david eston, almond coleman, fred w. riggs, max weber politics and... · “weberian bureaucracy”...

20
ตัวแบบและทฤษฎีที่นํามาใชในการศึกษาวิเคราะหระบบการเมืองและบริหารของประเทศไทย โดย ผศ.ดร.ธรรมรักษ เรืองจรัส ไดแก ทฤษฎีระบบ ของ David Eston, ทฤษฎีโครงสรางหนาทีของ Almond และ Coleman, ทฤษฎีพริสมา ติก ของ Fred W. Riggs, และทฤษฎีระบบราชการของ Max Weber วิธีการศึกษา พยายามนําเอาทฤษฎีที่สรางขึ้นมาจากประสบการณของสังคมตะวันตกไปใชเปนเกณฑวัดหรือ เปรียบเทียบกับสังคมที่ไมใชตะวันตก โดยไมคํานึงถึงสภาพสังคม ระบบการบริหารความรูสึก นึกคิด ประวัติศาสตร วิถึชีวิต วิธีคิด ของคนในประเทศไทยเลยเปนความพยายามครอบงําทางความคิดของ คนในประเทศไทย ทฤษฎีการทําใหทันสมัยอยางตะวันตกเปนแนวคิดที่ถูกนํามาใชเปนวิถีทางในการพัฒนาประเทศไทย นับตั้งแตหลัง W.W.II โดยนักวิชาการของกลุมเปรียบเทียบทั้งสองกลุกลุมการเมืองเปรียบเทียบมีความเชื่อวา 1. วิถีทางที่จะพัฒนาประเทศไทยใหทันสมัยทัดเทียมกับประเทศตะวันตกไดจะตองทําใหระบบการเมือง ของประเทศมีเสถียรภาพกอน

Upload: others

Post on 10-Oct-2019

1 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

ตัวแบบและทฤษฎีท่ีนํามาใชในการศึกษาวิเคราะหระบบการเมืองและบริหารของประเทศไทย

โดย ผศ.ดร.ธรรมรักษ เรืองจรัส

ไดแก ทฤษฎีระบบ ของ David Eston, ทฤษฎีโครงสรางหนาท่ี ของ Almond และ Coleman, ทฤษฎีพริสมา

ติก ของ Fred W. Riggs, และทฤษฎีระบบราชการของ Max Weber

วิธีการศึกษา พยายามนําเอาทฤษฎีท่ีสรางข้ึนมาจากประสบการณของสังคมตะวันตกไปใชเปนเกณฑวัดหรือ

เปรียบเทียบกบัสังคมท่ีไมใชตะวนัตก โดยไมคํานึงถึงสภาพสังคม ระบบการบริหารความรูสึก

นึกคิด ประวัติศาสตร วิถึชีวติ วิธีคิด ของคนในประเทศไทยเลยเปนความพยายามครอบงําทางความคิดของ

คนในประเทศไทย

“ทฤษฎีการทําใหทันสมัยอยางตะวนัตก” เปนแนวคิดท่ีถูกนํามาใชเปนวิถีทางในการพัฒนาประเทศไทย

นับต้ังแตหลัง W.W.II โดยนักวิชาการของกลุมเปรียบเทียบท้ังสองกลุม

กลุมการเมืองเปรียบเทียบมีความเชื่อวา

1. วิถีทางท่ีจะพัฒนาประเทศไทยใหทันสมัยทัดเทียมกบัประเทศตะวนัตกไดจะตองทําใหระบบการเมือง

ของประเทศมีเสถียรภาพกอน

2  

2. ระบบการเมืองท่ีมีเสถียรภาพก็คือระบบการเมืองแบบตะวันตก คือ มีรูปแบบการปกครองแบบ

ประชาธิปไตย

3. การที่จะมีรูปแบบการปกครองแบบประชาธิปไตยอยางตะวนัตกได จะตองมีการพัฒนาสถาบันการเมือง

และสถาบันหลักตาง ๆ ท่ีจะเขามาทําหนาท่ีตาง ๆ ไดโดยเฉพาะ “ระบบราชการ”

แนวคิดของกลุมบริหารรัฐกิจเปรียบเทียบ

- สนใจในการทําใหระบบราชการในประเทศไทยมีความ “ทันสมัย” เพื่อความมีประสิทธิภาพในการบริหาร

การพัฒนา

- “ความทันสมัย” ของระบบราชการก็คือความทันสมัยแบบตะวันตก นั่นคือ การจัดองคการแบบท่ีเรียกวา

“Weberian bureaucracy” นั่นเอง

- มองการพัฒนาเปนเพยีงเร่ืองของการถายเทเทคโนโลยีจากประเทศที่เจริญแลวไปยังประเทศไทย และ

เทคโนโลยีนั้นก็คือความรู และรูปแบบการบริหารของประเทศสหรัฐอเมริกานั้นเอง

การบริหารการพัฒนา ตามแนวทางของกลุมการบริหารรัฐกิจเปรียบเทียบในยุคนี้คือ

การพัฒนาระบบการบริหารของรัฐในประเทศไทยใหเปนแบบตะวันตก

- ความเช่ือ การท่ีจะทําใหแผนพัฒนาตางๆท่ีกําหนดไวถูกนํามาใชในการพัฒนา ประเทศไดสําเร็จ จะตอง

อาศัยอํานาจหรือ กลไกรัฐ ซ่ึงไดแกระบบราชการเปนตัวนํา แตระบบราชการของประเทศดอยพัฒนายังไร

ประสิทธิภาพ จึงมีความจําเปนอยางยิ่งท่ีจะตองพัฒนาใหทันสมัยกอน

- การพัฒนาระบบราชการใหทันสมัยอยางตะวนัตกจึงเปนเง่ือนไขสําคัญในการบริหารการพัฒนาท่ีมี

ประสิทธิภาพ

- ขาราชการในประเทศไทยมีอุดมการณ แหงความเปนกลางทางการเมืองเหมือนอุดมการณของขาราชการ

ในประเทศตะวันตก

- เนนในการสรางผูนําท่ีเขมแข็ง แบบทหารและพลเรือนเพ่ือใหเปนผูนาํในการพัฒนา

จากขอสมมุติฐาน ของกลุมการบริหารรัฐกิจเปรียบเทียบเทียบ ท่ีวาปญหาใหญของประเทศไทย คือปญหา

ทางดานการบริหาร

- วิธีแกไข การใหความรูทางดานการบริหารรัฐกิจ แกนักวิชาการ ขาราชการ ของประเทศเหลานั้น และตอง

เปนความรูท่ีส่ังสมมาจากประสบประการณของประเทศที่เจริญแลวในตะวันตก

-การเพิ่มขีดความสามารถของระบบราชการจึงตองทํากอนส่ิงอ่ืน โดยไมจําเปนตองคํานึงถึง ระดบัการ

3  

พัฒนา ทางการเมือง วัฒนธรรมทางการเมือง วิถีซีวิต แนวคิด ของคนในประเทศไทยเลย

ผลของการพัฒนาประเทศไทย ท่ีถือเปนมรดกตกทอดท่ีกลุมบริหารรัฐกิจเปรียบเทียบท้ิงไวให คือ

- ระบบราชการ ท่ีเขมแข็งใหญโต และทันสมัยอยางตะวนัตก

- การมีผูนําแบบราชการท่ีเขมแข็ง และมีลักษณะการใชอํานาจ แบบเผด็จการ

- ทําใหประเทศไทยกลายเปน “รัฐขาราชการ”

Dewhite Waldo - “the administrative state”

Fred Riggs - “a bureaucratic Polity” ระบบอํามาตยาธิปไตย

ทฤษฎีพริสสมาติก (Prismatic Theory) ของ Fred W. Riggs

- การพัฒนาสังคมของประเทศตาง ๆ จะเร่ิมจากสังคมแบบด้ังเดิม (Fused society) ไปสูสังคมเปล่ียนผาน

(Prismatic Society) และส้ินสุดลงท่ีสังคมท่ีพัฒนาแลว แบบสังคมตะวันตก (diffracted society)

สังคมแบบฟวส เปนสังคมแบบดั้งเดิม โดยมีพื้นฐานของจารีตประเพณีเปนหลักเรียบงาย ระบบ

ความสัมพันธ ท่ีปฏิบัติตอกันในสังคมมีความผสมกลมกลืนกันดี เปนไปตามวัฒนธรรมดังเดิม

สังคมดิฟแฟรด เปนสังคมท่ีมีรูปแบบโครงสรางหนาท่ีตาง ๆ มากมาย มีความสลับซับซอน

มีสถาบันทางสังคมมากมายแกความสัมพนัธ ระหวางโครงสรางกับหนาท่ีของกลุมตาง ๆ สามารถดําเนินไป

ไดอยางประสานกลมกลืนกนัอยางดี อยูในกรอบของตนเปนลักษณะของสังคมของประเทศพัฒนาแลว

สังคม Prismatic คือสังคมซ่ึงอยูระหวางการเปล่ียนผานจากสังคมแบบฟวสไปสูสังคมดิฟแฟรด ซ่ึงจะ

ปรากฎในประเทศไทย ลักษณะเดนของสังคมนี้คือ

- มีการกําหนดโครงสราง - หนาท่ีของสถาบันตาง ๆ ในสังคม ข้ึนมามากมายแตสถาบันเหลานั้นไมทําหนาท่ี

อยางท่ีเปน ผลก็คือ ทําใหเกิดการกาวกายบทบาท อํานาจหนาท่ีของกันและกันเกิดข้ึนเสมอ

เปนสังคมท่ีเต็มไปดวยคนท่ีเห็นแกตัว เห็นแกอํานาจ ตองการแสวงหาอํานาจและผลประโยชนมาใหแก

ตนเอง ลักษณะของอํามาตยาธิปไตย ท่ีบงบอกถึงความเปนใหญของระบบราชการในระบบการเมืองไทย มี 2

ลักษณะ

1. ความเปนใหญของขาราชการไทยในเชงิรูปแบบ

- ขาราชการไทย สามารถดําเนินการทางการเมืองไดโดยไมตองหวัน่เกรงตอการตอตาน จากกลุมสังคมอ่ืน ๆ

เพราะขาราชการเปนกลุมท่ีมีการรวมตัวอยางเปนระบบมากท่ีสุด ในขณะท่ีการรวมตัวของกลุมอ่ืน ๆ ยังไม

ปรากฏ

ประกอบกับ สภาพการเมืองท่ียังมีภยัคุมคามจากคอมมิวนิสตในยุคสงครามเย็น เปนปจจัยเสริมใหขาราชการ

ฝายความม่ันคงมีบทบาทมากละพวกพองภาพสะทอนท่ีปรากฎ คือ วงจรอุบาทว (Vicious Cycle) ซ่ึงไดแก

4  

การกอการรัฐประหาร บอย ตามดวยระบบเผด็จการอันยาวนาน กอนท่ีจะมีความขัดแยงระหวางผูมีอํานาจ

อาจมีการเขาหาประชาชนเปนบางคร้ัง และตามมาดวยระบบประชาธิปไตยส้ัน ๆ กอนท่ีจะมีการ

ปฏิวัติอีก เปนวัฏจักรทางการเมืองของไทยในอดีต

2. ความเปนใหญของขาราชการในเชงิสาระ หมายถึง บทบาทของขาราชการไทย ในการกําหนดนโยบาย

สาธารณะและการนํานโยบายไปปฏิบัติ เชน การดําเนินนโยบายทางเศรษฐกิจจะอยูในอํานาจของขาราชการ

ในกระทรวงการคลัง สภาพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม และธนาคารแหงประเทศ โดยที่กลุมอ่ืนในสังคม ไมวา

จะภาคธุรกิจเอกชน พรรคการเมือง ประชาชนท่ัวไปไมเคยมีสวนรวมเลย

สังคมการเมืองไทยเคยอยูในชวงรอยตอแหงการเปล่ียนผานจากระบบอํามาตยาธิปไตย (Bureaucratic

polity) ไปสูระบบ ประชาธิปไตยพหุนยิม (Pluralistic Democracy)

สาเหตุท่ีสังคมไทยอาจจะสามารถกาวออกมาจากระบบอํามาตยาธิปไตยได เนื่องจาก

1. การเปล่ียนแปลงในทางเศรษฐกิจสังคมไทยต้ังแตทศวรรษท่ี1980 สังคมไทยไดพัฒนาจากสังคมท่ีพึ่งพิง

ภาคเกษตรมาสูสังคมท่ีพึ่งพิงอุตสาหกรรมและบริการ ทําใหมีการรวมตัวของกลุมผลประโยชนตางๆข้ึน ทํา

ใหมีการถวงดลุอํานาจระหวางกลุมตางๆมากข้ึน กลุมขาราชการ จึงตองลดบทบาทลงไมสามารถผูกขาด

อํานาจไดตอไป

2. เมืองไทยอาจจะไมเปดโอกาสใหมีการปฎิวัติไดงายๆเหมือนในอดีต ทําใหการปกครองแบบเผด็จการ

เกิดข้ึนยาก

ปรากฏการณท่ีพบเห็น

1. การสรางพันธมิตร ระหวางนักธุรกิจ นายทุนกับขาราชการ

2. การเกิดพนัธมิตรระหวาง พรรคการเมือง หรือกลุมการเมืองสายธุรกิจกับขาราชการ เพื่อรวมมือกันในการ

แสวงหาผลประโยชนรวมกนั

3. ปรากฏการณแหงการคอรัปช่ัน ขนานใหญในทุกวงการ เกิดข้ึนในสังคมไทยจนเหมือนกับเปนเร่ืองปกติ

วิสัย บนพืน้ฐานของพันธมิตรของกลุมนักธุรกิจ กลุมขาราชการ กลุมนักธุรกิจการเมือง

4. การขยายตัวของธุรกิจการเมืองในยุคปจจบัุน ยังสะทอนออกมาในรูปของขาย ซ้ือเสียงขนานใหญของ

นักการเมือง การซ้ือตําแหนง เพื่อเขาสูอํานาจของขาราชการการเมือง และขาราชการประจําในระดับสูง

5. สังคมการเมืองไทยในปจจุบัน เปนการเมืองแบบธนาธิปไตยอยางเต็มรูปแบบ ถูกครอบงําโดยนกัธุรกิจ

การเมืองอยางแทจริง เพราะรัฐบาลท่ีทําการปกครองบริหารประเทศในปจจุบันคือกลุมทุนขนาดใหญท่ี

ผูกขาดอํานาจรัฐอยู เปนรัฐบาลท่ีประกอบดวยนักธุรกจิการเมืองเปนสวนใหญ

5  

6.แตหลังจากการยึดอํานาจโดย คณะรัฐประหารลาสุด ทําใหระบบการเมืองในประเทศไทยยอนยคุไปเปน

ระบบอมาตยาธิปไตยมากข้ึนอีกคร้ังหนึ่งท่ีบงบอกถึงความเปนใหญของระบบราชการในระบบการ

เมืองไทย

แนวคิดการจดัการภาครัฐแนวใหม จะมีผลตอการปรับปรุงประสิทธิผลและประสิทธิภาพของระบบราชการ

ไดอยางไร

แนวคิด (Concept) หมายถงึ สัญลักษณ (symbol) หรือขอความ (Word) ซึ่งมีความหมายในระดับ

ซึ่งมีความหมายในระดับซึง่คอนขางมีความเปนนามธรรม

การจัดการภาครัฐแนวใหม (New Public Management) เปนการบริหารงานภาครัฐที่ไดรับ

อิทธิพลมาจากแนวความคิด มาตรการ และกลยทุธของการบริหารงานภาคเอกชน

ระบบราชการ เปนองคการขนาดใหญที่มแีบบแผน (Bureaucracy) มาจากแนวคิดของ Max

Weberซึ่งทาํใหองคการเปล่ียนจากองคการที่ถูกจัดอยางไมเปนระบบมาเปนองคการที่มีการบริหารอยาง

เปนระบบ(Systematic Organized Organization) โดยมีเปาหมายเพื่อใหองคกรมีประสิทธิภาพ(วรเดช จัน

ทศร:ปรัชญาของการบริหารภาครัฐ หนา 27 ) ซึ่งมีลักษณะดังนี ้

1.มีการแบงงานกนัทาํตามแนวราบ(Horizontal delegation) เพื่อใหกระบวนการของงานในองคกร

ทั้งระบบ มีคนรับผิดชอบ แบงงานกันทํา ตามลักษณะงาน (Division of Labor) เพื่อใหเกิดความชํานาญ

เฉพาะอยาง เกิดการเพิม่ผลผลิตและเกิดความถูกตอง เนื่องจากมีความชํานาญงานมากข้ึน

2.มีการแบงงานกนัทาํตามแนวต้ัง หรือมีการใชสายบังคับบัญชา (Hierarchy) เพื่อควบคุมใหงาน

ตมแนวราบ ไดรับการตรวจสอบใหเกิดความถูกตอง เพือ่ใหสายการบังคับบัญชาแตละระดับตัดสินใจ

(Line of command)โดยมีผูบังคับบัญชาสูงสุด เพื่อควบคุมใหการทํางานขององคการเปนไปเพื่อ

ผลประโยชนสวนรวมขององคการ ไมใชผลประโยชนเฉพาะสวนของแผนกงานยอยขององคการ

3.ยึดหลักกฎหมายและบันทกึเปนลายลักษณอักษร เพือ่ใหการทํางานมีความแนนอน เมื่อมีการ

เปล่ียนแปลงตัวคน เพื่อใหการทาํงานขององคการมีลักษณะที่เปนหลักฐานอางอิงได มีการสื่อสารที่เปน

ทางการ(Formal Communication)

6  

4.ยึดกฎ ระเบียบในการทาํงาน (Rule and regulation) เพือ่ใหเกิดความแนนอนในการทํางาน ให

การทาํงานมีความรวดเร็วข้ึน เพื่อลดกรสือ่สารที่ไมจําเปนระหวางผูปฏิบัติในหนวยงาน เพื่อสรางกรอบ

พฤติกรรมพืน้ฐานใหสมาชิกในหนวยงานมีแบบแผนเดียวกัน (Standardization of behavior)

5.มีการเล่ือนช้ันเล่ือนตําแหนงตามหลักอาวุโสและความสามารถ เพือ่ใหสอดคลองกับวงจรชีวิต

ของสมาชิก ทีต่องหมุนเวยีนเขาและออกจากหนวยงานไปตามอาย ุเพือ่ใหองคการมีพลวัต (Dynamic) เปน

หลักการพืน้ฐานเพื่อสรางขวัญและกําลังใจและเปาหมายในความกาวหนาตามอาชีพงาน มีการจายคาจาง

ในลักษณะเปนเงนิประจํา เรียกวา งานอาชีพ (Career)

6.แยกประโยชนสวนตัวออกจากประโยชนขององคการ เพื่อใหผูปฏิบัติงาน ทํางานใหองคการเพื่อ

ผลประโยชนรวมขององคการ โดยใชหลักความเปนระเบียบแบบแผนและการแยกเร่ืองสวนตัวออกจากเร่ือง

งาน (Impersonality)

ผลกระทบจากการท่ีรูปแบบของระบบราชการ เปนรูปแบบองคการขนาดใหญที่มีแบบ

แผน(Bureaucracy) มีดังนี ้

1.ทําใหการบริหารของรัฐมีลักษณะผูกขาด ไมกอใหเกิดการแขงขันกนั ระหวางหนวยงานของรัฐใน

การใหบริการและอํานวยความสะดวกใหแกประชาชนผูรับบริการ กลับเปนการเสริมและกระตุนให

หนวยงานราชการและขาราชการใชบทบาทการผูกขาด แสวงหาประโยชนใหหนวยงานและสมาชิกของ

หนวยงานเปนหลัก การบริหารงานขาดประสิทธิภาพ ส้ินเปลือง เปนอุปสรรคตอการใหภาคเอกชนเขา

มารวมกิจกรรมของรัฐเพื่อชวยในการพฒันาประเทศและทําใหความสามารถในการการแขงขันกับ

ประชาคมโลกมีสมรรถนะตํ่า

2.ทําใหการบริหารงานของรัฐ เปนรูปแบบการปกครองโดยขาราชการอยางมีความเปนสถาบัน

โดยเฉพาะการรวมอํานาจเขาสูสวนกลางในทุกกิจกรรมของรัฐ มีผลใหแนวทางการบริหารไมเปน

ประชาธิปไตย ไมสามารถตอบสนองตอความตองการของประชาชนทีม่ีความหลากหลาย แตกตางกนัตาม

ภูมิภาค วิถีชวีติ ขนบธรรมเนียมประเพณี เปนตน ความรวดเร็วในการสนองตอบความตองการของ

ประชาชนตํ่า ลาชา ไมทนัการณ เนื่องจากตองรอฟงคําส่ังและนโยบายที่มาจากสวนกลาง

7  

3. ทาํใหเกิดปญหาในการประสานงานระหวางหนวยงานของรัฐดวยกนัเอง ทัง้ในระดับแนวด่ิงและ

ในระดับแนวราบตอแนวราบ เกิดความลาชา ความขัดแยง ไมสามารถประสานกิจกรรมเพื่อใหบรรลุ

วัตถุประสงครวมของภาครัฐได มักบรรลุวตัถุประสงคที่เปนประโยชนของกอง กรม กระทรวงมากกวา

4.การขยายตัวขององคกรภาครัฐ มีลักษณะเปนแนวด่ิงและแนวราบ ทาํใหเกิดปญหาความซํ้าซอน

ในภารกิจ และมีการทํางานที่เหล่ือมลํ้าและขัดแยงกัน มกีารเพิม่อัตรากําลังและงบประมาณ ในอัตราที่

กาวหนามากยิ่งข้ึน เปนภาระในระยะยาวของประเทศ ทําใหงบประมาณในการพัฒนาประเทศลดลง

5.การใชกฎระเบียบ เปนแนวทางปฏิบัติและแกปญหา มากกวาการใชกลไกตลาด ทําใหรัฐตอง

ขยายกาํลังพลมากข้ึน และทําใหขาราชการมีอํานาจมากข้ึน มกีารแสวหาประโยชนจากอํานาจมากข้ึน

และไมสามารถแกปญหาไดไดทันเวลา หรือถูกตองเปนธรรมเพราะกฎระเบียบไมสามารถระบุรายละเอียด

ไดทุกเร่ือง ทุกกรณี และไมมคีวามยดืหยุน

6.การขาดการมีสวนรวมของชุมชน ทาํใหเกิดความขัดแยงหรือผิดหวงัจากชุมชน ขาดศรัทธาตอ

ภาครัฐมีแนวโนมในการสรางความขัดแยงและเผชิญหนามากข้ึน

7.การประเมนิผลในระบบปด เปนการประเมินผลแบบเขาขางตัวเองของสวนราชการ ไมสะทอนถึง

ผลของการแกปญหาของประเทศที่แทจริง

แนวคิดการจดัการภาครัฐแนวใหม การจัดการภาครัฐแนวใหม (New Public Management)มาจาก

แนวคิดดังนี ้

1. การเพิ่มผลิตภาพของกิจกรรมของรัฐ(Increasing the productivity of government activities)

2.การนาํระบบกลไกตลาดมาใช (Using economic market or market-like strategies)

3.การใสใจประชาชนในฐานะผูรับบริการ (Enhancing attention to citizens as service recipients)

4.การกระจายความรับผิดชอบไปยังหนวยงานทองถิน่(Decentrallizing responsibility to local

governments and to front line managers)

8  

5. ความรับผิดชอบตอผลสัมฤทธิ์ โดยมุงเนนผลผลิตและผลลัพธมากกวากระบวนการและโครงสราง

(Sharpening accountability for results by focusing more on output and outcome than on processes and

structures)

แนวคิดการจัดการภาครัฐแนวใหม สามารถนํามาปรับปรุงประสิทธิภาพและประสิทธผิลของ

ระบบราชการไดดังนี ้

(1) การปรับปรุงโครงสรางการบริหารราชการแผนดิน เพื่อขจัดภารกิจที่ไมจําเปนและให

ความสําคัญตอการกําหนดบทบาท ภารกจิหลักใหชัดเจน เพื่อปรับระบบโครงสรางราชการ ใหมเีอกภาพ

ชัดเจน มีขนาดที่เหมาะสมแตมีประสิทธิภาพสูง โดยการออกพระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม

พ.ศ.2545 ,จัดต้ังสวนราชการรูปแบบใหมข้ึน เชนองคการมหาชน SDU รวมตลอดถงึการจัดกลุมภารกิจ

ตางๆ, การปรับลดกําลังคนภาครัฐโดยการใชโครงการ EARLY RETRY , การจางเหมาเอกชนในการ

ใหบริการ เปนตน

(2) การปรับเปล่ียนกระบวนการและวิธกีารทํางาน ของหนวยงานราชการเพ่ือใหเกิดความคลองตัว

ในการบริหาร มีการวัดผลสําเร็จของงาน ในระดับตางๆไดอยางเปนรูปธรรมและสามารถตรวจสอบได โดย

การนาํการบริหารราชการแบบบูรณาการ (CEO) มาใช วัดประสิทธิภาพและประสิทธิผลโดยระบบ Balance

Scorecard การนําการบริหารโดยมุงผลสัมฤทธิ ์(RBM) มาใช การจัดต้ังจุดบริการรวม (One stop service)

เปนตน

(3) การร้ือปรับระบบการเงนิและการงบประมาณ โดยใหเนนนโยบาย และยุทธศาสตรการพัฒนา

ของรัฐเปนตัวกําหนด เพื่อใชงบประมาณแนวใหม เปนเคร่ืองมือขับเคลื่อนการปฏิรูประบบราชการ โดย

การใชระบบการจัดทํางบประมาณแบบ SPBB แทน ระบบPPBS และ RBB, การกาํหนด

คณะกรรมการนโยบาย

งบประมาณ ,การเปล่ียนแปลงการจัดทํางบประมาณจาก 1 ป มาเปน 3 ป ,เปล่ียนงบประมาณกระทรวง

มาเปนงบจงัหวัด ,กําหนดใหเก็บเงนิเหลือจายไวได, ปรับปรุงระบบบัญชีเงินสด เปนระบบบัญชีเงินคงคาง

เปนตน

9  

(4) การปฏิรูประบบการจัดการทรัพยากรมนุษยภาครัฐ โดยจัดระบบการบริหารบุคคลและ

เงินเดือน คาตอบแทนของระบบราชการใหม เพื่อสรางขาราชการมืออาชีพและเปนกลางทางการเมือง

สรางกลไกการสงเสริมใหคุณมีคุณภาพสูงมารับราชการเปนอาชีพ การบํารุงขวัญกาํลังใจ เพื่อให

ขาราชการปฏิบัติหนาที่ดวยความซ่ือสัตย และสรางประโยชนใหแกสวนรวม โดยการเปล่ียนระบบราชการ

จากระบบกาํหนดตําแหนงงาน(Positioning Classification) เปนระบบกลุมอาชีพ (Broad Banding) การวัด

ความสามารถของขาราชการดวยระบบสมรรถนะ การจดัระบบคาตอบแทนและรางวัลใหใกลเคียงกับ

ภาคเอกชน เปนตน

(5) ปรับเปล่ียนกระบวนทัศน วัฒนธรรมและคานยิม ของขาราชการ ใหมุงเนนการทาํงานเพื่อให

บริการที่มีคุณภาพตอประชาชนและพัฒนาตนเองและองคการ เชน การสรางคานยิม I AM READY การ

สรางองคการแหงการเรียนรู (Learning Organization) การจัดการความรู (KM) เปนตน

(6) การเสริมสรางระบบราชการใหมีความทันสมยั เชน การใชระบบ GIS , GFMIS, E – Auction ,E

– Government เปนตน

(7) การเปดระบบราชการใหประชาชนเขามามีสวนรวมในการพัฒนา โดยการใหประชาชนและ

ภาคประชาสังคมมีสวนรวมในการตัดสินใจและการตรวจสอบงานภาครัฐมากข้ึน ไดแก การตั้ง

คณะกรรมการ

บริหารสวนราชการโดยใหประชาชน หรือชุมชนมีสวนรวม เชนคณะกรรมการบริหารงานสถานีตํารวจ,คณะ

กรรมการบริหารสถานศึกษา เปนตน การเปดเผยขอมูลขาวสารทางราชการ ตามพระราชบัญญัติขอมูล

ขาวสารทางราชการ เปนตน

สรุป การนํามาแนวคิดการบริหารจัดการภาครัฐแนวใหมมาใชในการปรับปรุงประสิทธิภาพและ

ประสิทธิผลของระบบราชการนั้นสามารถทําไดโดยการปฏิรูประบบราชการโดยการปรับโครงสรางการ

บริหารราชการแผนดิน การปรับร้ือระบบการเงนิและการงบประมาณ การปรับระบบการจัดการทรัพยากร

มนุษย การปรับเปล่ียนกระบวนทัศน วัฒนธรรม และคานิยมของขาราชการ การเสริมสรางระบบราชการให

ทันสมยั และการใชการบริหารตามพระราชกฤษฎีกาวาดวยหลักเกณฑและวิธกีารบริหารกิจการบานเมือง

ทีดีฯ เปนตน ทั้งเพื่อใหเกิดประโยชนสูงสุดตอประชาชน เกิดผลสัมฤทธ์ิตอภารกิจของรัฐ เกิดความมี

10  

ประสิทธิภาพของภารกิจแหงรัฐ การลดข้ันตอนการปฎิบัติงาน การลดภารกิจและยบุเลิกหนวยงานท่ีไม

จําเปน การกระจายภารกิจและทรัพยากรใหทองถิน่ การกระจายอํานาจการตัดสินใจ การอํานวยความ

สะดวกและการตอบสนองความตองการของประชาชน โดยคํานงึถงึความรับผิดชอบของผูปฏิบัติงาน การ

มีสวนรวมของประชาชน การเปดเผยขอมูล การติดตาม การตรวจสอบและประเมินผลการปฏิบัติงาน

นั่นเอง

สรุปกระบวนทัศนใหมในการบริหารภาครัฐ (New Public Management)

11  

12  

13  

14  

15  

16  

17  

18  

19  

สรุปกรอบแนวคิดในการพัฒนาระบบราชการไทย

 

 

20