ภาคผนวก - tnsu.sti · 2016. 9. 12. · 2.1.1....

17
ภาคผนวก IPEST

Upload: others

Post on 02-Jan-2021

0 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: ภาคผนวก - TNSU.STI · 2016. 9. 12. · 2.1.1. ใชพื้นที่เรียบ และไมลื่น. 2.1.2. เทปวัดระยะ และไมอักษร

63

ภาคผนวก

IPEST

Page 2: ภาคผนวก - TNSU.STI · 2016. 9. 12. · 2.1.1. ใชพื้นที่เรียบ และไมลื่น. 2.1.2. เทปวัดระยะ และไมอักษร

64

ภาคผนวก ก รายนามที่ปรึกษาและผู้เชี่ยวชาญ

IPEST

Page 3: ภาคผนวก - TNSU.STI · 2016. 9. 12. · 2.1.1. ใชพื้นที่เรียบ และไมลื่น. 2.1.2. เทปวัดระยะ และไมอักษร

65

ประกาศสถาบันการพลศึกษา วิทยาเขตสุโขทัย

เรื่อง แต่งตั้งที่ปรึกษาโครงการวิจัย ..........................................

ตามท่ีสถาบันการพลศึกษา วิทยาเขตสุโขทัย ได้ด าเนินการวิจัย เรื่อง สมรรถภาพทางกายของนักศึกษาสถาบันการพลศึกษา วิทยาเขตสุโขทัย ปีการศึกษา 2558 และเพ่ือให้การด าเนินงานวิจัยมีคุณภาพและได้มาตรฐาน

จึงขอแต่งตั้ง รองศาสตราจารย์สุรชา อมรพันธุ์ รองอธิการบดี มหาวิทยาลัยมหาสารคาม และ ผู้อ านวยการโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัย มหาสารคาม เป็นที่ปรึกษางานวิจัย เพ่ือตรวจสอบคุณภาพและให้ข้อเสนอแนะในการวิจัย ต่อไป ประกาศ ณ วันที่ 28 ธันวาคม พ.ศ. 2558

(ว่าที่ ร้อยเอก ดร.เทียนชัย ทองวินิจศิลป์) รองอธิการบดีสถาบันการพลศึกษา ประจ าวิทยาเขตสุโขทัย

IPEST

Page 4: ภาคผนวก - TNSU.STI · 2016. 9. 12. · 2.1.1. ใชพื้นที่เรียบ และไมลื่น. 2.1.2. เทปวัดระยะ และไมอักษร

66

ประกาศสถาบันการพลศึกษา วิทยาเขตสุโขทัย

เรื่อง แต่งตั้งผู้เชี่ยวชาญการวิจัย ..........................................

ตามท่ีสถาบันการพลศึกษา วิทยาเขตสุโขทัย ได้ด าเนินการวิจัย เรื่อง สมรรถภาพทางกายของนักศึกษาสถาบันการพลศึกษา วิทยาเขตสุโขทัย ปีการศึกษา 2558 และเพ่ือให้การด าเนินงานวิจัยมีคุณภาพและได้มาตรฐาน

จึงขอแต่งตั้งบุคคลดังต่อไปนี้ เป็นผู้เชี่ยวชาญ ตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือและให้ข้อเสนอแนะในการวิจัย

1. ดร.สมคะเน พิสัยพันธ์ 2. ดร.จรูญรัตน์ ส่งศรี 3. ดร.ค าดี จันทะเกษ 4. ดร.สมหวัง มหาวัง 5. ดร.กิตติพงษ์ สกุลคู

ประกาศ ณ วันที่ 28 ธันวาคม พ.ศ. 2558

(ว่าที่ ร้อยเอก ดร.เทียนชัย ทองวินิจศิลป์) รองอธิการบดีสถาบันการพลศึกษา ประจ าวิทยาเขตสุโขทัย

IPEST

Page 5: ภาคผนวก - TNSU.STI · 2016. 9. 12. · 2.1.1. ใชพื้นที่เรียบ และไมลื่น. 2.1.2. เทปวัดระยะ และไมอักษร

67

ภาคผนวก ข ใบบันทึกผล

IPEST

Page 6: ภาคผนวก - TNSU.STI · 2016. 9. 12. · 2.1.1. ใชพื้นที่เรียบ และไมลื่น. 2.1.2. เทปวัดระยะ และไมอักษร

68

ใบบันทึกผล

สมรรถภาพทางกายของนักศึกษา สถาบันการพลศึกษา วิทยาเขตสุโขทัย ปีการศึกษา 2558

1. คณะวิชา ศึกษาศาสตร์ วิทยาศาสตร์การกีฬา ศิลปศาสตร์

2. ชั้นปี ชั้นปีที่ 1 ชั้นปีที่ 2 ชั้นปีที่ 3 ชั้นปีที่ 4

3. เพศ ชาย หญิง

4. น้ าหนัก............................กิโลกรัม 5. ส่วนสูง.............................เซนติเมตร

ล าดัับที่ รายการทดัสอบ ผลการทดัสอบ ลายเซ็นต์ผู้ทดัสอบ

1 วิ่ง 50 เมตร (วินาที) .............................วินาที

2 ยืนกระโดดไกล (เซนติเมตร) ...............................ซ.ม. 3 งอตัวไปข้างหน้า (เซนติเมตร) ...............................ซ.ม. 4 ลุก-นั่ง 30 วินาที (ครั้ง) ................................ครั้ง 5 ดึงข้อราวเดี่ยว ชาย (ครั้ง) ................................ครั้ง งอแขนห้อยตัว หญิง (วินาที) .............................วินาที 6 วิ่งเก็บของ (วินาที) .............................วินาที 7 แรงบีบมือด้วยมือที่ถนัด (กิโลกรัม) ..........................กิโลกรัม 8 วิ่ง 1,000 เมตร ชาย (วินาที) .............................วินาที วิ่ง 800 เมตร หญิง (วินาที) .............................วินาที

IPEST

Page 7: ภาคผนวก - TNSU.STI · 2016. 9. 12. · 2.1.1. ใชพื้นที่เรียบ และไมลื่น. 2.1.2. เทปวัดระยะ และไมอักษร

69

การทดสอบสมรรถภาพทางกาย ควรแบ่งการทดสอบเป็น 2 วัน หรือวันเดียว 2 ระยะ ในตอนเช้า และตอนบ่าย

ถ้าแบ่งเป็น 2 วัน วันแรกท าการทดสอบรายการท่ี 1, 2, 8 วันท่ี 2 ท าการทดสอบรายการที่ 3, 4, 5, 6, และ 7

แต่ถ้าเป็นการทดสอบวันเดียวจะต้องวิ่งระยะไกลเป็นอันดับสุดท้าย

IPEST

Page 8: ภาคผนวก - TNSU.STI · 2016. 9. 12. · 2.1.1. ใชพื้นที่เรียบ และไมลื่น. 2.1.2. เทปวัดระยะ และไมอักษร

70

1. ว่ิงเร็ว 50 เมตร (50 Meter Sprints) 1.1 อุปกรณ์

1.1.1. นาฬิกาจับเวลาอ่านละเอียด 1/100 วินาที 1.1.2. ลู่วิ่ง 50 เมตร มีเส้นเริ่ม และเส้นชัย 1.1.3. ปืนปล่อยตัว (ถ้าไม่มีให้ใช้ทัศนสัญญาณอย่างอ่ืนที่ผู้จับเวลารู้เห็นได้ เช่น โบก

ธง หรือผ้าเช็ดหน้า หรือตบมือ) 1.2 วิธีทดสอบ เมื่อมีค าสัญญาณว่า "เข้าที่" ให้ผู้เข้ารับการทดสอบยืนเท้าใดเท้าหนึ่งจรดเส้น

เริ่ม (ไม่ต้องย่อตัวในท่าออกวิ่ง) เมื่อพร้อมแล้วให้สัญญาณปล่อยตัว ผู้เข้ารับการทดสอบวิ่งเต็มที่ไปตามทางที่ก าหนดให้จนถึงเส้นชัย

1.3 การบันทึก บันทึกเวลาเป็นวินาที และทศนิยมสองต าแหน่ง 1.4 ระเบียบการทดสอบ

1.4.1. ควรใช้ปืนในการปล่อยตัว (หากปฏิบัติไม่ได้ให้ใช้ทัศนสัญญาณเพ่ือให้ผู้จับเวลาที่อยู่ใกล้เส้นชัยสามารถเห็นได้)

1.4.2. ไม่ควรใช้รองเท้าตะปู 1.4.3. อนุญาตให้วิ่งได้ 2 ครั้ง แล้วบันทึกเวลาที่ดีท่ีสุด 1.4.4. จัดผู้จับเวลาผูว้ิ่งแต่ละคนได้ยิ่งดี (ผู้จับเวลาที่ช านาญ และว่องไวสามารถจับ

เวลานักวิ่งได้ทีละ 2 คน โดยใช้นาฬิกาที่มีเข็มแยกเวลา) 1.4.5. ทางวิ่งควรเป็นทางเรียบอยู่ในสภาพที่ดี

IPEST

Page 9: ภาคผนวก - TNSU.STI · 2016. 9. 12. · 2.1.1. ใชพื้นที่เรียบ และไมลื่น. 2.1.2. เทปวัดระยะ และไมอักษร

71

2. ยืนกระโดัดัไกล (Stranding Broad Jump) 2.1 อุปกรณ์

2.1.1. ใช้พ้ืนที่เรียบ และไม่ลื่น 2.1.2. เทปวัดระยะ และไม้อักษร T ใหญ่ 2.1.3. แปรงปัดฝุ่น หรือผ้าเช็ดพ้ืน (หมายเหตุ ท าเส้นเริ่ม ขึงเทปวัดระยะไว้กับพ้ืน

ข้างทางที่จะกระโดดให้พร้อมที่จะอ่านคะแนนได้ทันที)

2.2 วิธีทดสอบ ให้ผู้เข้ารับการทดสอบยืนปลายเท้าทั้งสองอยู่หลังเส้นเริ่ม หลังจากเหวี่ยงแขนทั้ง

สองไปข้างหลัง และก้มตัวไปข้างหน้าแล้ว เมื่อได้จังหวะก็เหวี่ยงแขนท้ังสองไปข้างหน้าอย่างแรงพร้อมกับกระโดดด้วยเท้าทั้งสองไปข้างหน้าให้ได้ไกลที่สุดเท่าที่จะท าได้

2.3 การบันทึก บันทึกระยะทางที่กระโดดได้เป็น เซนติเมตร 2.4 ระเบียบการทดสอบ

2.4.1. ให้ประลองได้ 2 ครั้ง เอาครั้งที่ดีที่สุด 2.4.2. ให้วัดระยะจากเส้นเริ่มไปยังรอยเท้าข้างที่ใกล้ที่สุด ถ้าผู้เข้ารับการทดสอบ

เสียหลักหงายหลังมือแตะพ้ืนถือว่าใช้ไม่ได้ให้ประลองใหม่ 2.4.3. เท้าท้ังสองต้องอยู่บนพื้นจนกระโดดออกไป

IPEST

Page 10: ภาคผนวก - TNSU.STI · 2016. 9. 12. · 2.1.1. ใชพื้นที่เรียบ และไมลื่น. 2.1.2. เทปวัดระยะ และไมอักษร

72

3. งอตัวไปข้างหน้า (Trunk Forward Flexion) 3.1 อุปกรณ์

3.1.1. เครื่องวัดความอ่อนตัว (Flexibilimeter) สามารถอ่านค่าบวก และลบได้ 3.1.2. โต๊ะสี่เหลี่ยม

3.2 วิธีทดสอบ วางเครื่องมือวัดความอ่อนตัวลงบนโต๊ะ ให้ผู้เข้ารับการทดสอบขึ้นยืนบนฐานเครื่องมือวัดความอ่อนตัว หน้าชิด เข่าตึง ปลายเท้าจรดขอบเครื่องวัดความอ่อนตัว พร้อมแล้วก้มตัวปล่อยมือทั้งสองลงข้างหน้า นิ้วหัวแม่มือเกี่ยวกัน แบะฝ่ามือให้ปลายนิ้วกลางเหยียดดันสลักเลื่อนลงไปตามแนวของแกนเครื่องวัดความอ่อนตัวจนไม่สามารถก้มต่อไปได้

3.3 การบันทึก บันทึกระยะเป็นเซนติเมตร ถ้าปลายนิ้วกลางเหยียดเลยปลายเท้า บันทึกค่าเป็นบวก ถ้าไม่ถึงปลายเท้าบันทึกค่าเป็นลบ

3.4 ระเบียบการทดสอบ 3.4.1. ให้ผู้เข้ารับการทดสอบถอดรองเท้า ก่อนยืนบนฐานเครื่องมือวัดความอ่อนตัว 3.4.2. เข่าตึงเสมอไม่งอ จะเอียงแขนใดแขนหนึ่งไม่ได้ ให้มือทั้งสองเสมอกัน 3.4.3. ให้ประลองได้ 2 ครั้ง เอาครั้งที่ดีกว่าเป็นผลการประลอง

IPEST

Page 11: ภาคผนวก - TNSU.STI · 2016. 9. 12. · 2.1.1. ใชพื้นที่เรียบ และไมลื่น. 2.1.2. เทปวัดระยะ และไมอักษร

73

4. แรงบีบมือดั้วยมือที่ถนัดั (Hand Grip) 4.1 อุปกรณ์

เครื่องวัดแรงบีบมือ (Grip Dynamometer) วัดได้ตั้งแต่ 5 - 100 กิโลกรัม มีหน่วยวัด 0.1 กิโลกรัม ผงแมกนีเซียมคาร์บอเนต

4.2 วิธีทดสอบ ให้ผู้เข้ารับการทดสอบใช้มือลูบผงแมกนีเซียมคาร์บอเนต เพ่ือกับลื่น และปรับเครื่องวัดจับเครื่องวัดให้เหมาะมือที่สุด โดยให้ข้อนิ้วที่สองรับน้ าหนักของเครื่องวัด ยืนตรงปล่อยแขนห้อยข้างล าตัว พร้อมแล้วแยกแขนออกห่างล าตัวเล็กน้อย ก ามือบีบเครื่องวัดจนสุดแรง

4.3 การบันทึก บันทึกผลการวัดเป็นกิโลกรัม 4.4 ระเบียบการทดสอบ อ่านผลจากมือข้างที่ถนัดให้ประลองได้ข้างละ 2 ครั้ง และบันทึกผลแต่ละครั้งไว้โดยพิจารณา

ครั้งที่ดี ที่สุดของแต่ละข้างระหว่างการทดสอบห้ามไม่ให้มือ หรือเครื่องวัดถูกร่างกาย และไม่อนุญาตให้เหวี่ยง หรือโถมตัวอัด ถ้าฝ่าฝืนการประลองครั้งนั้นถือว่าโมฆะให้ประลองใหม่

IPEST

Page 12: ภาคผนวก - TNSU.STI · 2016. 9. 12. · 2.1.1. ใชพื้นที่เรียบ และไมลื่น. 2.1.2. เทปวัดระยะ และไมอักษร

74

5. ลุก - นั่ง 30 วินาที (30 Seconds Sit - up) 5.1 อุปกรณ์

นาฬิกาจับเวลา เบาะ

5.2 วิธีการทดสอบ ผู้เข้ารับการทดสอบนอนหงายบนเบาะ หรือพ้ืนราบ เท้าวางห่างกันประมาณ 30 เซนติเมตร เข่างอตั้งเป็นมุมฉาก ให้นิ้วมือสอดประสานกันที่ท้ายทอย คู่คุกเข่าอยู่ระหว่างเท้าผู้นอน โดยกดหลังเท้าผู้นอนไว้ทั้งสองข้างเพ่ือให้เท้าผู้นอนติดอยู่กับเบาะ เมื่อพร้อมแล้วให้สัญญาณ "เริ่ม" ผู้นอนลุกข้ึนสู่ท่านั่งพร้อมกับก้มศีรษะลงในระหว่างหัวเข่าท้ังสองพร้อมกับหุบศอกไปข้างหน้า ขณะเดียวกันนอนลงให้หลัง และมือจรดเบาะ แล้วกลับลุกขึ้นสู่ท่านั่งต่อกันไปอย่างรวดเร็วให้ได้จ านวนครั้งมากท่ีสุดเท่าที่จะมากได้ภายในเวลา 30 วินาที

5.3 การบันทึก บันทึกจ านวนครั้งของการลุก - นั่งที่ถูกต้องในเวลา 30 วินาที 5.4 ระเบียบการทดสอบ

ให้ท าการทดสอบเป็นคู่ๆ โดยผู้เข้ารับการทดสอบนอนหงาย และคู่นั่งกดหลังเท้าให้ส้นเท้าติดกับเบาะ หรือพ้ืนเสมอนิ้วมือทั้งสองข้างสอดประสานกันอยู่ที่ท้ายทอยตลอดเวลาในการทดสอบ เข่าอยู่ในท่างอเป็นมุมฉากตลอดการทดสอบหลัง และคอจะต้องกลับไปอยู่ในต าแหน่งที่เริ่มต้นทุกครั้ง โดยให้หลังมือสัมผัสพ้ืน ดังนั้นพื้นที่เหมาะที่สุดควรเป็นเบาะ หรือสนามหญ้าไม่อนุญาตให้เด้งตัวขึ้นโดยใช้ข้อศอกดันพ้ืนต้องท าติดต่อกันเรื่อยไปโดยไม่หยุดพัก แต่จ าเป็นต้องหยุดพักนิดหน่อยก็ไม่เสียสิทธิ์ อาจท าการทดสอบได้ครั้งละหลายๆ คน โดยใช้ระบบกรรมการร่วม เมื่อได้รับการแนะน าดูแลอย่างพอเพียง และเป็นที่ไว้ใจ

IPEST

Page 13: ภาคผนวก - TNSU.STI · 2016. 9. 12. · 2.1.1. ใชพื้นที่เรียบ และไมลื่น. 2.1.2. เทปวัดระยะ และไมอักษร

75

6. ดัึงข้อ (Pull - ups) 6.1 ดึงข้อส าหรับชาย

6.1.1 อุปกรณ์ ราวเดี่ยวที่เลื่อนให้สูงได้ตามสัดส่วนของผู้เข้ารับการทดสอบ เส้นผ่าศูนย์กลางของ

ราวควรอยู่ระหว่าง 2 - 4 เซนติเมตร ม้านั่ง เพ่ือขึ้นจับราวได้สะดวก ก้อนแมกนีเซียมคาร์บอเนต รายชื่อผู้เข้ารับการทดสอบ 6.1.2 วิธีปฏิบัติ ผู้เข้ารับการทดสอบก้าวจากม้าท่ีวางอยู่ใกล้ราว จับราวเดี่ยว หรือ

ไม้พาดด้วยท่าจับคว่ ามือให้มืออยู่ห่างกันเท่าช่วงไหล่ แขนเหยียดเท้าพ้นพ้ืน เมื่ออยู่ในท่าตั้งต้นพร้อมแล้วให้สัญญาณ "เริ่ม" ผู้เข้ารับการทดสอบงอแขนดึงตัวขึ้นจนคางพ้นระดับราว หรือไม้พาด แล้วปล่อยตัวลงสู่ท่าตั้งต้น แขนเหยียดโดยไม่ต้องหยุด ให้ท าอย่างนี้ต่อไปให้ได้มากครั้งที่สุด

6.1.3 การบันทึก นับจ านวนครั้งที่ดึงให้คางพ้นราว 6.1.4 ระเบียบการทดสอบ

\ ถ้าผู้เข้ารับการทดสอบหยุดพักนานเกินไป เช่น 2 - 3 วินาทีขึ้นไป หรือไม่สามารถดึงให้คางพ้นราว 2 ครั้งติดกัน ให้หยุดการประลอง ไม่อนุญาตให้ผู้เข้ารับการทดสอบหาประโยชน์จากการแกว่งเท้า หรือเตะขา พฤติกรรมอย่างนี้เจ้าหน้าที่ที่ท าการทดสอบอาจใช้มือตรวจดูได้โดยเหยียดแขนให้ไม้พาดหน้าขาของผู้เข้ารับการทดสอบ หรือยืนอยู่ข้างของผู้เข้ารับการทดสอบ อาจทดสอบทีเดียวหลายๆ คนได้ โดยใช้ระบบกรรมการร่วมคอยแนะน าดูแล

6.2 งอแขนห้อยตัว (Flexed-Arm Hang) ส าหรับหญิง 6.2.1 อุปกรณ์

นาฬิกาจับเวลาอ่านละเอียด 1/100 วินาที ราวเดี่ยว หรือไม้พาดมีเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 2 - 3 เซนติเมตร ม้านั่งเพ่ือสะดวกในการยืนจับราว ก้อนแมกนีเซียมคาร์บอเนต

6.2.2 วิธีการปฏิบัติ ผู้เข้ารับการทดสอบมายืนบนม้านั่งใกล้ราวเดี่ยว จับราว หรือไม้พาดด้วยท่าคว่ ามือให้แขนงอ และลูกคออยู่เหนือราวเดี่ยว เมื่ออยู่ในท่าตั้งต้นพร้อมแล้วให้สัญญาณ "เริ่ม" พร้อมกับเอาม้านั่งออก ผู้เข้ารับการทดสอบเกร็งข้อ และแขนอยู่ในท่าห้อยตัว ให้ลูกคางอยู่เหนือราว หรือไม้ที่พาดไว้ให้นานที่สุดเท่าที่จะนานได้

6.2.3 การบันทึก บันทึกเวลาเป็นวินาที และทศนิยมสองต าแหน่ง 6.2.4 ระเบียบการทดสอบ ลูกคางต้องอยู่เหนือราว หรือไม้พาด แต่ถ้าลูกคางตกไปติดราว หรือต่ ากว่าราวแม้แต่

ครั้งเดียวให้ยุติการทดสอบ เท้าต้องไม่สัมผัสกับสิ่งใดสิ่งหนึ่ง

IPEST

Page 14: ภาคผนวก - TNSU.STI · 2016. 9. 12. · 2.1.1. ใชพื้นที่เรียบ และไมลื่น. 2.1.2. เทปวัดระยะ และไมอักษร

76

7. ว่ิงเก็บของ (Shuttle run) 7.1 อุปกรณ์

นาฬิกาจับเวลาละเอียด 1/100 วินาที ทางวิ่งเรียบระยะ 10 เมตร ระหว่างเส้นขนาน 2 เส้น หลังเส้นเริ่ม และเส้นปลายมีวงกลมเส้นผ่าศูนย์กลาง 50 เซนติเมตร สัมผัสอยู่ ท่อนไม้ขนาด 5 X 5 X 10 เซนติเมตร 2 ท่อน

7.2 วิธีปฏิบัติ วางท่อนไม้สองท่อนกลางวงที่อยู่ชิดเส้นปลายทาง เมื่อให้สัญญาณ "เข้าที่" ผู้เข้ารับ

การทดสอบยืนหลังเส้นเริ่ม ให้เท้าข้างหนึ่งจรดเส้นเริ่มพร้อมแล้วสั่ง "ไป" ผู้เข้ารับการทดสอบออกวิ่งไปเส้นปลายทางหยิบไม้ในวงกลม 1 ท่อน วิ่งกลับมาวางในวงกลมหลังเส้นเริ่มกลับตัววิ่งไปหยิบไม้อีกท่อนหนึ่ง วิ่งกลับมาวางในวงกลมหลังเส้นเริ่ม แล้ววิ่งผ่านเลยเส้นเริ่มไป

7.3 การบันทึก บันทึกเวลาตั้งแต่เริ่มวิ่งจนถึงขณะที่น าไม้ท่อนที่ 2 กลับไปวางในวงกลม 7.4 ระเบียบการทดสอบ

อนุญาตให้ประลองได้ 2 ครั้ง และเก็บเวลาที่ดีที่สุดไว้ ควรจับเวลาผู้วิ่งแต่ละคน และมีผู้ช่วยคอยดูแลว่าผู้เข้ารับการทดสอบได้วางท่อนไม้ลงในวงกลมถูกต้องหรือไม่ ควรปรับทางวิ่งให้เรียบ และอยู่ในสภาพที่ไม่ลื่น

IPEST

Page 15: ภาคผนวก - TNSU.STI · 2016. 9. 12. · 2.1.1. ใชพื้นที่เรียบ และไมลื่น. 2.1.2. เทปวัดระยะ และไมอักษร

77

8. ว่ิงทางไกล (Distance Run) 1000 เมตร ส าหรบชาย 800 เมตร ส าหรับหญิง

8.1 อุปกรณ์ นาฬิกาจับเวลาอ่านละเอียด 1/100 วินาที ก าหนดระยะทางวิ่งให้ถูกต้องตั้งแต่เส้นเริ่มถึงเส้นชัย

8.2 วิธีการทดสอบ เมื่อให้สัญญาณ "เข้าที่" ผู้เข้ารับการทดสอบยืนให้เท้าหนึ่งแตะเส้นเริ่ม เมื่อพร้อม

และนิ่งผู้ปล่อยตัวสั่ง "ไป" ผู้เข้ารับการทดสอบออกวิ่งไปตามทางท่ีก าหนดให้เร็วที่สุด เท่าที่จะท าได้ (แม้ว่าจะอนุญาตให้เดินได้ แต่ก็ยังเน้นให้รักษาระดับความเร็วให้คงท่ีอยู่เสมอ 8.3 การบันทึก บันทึกเวลาเป็นวินาที

8.4 ระเบียบการทดสอบ ควรจับเวลาด้วยนาฬิกาจับเวลาโดยในตรงกันข้ามจะใช้การทดสอบเป็นหมู่สลับก็ได้

ดังนี้ ก. ก าหนดให้ผู้วิ่งคนหนึ่งมีกรรมการร่วมคนหนึ่ง ให้กรรมการร่วมคนนี้ยืนอยู่ข้างผู้จับเวลา

เป็นแนวเดียวกับเส้นชัย ข. ให้ผู้จับเวลาที่มีนาฬิกาอยู่ในมือเรือนเดียวอ่านเวลาเป็นนาที และวินาที กรรมการร่วมคน

อ่ืนๆ ก็จดเวลาที่นักวิ่งของตนมาถึงเมื่อถูกถามก็บอกเวลาให้แก่ผู้จดบันทึก ค. ลู่ควรเรียบ และอยู่ในสภาพที่ดี

IPEST

Page 16: ภาคผนวก - TNSU.STI · 2016. 9. 12. · 2.1.1. ใชพื้นที่เรียบ และไมลื่น. 2.1.2. เทปวัดระยะ และไมอักษร

78

ประวัตินักวิจัย

IPEST

Page 17: ภาคผนวก - TNSU.STI · 2016. 9. 12. · 2.1.1. ใชพื้นที่เรียบ และไมลื่น. 2.1.2. เทปวัดระยะ และไมอักษร

79

ประวัติผู้วิจัย

ชื่อ-สกุล : นางสาวนับดาว ทองวินิชศิลป เกิดัเมื่อ : 10 พฤศจิกายน 2526 สถานที่เกิดั : จังหวัดสุโขทัย สถานที่อยู่ปัจจุบัน : 131/1 ถนนพระแก้ว ต าบลเวียงเหนือ อ าเภอเมืองล าปาง จังหวัดล าปาง 52000 ต าแหน่งหน้าที่ : อาจารย์ประจ า คณะวิทยาศาสตร์การกีฬาและสุขภาพ สถานทีท่ างาน : สถาบันการพลศึกษา วิทยาเขตสุโขทัย อ าเภอเมือง

จังหวัดสุโขทัย 64000 ประวัติการศึกษา :

พ.ศ. 2543 : มัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนล าปางกัลยาณี พ.ศ. 2549 : นิติศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ พ.ศ. 2556 : วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (นิติวิทยาศาสตร์) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

IPEST