload: others

Post on 13-Jul-2020

2 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: Development of Ability and Attitude in Creative Problem ...bsris.swu.ac.th/jbsd/581/Journal58-copy-12.pdf · of the experimental group and control group after the program participation

ISSN 2228-9453 Journal of Behavioral Science for Development Vol.7 No.1 January 2015 Pag e | 187

วารสารพฤตกิรรมศาสตร์เพ่ือการพฒันา ปีท่ี 7 ฉบบัท่ี 1 มกราคม 2558 ลขิสทิธ์ิโดย สถาบนัวิจยัพฤตกิรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยัศรีนครินทรวิโรฒ

Development of Ability and Attitude in Creative Problem Solving Among High School Students in The Enrichment Science Classroom Project1

Siriporn Kaeworn2

Dusadee Yoelao3 Kamolwan Karomprach Klaykaew4

Received: May 1, 2014 Accepted: May 19, 2014 Abstract This research aims to 1) study of the development of the creative problem solving ability and creative problem solving attitude of the experimental group and control group before and after participation in the creative problem solving development program; and 2) to compare the differences in the score of creative problem solving ability and creative problem solving attitude of the experimental group and control group after the program participation. The participants in this research consisted of the High school students in enrichment science classroom project of Loengnoktha School, Yasothon. The research instruments were creative problem solving development program, the creative problem solving ability test and the creative problem solving attitude questionnaire. The research design was Randomized control group pretest posttest design. The data were analyzed using average, standard deviation, Dependent and Independent sample t-test. After participation in the creative problem solving development program, the results showed that;1)The creative problem solving ability, and the attitude toward creative problem solving of the experimental group was statistically higher than before participation at the .05 level and 2)The creative problem solving gain score, and the attitude toward creative problem solving of the experimental group was statistically higher than that of the control group at the .005 level Keywords: Creative problem solving, Attitude, Enrichment science classroom students

1 Thesis for the Master of Science degree in Applied Behavioral Science Research 2 Graduate Student, Master of Science degree in Applied Behavioral Science Research, Srinakharinwirot University,

E-mail: [email protected] , Tel. 668-9499-2349 3 Associate professor in Behavioral Science Research Institute, Srinakharinwirot University 4 Lecturer in Innovative Learning Center, Srinakharinwirot University

Page 2: Development of Ability and Attitude in Creative Problem ...bsris.swu.ac.th/jbsd/581/Journal58-copy-12.pdf · of the experimental group and control group after the program participation

188 | Page Journal of Behavioral Science for Development Vol.7 No.1 January 2015 ISSN 2228-9453

วารสารพฤตกิรรมศาสตร์เพ่ือการพฒันา ปีท่ี 7 ฉบบัท่ี 1 มกราคม 2558 ลขิสทิธ์ิโดย สถาบนัวิจยัพฤตกิรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยัศรีนครินทรวิโรฒ

การพัฒนาความสามารถและเจตคติในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายในโครงการห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์1

ศิริพร แกวออน2

ดุษฎี โยเหลา3

กมลวรรณ คารมปราชญ์ คลายแกว4

บทคัดย่อ

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพ่ือ 1) ศึกษาเจตคติและความสามารถในการแกปัญหาอยางสรางสรรค์ของกลุมทดลองและกลุมควบคุมกอนและหลังการเขารวมโปรแกรมพัฒนาความสามารถในการแกปัญหาอยางสรรค์ และ 2) เพ่ือเปรียบเทียบผลตางของคะแนนความสามารถในการแกปัญหาอยางสรรค์และเจตคติตอการแกปัญหาอยางสรางสรรค์ของกลุมทดลองและกลุมควบคุมหลังการเขารวมโปรแกรมฯ กลุมตัวอยางเป็นนักเรียนโครงการหองเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนเลิงนกทาจังหวัดยโสธร จํานวน 26 คนเครื่องมือที่ใชในการวิจัยครั้งนี้คือ โปรแกรมการฝึกความสามารถในการแกปัญหาอยางสรางสรรค์แบบวัดเจตคติตอการแกปัญหาอยางสรางสรรค์และแบบวัดความสามารถในการแกปัญหาอยางสรางสรรค์รูปแบบการวิจัยเป็นการวิจัยเชิงทดลองโดยใชแบบที่มีกลุมทดลองและกลุมควบคุมแบบสุมและมีการสอบครั้งแรกกับครั้งหลังวิเคราะห์ขอมูลดวยการเปรียบเทียบคาเฉลี่ยที่เป็นอิสระและไมเป็นอิสระตอกัน ( pair t-test, t-test independent) หลังเขารวมโปรแกรมพัฒนาความสามารถในการแกปัญหาอยางสรางสรรค์ผลการวิจัยพบวา 1) นักเรียนกลุมทดลองมีความสามารถในการแกปัญหาอยางสรางสรรค์ และเจตคติตอการแกปัญหาอยางสรางสรรค์มากกวากอนเขารวมการทดลองอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2) นักเรียนกลุมทดลองมีคาเฉลี่ยผลตางคะแนนความสามารถในการแกปัญหาอยางสรางสรรค์มากกวากลุมควบคุมอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .005และมีเจตคติตอการแกปัญหาอยางสรางสรรค์มากกวากลุมควบคุมอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .005

คําสําคัญ: การแกปัญหาอยางสรางสรรค์, เจตคต,ิ นักเรียนโครงการหองเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์

1 ปริญญานิพนธ์ระดับมหาบัณฑิต มหาวิทยาลยัศรีนครินทรวิโรฒ 2 นิสิตระดับมหาบัณฑิต สาขาวิจยัพฤตกิรรมศาสตร์ประยุกต์ มหาวิทยาลยัศรีนครินทรวิโรฒ 3 รองศาสตราจารย์ประจําสถาบันวจิัยพฤติกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยัศรีนครินทรวิโรฒ 4 อาจารย์ประจําสํานกันวัตกรรมการเรียนรู มหาวิทยาลยัศรีนครินทรวิโรฒ

Page 3: Development of Ability and Attitude in Creative Problem ...bsris.swu.ac.th/jbsd/581/Journal58-copy-12.pdf · of the experimental group and control group after the program participation

ISSN 2228-9453 Journal of Behavioral Science for Development Vol.7 No.1 January 2015 Pag e | 189

วารสารพฤตกิรรมศาสตร์เพ่ือการพฒันา ปีท่ี 7 ฉบบัท่ี 1 มกราคม 2558 ลขิสทิธ์ิโดย สถาบนัวิจยัพฤตกิรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยัศรีนครินทรวิโรฒ

บทน า ในภาวะปัจจุบัน สังคมเขาสูยุคการเปลี่ยน

แปลงในดานตางๆ หลายดาน ทั้งการเมืองการปกครอง สังคม การศึกษา เศรษฐกิจ เทคโนโลยี เป็นตน ซึ่งการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นกอใหเกิดผลกระทบทั้งดานบวก และดานลบ ทางดานบวกไดแกความเจริญทางดานวัตถุ การมีระบบสาธารณูปโภคที่ดีขึ้น การสื่อสารที่สื่อสารถึงกันไดมากและสะดวกขึ้น การมีอํานาจตอรองทางการคา การมีสิ่งปลูกสรางและเครื่องอํานวยความสะดวกที่สนองความตองการของคนมากขึ้น แตผลจากความเจริญเหลานั้นก็มาพรอมกับปัญหาซึ่งเป็นดานลบของการเปลี่ยนแปลง เชน ปัญหาการเมืองการปกครอง ปัญหาทางธรรมชาติซึ่งนับวันจะทวีความรุนแรงมากยิ่งขึ้น ปัญหาความเหลื่อมล้ําระหวางชนชั้น ปัญหาความขัดแยงและการปรับตัวเขาสูสถานการณ์ใหมๆ

นั ก เ รี ย น ที่ มี ค ว า ม ส า ม า ร ถ พิ เ ศ ษ ท า งวิทยาศาสตร์คือผูที่มีความสามารถทางสมองดานวิทยาศาสตร์ จนสามารถแสดงใหเห็นความสามารถพิเศษนั้นอออกมาเป็นรูปธรรม ตลอดจนมีความสนใจและเจตคติตอวิทยาศาสตร์มากกวาเด็กที่อยูในวัยหรือสภาพแวดลอมเดียวกัน (วสัน ปุุนผล, 2551: 14) ลักษณะของเด็กเหลานี้คือมีความสามารถทางสติปัญญาและความใฝุ รู ท า ง วิ ทย าศาสตร์ มีความสามารถในการแกปัญหาทางวิทยาศาสตร์ ความรับผิดชอบ ความคิดริ เริ่มสรางสรรค์ทางวิทยาศาสตร์ ความมีเหตุผลและรอบคอบ ความอดทน ความเชื่อมั่นในตนเองนักเรียนกลุมนี้เป็นเด็กที่มีคุณลักษณะทางการคิดสรางสรรค์ และมีการคิดรูปแบบต า งๆ ที่ สู งกว า เด็ กปกติ นั ก เ รี ยนที่ มีความสามารถพิเศษจึงตองเรียนรูกระบวนการแกปัญหาดวยทักษะความคิดอยางรวดเร็วโดย

ประยุ กต์ สถานการณ์ ใหม ๆ อยู เสมอ (สิ ทธิ ชั ย ชมพูพาทย์, 2554) เด็กที่มีความสามารถทางสติปัญญาที่อาจคิดไดรวดเร็วลึกซึ้งกวาเด็กทั่วไป แตไมไดหมายความวา เขาจะคิดเกง คิดถูกตอง หรือคิดดีเสมอไป ซึ่งหากไมฝึกฝนหลักการและจริยธรรมทางความคิดใหดี เด็กกลุมนี้อาจเป็นผูสรางความยุงยากใหกับสังคมอยางมากก็ได (สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ, ม.ป.ป.) ดังจะเห็นหลายกรณีที่ เกิดขึ้นในสังคมเนื่องจากการประสบปัญหาของเด็กที่มีความสามารถพิเศษนั้นกอใหเกิดแรงกระทบในสังคมไมนอย ซึ่งแสดงวาเด็กเหลานี้มีปัญหาที่ตองไดรับการปลูกฝังและแกไข เชนไมสามารถปรับความคิดของตนเองใหคลอยตามความคิดของกลุมคนในสังคม มีความ

เครียดสูง เพราะเนื่องจากความคาดหวังและสภาพ

แวดลอมที่ตัวเด็กไดรับความกดดัน และระบบการศึกษา ซึ่งตัวเองตองปฏิบัติตามในสิ่งที่ตนไมสนใจ กลัวความลมเหลว ซึ่งผูคนใกลชิดกับเด็กมักจะคาดหวัง และตัวเด็กเองก็มีแนวโนมชอบทําอะไรสมบูรณ์ไมมีที่ติ (Perfectionist) จึงทําใหเด็กพยายามหลีกเลี่ยงสถานการณ์ที่ทําใหเกิดความลมเหลว (อุษณีย์ โพธิสุข: Online) ดังนั้น การส ง เ สริ มการแกปัญหา ให นั ก เ รี ยนกลุ มนี้ จึ ง มีความสําคัญ เพ่ือใหนักเรียนไดนําวิธีการไปใชในชีวิตประจําวันตอไป

การแกปัญหาอย า งสร า งสรรค์ เป็นการแกปัญหาโดยอาศัยจินตนาการ กลาวคือตองใชความคิดสรางสรรค์ ในการคิดวิธีการแกปัญหา นอกจากนี้ยังมีการคิดอยางมีวิจารณญาณเพ่ือใชในการตัดสินใจในขั้นตอนการแกปัญหาอยางสรางสรรค์ ซึ่งทั้งสองความคิดที่กลาวมาอยูภายในกระบวนการแกไขปัญหา ซึ่งการแกปัญหาอยางสรางสรรค์นี้ เป็นวิธีการหนึ่งที่ชวยสงเสริมใหนักเรียนที่มีความสามารถ

Page 4: Development of Ability and Attitude in Creative Problem ...bsris.swu.ac.th/jbsd/581/Journal58-copy-12.pdf · of the experimental group and control group after the program participation

190 | Page Journal of Behavioral Science for Development Vol.7 No.1 January 2015 ISSN 2228-9453

วารสารพฤตกิรรมศาสตร์เพ่ือการพฒันา ปีท่ี 7 ฉบบัท่ี 1 มกราคม 2558 ลขิสทิธ์ิโดย สถาบนัวิจยัพฤตกิรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยัศรีนครินทรวิโรฒ

พิเศษทางวิทยาศาสตร์ไดมีทักษะในการแกไขและเผชิญปัญหาไดอยางมีประสิทธิภาพ

ดังนั้นจึงจําเป็นตองมีการพัฒนาความสามารถในการแกปัญหาอยางสรางสรรค์ใหแกนักเรียนโครงการหองเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ เนื่องจากนักเรียนกลุมนี้เป็นกลุมนักเรียนที่มีความสามารถพิเศษซึ่งมีโอกาสสูงที่จะประสบปัญหาเชนเดียวกับนักเรียนที่มีความสามารถพิเศษดานอ่ืน เพ่ือนักเรียนจะไดนําทักษะการแกปัญหาอยางสรางสรรค์ไปใชในชีวิตประจําวันได การแกปัญหาอยางสรางสรรค์เนนกระบวน

การคิดเป็นหลัก ซึ่งมีแนวทางการพัฒนาที่สามารถทําได 2 วิธี คือ การสอนคิดโดยตรงและการสอนคิดโดยผานเนื้อหาวิชาในหลักสูตร (ทิศนา แขมมณี, 2551) มีงานวิจัยหลายเรื่องท่ีพยายามสงเสริมใหนักเรียนเกิดความสามารถในการแกปัญหาอยางสรางสรรค์และพบวา งานวิจัยยังขาดโปรแกรมหรือชุดกิจกรรมที่ฝึกทักษะการแกปัญหาอยางสรางสรรค์โดยเฉพาะซึ่งสามารถนําไปฝึกเพ่ือพัฒนาความสามารถในการแกปัญหาอย างสร า งสรรค์ ได โดยไมผู ก พันกับเนื้อหาวิชา ดังนั้ นผู วิจัยจึง เห็นวาควรมีการฝึกความสามารถในการแกปัญหาอยางสรางสรรค์ใหกับนักเรียนโครงการหองเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์โดยการฝึกทักษะโดยเฉพาะภายใตการปรับเจตคติตอการแกปัญหาอยางสรางสรรค์ใหนักเรียนไดมีความรูสึกที่ดี เห็นประโยชน์ของการแกปัญหาอยางสรางสรรค์ เ พ่ือนักเรียนจะไดนํ าความรู ความเข า ใจ และความสามารถในการแกปัญหาอยางสรางสรรค์ไปใชเมื่อประสบปัญหาตอไป

แนวคิดการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ เป็นกระบวนการแกปัญหา หาคําตอบ และพัฒนาสภาวะที่เป็นอยูใหดีขึ้น เป็นการสรางทางเลือก

และวิธีการแกปัญหาที่หลากหลาย แปลกใหมและการเชื่อมโยงเหตุผลของทางเลือกและประเมินวิธีการแกปัญหา โดยมีการควบคุมตนเองซึ่งกระบวนการแกปัญหาอยางสรางสรรค์มี 5 ขั้นตอน คือ 1) การเข าถึ งปัญหา เป็นสวนที่ สํ าคัญแรกเริ่ มในการแกปัญหา การจะแกปัญหาไดผูที่แกปัญหาจะตองรูวาปัญหาคืออะไร เกิดจากสาเหตุใด เกี่ยวของสัมพันธ์กันอย าง ไร 2 ) การคิดวิ ธี การแกปัญหา ขั้ นนี้แสดงออกถึงความคิดสรางสรรค์อยางชัดเจนคือคิดหาวิธีแกปัญหาใหไดมากท่ีสุดโดยปราศจากการตัดสินวาผิดหรือถูก สรางความคิดใหมๆ 3) การเลือกและเตรียมการ เป็นขั้นประเมินวิธีการแกปัญหาดวยเกณฑ์ที่สรางขึ้นจนไดวิธีที่ดีที่สุด จากนั้นจึงพิจารณาสิ่ ง สนับสนุนและ อุปสรรคที่ อ าจจะ เกิ ดขึ้ น ในกระบวนการแกปัญหา 4) การวางแผนการแกปัญหา เป็นการประกันความเป็นไปไดของวิธีการแกปัญหา ตรวจสอบ ติดตาม ปรับปรุง กิจกรรมตางๆ ที่ใชในการแก ปัญหา วา งแผนการแก ปัญหา โด ย ใชความสามารถและขอจํากัดของบุคคล บริบท เงื่อนไข ทรัพยากร และ 5) การลงมือปฏิบัติ เป็นการนําแผนที่วางไวไปปฏิบัติจริง กํากับและติดตามการแกปัญหา เปรียบเทียบกับผลลัพธ์หรือจุดมุงหมายที่ตั้งไว ทําการสังเกตและบันทึกพฤติกรรมการแกปัญหา เมื่อเป็นไปตามแผนที่วางไวก็ใหการเสริมแรงตนเอง (สิทธิชัย ชมพูพาทย์, 2554)

วัตถุประสงค์ 1. เพ่ือศึกษาผลของการพัฒนาความสามารถในการแกปัญหาอยางสรรค์ของกลุมทดลองและกลุมควบคุม กอนและหลังการเขารวมโปรแกรมพัฒนาความสามารถในการแกปัญหาอยางสรรค์ ที่มีตอความสามารถและเจตคติตอการแกปัญหาอยาง

Page 5: Development of Ability and Attitude in Creative Problem ...bsris.swu.ac.th/jbsd/581/Journal58-copy-12.pdf · of the experimental group and control group after the program participation

ISSN 2228-9453 Journal of Behavioral Science for Development Vol.7 No.1 January 2015 Pag e | 191

วารสารพฤตกิรรมศาสตร์เพ่ือการพฒันา ปีท่ี 7 ฉบบัท่ี 1 มกราคม 2558 ลขิสทิธ์ิโดย สถาบนัวิจยัพฤตกิรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยัศรีนครินทรวิโรฒ

สรางสรรค์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายในโครงการหองเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ 2. เ พ่ือ เปรี ยบเทียบผลต างของคะแนนความสามารถในการแกปัญหาอยางสรรค์ และเจตคติตอการแกปัญหาอยางสรางสรรค์ของนักเรียนหองเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ระหวางนักเรียนกลุมทดลองและกลุมควบคุมหลังการเขารวมโปรแกรมพัฒนาความสามารถในการแกปัญหาอยางสรรค์

กรอบแนวคิดการวิจัย

ภาพประกอบ 1 กรอบแนวคิดในการวิจัย

สมมติฐาน 1. นักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ในโครงการหองเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ที่ไดรับการพัฒนาตามโปรแกรมการพัฒนาความสามารถในการแกปัญหาอยางสรางสรรค์มีความสามารถในการแกปัญหาอยางสรางสรรค์ และเจตคติตอการแกปัญหาอยางสรางสรรค์หลังการทดลองสูงกวากอนการทดลองอยางมีนัยสําคัญทางสถิต ิ

2. หลังการทดลองตามโปรแกรมการพัฒนาความสามารถในการแกปัญหาอยางสรางสรรค์นักเรียนกลุมทดลองมีคาเฉลี่ยผลตางความสามารถในการแกปัญหาอยางสรางสรรค์ และเจตคติตอการแกปัญหาอยางสรางสรรค์ สูงกวากลุมควบคุมอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ

วิธีด าเนินการวิจัย ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ประชากร เป็ นนัก เ รี ยนห อง เ รี ยน พิ เศษวิทยาศาสตร์ ระดับมั ธยมศึกษาตอนปลาย ปีการศึกษา 2556 โรงเรียนเลิงนกทา จังหวัดยโสธร จํานวนทั้งหมด 90 คน กลุมตัวอยางเป็นนักเรียนที่กําลังศึกษาในหองเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนเลิงนกทา จังหวัดยโสธร จํานวน 26 คน ไดกลุมตัวอยางโดยใชวิธีการสุมอยางงาย (Simple Random Sampling)เหตุที่เลือกใชการสุ มนี้ เนื่ องจากกลุ มประชากรมี ลั กษณะที่คลายคลึงกันในดานความสามารถดานวิทยาศาสตร์ การสุมกลุมตัวอยางอยางงายมีขั้นตอนคือ เลือกกลุมตัวอยางจากประชากรโดยการจับสลากหองเรียนซึ่งมี 3 ชั้น คือ ม.4- ม.6 มีระดับชั้นละ 1 หอง ไดนักเรียนระดับชั้น ม. 5 ซึ่งมีจํานวน 26 คน สุมนักเรียนแตละคนเขากลุมซึ่งแบงเป็น 2 กลุม และสุดทายจับสลากแบงกลุมนักเรียนทั้ง 2 คน เขากลุมทดลองและกลุมควบคุม ไดกลุมละ 13 คน

เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย

1. โปรแกรมการพัฒนาความสามารถในการแกปัญหาอยางสรางสรรค์ เป็นชุดของกิจกรรมที่ฝึกใหนักเรียนไดเขาใจกระบวนการ ขั้นตอนของการแกปัญหาอยางสรางสรรค์จํานวน 12 ชั่วโมง ฝึกทั้งหมด 12 ครั้งๆละ 60 นาที โดยพัฒนาโปรแกรมฯ จากแนวคิดการแกปัญหาอยางสรางสรรค์ของสิทธิชัย ชมพูพาทย์ (2554) 5 ขั้นตอนไดแก 1) การเขาถึงปัญหา 2) การคิดวิธีการแกปัญหา 3) การเลือกและเตรียมการ 4) การวางแผนการแกปัญหา 5) การลงมือปฏิบัติ และใชแนวทางการพัฒนาเจตคติของแมคไกว์(McGuire, 1969) รวมดวย โดยลักษณะกิจกรรมในการพัฒนาแตละครั้งจะประกอบดวยการนําเสนอ

โปรแกรม

การพัฒนาความสามารถในการแกปัญหา

อยางสรางสรรค์

- ความสามารถในการแกปัญหาอยางสรางสรรค์ - เจตคติตอการ

แกปัญหาอยางสรางสรรค์

Page 6: Development of Ability and Attitude in Creative Problem ...bsris.swu.ac.th/jbsd/581/Journal58-copy-12.pdf · of the experimental group and control group after the program participation

192 | Page Journal of Behavioral Science for Development Vol.7 No.1 January 2015 ISSN 2228-9453

วารสารพฤตกิรรมศาสตร์เพ่ือการพฒันา ปีท่ี 7 ฉบบัท่ี 1 มกราคม 2558 ลขิสทิธ์ิโดย สถาบนัวิจยัพฤตกิรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยัศรีนครินทรวิโรฒ

สถานการณ์จําลองที่สอดคลองกับวัตถุประสงค์ของการพัฒนาในกิจกรรมทุกครั้ง นักเรียนจะตองคิดดวยตนเองกอน จากนั้นทําการระดมความคิด อภิปรายกลุม และสรุปเป็นขอคนพบของกลุม และชวงทายของกิจกรรมแตละกลุมทําการนําเสนอผลการระดมความคิดของกลุมใหเพ่ือนในหองเรียนฟัง และผลการตรวจสอบคุณภาพของโปรแกรมการพัฒนาความสามารถในการแกปัญหาอยางสรางสรรค์ในดานความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา (IOC) ของทั้ง 12 กิจกรรมมีคา 1.00 โดยมีคาเฉลี่ยความเหมาะสมของกิจกรรมแตละครั้งในโปรแกรมฯ มีคาระหวาง 4.04–4.80

(เต็ม 5)

2. แบบวัดเจตคติตอการแกปัญหาอยางสรางสรรค์เป็นแบบวัดที่ใชวัดเจตคติตอการแกปัญหาอยางสรางสรรค์ของนักเรียน ซึ่งวัดการแสดงออกทางความรูสึกของนักเรียนที่มีตอการแกปัญหาอยางสรางสรรค์โดยเป็นเจตคติ 3 องค์ประกอบ คือ อ ง ค์ ป ร ะ ก อ บ ท า ง ก า ร รู คิ ด เ ชิ ง ป ร ะ เ มิ น ค าองค์ประกอบทางความรูสึก และองค์ประกอบทางการมุงกระทํา โดยยึดตามแนวคิดการแกปัญหาอยางสรรค์ 11 ขั้นตอนยอยอันไดแก 1) การระบุปัญหาและบอกความสําคัญของปัญหา 2) ความคิดที่เหมาะสมตอปัญหา 3) สํารวจและรวบรวมขอมูลที่เกี่ยวของกับปัญหา 4) ระบุปัญหาที่แทจริง 5) คิดวิธีการแกไขปัญหา 6) ประเมินวิธีการแกไขปัญหา 7)

ระบุปัจจัยสนับสนุน อุปสรรค ที่อาจจะเกิดขึ้นในการแกไขปัญหา รวมถึงทรัพยากรที่ตองใชในการแกไขปัญหา 8) วางแนวทางและระบุทรัพยากรที่ตองใชจริงในการแกไขปัญหา 9) วางแผนการแกไขปัญหา เครื่องมือและการมอบหมายงาน/กิจกรรมในการแกไขปัญหา 10) ปฏิบัติตามแผนที่วางไว สะทอนผล และพัฒนาวิธีการแกไขปัญหา และ 11) จัดการควบคุมตนเอง ประเมิน และเสริมแรงตนเองระหวาง

การแกไขปัญหานั้น แบบวัดประกอบดวยขอคําถามทั้งดานบวกและดานลบ จํานวน 33 ขอคําถามแตละขอประกอบดวยมาตรประมาณคา 5 ระดับคือไมเห็นดวยอยางยิ่ง ไมเห็นดวย เฉยๆ เห็นดวย เห็นดวยอยางยิ่ง ผูที่ไดคะแนนเฉลี่ยสูงแสดงวาเป็นผูที่มีเจตคติตอการแกปัญหาอยางสรางสรรค์สูงกวาผูที่ไดคะแนนเฉลี่ยต่ํา ผลการตรวจสอบความเที่ยงตรง (IOC) ของแบบวัดเจตคติตอการแกปัญหาอยางสรางสรรค์มีคา 0.60–1.00 มีคาความเชื่อมั่นระหวาง 0.834-0.842 มีอํานาจจําแนกอยูระหวาง 0.08–0.75

เมื่อพิจารณาอํานาจจําแนกของขอคําถามซึ่งมีคานอยมากคือ 0.08 โดยเป็นเพียงขอเดียวที่ไมผานเกณฑ์ที่ยอมรับได (0.2 ขึ้นไป) อยางไรก็ตามเนื่องจากผูวิจัยเห็นวาเป็นขอคําถามที่มีความจําเป็นตอโครงสรางของตัวแปรการมุ งกระทํ าการ แกปัญหาอย างสรางสรรค์ และขอคําถามดังกลาวมีความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา (IOC) เทากับ 1.00 ซึ่งตัวแปรมีคาความเชื่อมั่นเป็น 0.834 ผู วิจัยจึงเลือกเก็บขอคําถามดังกลาวไว โดยนํามาปรับปรุงขอคําถามใหม ซึ่งสอดคลองกับอรพินทร์ ชูชม (2545: 267) ระบุวา เมื่อขอคําถามมีคาอํานาจจําแนกต่ําใหตัดขอคําถามนั้ นทิ้ ง ไป หรื อนํ า ข อคํ า ถ ามมาปรั บปรุ ง ใหม สอดคลองกับฉัตรศิริ ปิยะพิมลสิทธิ์ (ม .ป .ป . : Online) ที่ระบุวาขอคําถามที่มีอํานาจจําแนกไมผานเกณฑ์ที่ยอมรับได ควรนํามาปรับปรุงใหม แตถาติดคาลบใหตัดขอนั้นออก

3. แบบวัดความสามารถในการแกปัญหาอยางสรางสรรค์เป็นแบบทดสอบแบบขอเขียน โดยการกําหนดสถานการณ์แลวใหนักเรียนตอบคําถาม ผลการตรวจสอบความเที่ยงตรง (IOC) ทั้ง 11 ขอมีคา 0.60–1.00 สวนการตรวจสอบความเหมาะสมของขอคําถามมีคาระหวาง 5.00 ทุกขอ

Page 7: Development of Ability and Attitude in Creative Problem ...bsris.swu.ac.th/jbsd/581/Journal58-copy-12.pdf · of the experimental group and control group after the program participation

ISSN 2228-9453 Journal of Behavioral Science for Development Vol.7 No.1 January 2015 Pag e | 193

วารสารพฤตกิรรมศาสตร์เพ่ือการพฒันา ปีท่ี 7 ฉบบัท่ี 1 มกราคม 2558 ลขิสทิธ์ิโดย สถาบนัวิจยัพฤตกิรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยัศรีนครินทรวิโรฒ

วิธีการวิจัย

การวิจัยในครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงทดลองโดยใชแบบที่ มี สุ ม สองกลุ ม วั ดก อนหลั งกา รทดลอง (Randomized pretest posttest control group

design) (อ ง อ า จ นั ย พั ฒ น์ , 2549: 276) ก า รดําเนินการวิจัยแบงเป็น 3 ระยะ คือ ระยะเตรียมการกอนการทดลอง ระยะดําเนินการทดลอง และระยะประเมินผลการทดลองใชเวลารวมทั้งสิ้นประมาณ 7สัปดาห์ โดยดําเนินการฝึกทักษะการแกปัญหาอยางสรางสรรค์ใหนักเรียนกลุมทดลองพรอมกันทุกคนตามกระบวนการ5 ขั้นตอน

การวิเคราะห์ข้อมูล

ผู วิ จั ย นํ า ข อ มู ล จ า ก ก า ร ต ร ว จ แ บ บ วั ดความสามารถในการแกปัญหาอยางสรางสรรค์ และแบบวัดเจตคติตอการแกปัญหาอยางสรางสรรค์มาตรวจสอบ บันทึก และจัดกระทํากับขอมูล แลวนํามาวิเคราะห์ดวยวิธีการทางสถิติไดแก สถิติที่ใชในการตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือคือหาคาความเชื่อมั่นของแบบวัดและสถิติที่ใชในการตรวจสอบสมมติฐานในการวิจัยไดแก การเปรียบเทียบคาเฉลี่ยแบบกลุมที่ไมเป็นอิสระตอกัน (t-test dependent) สําหรับการเปรียบเทียบคะแนนความสามารถในการแกปัญหาอยางสรางสรรค์ และเจตคติในการแกปัญหาอยางสรางสรรค์ของกลุมทดลองและกลุมควบคุม กอนและหลังการเขารวมโปรแกรมการพัฒนาความสามารถในกา รแก ปั ญหาอย า ง ส ร า ง ส ร รค์ ใ นก ารตอบวัตถุประสงค์ขอที่ 1 และการเปรียบเทียบคะแนนเ ฉ ลี่ ย แ บ บ ก ลุ ม ที่ เ ป็ น อิ ส ร ะ ต อ กั น ( t-test

Independent) สําหรับเปรียบเทียบผลตางคะแนนความสามารถในการแกปัญหาอยางสรรค์ และเจตคติตอการแกปัญหาอยางสรางสรรค์ ของกลุมทดลองและกลุมควบคุมหลังการเขารวมโปรแกรมพัฒนา

ความสามารถในการแกปัญหาอยางสรรค์ในการตอบวัตถุประสงค์ขอที่ 2

ผลการวิจัย หลังเขารวมโปรแกรมพัฒนาความสามารถในการแกปัญหาอยางสรางสรรค์ นักเรียนกลุมทดลองมีความสามารถในการแกปัญหาอยางสรางสรรค์มากกวากอนเขารวมการทดลองอยางมีนัยสําคัญทางสถิติทั้งภาพรวม (sig = .05) และรายดาน (sig = .00 - .045)

หลังการจัดโปรแกรมพัฒนาความสามารถในการแกปัญหาอยางสรางสรรค์ นักเรียนกลุมควบคุมมีความสามารถในการแกปัญหาอยางสรางสรรค์ลดลงจากกอนเขารวมการทดลองอยางมีนัยสําคัญทางสถิติในภาพรวม (sig = .05) และบางดาน (sig = .00 - .98)

หลังเขารวมโปรแกรมพัฒนาความสามารถในการแกปัญหาอยางสรางสรรค์ นักเรียนกลุมทดลองมีเจตคติตอการแกปัญหาอยางสรางสรรค์มากกวากอนเขารวมการทดลองอยางมีนัยสําคัญทางสถิติทั้ งภาพรวม (sig = .005) และรายดาน (sig = .00 - .045)

หลังการจัดโปรแกรมพัฒนาความสามารถในการแกปัญหาอยางสรางสรรค์ นักเรียนกลุมควบคุมมีเจตคติตอการแกปัญหาอยางสรางสรรค์ไมแตกตางจากกอนเขารวมการทดลองภาพรวม (sig = .66)

และรายดาน (sig = .39 - .94)

หลังเขารวมโปรแกรมพัฒนาความสามารถในการแกปัญหาอยางสรางสรรค์ นักเรียนกลุมทดลองมีคาเฉลี่ยผลตางคะแนนความสามารถในการแกปัญหาอยางสรางสรรค์มากกวากลุมควบคุมอยางมีนัยสําคัญทางสถิติทั้งภาพรวม (sig = .005) และรายดาน (sig = .005) หลังเขารวมโปรแกรมพัฒนาความสามารถในการแกปัญหาอยางสรางสรรค์ นักเรียนในกลุมทดลองมีเจตคติตอการแกปัญหาอยาง

Page 8: Development of Ability and Attitude in Creative Problem ...bsris.swu.ac.th/jbsd/581/Journal58-copy-12.pdf · of the experimental group and control group after the program participation

194 | Page Journal of Behavioral Science for Development Vol.7 No.1 January 2015 ISSN 2228-9453

วารสารพฤตกิรรมศาสตร์เพ่ือการพฒันา ปีท่ี 7 ฉบบัท่ี 1 มกราคม 2558 ลขิสทิธ์ิโดย สถาบนัวิจยัพฤตกิรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยัศรีนครินทรวิโรฒ

สรางสรรค์มากกวากลุมควบคุมอยางมีนัยสําคัญทางสถิติทั้งภาพรวม (sig = .005) และรายดาน (sig = .00 - .03)

อภิปรายผล ในระหวางการพัฒนากลุมทดลองไดรับการฝึกความสามารถ และขั้นตอนในการแกปัญหาอยางสรางสรรค์ คือการฝึกรายทักษะและการฝึกภาพรวม โดยใหนักเรียนไดเรียนรูและฝึกการแกปัญหาโดยเผชิญปัญหาในชีวิตประจําวัน ที่ถูกใชเป็นสถานการณ์ในการฝึก สนับสนุนคํากลาวของ อุดม กาญจณจันทร์ (2556) ที่อธิบายวาการที่ผูเรียนมีโอกาสเผชิญกับปัญหาและแกปัญหาตลอดเวลาที่เรียนทําใหนักเรียนมีประสบการณ์ในการแกปัญหามาก สวนนักเรียนที่มีโอกาส เผชิญปัญหานอยทํ า ใหมี โอกาสในการแกปัญหาเป็นบางชวงของการเรียนเทานั้น การจัดการใหนักเรียนไดเผชิญปัญหานี้ สวนใหญจะจัดใหเผชิญปัญหาที่สอดคลองกับวิถีชีวิตของนักเรียน หรือเป็นสถานการณ์ที่เก่ียวของกับนักเรียน ทําใหนักเรียนมีทักษะการแกปัญหาอยางสร างสรรค์มากขึ้น นอกจากนี้ในระหวางการพัฒนา นักเรียนกลุมทดลองไดเรียนรูและฝึกปฏิบัติการแกปัญหาอยางสรางสรรค์จริง ทั้งการระบุปัญหา การกําหนดเกณฑ์ การเลือกปัญหาและวิธีแกปัญหา การวางแผน ซึ่งการฝึกปฏิบัติจริงดวยสถานการณ์ที่ใกลตัวนี้เองเป็นสวนที่จัดกระทําใหกลุมทดลองไดรับมากกวากลุมควบคุมทําใหมีความสามารถในการแกปัญหาอยางสรางสรรค์เพ่ิมข้ึนสอดคลองกับชัยวัฒน์ สุทธิรัตน์ (2552: 347-

356) ที่ระบุวาผูเรียนที่ไดเรียนรูโดยการฝึกปฏิบัติส า ม า ร ถ เ รี ย น รู แ ล ะ ป ฏิ บั ติ ง า น พ ร อ ม ทั้ ง มีความสามารถในการแกปัญหาสูงกวาการเรียนรูที่เรียนโดยการเรียนรูทฤษฎีและหลักการเพียงอยางเดียวเหตุผลดังกลาวจึงทําใหนักเรียนในกลุมทดลองมี

คาเฉลี่ยผลตางคะแนนความสามารถในการแกปัญหาอยางสรางสรรค์สูงกวากลุมควบคุมอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ รวมทั้งการที่กลุมทดลองไดเรียนรู ไดรับประสบการณ์ ไดฝึกทักษะการแกปัญหาอยางสรางสรรค์อยางสม่ําเสมอ โดยมีกระบวนการพัฒนาเจตคติตอการแกปัญหาอยางสรางสรรค์รวมดวย การไดฝึกอยางตอเนื่อง และสม่ําเสมอนี้เองที่ทําใหกลุมทดลองมีเจตคติและผลตางความสามารถในการแกปัญหาอยางสรางสรรค์สูงกวากอนการทดลองอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ นอกจากนี้ในการพัฒนาความสามารถในการแกปัญหาอยางสรางสรรค์ในโปรแกรมนี้ ยังปรับใชแนวทางการพัฒนาเจตคติ อันไดแกการใหคําแนะนํา การใหทําตาม การอภิปรายกลุม และการใชสารชักจูง เป็นการสรางการรับรู ความชอบ ความพึงพอใจของนักเรียนที่มีตอการแกปัญหาอยางสรางสรรค์ ซึ่งถือเป็นจุดเริ่มตนของการพัฒนาสิ่งทั้งปวง สนับสนุนคํากลาวของสิทธิชัย ชมพูพาทย์ (2554) ระบุวาเมื่อครูและนักเรียนไดรับการพัฒนาการแกปัญหาอยางสรางสรรค์แลว ครูและนักเรียนจะมีเจตคติที่ดีตอการแกปัญหาอยางสรางสรรค์ ซึ่งเป็นการแสดงใหครูและนักเรียนรับรูวาการแกปัญหาอยางสรางสรรค์มีความสําคัญและมีประโยชน์ตอการเรียนการสอนและชีวิตประจําวัน ซึ่งเป็นประสบการณ์ตรง ทําใหครูและนักเรียนเกิดความชื่นชอบและพึงพอใจตอการแกปัญหาอยางสรางสรรค์ โดยกระบวนการในการพัฒนาตามโปรแกรมฯ เป็นการพัฒนาเจตคติตอการแกปัญหาอยางสรางสรรค์ทั้ง 3 องค์ประกอบ คือการพัฒนาความรูเชิงประเมินคาซึ่งระหวางการพัฒนานั้นมีกิจกรรมใหนักเรียนไดเรียนรูขั้นตอน บอกความรูสึกวาขั้นตอนเหลานั้นมีประโยชน์อยางไร และยังมีการแสดงผลดีของการแกปัญหาอยางสรางสรรค์ และผลเสียของการไมใชวิธีการแกปัญหาอยางสรางสรรค์

Page 9: Development of Ability and Attitude in Creative Problem ...bsris.swu.ac.th/jbsd/581/Journal58-copy-12.pdf · of the experimental group and control group after the program participation

ISSN 2228-9453 Journal of Behavioral Science for Development Vol.7 No.1 January 2015 Pag e | 195

วารสารพฤตกิรรมศาสตร์เพ่ือการพฒันา ปีท่ี 7 ฉบบัท่ี 1 มกราคม 2558 ลขิสทิธ์ิโดย สถาบนัวิจยัพฤตกิรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยัศรีนครินทรวิโรฒ

โดยทําใหเกิดทั้งในความคิดของนักเรียนเองและทราบความคิดความรูสึกของเพ่ือนจากการระดมความคิด การสนทนา รวมถึงการที่ผูวิจัยใหความรูเพ่ิมเติมโดยเป็นกระบวนการที่ทําใหนักเรียนใสใจกับเนื้อหาความรูเกี่ยวกับการแกปัญหาอยางสรางสรรค์ที่ผูวิจัยไดใหวิธีการไวในแตละขั้นตอน ดวยเหตุผลที่กล าวมาจึ งทํ า ให กลุ มทดลองมี เจตคติต อการแกปัญหาอยางสรางสรรค์มากกวากอนการทดลอง และมากกวากลุมควบคุมอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ นอกจากนี้ยังสามารถอธิบายในมิติคุณลักษณะของนักเรียนที่มีความสามารถพิเศษดานวิทยาศาสตร์ คือกระบวนการแกปัญหาอยางสรางสรรค์เอ้ือและสอดคลองตอลักษณะนักเรียนที่มีความสามารถพิเศษทางวิทยาศาสตร์ คือนักเรียนมีความสามารถในการใชทักษะและกระบวนการทางวิทยาศาสตร์เพ่ือคิด วิเคราะห์ปัญหาทางวิทยาศาสตร์ที่ซับซอน รวมถึงการปรั บหรือประยุกต์ ใ ช วิ ธี การแกปัญหากับสถานการณ์และประเมินผลการแกปัญหาของตนเองไดอยางถูกตอง ประการตอมาคือการใชจินตนาการความคิดริเริ่มที่แปลกใหมและทาทาย เพ่ือนําเสนอทางเลือกหรือวิธีการใหมๆ อยางหลากหลายใหกับตนเองและผูอ่ืน และการใชเหตุผลในการตัดสินใจทํางาน โดยพิจารณาถึงความสัมพันธ์ระหวางเหตุและผล การแสวงหาและตรวจสอบขอมูลจากแหลงตางๆ มาสนับสนุนอยางรอบคอบละเอียดถี่ถวนจนเพียงพอตอการตัดสินใจ สามารถที่จะยอมรับคําวิพากษ์ วิจารณ์ เพ่ือพัฒนางานของตนเองใหดีขึ้นได ซึ่งกิจกรรมตางๆเชน ขั้นตอนการระบุปัญหานักเรียนไดฝึกการวิเคราะห์ปัญหาที่เกิดขึ้น นอกจากนั้นยังใหนักเรียนไดปรับวิธีการแกปัญหาใหสอดคลองกับบริบท ทรัพยากร มีการคิดสรางสรรค์เกี่ยวกับการระบุปัญหา การสรางเกณฑ์ การระบุวิธีการแกปัญหา ซึ่งทําใหเกิดความทาทายแกนักเรียนที่เขารวมการ

ทดลอง ดังนั้นการที่นักเรียนมีเจตคติตอการแกปัญหาอยางสรางสรรค์มากขึ้น และมีความสามารถในการแกปัญหาอยางสรางสรรค์เพ่ิมขึ้น อาจจะเนื่องมาจากการที่การแกปัญหาอยางสรางสรรค์สอดรับกับคุณลักษณะของนักเรียนนั่นเอง

ข้อเสนอแนะ 1. ครูควรนําโปรแกรมการฝึกความสามารถในการแกปัญหาอยางสรางสรรค์ไปใชกับนักเรียนโดยเฉพาะในแตละรอบปีการศึกษา เนื่องจากผลการวิจัยพบวาสามารถทําใหนักเรียนเกิดการเปลี่ ยนแปลงเจตคติและความสามารถในการแกปัญหาอยางสรางสรรค์ไดอยางเดนชัด ซึ่งจะเป็นประโยชน์ตอนักเรียนเป็นอยางมาก

2. ในกระบวนการนําโปรแกรมไปใชนั้น มีขอคํานึงสําหรับครูดังนี้ 2.1 ครูควรทําความเขาใจกับทักษะและขั้นตอนการแกปัญหาอยางสรางสรรค์ใหชัดเจน

2.2 ครู ควร เน นการ ใช คํ าถามเ พ่ือ ใหนักเรียนเกิดความคิดสรางสรรค์ โดยเฉพาะคําถามที่เนนใหนักเรียนอธิบาย แสดงเหตุผล วิ เคราะห์ สรางสรรค์ 2.3 ในการฝึกความคิดสรางสรรค์ใหกับนักเรียน ครูควรปลอยใหนักเรียนตอบคําถามใหไดมากๆ โดยนักเรียนจะตองคิดไดมากที่สุด ไมสกัดกั้นคําตอบของนักเรียนดวยเหตุผล ความเป็นไปได จากนั้นจึงกระตุนใหนักเรียนไดเลือกหรือรวมคําตอบที่ได โดยคํานึงถึงความเป็นจริง ความเป็นไปได หรือเกณฑ์อ่ืนๆ เพ่ือใหไดคําตอบที่ดีที่สุด รวมถึงการใหนักเรียนไดอธิบายเกณฑ์การเลือกหรือรวมวิธีการแกปัญหา 2.4 สิ่งที่ครูควรใหความสําคัญเป็นพิเศษในการนํา โปรแกรมการฝึกความสามารถในการ

Page 10: Development of Ability and Attitude in Creative Problem ...bsris.swu.ac.th/jbsd/581/Journal58-copy-12.pdf · of the experimental group and control group after the program participation

196 | Page Journal of Behavioral Science for Development Vol.7 No.1 January 2015 ISSN 2228-9453

วารสารพฤตกิรรมศาสตร์เพ่ือการพฒันา ปีท่ี 7 ฉบบัท่ี 1 มกราคม 2558 ลขิสทิธ์ิโดย สถาบนัวิจยัพฤตกิรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยัศรีนครินทรวิโรฒ

แกปัญหาอยางสรางสรรค์ไปใชคือ การใหนักเรียนไดเห็นความสําคัญของปัญหาที่เกิดขึ้น และการระบุปัญหาที่แทจริง ซึ่งเป็นจุดเริ่มตนในการแกปัญหา และใหนักเรียนไดสรางเกณฑ์ในการเลือกปัญหา วิธีการแกปัญหา พรอมกับนําเกณฑ์นั้นไปพิจารณาปัญหาที่แทจริง และวิธีการแกปัญหา 3. การพัฒนาความสามารถในการแกปัญหาอยางสรางสรรค์ใหกับนักเรียนในโครงการหองเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์นั้นควรจะทําทั้งสองประเด็นคือ การฝึกโดยเฉพาะ เนื่องจากในการวิจัยครั้งนี้แสดงใหเห็นอยางชัดเจนแลววา กระบวนการพัฒนาสามารถทําใหนักเรียนเกิดความรู ความสามารถในการแกปัญหาอยางสรางสรรค์ไดอยางเดนชัดและมีนัยสําคัญทางสถิติ ประการที่สองไดแกการสอดแทรกในเนื้อหาวิชา เพราะจะทําใหนักเรียนไดมีโอกาสไดใชและฝึ กความสามารถ ในการแก ปัญหาอย า งสรางสรรค์ตลอดเวลา

ข้อเสนอแนะในการวิจัยครั้งต่อไป

1. สืบ เนื่ อ งจากการพัฒนาการคิ ดของนักเรียนนั้นทําไดสองวิธีคือ การแยกพัฒนาการคิดโดยเฉพาะ กับการบูรณาการเขาไปในการเรียนการสอน ควรมีการวิจัยโดยการนํารูปแบบการสอนโดยเนนการแกปัญหาอยางสรางสรรค์ที่มีอยูแลวไปใชในกลุมนักเรียนที่มีความสามารถพิเศษดานอ่ืนๆ หรือนักเรียนปกต ิ

2. ควรมีการวิจัยเพื่อสรางเกณฑ์ปกติ (Norm)

ของคะแนนการแกปัญหาอยางสรางสรรค์ เนื่องจากคะแนนความสามารถในการแกปัญหาอย า งสรางสรรค์เกิดจากการทําแบบทดสอบแบบขอเขียนและตรวจดวยแนวคิดการวัดความคิดสรางสรรค์ นักเรียนแตละคนจึงมีคะแนนที่แตกตางกัน จึงไมสามารถทราบระดับคะแนนของนักเรียนกลุมนี้ได ถา

มีเกณฑ์ปกติอาจจะทําใหสามารถจัดกระทําคะแนนไดอยางสะดวกมากยิ่งขึ้น

เอกสารอ้างอิง คณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ. (ม.ป.ป.). รายงาน

การวิจัยรูปแบบการจัดการศึกษาสําหรับผู้ที่มีคว ามสามารถ พิ เ ศษด้ านทั กษะการคิ ดระดับสูง. สํานักนายกรัฐมนตรี.

ฉัตรศิริ ปิยะพิมลสิทธิ์ . (ม.ป.ป.). การวิเคราะห์ข้อสอบ. เอกสารอิเลกทรอนิกส์ สืบคนเมื่อ 5 ตุลาคม 2555 จาก: http://www.WATPON. com

ชัยวัฒน์ สุทธิรัตน์. (2552). 80 นวัตกรรมการจั ดการ เ รี ยนรู้ ที่ เ น้ นผู้ เ รี ยน เป็ นสํ าคัญ . กรุงเทพฯ : แดเน็กซ์ อินเตอร์คอร์ปอเรชั่น.

ทิศนา แขมณี. (2551). การพัฒนากระบวนการคิด: แนวทางที่หลากหลายสําหรับครู. เอกสารประกอบการประชุม การพัฒนาการคิดโดยใชก ร ะ บ ว น ก า ร GPAS. ( พิ ม พ์ ค รั้ ง ที่ 3 ) . กรุงเทพฯ : สํานักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา.

วสัน ปุุนผล. (2551). การพัฒนาตัวบ่งชี้คุณลักษณะนั ก เ รี ย น ที่ มี ค ว า ม ส า ม า ร ถ พิ เ ศ ษ ท า งวิทยาศาสตร์ : การประยุกต์ใช้ระเบียบวิจัยแบบผสานวิธี . วิทยานิพนธ์การศึกษาดุษฎีบัณฑิต (การวิจัยและประเมินผลการศึกษา). มหาวิทยาลัยนเรศวร.

สิทธิชัย ชมพูพาทย์. (2554). การพัฒนาพฤติกรรมการเรียนการสอนเพ่ือการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ของครูและนักเรียนในโรงเรียนส่งเสริมนักเรียนที่มีความสามารถพิเศษทางวิทยาศาสตร์โดยใช้การวิจัยปฏิบัติการเชิงวิพากษ์. ปริญญาวิทยาศาสตรดุษฎีบัณฑิต

Page 11: Development of Ability and Attitude in Creative Problem ...bsris.swu.ac.th/jbsd/581/Journal58-copy-12.pdf · of the experimental group and control group after the program participation

ISSN 2228-9453 Journal of Behavioral Science for Development Vol.7 No.1 January 2015 Pag e | 197

วารสารพฤตกิรรมศาสตร์เพ่ือการพฒันา ปีท่ี 7 ฉบบัท่ี 1 มกราคม 2558 ลขิสทิธ์ิโดย สถาบนัวิจยัพฤตกิรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยัศรีนครินทรวิโรฒ

( ก า ร วิ จั ยพฤติ ก ร รมศาสตร์ ป ระยุ กต์ ) . กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒ.

องอาจ นัยพัฒน์. (2549). วิธีวิทยาการวิจัยเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพทางพฤติกรรมศาสตร์และสังคมศาสตร์. กรุงเทพฯ สามลดา.

อรพินทร์ ชูชม. (2545). เอกสารคําสอนการสร้างและพัฒนาเครื่องมือวัดทางพฤติกรรมศาสตร์ . สถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒ.

อุดม กาญจนจันทร์. (2556). ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพสาขาเกษตรศาสตร์โดยใช้วิธีสอนแบบ

การสร้างองค์ความรู้จากการสร้างสรรค์ชิ้นงานร่วมกับการสอนโดยอาศัยปัญหาเป็นฐาน. วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต หลักสูตรการศึกษามหาบัณฑิต (สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน). มหาวิทยาลัยทักษิณ.

อุษณีย์ โพธิสุข. (2541). การศึกษาสําหรับเด็กที่มีความสามารถพิเศษ. สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา สืบคนเมื่อ 5 ตุลาคม 2555 จาก:

http://www.onec.go.th.

McGuire, W. J. (1968). The nature of

attitudes and attitude change. In G.

Lindzey & E. Aronson (Eds.), Handbook

of social psychology (2nd ed), 3(3): 136-

314. Reading, MA: Addison-Wesley.

Page 12: Development of Ability and Attitude in Creative Problem ...bsris.swu.ac.th/jbsd/581/Journal58-copy-12.pdf · of the experimental group and control group after the program participation

198 | Page Journal of Behavioral Science for Development Vol.7 No.1 January 2015 ISSN 2228-9453

วารสารพฤตกิรรมศาสตร์เพ่ือการพฒันา ปีท่ี 7 ฉบบัท่ี 1 มกราคม 2558 ลขิสทิธ์ิโดย สถาบนัวิจยัพฤตกิรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยัศรีนครินทรวิโรฒ