รำลึกถึงพระคุณพ่อแม่ = recalling father and ... · 2010. 3....

70
รําลึกถึงพระคุณ พอ แม โดย นายประดับ เต็มดี วิทยานิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาศิลปมหาบัณฑิต สาขาวิชาประติมากรรม ภาควิชาประติมากรรม บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร ปการศึกษา 2550 ลิขสิทธิ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร

Upload: others

Post on 24-Sep-2020

2 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

รําลึกถึงพระคุณ พอ แม

โดยนายประดับ เต็มดี

วิทยานิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาศิลปมหาบัณฑิตสาขาวิชาประติมากรรมภาควิชาประติมากรรม

บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากรปการศึกษา 2550

ลิขสิทธิ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร

RECALLING FATHER AND MOTHER ‘S FAVOUR.

ByPradab Temdee

A Thesis Submitted in Partial Fulfillment of the Requirements for the DegreeMASTER OF FINE ARTSDepartment of Sculpture

Graduate SchoolSILPAKORN UNIVERSITY

2007

บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร อนุมัติใหวิทยานิพนธเรื่อง “รําลึกถึงพระคุณ พอ แม”

เสนอโดย นายประดับ เต็มดี เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาศิลปมหาบัณฑิต

สาขาวิชาประติมากรรม

……...........................................................

( รองศาสตราจารย ดร.ศิริชัย ชินะตังกูร )

คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย

วันที่..........เดือน.................... พ.ศ...........

อาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธ

1. รองศาสตราจารย เข็มรัตน กองสุข

2. รองศาสตราจารย วิชัย สิทธิรัตน

คณะกรรมการตรวจสอบวิทยานิพนธ

.................................................... ประธานกรรมการ

( ผูชวยศาสตราจารย ถนอมจิตร ชุมวงศ )

............/......................../..............

.................................................... กรรมการ

( อาจารย นนทิวรรธน จันทนะผะลิน )

............/......................../..............

.................................................... กรรมการ .................................................... กรรมการ

( รองศาสตราจารย เข็มรัตน กองสุข ) ( รองศาสตราจารย วิชัย สิทธิรัตน )

............/......................../.............. ............/......................../..............

46002206 : สาขาวิชาประติมากรรม

คําสําคัญ : ประติมากรรมหิน

ประดับ เต็มดี : รําลึกถึงพระคุณ พอ แม อาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธ : รศ. เข็มรัตน

กองสุข และ รศ. วิชัย สิทธิรัตน, 61 หนา.

งานวิทยานิพนธนี้มีวัตถุประสงค 1) เพื่อศึกษาและคนหารูปแบบงานประติมากรรมที่จะ

สื่อความรูสึกที่ตองการแสดงออก 2) ตองการสรางงานประติมากรรมที่ถายทอดความรูสึกจากสิ่ง

ที่ไดรับจากพอแม ซึ่งถือเปนสวนหนึ่งในการตอบแทนพระคุณพอแม 3) เพื่อใหสังคมไดรวมรับรู

ชื่นชมในเรื่องราวที่จะนําเสนอ 4) เพื่อเปนสวนหนึ่งในการปลุกจิตสํานึกสังคมใหรูสึกสํานึกใน

พระคุณพอแม พรอมที่จะตอบแทนพระคุณนั้นทุกโอกาสอยางเต็มที่ 5) ใหเห็นถึงความสําคัญใน

การใหกําเนิดบุตร ดวยความรัก รับผิดชอบ เลี้ยงดูใหความอบอุนอยางเต็มความสามารถ 6) เพื่อ

เปนสวนหนึ่งในการรวมสนองนโยบายของรัฐบาล 7) เพื่อเปนการสืบทอดรักษาวัฒนธรรม

ประเพณีอันดีงามของชาติไทยเราสืบตอไป

สังเกตสิ่งแวดลอมตางๆ ที่ใกลตัวที่มีความหมายสัมพันธกับเนื้อหา ศึกษาคนควาจาก

ตําราศิลปะ นํามาประกอบกับประสบการณและขอมูลที่มีอยู คนหารูปทรงจากขอมูลที่กลาวมา

นํามาจัดการคลี่คลายตัดทอน เพิ่มเติม ผสมประสานรูปทรงที่สามารถสื่อความหมายขอเนื้อหา

โดยการรางแบบจําลอง 2 มิติ และแบบจําลอง 3 มิติ กําหนดวัสดุ (หิน) ขยายแบบจําลอง 3 มิติ

ใหเปนผลงานจริงดวยวัสดุที่กําหนดไว

สรุปผลงานของการศึกษาขาพเจาไดสรางสรรคงานประติมากรรม ทั้งหมด 4 ชิ้น

ดวยเทคนิควิธีการสลักหิน พรอมที่จะเผยแพรเพื่อใหสาธารณชนไดรวมรับรูและชื่นชม

ขอเสนอแนะผลงานประติมากรรมเปนเพียงแคสวนหนึ่ง ซึ่งยังมีอีกหลายวิธีการดวยกัน

ที่จะนําเสนอถึงเรื่องราวภายในใจที่มีตอพอแม ขาพเจาหวังไวในใจวาจะมีการนําเสนอเรื่องราวที่

แสดงความรูสึกตอพระคุณพอแม ในวิธีการอื่นๆ ออกมาใหสังคมไดรับรูและชื่นชมใหมากขึ้น

ภาควิชาประติมากรรม บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร ปการศึกษา 2550

ลายมือชื่อนักศึกษา.............................................................

ลายมือชื่ออาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธ 1................................... 2......................................

46002206 : MAJOR : SCULPTURE

KEYWORD : STONE SCULPTURE

PRADAB TEMDEE: RECALLING FATHER AND MOTHER ‘S FAVOUR. THESIS

ADVISORS : ASSOC. PROF. KHEMRAT KONGSOOK AND ASSOC. PROF. VICHAI

SITTHIRATN. 61 PP.

The objective of this thesis 1) To study and identify the ideal form by which to

express feeling through the media of sculpture. 2) To create a sculpture ,which transfers to

the viewer the feelings of gratitude that I have towards my father and mother. 3) To attempt to

convey to the viewer a sense of acknowledgement and appreciation of the theme of gratitude.

To raise awareness about the concept of gratitude in society as a whole, in order to facilitate

people’s own willingness to allow gratitude into their life. 4) To show the importance of nurture

with love, responsibility and care in a wholly warm hearted environment. 5) To support the

government policy of support for the parent and the guardian. 6) To preserve Thai culture and

the long customs of Thai history

My inspiration for this project is based on the observation of my personal

environment and from the study of various art books. Taking from theses sources I have

attempted to incorporate and combine the forms that best convey the expression of my theme

by juxtaposing idea of form and release within the original concept. Starting with two-

dimensional sketches and three- dimensional models of the work, I then developed the three-

dimensional models to create my pieces with the use of stone as the setting material.

To conclude, I have created 4 pieces of sculpture using the media of stone carving

to present to the viewer.

My conclusion is that, in order to express our feelings of gratitude toward our

parents, sculpture is only one of many other medias that could be used , and it is my hope

that the viewer may feel inspired to create their own media to express their feelings of

gratitude.

Department of Sculpture Graduate School, Silpakorn University Academic Year 2007

Student’s signature ……………………………………

Thesis Advisors’ signature 1 ………………..……………… 2 ………………………………….

กิตติกรรมประกาศ

ขาพเจาขอนอมรําลึกเทิดทูนถึงพระคุณดวยความรัก เคารพ อยางสูง ตอพอแมผูให

กําเนิด พรอมทั้ง ครู อาจารย สถาบันการศึกษาที่ขาพเจาเคยไดรับการศึกษามาและอาจารย

ภาควิชาประติมากรรมทุกทาน และผูทรงคุณวุฒิ ซึ่งไดกรุณาใหความชวยเหลือ จนกระทั่ง

วิทยานิพนธนี้ เสร็จสมบูรณ จึงขอกลาวนามไวเปนการขอบพระคุณอยางสูงไว ณ โอกาสนี้

รองศาสตราจารยเข็มรัตน กองสุข, รองศาสตราจารยวิชัย สิทธิรัตน, อาจารยนนทิวรรธ จันทะนะผลิน

สารบัญหนา

บทคัดยอภาษาไทย .................................................................................................... ง

บทคัดยอภาษาอังกฤษ ............................................................................................... จ

กิตติกรรมประกาศ...................................................................................................... ฉ

สารบัญภาพ .............................................................................................................. ฌ

บทที่

1 บทนํา ........................................................................................................ 1

ความเปนมาและความสําคัญของปญหา ............................................ 1

จุดมุงหมาย ...................................................................................... 1

สมมติฐานของการศึกษา ................................................................... 2

ขอบเขตของการศึกษา ....................................................................... 2

ขั้นตอนการศึกษา.............................................................................. 4

ขอตกลงเบื้องตน ............................................................................... 4

ความจํากัดของการศึกษา .................................................................. 5

คําจํากัดความที่ใชในการศึกษา.......................................................... 5

2 ขอมูลที่เกี่ยวของกับการสรางสรรค ............................................................... 6

ที่มาแหงแรงบันดาลใจ....................................................................... 7

สถานะตาง ๆ ของพอแม .................................................................... 8

รักของพอแม เปนรักแทที่ยั่งยืน........................................................... 11

หลักการตอบแทนคุณตอพอแม 5 ประการ ........................................ 12

วิธีการตอบแทนพระคุณพอแมที่แทจริง ............................................... 14

เลียโอนาโด ดาวินชี ........................................................................... 15

อาจารยนนทิวรรธน จันทนผะลิน ....................................................... 16

อาจารย ชาบารี รอย ชาวดูรี ............................................................... 18

เฮนรี่ มัวร.......................................................................................... 19

รองศาสตราจารย เข็มรัตน กองสุข..................................................... 20

บทที่ หนา

3 การดําเนินการสรางสรรค ............................................................................. 22

ขั้นตอนการดําเนินการสรางสรรค ....................................................... 24

4 การสรางสรรคและพัฒนาผลงานวิทยานิพนธ................................................ 37

ผลงานชวงกอนวิทยานิพนธ ............................................................... 38

ผลงานวิทยานิพนธ............................................................................ 43

5 บทสรุป....................................................................................................... 51

บรรณานุกรม ........................................................................................................ 53

ภาคผนวก............................................................................................................. 55

ประวัติผูวิจัย .......................................................................................................... 60

สารบัญภาพ

ภาพที่ หนา

1 ผลงาน “Madonna Litta” ของศิลปน Leonardo da Vinci ....................... 16

2 ผลงาน “พอของลูก” ของ นนทิวรรธน จันทนะผะลิน.................................. 17

3 ผลงาน “แมพระของลูก” ของ นนทิวรรธน จันทนะผะลิน............................ 17

4 Sarbari Roy Chowdhury “Mother & Child”............................................ 18

5 Henry Moore “Recliming Mother and Child”......................................... 19

6 ผลงาน “อนุเสาวรียแหงความทรงจํา” ของ เข็มรัตน ทองสุข ....................... 20

7 ภาพราง 2 มิติ เพื่อคนหารูปทรงประติมากรรม 1........................................ 25

8 ภาพราง 2 มิติ เพื่อคนหารูปทรงประติมากรรม 2........................................ 26

9 ภาพราง 2 มิติ เพื่อคนหารูปทรงประติมากรรม 3........................................ 27

10 ภาพราง 2 มิติ เพื่อคนหารูปทรงประติมากรรม 4........................................ 28

11 แบบจําลอง 3 มิติ ประกอบการสรางประติมากรรม 1 ................................. 30

12 แบบจําลอง 3 มิติ ประกอบการสรางประติมากรรม 2 ................................. 31

13 แบบจําลอง 3 มิติ ประกอบการสรางประติมากรรม 3 ................................. 32

14 แบบจําลอง 3 มิติ ประกอบการสรางประติมากรรม 4 ................................. 33

15 ผลงานชวงกอนวิทยานิพนธ ชิ้นที่ 1.......................................................... 38

16 ผลงานชวงกอนวิทยานิพนธ ชิ้นที่ 2 ......................................................... 39

17 ผลงานชวงกอนวิทยานิพนธ ชิ้นที่ 3.......................................................... 40

18 ผลงานชวงกอนวิทยานิพนธ ชิ้นที่ 4.......................................................... 41

19 ผลงานชวงกอนวิทยานิพนธ ชิ้นที่ 5.......................................................... 42

20 ผลงานวิทยานิพนธ ชิ้นที่ 1 ....................................................................... 44

21 ผลงานวิทยานิพนธ ชิ้นที่ 2 ....................................................................... 46

22 ผลงานวิทยานิพนธ ชิ้นที่ 3 ....................................................................... 48

23 ผลงานวิทยานิพนธ ชิ้นที่ 4 ....................................................................... 50

1

บทที่ 1

บทนํา

จากการที่ตองจากบานไปตั้งแตวัยเด็ก รวมระยะเวลา 35 ปจนถึงปจจุบัน ไดมีโอกาส

กลับมาอยูบานเพื่อดูแล พอ ซึ่งชรามากแลว และอยูเพียงลําพัง มีโอกาสไดอยูใกลชิด ไดรับความ

รัก ความอบอุนและจริงใจ เติมเต็มความรูสึกที่ขาดชวงไปตั้งแตวัยเด็กใหหวนคืนมาบรรจบใหมใน

ครั้งนี้ พอรูสึกดีใจมีความสุขที่มีลูกคอยดูแลชวยเหลือเรื่องตาง ๆ ขาพเจาเองก็รูสึกยินดีและ

ภาคภูมิใจ จากความเปนมาดังกลาวทําใหขาพเจารูสึกรําลึกสํานึกในพระคุณของพอแม ตั้งแตให

กําเนิดเลี้ยงดูจนเติบโต และใหการศึกษาเต็มกําลังที่จะทําได จนมีชีวิตถึงทุกวันนี้ ซึ่งนับเปน

พระคุณอันยิ่งใหญมากมาย ยากที่จะหาคําพูดหรือการกระทําใด ๆ ที่จะบอกบรรยาย ถึงพระคุณ

นี้ไดอยางเพียงพอ

ความเปนมาและความสําคัญของปญหา (Statements and Significance of the problems) ปจจุบันเรามักเห็นขาวจากสื่อโทรทัศน หนังสือพิมพ วิทยุ หรือการไดพบเห็นดวย

ตนเอง ที่พอแม ผูแกเฒาถูกทอดทิ้งใหอยูเพียงลําพังอยางโดดเดี่ยว บางก็ทุพลภาพพิการอยูอยาง

ทุกขทรมาน ซึ่งเปนภาพและเรื่องราวที่นาเศราสลดใจเปนอยางยิ่ง

จุดมุงหมาย (Goal and objective) จากความรูสึกสวนตัวที่มีตอพอแม และปญหาที่เกิดในสังคมดังที่กลาวมา เปนแรง

บันดาลใจใหขาพเจา ตองการสรางงานประติมากรรม ในลักษณะเฉพาะตัวในรูปแบบของ

นามธรรมโดยใชรูปทรง เสน ปริมาตร ลักษณะผิว รวมถึงคุณลักษณะของวัสดุ เขาประสาน

ประกอบกันเปนชิ้นงาน ประติมากรรมเพื่อถายทอดความรูสึกภายใน เกี่ยวกับเรื่องราวที่ไดกลาว

มาแลวซึ่งขาพเจาถือวาเปน สวนหนึ่งในการแสดงความกตัญูและตอบแทนพระคุณตอ พอแม

แมอาจเปนสวนเสี้ยวเพียงเล็ก นอยนอกจากนั้นยังเปนสวนหนึ่ง ในการปลูกจิตสํานึกตอสังคมให

ระลึกถึง พระคุณ พอแม และพรอมที่จะทดแทนพระคุณนั้นทุกโอกาสอยางเต็มที่ โดยแยกเปน

หัวขอดังนี้

2

1. เพื่อศึกษาและคนหารูปแบบ งานประติมากรรมที่จะสื่อ ความรูสึกที่ตองการ

แสดงออก

2. ตองการสรางงานประติมากรรม ที่ถายทอดความรูสึก จากสิ่งที่ไดรับจากพอ แม ซึ่ง

ถือเปนสวนหนึ่งในการตอบแทนพระคุณพอแม

3. เพื่อใหสังคมไดรวมรับรู ชื่นชมในเรื่องราวที่จะนําเสนอ

4. เพื่อเปนสวนหนึ่งในการปลุกจิตสํานึกสังคมใหรูสึกสํานึก ในพระคุณ พอ แม พรอม

ที่จะตอบแทนพระคุณนั้นทุกโอกาสอยางเต็มที่

5. ใหเห็นถึงความสําคัญในการใหกําเนิดบุตร ดวยความรัก รับผิดชอบ เลี้ยงดูให

ความอบอุนอยางเต็มความสามารถ

6. เพื่อเปนสวนหนึ่งในการรวมสนองนโยบายของรัฐบาล

7. เปนการสืบทอดรักษา วัฒนธรรม ประเพณีอันดีงามของชาติไทยเราสืบตอไป

สมมติฐานของการศึกษา (Hypothesis to be tested) จากการศึกษาคนควา รูปแบบ วิธีการในการสรางสรรคงานประติมากรรม ทําใหสังคมมี

สวนรวม ในการรับรูชื่นชมงานประติมากรรม ทําใหสังคมมีสวนรวมในการรับรูชื่นชมงาน

ประติมากรรม ทําใหมีผลในการปลูกจิตสํานึกของผูคนที่เปนลูกหลานใหสํานึกถึงพระคุณของพอ

แมบุพการีไดหวนกลับมาดูแลเลี้ยงดู ใหความรักความอบอุนใหผูเฒาชราไดจางคลาย จากความ

ทุกขโศก ความเหงาวาเหว มีความสุข ชุมชื่น ทั้งกายใจ ชวงปนปลายของชีวิต เปนสวนหนึ่งในการ

สนองนโยบายของรัฐบาลที่สนับสนุน ใหลูกหลานกลับมาดูแลเลี้ยงดู พอแมบุพการี โดยการ

ลดหยอนภาษีใหผูเลี้ยงดู และในปจจุบันไดมีกฎหมายควบคุมเกี่ยวกับผูที่ทอดทิ้ง พอแมใหตก

ระกําลําบากถือวาเปนผูทําผิดกฎหมายตองไดรับโทษ

ขอบเขตการศึกษา (Scope or delimitation of the study) 1. ขอบเขตของเนื้อหา ขาพเจาใชแรงบันดาลใจ จากความรูสึกทั้งหมด ที่มีตอพอ

แม และจากสิ่งที่ไดรับ ตั้งแตเริ่มจําความไดจนถึงปจจุบันและเหตุการณตาง ๆ ที่สัมผัสจาก

สภาพแวดลอม และ แหลงความรูตาง ๆ ที่เกี่ยวพันธกับเนื้อหาที่จะนําเสนอเพื่อใหเนื้อหา มีความ

เปนสากลยิ่งขึ้น จากแรง บันดาลใจดังกลาว ขาพเจาไดนํามาจัดเรียบเรียงความคิด ที่จะสรางสรรค

เปนงานประติมากรรม โดยรวบรวมความคิด จากความรูสึกที่มีตอพอแม พอแยกเปนขอยอยไดคือ

ความสูงสง ความยิ่งใหญ ความบริสุทธิ์ ผู ใหกําเนิด ความอบอุน ความรัก ความศรัทธา ความ

ละเอียดออน ความจริงใจ ความสัมพันธ ความผูกพัน ความเชื่อมั่น ความไววางใจ ความหวงใย

3

การดูและอยางทะนุถนอม การปกปองคุมครอง ความเสียสละ แรงยึดเหนี่ยวทางจิตใจ การใหอภัย

อยางไมมีสิ้นสุด การเลี้ยงดูใหเจริญเติบโต ความสุข ความปรารถนาดี ความดีงาม

จากหัวขอที่กลาวมาจะเห็นวา พระคุณของพอแมนั้นมากมายเหลือคณานับ จนถึง

ไมมีที่สิ้นสุด ขาพเจาไดคัดเลือกเพียงบางหัวขอ ที่สามารถสื่อใหเขาใจไดงาย และแสดงออกเปน

รูปแบบงานประติมากรรมเพื่อใหเกิดประโยชนกับสังคมใหมากที่สุด ไดแก ผูใหกําเนิด ความอบอุน

การปกปอง คุมครอง การดูแลอยางทะนุถนอม

2. ขอบเขตทางดานรูปแบบของงาน ขาพเจาใชรูปทรงที่ เรียบงายจัดวางใหเกิด

ความสัมพันธ อยูดวย กันอยางกลมกลืน มีการเคลื่อนไหวอยางชา ๆ นุมนวล เพื่อสื่อถึงความรูสึก

ของ พอแม ที่มีตอ ลูกและจากลูกที่มีตอพอแม

ทัศนธาตุและสัญลักษณที่นํามาใชในการสรางสรรคงานประติมากรรม

2.1 เสน (Line) เสนที่เคลื่อนไหวอยางออนหวานในงานบางชิ้น สื่อถึงความรูสึกที่ดี

งาม ความรัก การสัมผัสอยางแผวเบา นุมนวล สวนบางชิ้นใชเสนที่ตรงเฉียบคมใหความรูสึกความ

เชื่อมั่น การปกปองคุมครองใหความปลอดภัยจริงใจ ตรงไปตรงมา

2.2 ลักษณะผิว (Texture) ขาพเจาใชลักษณะผิวที่แตกตางกันนํามาใชรวมกัน

เพื่อใหเกิดการสนับสนุนซึ่งกันและกัน เชน การใชลักษณะผิวหยาบภายนอก เพื่อสื่อใหรูสึกถึง

ความอดทนตอสูภัยอันตรายจากภายนอกเพื่อปกปองสวนที่อยูภายในซึ่งมีลักษณะผิวที่เรียบเนียน

สื่อถึงความสงบสุข ความดีงามและยังผลถึงเรื่องราวของสภาวะของจิตใจ ซึ่งเปนเรื่องราวภายใน

2.3 รูปทรงเรขาคณิต (Geometric form) สื่อถึงความรูสึกที่บริสุทธิ์ จริงใจ

ตรงไปตรงมา

2.4 รูปทรงอิสระ (Free form) สื่อถึงความกวางใหญอยางไรขอบเขต ถึงไมมีที่

สิ้นสุด

2.5 รูปทรงของพื้นที่วาง (Form of Space) ใหความรูสึกความวาง ความบริสุทธิ์

และยังผลใหสิ่งรอบขางเขามามีสวนรวมในชิ้นงาน เมื่อมองทะลุผานไปเห็นสิ่งนั้นและยังให

ความหมายของการ สรางกอใหเกิดสิ่งนั้น ๆ ดวย

2.6 รูปทรงไข (Oval form) สื่อถึงชีวิตที่บริสุทธิ์เปนสัญลักษณของชีวิต ซึ่งเปน

รูปทรงสากลที่เขาใจกันไดทั่วไป

2.6 เปล เปนของใชสําหรับเด็กทารก ซึ่งจะอยูคูกันกับ แมลูก ใหความรูสึกของการ

ดูแล เอาใจใส ใหความสุขสบาย

2.8 รังนก ใหความรูสึกอบอุน ความปลอดภัย ความสุข

4

2.9 มือ เปนสิ่งที่แมใชสัมผัสลูก ทําทุกสิ่งทุกอยางเพื่อลูก ปกปองภัยอันตราย

เลี้ยงดู อุมชูโอบอุมใหอบอุน

3. ขอบเขตทางเทคนิค ขาพเจาเลือกใชวิธีการแกะสลักหิน เปนหลักในการสรางงาน

ประติมากรรม หินเปนวัสดุธรรมชาติ ที่มีความแข็งแรงคงทนถาวร ซึ่งจะใหการสนับสนุนกับ

เรื่องราวที่นําเสนอ เปนเรื่องราวของจิตใจที่รูสึกที่มีตอกันอยางถาวร และแสดงถึงความตั้งใจ

จริงใจที่จะสรางสรรคเพื่อพอแม สวนคุณสมบัติของวัสดุนอกจากที่กลาวตอนตนแลว หินยังเปน

วัสดุที่มีความนาสนใจ มีคุณคาในตัว หินมีหลายชนิดก็มีคุณสมบัติลักษณะที่แตกตางกันเชน มี

เนื้อที่แนนละเอียดหยาบพรุน สี ลวดลาย ที่แตกตางกัน ขาพเจาไดนําหินใสจากหลาย ๆ แหลง แต

ละแหลงจะมีลักษณะที่ตางกันมาจัดการรูปทรงและประกอบจัดวางใหอยูรวมกันใหไดงาน

ประติมากรรมที่ตองการ

ขั้นตอนการการศึกษา (Process of the study) 1. สังเกตสิ่งแวดลอมตาง ๆ ที่อยูใกลตัว ที่มีความหมายที่สัมพันธกับเนื้อหา เชน บาน

รังนก รังมด เปล การโอบอุมลูกจากแม อากับกิริยาของมือในทาตาง ๆ การเลี้ยงลูกของสัตว เชน

แมไก สุนัข แมว เปนตน

2. ศึกษาคนควาจากตําราศิลปะ นํามาประกอบกับประสบการณและขอมูลที่มีอยู

3. คนหารูปทรงจากขอมูล ขอที่ 1 และขอที่ 2 นํามาจัดการ คลี่คลาย ตัดทอน เพิ่มเติม

ผสมผสานรูปทรงใหไดรูปทรงที่สามารถ สื่อความหมายของเนื้อหาโดยการรางแบบจําลอง 2 มิติ

4. นําแบบจําลองจาก 2 มิติ มาสรางใหเปนแบบจําลอง 3 มิติ โดยการ ปนดิน

แกะสลักปูนปลาสเตอร

5. ศึกษาในลักษณะวิเคราะห โดยนําแบบจําลอง 3 มิติ มาปรับปรุงแกไข ลด ตัดทอน

เพิ่มเติมสวนตาง ๆ ใหตรงเปาหมาย ในการสื่อเนื้อหาใหมากที่สุด

6. กําหนดวัสดุ เสาะหาวัสดุ (หิน) ตามแหลงตาง ๆ

7. ขยายแบบจําลอง 3 มิติที่คัดเลือกแลวใหเปนผลงานจริง ดวยวัสดุที่ไดกําหนดไว

ขอตกลงเบื้องตน (Assumption) การศึกษาในครั้งนี้ จะมีการนําเสนอในขั้นสุดทาย คือ

1. ผลงานประติมากรรมแกะสลักหินจํานวน 4 ชิ้น

2. แบบจําลอง 3 มิติแกะสลักปูนปลาสเตอรและปนดิน

3. การนําเสนอในภาคเอกสารจํานวน 7 เลม

5

ความจํากัดของการศึกษา (Limitation of the study) งานประติมากรรมนั้น ขนาดของชิ้นงานนั้นเปนสวนสําคัญสวนหนึ่ง นอกจากรูปแบบ

ของงาน เพราะถาชิ้นงานที่มีขนาดเล็กเกินไป การทํางานของผลงานก็จะนอยลงไป เชนกันแตถามี

ขนาดใหญพอเหมาะพอดี ก็จะทําใหชิ้นงานทําผลตอสายตาและเกิดความรูสึกตามจุดประสงคของ

งาน ในงานของขาพเจา บางชิ้นยังนับวาเปนงานขนาดเล็กอยู อันเนื่องดวย

1. ระยะเวลาที่จํากัด

2. วัสดุมีขนาดที่จํากัดรวมทั้งน้ําหนักของวัสดุดวย

3. เครื่องมือและอุปกรณในการทํางานยังไมครบถวนสมบูรณ เชน อุปกรณในการ

เคลื่อนยาย เครื่องมือในการตัด ผา หินเปนวัสดุที่มีนําหนักมาก

4. งบประมาณมีจํากัด

คําจํากัดความที่ใชในการศึกษา (Definition) ในหัวขอนี้ขาพเจาขอยกไวในสวนของภาคผนวก

6

บทที่ 2

ขอมูลที่เกี่ยวของกับการสรางสรรค

ทุกชีวิตที่เกิดมาบนโลกนี้ ตางอยูในฐานะของลูกดวยกันทุกคน เพราะไดถือกําเนิด เกิด

มาจาก ครรภของแม ไมมียกเวนแมแตชีวิตเดียว ตั้งแตแมรูวาลูกนอยไดถือกําเนิดมาในครรภแลว

แมทะนุถนอมรางกาย อดทนตอความลําบาก เพื่อใหลูกมีรางกาย สมบูรณ แข็งแรงในยามที่ลืมตา

ออกมาดูโลกและเมื่อลูกออกมาแลว แมเสียสละเลือดในกายกลั่นเปนน้ํานมใหลูกดื่มกิน ดวยความ

รักอยาง ลนเหลือ จนลูกเติบโตใหญและไดอบรมสั่งสอนใหลูกเปนคนดี ชี้แนะแนวทางตาง ๆ

ใหแกลูก จนลูก สามารถยืนหยัดดวยตัวเองได ซึ่งจะหาใครหรือผูใดในโลกนี้ ที่มีความเสียสละได

เทาแมไมมีแลว 1

อันผูที่ไดชื่อวาเปนพอของลูกนั้น มีพระคุณอันสูงสุด ดวยเหตุที่ไดเปนผูที่กอเกิดลูกมา

รวมกับ แมซึ่งถาไมมีพอ ลูกจักไมมีโอกาสที่เกิดมาดูโลกไดเลย และถึงแมวาพอจะมิไดอุมทองเรา

มาเหมือน กับแมก็ตาม แตพอก็เปนผูที่มีพระคุณสูงสุดตอลูกเทียบเทากับแม เพราะพอทําหนาที่

ของพอในการ ดูแลทุกขสุข และทํามาหาเลี้ยงเราและครองครัวใหมีความสุขสบาย ดวยพอ

ปรารถนาใหลูกไดเติบโตเปนคนดี มีการศึกษาที่ดี เพื่อความเจริญแหงชีวิตลูกในภายภาคหนาและ

ถึงแมวาการทํามาหาเลี้ยงครอบครัวจะทําใหพอไดรับความเหน็ดเหนื่อย ยากลําบาก และตองฟน

ผาอุปสรรคเพียงใดก็ตาม แตพอก็มิไดปริปากบน พออดทนเพราะดวยความรักของพอที่มีตอลูก

นั่นเอง 2

1 พระธรรมปริยัติเวที (สุเทพ ผุสฺสัธมฺโม), “คํานํา,” ใน แมของลูก (กรุงเทพฯ :

ธรรมสภา, ม.ป.ป.). 2 พระธรรมโกศาจารย (ปญญานันทภิกขุ), “คํานํา”, ใน พอพระในบาน (กรุงเทพฯ :

ธรรมสภา, ม.ป.ป.).

7

ที่มาแหงแรงบันดาลใจจากการที่ตองจากบานไปตั้งแตครั้งยังวัยเด็กรวมระยะเวลา 35 ป จนถึงปจจุบันไดมี

โอกาสกลับมาอยู บาน เพื่อดูแลพอซึ่งชรามากแลวและอยู เพียงลําพัง มีโอกาสไดใกลชิดไดรับ

ความรักความอบอุนและจริงใจ เติมเต็มความรูสึกที่ขาดชวงไป ตั้งแตในวัยเด็กใหหวนคืนมา

บรรจบใหมในครั้งนี้ พอรูสึกดีใจมีความสุขที่มีลูกคอยดูแลชวยเหลือเรื่องตาง ๆ ขาพเจาเองก็รูสึก

ยินดีและภาคภูมิใจ จากความเปนมาดังกลาวทําใหขาพเจารูสึกรําลึกสํานึกในพระคุณของพอแม

ตั้งแตใหกําเนิดเลี้ยงดูจนเติบโต และใหการศึกษาเต็มกําลังที่จะทําไดจนมีชีวิตถึงทุกวันนี้

ซึ่งนับเปนพระคุณอันยิ่งใหญมากมาย ยากที่จะหาคําพูดหรือการกระทําใด ๆ ที่จะบอกบรรยายถึง

พระคุณนี้ไดเพียงพอ ปจจุบันเรามักเห็นขาวคราวจากสื่อโทรทัศนหนังสือพิมพ วิทยุ หรือแมการไดพบเห็นดวย

ตนเอง ที่พอแมผูแกเฒา ถูกทอดทิ้งใหอยูเพียงลําพังอยางโดดเดี่ยวบางก็ทุพลภาพพิการอยูอยาง

ทุกขทรมาน ซึ่งเปนภาพและเรื่องราวที่นาเศราสลดใจเปนอยางยิ่ง

จากความรูสึกสวนตัวที่มีตอพอแม และปญหาที่เกิดในสังคมที่กลาวมา เปนแรง

บันดาลใจใหขาพเจาตองการสรางงานประติมากรรม ในลักษณะเฉพาะตัวรูปแบบนามธรรม โดย

ใชรูปทรงเสนปริมาตร ลักษณะผิวรวมถึงคุณลักษณะของวัสดุ เขาประสานประกอบกันเปนชิ้นงาน

ประติมากรรม เพื่อถายทอดความรูสึกภายในเกี่ยวกับเรื่องราวที่ไดกลาวมา ซึ่งขาพเจาคิดวาเปน

สวนหนึ่งในการแสดงความกตัญูและตอบแทนพระคุณพอแม แมอาจเปนสวนเสี้ยวเพียง

เล็กนอย นอกจากนี้ยังเปนสวนหนึ่ง ในการปลุกจิตสํานึกตอสังคมใหระลึกถึงพระคุณ พอ แม และ

พรอมที่จะทดแทนพระคุณนั้นทุกโอกาสอยางเต็มที่

พระราชนิพนธในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ 6

พรหมาติ มาตา ปตโร

มาตาปตุไซร พรหมของบุตรนา

อันสุภาษิตปอง เปรียบไว

ใหผูฉลาดตรอง เห็นชอบตามแล

ฝงจิตแลวจักได บรูลืมคุณฯ

มาตาปตุไซร ควรนับไดวาเปนพรหม

ของบุตรลัดนิยม ชมพจนเทียบเปรียบงดงามฯ

เมื่อผูฉลาดตรอง ก็จะตองเห็นชอบตาม

ฝงจิตคิดถึงความ ที่มีคุณบุญนักหนาฯ

8

พอแมใหกําเนิด ตั้งแตเกิดอบรมมา

ใหรูทุกสิ่งสา รพัตรตั้งจิตสั่งสอนฯ

ชี้ทางธรรมวิถี ที่คนดีควรสัญจร

ชี้ทางกะลีบร จึงอาจลี้หนีพนพาล

มารดาและบิดา มีคุณหาใดเปรียบปาน

คุณานันตของทาน ฝงกมลจนบรรลัยฯ 3

พระพุทธเจาทรงยกยองพอแมไว 4 ฐานะดวยกัน

1. ยกยองพอแมเปนครูอาจารยของลูก

2. ยกยองพอแมเปนเทวดาของลูก

3. ยกยองพอแมวาเปนพรหมของลูก

4. ยกยองพอแมวาเปนพระของลูก

สถานะตาง ๆ ของพอแมพอแมมีบุญคุณมากมายเหลือที่จะคณานับ นอกจากจะใหกําเนิดและเลี้ยงดูแลว

ทานยังมีบุญคุณอื่นอีกมากมาย ดังนั้น เพื่อใหไดเห็นบุญคุณของพอแมเดนชัดขึ้น จึงขอกลาวถึง

สถานะของพอแมตามลักษณะแหงอุปการคุณที่ทานทั้ง 2 มีตอลูกของตนตามลําดับ ดังนี้4

พอแมเปนผูปรารถนาจะมีลูกชายหญิงเมื่อแตงงานอยูกินเปนสามีภรรยากันแลวก็หวังจะมีลูกไวสืบสกุลเพื่อเปนความ

อบอุนใจและสําเร็จความมุงหมายตามที่ตนตั้งไว แตถาหากอยูกินกันหลายปแลว ยังไมมีลูกดวยกัน

สามีภรรยา คูนั้น ก็จะมีความไมสบายใจ บางคูถึงกับไปปรึกษาแพทย ไปขอลูกกับพระพุทธรูป

หรือเทวดาที่ศักดิ์สิทธิที่เห็นวาจะใหลูกแกตนไดบาง คูที่ไมมีลูกดวยกันแลวถึงกับหยาขาดกันก็ยังมี

นี้แสดงใหเห็นวาพอแม ตองการมีลูกจึงพยายามขวนขวายทุกวิถีทางเพื่อใหมีลูก แมขณะที่รูวาลูก

กําลังอยูในครรภ พอแมก็จะดีใจ พอจะไมใหแมทํางานหนัก พยายามเอาใจแมฝายแมก็พยายาม

รักษาตัวอยางดีที่สุด เพื่อใหลูกที่อยูในครรภ มีความปลอดภัยและมีสุขภาพดี เมื่อคลอดออกมา

3 พระธรรมโกศาจารย (พุทธทาสภิขุ), พระคุณของแมคือสันติภาพของโลก (กรุงเทพฯ :

ธรรมสภา, ม.ป.ป), ไมปรากฏเลขหนา.4 พระธรรมปริยัติเวที (สุเทพ ผุสฺสธมฺโม), แมของลูก (กรุงเทพฯ : ธรรมสภา, ม.ป.ป),

35.

9

พอแมเปนผูใหกําเนิดพอแมเป นผู ให กําเน ิด ค ือ ล ูกทุกคนเปนผู แบงภาคออกมาจาพอแม ของตน

หมายความวาสายเลือด สวนหนึ่งมาจากพอ สวนหนึ่งจากแม ลูกแตละคนจึงมีรูปรางหนาตาและ

ผิวพรรณบาง สวนเหมือนพอ บางสวนเหมือนแม ทานทั้งสองจึงรักลูกทุกคนมากบางคนถึงกับ

เสียสละชีวิตแทน ลูกไดเพราะลูกทุกคนเปนเลือดเนื้อเชื้อไขของทาน ฉะนั้นพอแมทานจึงเรียกวา

ชนก ชนนี แปลวา ผูใหกําเนิดหรือผูบังเกิดเกลา บุญคุณของพอแมในขอขอนี้เดนชัดมาก ทุกคนไม

อาจจะปฏิเสธได ถึงพอแมบางคน เมื่อใหกําเนิดลูกแลว อาจจะตายจากไปเสียกอน หรือไมมี

โอกาสจะเลี้ยงลูกของตนได เพราะเหตุอยางใดอยางหนึ่งก็ตาม แตการที่ทานเปนผูใหกําเนิดนี้ก็ถือ

วาเปนพระคุณที่สําคัญมากตอลูก

พอแมเปนผูเลี้ยงดูพอแมเปนผูเลี้ยงดู คือ เมื่อใหกําเนิดลูกแลวก็เปนหนาที่พอแมที่จะตองดูแลเลี้ยงดู

จนลูกเติบโตชวยเหลือตนเองได ที่สําคัญนั้นพอแมเลี้ยงดูลูกดวยความเต็มใจยิ่งแมจะเหน็ดเหนื่อย

สักเพียงใดก็ทนไดเพื่อลูก สวนมากคนเราเมื่อยังไมมีลูก ก็มักจะคาดฝนถึงโครงการตาง ๆ เพื่อความ

เจริญ กาวหนาของชีวิตของตน แตเมื่อมีลูกแลวก็มักจะทุมเททั้งชีวิตและจิตใจไปเพื่อความสุข

ความเจริญของลูก แมทรัพยสินสมบัติที่ตนเองมีอยู และแสวงหามาไดดวยความยากลําบากก็เพื่อ

ลูกของตนทั้งนั้น

พอแมเปนผูแสดงโลกนี้แกลูกพอแมเปนผูแสดงโลกนี้แกลูก เพราะเมื่อลูกถือกําเนิดในครรภของแมนั้น ถาพอแมไม

ชอบใจ ไมตองการใหลูกเกิดมาทานก็อาจใหแมกินยาทําลายครรภเสียก็ได หรือเมื่อเติบโตขึ้นใน

ครรภแมเพียง 2-3 เดือน ก็อาจจะถูกทําแทงใหตายเสียก็ได หรือเมื่อคลอดออกมาใหม ๆ ถาทานไม

ชอบใจไม ตองการใหลูกอยูในโลกนี้ก็อาจบีบจมูก อุดปาก หรือทําใหลูกตายดวยวิธีใดวิธีหนึ่ง ลูกก็

อาจจะตาย ในชวงนั้นก็ได แตการที่ลูกมีชีวิตอยูมาไดพบเห็นสิ่งตาง ๆ และมีโอกาสไดศึกษาเลา

เรียนศิลปวิทยา เปนตน ก็เพราะพอแมมีความเอ็นดูใหการเลี้ยวดู และเปนผูแสดงโลกนี้แกลูก

นั่นเอง

พอแมเปนพระพรหมของลูกพอแมเปนพระพรหมของลูก เพราะเปนผูมีความประพฤติเหมือนพระพรหมทรงไวซึ่ง

พรหมวิหาร 4 ประการ คือ

1. พอแมมีเมตตา รักลูกดุจแกวตาดวงใจ อยากใหลูกไดดี อยากใหลูกมีความสุข

ความเจริญ ประสบความสําเร็จในการดําเนินชีวิต

10

2. พอแมมีกรุณาสงสารลูก เห็นใจลูก เอาใจชวยลูกไมอยากใหลูกลําบาก พอแมจนก็

อยากใหลูกรวย พอแมโงก็อยากใหลูกฉลาด พอแมขี้โรคก็อยากใหลูกไมมีโรค พอแมอดก็อยากให

ลูกอิ่ม พอแมทุกขก็อยากใหลูกสุข พอแมไมมีกินก็อยากใหลูกมีกิน พอแมอยากใหลูกดีกวาตน

ทุกเรื่อง

3. พอแมมีมุทิตา พลอยปลื้มปติยินดี พอแมไมเคย อิจฉาริษยาลูกเลย พอแมไมเคย

กลัววาลูกจะดีไปกวาพอแม ลูกมีความสุขพอแมก็มีความสุขดวย ลูกรวยก็เหมือนพอแมรวย ลูกดีก็

เหมือนพอแมดี พอแมดีใจกับลูก ชื่นชมกับลูก ปลื้มใจกับลูกในเมื่อลูกไดดีมีความสุข

4. พอแมมีอุเบกขา รูจักวางใจเปนกลาง เมื่อพิจารณาเห็นวาลูกสามารถดําเนินชีวิตได

ดวยดีมีสุข ไมเขาไปแทรกแซงหรือกาวกายในการดําเนินชีวิตของลูกไมเหยียบย่ําซ้ําเติมในคราวที่

ลูกของตนผิดพลาด มีแตคอยหาโอกาสประคับประคองอยูเรื่อยไป

พอแมเปนบุรพเทพ พอแมเปนบุรพเทพ คือ เปนเทพองคแรกของลูก คําวาเทพนั้นทานไดอธิบายไววา

หมายถึงทานผูวิเศษ 3 จําพวก ไดแก (1) สมมติเทพ เทพโดยสมมติ (2) อุปบัตติเทพ เทพโดยอุบัติ

(3) วิสุทธิเทพ เทพโดยความบริสุทธิ์

ที่วาพอแมเปนเทพนั้น เพราะทานเปนผูมีความประพฤติดุจดังเทพ กลาวคือพอแม

เปรียบเหมือน วิสุทธิเทพ ซึ่งไดแกพระอรหันต ไมคํานึงถึงความผิดที่คนพาลทําแกตน หวังแต

ความสุขความเจริญ ปฏิบัติเพื่อประโยชนสุขแกพวกเขา โดยสวนเดียว อีกทั้งทําใหสักการะที่เขา

ถวายแกตนมีผลมากเพราะทานเปนทักขิไณยบุคคล พอแมก็เชนเดียวกัน คือ ทานไมคํานึงถึง

ความผิดที่ลูกไดทําแกตน ใหอภัยแกลูกเสมอ มีแตมุงหวังความสุขความเจริญ แกลูกโดยสวนเดียว

เปนผูควรแกสิ่งที่ลูกนํามามอบให พรอมทั้งทําใหสักการะใหมีผลมาก

พอแมเปนเทพองคแรกของลูก เพราะทานเปนผูมีอุปการะกอนกวาเทพทุกองค สวน

เทพองคอื่น ๆ ชื่อวาเปนปจฉาเทพ ไดแก เปนเทพในชั้นหลัง เพราะเหตุที่ลูกไดรูจักเทพองคอื่น ๆ

ไดก็เพราะพอแมทั้ง 2 นั่นเอง

พอแมเปนบูรพาจารยพอแมเปนบูรพาจารย คือเปนครูคนแรกที่สอนใหลูกรูจักสิ่งตาง ๆ ตั้งแตเวลาที่ลูกยัง

เล็กอยูก็สอนใหรูจักยืน เดิน นั่ง นอน เมื่อโตพอพูดได ก็สอนลูกใหรูจักพูดวา คนนี้เรียกวา พอ คนนี้

เรียกวา แม สิ่งนี้ควรทํา สิ่งนี้ไมควรทํา เปนตน ตอมาภายหลังครูอาจารยอื่น ๆ จึงใหการศึกษาใน

เรื่องตาง ๆ ดังนั้น พอ แม จึงจัดเปนครูคนแรกของลูกใครตองการจะบูชาครูของตนก็จงนึกถึงพอ

แมผูเปนครูคนแรกของตนเองดวย

11

พอแมเปนอาหุไนยบุคคลในทางพระพุทธศาสนา ทานเรียกพอแมวา “อาหุไนยบุคคล” เปนผูที่ลูก ๆ ควรนําของ

มาบูชา เพราะทานเปนบุรพการีและมีบุญคุณอยางมากตอลูกทุกคน เพราะตามหลัก

พระพุทธศาสนานั้น พระอริยบุคคลตั้งแตพระโสดาบันจนถึงพระอรหันต จัดเปนอาหุไนยบุคคล ที่

ชาวโลกควรนําของมาบูชา เพราะทาเปนผูมีคุณธรรมสูง ทานที่ถวายแกทานจึงมีผลมาก

พระพุทธเจาทรงยกยองพอแมวามีคุณสมบัติเสมอกับพระอริยบุคคล

ในปจจุบัน เราไมอาจทราบไดวา ยังมีพระอริยบุคคลอยูที่ใดหรือไมแตเมื่อพอแมมี

คุณสมบัติเปนอาหุไนยบุคคลเชนนี้ ถาหากผูใดตองการที่จะไดบุญมาก ก็ไมจําเปนตองไปหาพระ

อริยบุคคลที่ไหนเพื่อทําบุญแกทานหรอก เพราะพอแมนั้นเปนอาหุไนยบุคคลที่เสมอกับพระ

อริยบุคคลฉะนั้น ลูกคนใดตองการไดบุญมาก ก็ขอใหตั้งใจบํารุงพอแมของตนใหดี อยาใหทานตอง

ชอกช้ําใจกับการกระทําของเรา 5

รักของพอแม เปนรักแทที่ยั่งยืนที่พอแมทําทุกอยางเพื่อลูกนั้น ก็ดวยความรัก เราจึงควรรูจักความรักของพอแมใหดี

สักหนอย ความรักถาแยกตามหลักพระพุทธศาสนาก็แบงงาย ๆ กอนวามี 2 แบบ

ความรักแบบที่ 1 คือ ความชอบใจในบุคคลหรือสิ่งที่จะเอามาบํารุงความสุขของเรา

ชอบใจคนนั้นเพราะวา จะมาสนองความตองการชวยบํารุงบําเรอ ทําใหเรามีความสุข ไดอะไรที่จะ

ทําใหมีความสุข เราชอบใจ เราตองการมัน นี่คือความรักแบบหนึ่ง ซึ่งมีมากทีเดียว

ความรักแบบที่ 2 คือ ความตองการใหคนอื่นมีความสุขหรือความปรารถนาใหคนอื่น

มีความสุข ความรักพอแมของ แบบที่ 2 นี้ คือ อยากใหลูกมีความสุข

ความรักของพอแม คือ อยากทําใหลูกเปนสุขและมีความสุขเมื่อเห็นลูกเปนสุข เมื่อ

อยากเห็นลูกมีความสุข พอแมก็หาทางทําทุกอยางใหลูกมีความสุข วิธีสําคัญอยางหนึ่งที่จะใหทํา

ใหลูกมีความสุข ก็คือการใหแกลูก เพราะฉะนั้นพอแมก็จะมีความสุขในการใหแกลูก เพราะการให

นั้นเปนการทําใหลูกมีความสุข

5 พระมหาอุดม สารเมธี, กตัญูกตเวทิตา การรูจักตอบแทนคุณ, พิมพครั้งที่ 2,

(นครปฐม : ระฆังทอง, 2548), 22-26.

12

ตามปกติ การให คือ สละ หรือการยอมเสียไป ซึ่งอาจจะทําใหฝนใจและเปนความ

ทุกข แตพอมี ความรักแบบที่สอง คือ เมตตานี้มา ก็ใหดวยความสุขเพราะฉะนั้น ความรักคือ

เมตตาจึงมาสรางความเปลี่ยนแปลงใหม ทําใหการใหกลายเปนความสุข

รักของพอแมเปนรักที่ยังยืน ลูกจะขึ้นสูง ลงต่ํา ดีราย พอแมก็รัก ตัดลูกไมขาด ลูกจะไป

ไหน ไกลยาวนานเทาใด จะเกิดเหตุการณผันแปรอยางไร แมแตจะถูกคนทั่วโลกรังเกียจไมมีใคร

เอาดวยแลว พอแมผูใหกําเนิดก็ยังเปนออมอกสุดทายที่จะโอบกอดลูกไว 6

ตามที่กลาวมาจะเห็นไดวาพอแมมีพระคุณตอเรามากมายนัก การรูจักพระคุณของ

ทานนับไดวามีความกตัญูเกิดขึ้นแลวและเมื่อรูแลวก็ควรรูจักการตอบแทนพระคุณนั้นจึงถือวามี

กตเวทิตา ซึ่งรวมแลวก็จะไดวา เปนผูที่มีความกตัญูเวทิตา อันเปนเครื่องหมายของคนดี

หลักการตอบแทนคุณตอพอแม 5 ประการในโลกนี้ พอแมเปนบุคคลผูที่มีความสําคัญตอลูกมากเพราะในชีวิตของลูกมากเพราะ

ในชีวิตของลูกแตละคนนั้น มีพอผูบังเกิดเกลาไดเพียงคนเดียว แมบังเกิดเกลาก็มีเพียงคนเดียวไมมี

มากกวา นั้น สวนพออยางอื่น แมอยางอื่น จะมีเทาไรก็มีได ถึงจะมีก็ไมใชพอแมใหกําเนิดแก เรา

พอแมจึงเปนผูมีพระคุณอันยิ่งใหญ เราในฐานะที่เปนลูกจึงตองรูจักตอบแทนพระคุณของทาน เปน

ผูมีความกตัญูกตเวทีตอทาน สํานึกในพระคุณของทานอยูเปนนิตย ตอบแทนพระคุณของทาน

ดวยการทําตัวเปนคนดี จึงจะไดชื่อวาเปนลูกที่ดี เปนลูกแกวลูกขวัญ จะเปนผูไมตกต่ําอยาง

แนนอน ดังนั้นลูกผูมีความกตัญูกตเวทีเปนเรือนใจแลวตองรูจักตอบแทนคุณตอพอแม ตาม

หลักการทางพระพุทธศาสนา 5 ประการ คือ

1. เมื่อพอแมเลี้ยงเรามาแลว เราก็ตองเลี้ยงทานตอบแทน ไมปลอยใหทานตองอด

อยาก คอยเอาใจใสดูแลความเปนอยูของทานใหไดรับความสุขความสบายตามสมควรแกฐานะ

2. เมื่อพอแมมีธุรการงานก็ใหการชวยเหลือ ไมเพิกเฉย ไมปลอยใหพอแมตองทําตาม

ลําพังให ชวยแบงเบาภาระของพอแม ใหทานไดเบากายสบายใจ เมื่อลูกยังเล็กทําอะไรดวยตนเอง

ไมได พอแมตองทําใหทุกอยาง เชนกินก็ตองปอน นอนก็ตองกกกอด ตองอาบน้ําให ตองเช็ดลาง

อุจจาระ ปสสาวะใหโดยไมมีความรังเกียจ เวลาลูกปวยพอแมก็ปวยดวย ลูกไมไดนอนพอแมก็

ไมไดนอน ตองคอยเฝาพยาบาลดวยความรักและความสงสาร บางทีพอลูกหายแตพอแมก็ตอง

ปวยเพราะตรากตรําในการพยาบาลลูกจะหาใครเลาที่มีรักและสงสารลูกอยางพอแม

6 พระธรรมปฎก (ป. อ. ปยุตโต), คุณบิดา มารดา สุดพรรณนามาหาศาล (กรุงเทพฯ :

ธรรมสภา, 2545), 7-11.

13

3. รักษาชื่อเสียงของพอแมและวงศตระกูลไว โดยการประพฤติดีปฏิบัติชอบดวยกาย

วาจาใจไม ทําใหเสื่อมเสียชื่อเสียงของพอแมและวงศตระกูล ดวยคิดวาถาทําลงไปแลวจะสงผล

เสียถึงพอแม และวงศตระกูล แมวาการกระทํานั้นตนจะไดประโยชนก็ไมทํา เพราะเกรงจะเสีย

หายไปถึงพอแม วงศตระกูล แตถาทําลงไปแลวจะทําใหพอแม วงศตระกูลไดรับชื่อเสียง แมจะ

ยากลําบากก็ตองฝาฟนอุปสรรค ตองเสียสละ กลาทํา เพราะดีใจวาพอแมและวงศตระกูลจะไดรับ

ชื่อเสียงดวย

4. ปฏิบัติตนใหเหมาะสมแกทรัพยสมบัติที่ไดรับจากพอแม พยายามใชจายเทาที่

จําเปนใหคิด ถึงความทุกขยากของพอแม ที่ตองหามาใหแกลูก กวาจะไดมาแตละอยาง ตองเหน็ด

เหนื่อยมาก บางทีตองอดหลับอดนอน เวลากินไมไดกินเวลานอนไมไดนอน ตองตรากตรําตอดิน

ฟาอากาศ ตองผจญกับภัยอันตราย จึงจะไดทรัพยสินมา เมื่อไดมาแลวมีคนขอก็ไมให มีคนซื้อก็ไม

ขาย เพราะพอแมจะเอาไวใหลูก แตเมื่อจะใหลูกก็ใหโดยไมตองขอ ไมตองซื้อใหเปลา ๆ ลูกที่ดีจึง

ตองรักษาทรัพยสมบัติของพอแมไว

5. ตองเปนลูกใจบุญมีศีลธรรม ถาพอแมตายไปกอนก็ทําบุญอุทิศไปใหตามประเพณี

ทางศาสนา แมวาจะยากจนขัดสนทรัพย ก็พยายามขวนขวายบําเพ็ญกุศลอุทิศใหทานเทาที่พอจะ

ทําได ไมเพิก เฉยเสีย เพราะคิดวาเปนหนาที่ของตนที่ตองตอบแทนคุณของพอแม ในวาระสุดทาย

ไดในลักษณะ ที่วา “ยามอยูก็อุปฏฐาก ยามจากก็อุปถัมภ หรือวายามทานมีชีวิตก็เลี้ยงดู เมื่อยาม

ทานไมอยูก็เลี้ยงสง อยูก็เลี้ยงกาย ตายก็เลี้ยงวิญญาณ คือทําบุญบําเพ็ญกุศลอุทิศให ”7 กตัญู

กตเวทีสามารถยกพอแมขึ้นจากนรกได

การซึมซาบในพระคุณของบิดามารดาเปนความกตัญูหมายเลขหนึ่งของคนทุกชาติ

ทุกภาษา ในโลกนี้และโลกอื่น ๆ ทุก ๆ โลก ผูไมรูคุณตอบิดามารดา ยอมถูกจัดไวในฐานะเปน

บุคคลที่ใคร ๆ ไม ควรไวใจในโลก

ผูที่ไดชื่อวาเปนบุตรที่ดีของบิดามารดา หรือกตัญูตอบิดามารดาอยางแทจริงนั้น

ก็คือผูที่ทําหนาที่ยกบิดามารดาขึ้นจากนรกได บิดามารดายอมตกนรกชื่อวา “ปุตะ” นรกชื่อวา

ปุตะ นี้ ไดแก ความรอนใจ เปนทุกขหนักเพราะไมมีบุตรที่จะเปนเครื่องทําความชื่นชมยินดี ไมมี

บุตรที่จะสืบสกุล ไมมีบุตรที่จะเลี้ยงดูในยามที่ตนแกชราหรือเจ็บไข ไมมีบุตรที่จะบําเพ็ญกุศล

ทักษิณาทานให เมื่อตนตายไปแลว

7 พระมหาอุดม สารเมธี, กตัญูกตเวทิตา การรูจักตอบแทนคุณ, พิมพครั้งที่ 2

(นครปฐม : ระฆังทอง, 2548), 30-32.

14

ครั้นไดลูกที่กตัญูมา บิดามารดาก็ขึ้นจากนรกอันนี้โดยสิ้นเชิง บุตรจึงไดชื่อวา

เปนผูยกบิดามารดาขึ้นจากนรกเพราะเหตุนี้

หากไดลูกมาเปนคนอกตัญู ไมรูบุญคุณของบิดามารดา ลูกคนนั้นเองกลายเปนผูจับ

บิดามารดา ของตนใสลงไปในนรกขุมนี้ใหลึกลงไปอีก จนยากที่จะขึ้นพนได8

นอกจากนี้ สุนทรภูกวีเอกของโลก ก็ไดกลาวถึงวิธีปฏิบัติตอพอแมและความหวงของ

พอแมไวในสุภาษิตสอนหญิงตอนหนึ่งวา

เมื่อพอแมแกเฒาชรากาล

จงเลี้ยงทานอยาใหอดรันทดใจ

อันชนกชนนีมีพระเดช

ไดปกเกศเกศามาจนใหญ

อุมอุทรปอนขาวมาเทาไร

หมายจะไดพึ่งพาธิดาดวง 9

เพราะฉะนั้นลูก ๆ จะเปนผูทําใหความหวังของพอแมใหสมหวังไดหรือไมนั้นก็ขึ้นอยู

กับการประพฤติปฏิบัติของตนเปนสําคัญ คือลูกตองเปนคนดีมีความกตัญูกตเวทีนั่นเอง

วิธีการตอบแทนพระคุณตอพอแมที่แทจริงในทางศาสนา พระพุทธเจาไดทรงแสดงไววาลูกไมสามารถจะตอบแทนพระคุณพอแม

ไดดวยวิธีการใด ๆ เลย นอกจากลูกเปนผูที่ ทําใหพอแมมีศรัทธา มีศีล มีความเสียสละ และมี

ปญญาเทานั้น ถึงจะเปนการตอบแทนพระคุณพอแมไดอยางแทจริง ดังพระพุทธพจนที่วา

การตอบแทนแกทานทั้งสอง เรากลาววาทําไดโดยงาย ทานทั้งสองนั้นคือ พอกับแม ถึงลูก

จะมีอายุ 100 ป มีชีวิตอยูตลอด 100 ป ประคับประคองแมดวยบาขางหนึ่ง พอดวยบาขางหนึ่ง

ปรนนิบัติทานทั้งสองดวยการอบกลิ่น การนวดการให อาบน้ํา และการบีบนวด แมทานทั้งสองจะ

ถายอุจจาระและปสสาวะลงบนบาทั้งสองของเขาการกําระทําอยางนั้น ก็ยังไมชื่อวาไดทําการ

ตอบ แทนแกพอแม ถึงลูกอาจสถาปนา พอแมไวในราชสมบัติ ซึ่งเปนเจาเหนือหัวแหง

8 พระธรรมโกศาจารย (พุทธทาสภิกขุ), กตัญูกตเวทีเปนรมโพธิ์รมไทรของโลก

(กรุงเทพฯ : ธรรมสภา, 2536), 7-8.9 พระมหาอุดม สารเมธี, กตัญูกตเวทิตาการรูจักตอบแทนคุณ, พิมพครั้งที่ 2

(นครปฐม : ระฆังทอง, 2548), 37.

15

แผนดินใหญ ที่มีรัตน 7 ประการมากมายนี้ การกระทําอยางนั้นก็ยังไมชื่อวาไดทําการตอบแทน

แกพอแม เพราะทานมีอุปการะมาก บํารุงเลี้ยง แสดงโลกนี้แกลูก

สวนลูกคนใด ทําพอแมผูไมมีศรัทธาใหตั้งมั่นอยูในศรัทธา ทําพอแมผูทุศีลใหตั้งมั่นอยูใน

ศีล ทําพอแมผูตระหนี้ ใหตั้งมั่นอยูในการเสียสละ ทําพอแมผูไมมีปญญาใหตั้งมั่นอยูในปญญา

ดวยเหตุเพียงเทานี้แหละการกระทําอยางนั้นจึ่งชื่อวาไดทําการตอบแทนแกพอแม 10

นอกจากขอมูลที่ไดกลาวมาแตตอนตนแลวนั้น ยังมีขอมูลที่เปนผลงานศิลปะ ของ

ศิลปนทานตาง ๆ ที่นําเสนอเรื่องราวที่เกี่ยวกับพระคุณพอแม แมวาเรื่องราวที่นําเสนอจะเปน

เรื่องราวเดียวกัน แตลักษณะผลงานจะแตกตางกันโดยลักษณะสวนตัวของศิลปนแตละทานดังจะ

ไดนําเสนอในตอไปนี้

เลียวโอนาโด ดาวินซี (Leonnado da Vinci) เลียวโอนาโด ดาวินซี เปนศิลปนและวิทยาศาสตร ที่มีชื่อเสียงกองโลก ชาวอิตาเลียน

ทานอยูในยุคฟนฟู ศิลปะวิทยา (Renaissance) งานจิตรกรรมที่มีชื่อเสียงเปนที่รูจักกันดี งานของ

ทาน ไดแก ภาพโมนาลิซา (Monalisa) แตสําหรับภาพที่นํามาเสนอในที่นี้คือภาพ Modonna Litta

งานของทานจะเปนงานแนวเหมือนจริง (Realistict) คือใชความเหมือนจริงบอกถึง อารมณ

ความรูสึก ภาพ Madonna Litta กําลังอุมกุมารนอย ดวยทาทางนี้ นุมนวนออนโยน ใบหนาเปยม

ไปดวยความรักความเมตตา ซึ่งกําลังสงมายังบุตร ซึ่งกําลังดูดนมจากอกของมารดา เปนการสง

สายใยแหงความรักไปยังสายเลือดแหงตน

องคประกอบของภาพถูกจัดใหรูปทรง สวนที่เดนและสําคัญอยูในรูปทรงของ วงกลมซึ่ง

เปนการสรางความสัมพันธ ทั้งหมดใหหมุนเวียนอยูภายในองคประกอบนั้นซึ่งเปนการสื่อใหเห็นถึง

ความรัก ความเมตตา และความสัมพันธอยางแนบแนนของแมกับลูก

10 พระธรรมปริยัติเวที (สุเทพ ผุสฺสธมฺโม), แมของลูก (กรุงเทพฯ : ธรรมสภา, ม.ป.ป),

39.

16

ภาพที่ 1 ผลงาน “Madonna Litta.” (C.1490) ของศิลปน Leonardo da Vinci.

ที่มา : Leonardo da Vinci, “Modonna Litta,” The Hermitage (Department of Guide

books for Foreign Tourists, n.p. 1976), 39.

อาจารยนนทิวรรธน จันทนะผะลินเปนการใชรูปทรงที่เหมือนจริงแสดงเรื่องราวที่ตองการสื่อ คือ เปนรูปของพอและ

รูปทรงของแมที่กําลัง ประคองลูกที่นั่งอยูในตัก ดูรูวาเปนสิ่งนั้นสิ่งนี้ จะแสดงอารมณ ความรูสึก

ดวยอาการทาทางและสีหนา จะเห็นงาพอและแมมีใบหนาที่ดูอิ่มเอิบ ยิ้มอยางมีเมตตา ประคอง

แขนลูกไวบนตักดวยความรักและดูแล ในองคประกอบที่นิ่งดูมั่นคง ดวยเสนแกนดิ่งและเสนนอน

ประกอบกัน โดยเฉพาะชิ้นงานที่เปนรูปพอ จะดูมั่นคงมากเพราะอยูในองคประกอบของรูปทรง

สามเหลี่ยม

งานของอาจารย แมเปนงานที่เหมือนจริง แตเปนแนวอุดมคติ คือ เปนการลดตัดทอน

รายละเอียดไปสูรูปทรงที่บริสุทธิ์ขึ้นประกอบดวย ความเรียบเนียมของพื้นผิว และความตึงของ

ปริมาตร เชน เดียวกับพระพุทธรูป ซึ่งใหความหมายและความรูสึกที่เปนสัญลักษณ วาพอแม คือ

พระอรหันตของลูก

17

ภาพที่ 2 ผลงาน “พอของลูก” ของ นนทิวรรธน จันทนะผะลินที่มา : สุชาติ เถาทอง, ประติมากรรมหิน (เชียงใหม : เดอะเกรทไฟน อารท จํากัด, 2549), 120.

ภาพที่ 3 ผลงาน “แมพระของลูก” ของ นนทิวรรธน จันทนะผะลินที่มา : สุชาติ เถาทอง, “แมพระของลูก”, ใน นิทรรศการผลงานประติมากรรมเชิดชูเกียรติ 3 ประติมากร ณ หอศิลป คณะจิตรกรรมประติมากรรมและภาพพิมพ มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตวังทาพระ กรุงเทพฯ (15-30 ตุลาคม 2550), 13.

18

อาจารย ซาบารี รอย ชาวดูรี (Sarbari Roy Chowdhury) ทานเปนอาจารยอาวุโสทานหนึ่งสอนอยูที่ Visa Bhaati Santininketan ประเทศอินเดีย

ซึ่งขาพเจาไดเคยไปศึกษาที่นั่นมากอน ทานเปนผูที่มีความสม่ําเสมอในการทํางานศิลปะอยาง

ตอเนื่อง งานของทานมีการพัฒนาอยูหลายชวง บางชวงก็เปนงานแนวเหมือนจริงในลักษณะ

Impression บางชวงก็เปนแนวกึ่งนามธรรม (Semmi Abstract) และบางชวงก็เปนแนวนามธรรม

(Abstract) ทานไดมีโอกาสไปศึกษาดูงานอยูกับ ศิลปนที่มีชื่อเสียงระดับโลก เชน เฮนรี มัวร

(Henny Moon)

ลิบชิต (Jacques Lipchitz) ในที่นี้ขาพเจา ขอนําผลงานของทานที่อยูในชวงแนวกึ่ง

นามธรรมที่มีแนวเรื่องเกี่ยวกับแมกับลูก งานของทานไดถูกตัดทอนรายละเอียด เชน บนใบหนา

เหลือเพียงสวนรวมที่เรียบงายไมแสดงอวัยวะตาง แตสามารถสื่อความรูสึกไดดวยทาทาง ที่แม

กําลังอุมลูก ลักษณะนั่งชันเขา วางลูกไวบนชวงขาทอนบนในตําแหนงที่มองหนากันไดพอดี เปน

ทาทางที่ใหความรูสึกวา แมกําลังมองลูกดวยความรัก มือที่ประคองไวอยางทะนุถนอม พูดคุยกับ

ลูกและสอนใหลูกพูดคํางาย ๆ เชน คําวา แมคําวา พอที่เปรียบฐานะของพอแมวาเปนครูคนแรก

ของลูกนั่นเอง

ภาพที่ 4 Sarbari Roy Chowdhury “Mother & Child”

ที่มา : Sarbari Roy Chowdhury, “Mother & Child,” Buonze Sculptures (Calcutta : n.d.), 8.

19

เฮนรี มัวร (Henry Moor) เฮนรี มัวร เปนศิลปนแนวนามธรรม (Abstract) ที่มีชื่อเสียงอีกคนหนึ่ง เปนชาว

อังกฤษ รูป Reclining Motherand Child ถึงแมงานของ มัวร จะเปนงานนามธรรมอยางเต็มตัว

แตก็ยังพอมองเห็นที่มาของรูปทรง งานประติมากรรมชิ้นนี้ มัวร จัดวางทาทางของ figune รูปราง

คนอยูในแนวนอนแตถูกตัดทอนรายละเอียดจนแทบหมดสิ้น เหลือเพียงทาทางอาการ และทิศทาง

ของเสนใหแสดงความรูสึก ใชการเจาะปริมาตรเวาใหรูสึกการ หอหุมหรือการใหที่พักอาศัยรวมถึง

การเจาะรูปทรงของพื้นที่วาง (Form of Space) ใหดูโปรงเบาสบาย มีการไหลเวียนของอากาศได

เปนอยางดี จากนั้นสรางรูปทรงที่มีขนาดเล็ก วางผังไวในปริมาตรเวา ของรูปทรงใหญในตําแหนง

ของสัดสวนที่เปนชวงลําตัว มองดูภาพโดยรวมใหความรูสึก ถึงแมที่กําลังเอนกายและประคองโอบ

ลูกไวแนบอก ดวยความรักอยางทะนุถนอม

ภาพที่ 5 Henry Moore “Recliming Mother and Child”

ที่มา : Henry Moore, “Recliming Mother and Chind 1960-1,” Herbert Read Modern

Sculpture, (New York : n.p., 1964), 167.

20

รองศาสตราจารย เข็มรัตน กองสุขงานประติมากรรมของอาจารยเข็มรัตน กองสุข ดูแลวแตกตางไปจากศิลปนทานอื่น ๆ

ที่กลาวมาโดยสิ้นเชิง เพราะอาจารยไมไดใช fiure ของคนมาเปนสื่อในการแสดงออก

งานของอาจารย เปนงานแนวสัญลักษณกึ่งนามธรรม คือ เปนผลงานประติมากรรมที่

สรางขึ้น เพื่อเปนตัวแทนของ ความรักอาลัย เปนอนุสรณแหง คุณงานความดี เปนการแสดง

กตเวทิตาคุณตอบุพการี ทั้งสองดวยความบูชายิ่ง

โดยอาจารยไดนํารูปทรงของ พานพุมที่ใชบูชาพระผสมผสานกับยอดของเจดีย ซึ่งถือ

เปนสิ่งที่สูงสงประกอบขึ้นเปนรูปทรงที่ตองการสื่อ และสรางรองรอยแตกแยกระหวางประมาณ

กลางรูปทรง ซึ่งอาจารยตองการสื่อถึงการจากไปของแม ซึ่งเปนเหตุการณที่สรางความสะเทือนใจ

ใหอาจารยเปนอยางมากงานของอาจารย จัดวาเปนศิลปะรวมสมัยที่แสดงความเปนตะวันออกได

อยางชัดเจน

ภาพที่ 6 ผลงาน “อนุสาวรียแหงความทรงจํา” ของ เข็มรัตน กองสุข

ที่มา : เข็มรัตน กองสุข, เสน สี ทรง แสง และแรงสรางสรรค (กรุงเทพฯ : อัมรินทร พริ้นติ้ง

จํากัด (มหาชน), 2539), 272.

21

จากที่กลาวมาทั้งหมดจะเห็นไดวาพระคุณของพอแมนั้นเปนเรื่องที่สําคัญอันยิ่งใหญ

สําหรับเราผูเปนลูกทุกคน โดยตั้งแตสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจา ไดทรงปฏิบัติและทรงตรัสสั่ง

สอนรวมถึงพระมหากษัตราธิราชและศิลปนกวีตาง ๆ ไดบันทึกพรรณาไวตั้งแตยุคอดีตมาใหเราได

ศึกษากันจนถึงทุกวันนี้

22

บทที่ 3

การดําเนินการสรางสรรค

การสรางสรรค คือ การทําใหเกิดสิ่งใหมขึ้นในโลกดวยปญญาของมนุษย สิ่งที่

สรางสรรคขึ้นนั้นตองมีลักษณะเปนตนแบบในทางใดทางหนึ่ง ไมซ้ํากับสิ่งที่เคยมีอยูแลว การ

สรางสรรคเปนกระบวนการอิสระไมเปนทาสของสิ่งใด ไมวาจะเปนอารมณหรือปญญา หรือลัทธิ

หรือแบบอยาง (Style) การสรางสรรคตองมีเสรีภาพ มีความนึกคิดอยางอิสระ มีความริเริ่มและ

กาวหนา

การสรางสรรค ศิลปะ หมายถึง การสรรหาหรือคิดคนรูปทรง หรือหนวย (Unit) ที่มี

สาระตอจุดหมายของการสรางสรรค และจัดระเบียบของหนวยนั้น หรือหนวยเหลานั้นใหเกิดเปน

รูปทรงใหมขึ้นเปนรูปทรงที่มีเอกัตภาพ หรือลักษณะเฉพาะตัวของศิลปน ( Individuality) เปน

ตนแบบ (Originality) และมีเอกภาพ การสรางสรรคตรงขามกับการลอกเลียนแบบ (Imitation) ไม

วาจะเปนการลอกเลียนแบบจากธรรมชาติหรือจากสิ่งที่มนุษยสรางขึ้น

การสรางสรรคอาจกระทําไดดวยการใชธรรมชาติเปนสื่อ ดวยการเลือกสรร เพิ่มเติม

ตัดตอน หรือแปรสภาพของธรรมชาติใหเปนรูปทรงที่สามารถเปนสื่อแสดงความหมาย ซึ่งไดแก

อารมณ ความรูสึก ความคิด หรือจินตนาการของการประสานกันของทัศนธาตุ ซึ่งไดแก เสน

น้ําหนัก ที่วาง และลักษณะผิว เพื่อแสดงอารมณความรูสึกหรือความงามดวยรูปทรงเองโดยไม

ตองใหรูวารูปทรงนั้นเปนตัวแทนของสิ่งใดในธรรมชาติ 1

ในงานสรางสรรคงานของขาพเจานั้น ขาพเจาไดประมวลทบทวนความทรงจําจาก

อดีต ตั้งแตจําความไดจนถึงปจจุบัน จากเหตุการณตาง ๆ ที่ทําใหเกิดความรูสึกถึงเรื่องราวที่จะ

นําเสนอ และจากการสังเกตสิ่งแวดลอมตาง ๆ ที่อยูใกลตัวและที่ไดพบเห็นที่มีความหมายที่

สัมพันธกับเนื่อหาพอแยกเปนประเภทไดดังนี้

1 ชะลูด นิ่มเสมอ, องคประกอบของศิลป, พิมพครั้งที่ 6 (กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช

จํากัด, 2544), 307.

23

สิ่งที่มีอยูในธรรมชาติ - รังนกเปนสิ่งรองรับใหความอบอุนและความปลอดภัยกับไขและลูกนก

- รังมดเปนที่อยูอาศัยของมดจํานวนมาก เปรียบเสมือนบาน แหลงชุมชนสําหรับ

เปนที่อยูอาศัย

- การเลี้ยงลูกของแมสัตวตาง ๆ เชน แมไก การกก ปกปองลูกใหความรูสึกถึงความ

รัก ความอบอุน

- มือเปนสิ่งที่แมใชสัมผัสลูกทุกสิ่งทุกอยางเพื่อลูก ปกปองกันภัยอันตรายเลี้ยงดู

อุมชู โอบอุม ใหความรัก ความรักอบอุน

- ไข สื่อถึงความมีชีวิตที่บริสุทธิ์ เปนสัญลักษณของชีวิต

สิ่งที่มนุษยสรางขึ้น- บาน เปนที่อยูอาศัยใหความสุขสบายปลอดภัย

- เปล เปนของใชสําหรับเด็กใหความรูสึกของดูแลเอาใจใสใหความสุขสบาย

- แมพิมพและชิ้นงาน ประติมากรรมใหความรูสึกแทนการใหกําเนิดของพอแม

จากขอมูลที่กลาวมาและการคนควาเพิ่มเติมจากแหลงขอมูลตาง ๆ เพื่อใหเนื้อหา

สมบูรณและเปนสากลยิ่งขึ้น แลวนํามาเรียบเรียงสรุปเปนแนวความคิดในการสรางสรรคงาน

ประติมากรรม ดวยวิธีการ ดังนี้ คือ

1. การคนคิดรูปทรงดวยการคลี่คลาย ตัดทอน เพิ่มเติม และผสมผสานรูปทรงใหได

รูปทรงที่สามารถสื่อความหมายของเนื้อหา

2. การเจาะผังรูปทรงหนึ่งเขากับอีกรูปทรงหนึ่งหรือเรียกวาการแทรกรูปทรงเขาหากัน

(Intenpentrating form)

3. การยืดหรือขยายจากรูปทรงเดิม

4. การตัดทอนบางสวนของรูปทรงเดิมเพื่อใหเกิดรูปทรงใหม

5. การเจาะรูปทรงใหเกิดปริมาตรเวา (Negative Volume) ภายในรูปทรงหลัก

6. การเจาะรูปทรงพื้นที่วาง (Form of space)

7. การซอนรูปทรงใหเสื่อมล้ํากันและเกิดรูปทรงใหม (Overlaping Form)

24

ขั้นตอนการดําเนินการสรางสรรคในการดําเนินงานสรางสรรคของขาพเจาไดดําเนินการเปนขั้นตอน ดังนี้

1. ภาพราง 2 มิติ (Two Dimension Idia Sketch)

บางครั้งเรียกวา “ตนรางความคิด” ตนรางความคิดนี้เปรียบเสมือน การทดลองผิด

ทดลองถูก บนพื้นระนาบ 2 มิติ ในขนาดและทิศทางที่ตางกัน เพื่อคนหาความสมบูรณในตนราง

ความคิดนั้น บางครั้งศิลปนไดใชเวลาเปนอยางมากในการทดลองและคนหากลับไปกลับมาเปน

เวลานาน ระยะแรกความคิดคํานึงอาจเปนเพียงเงาลาง ๆ ตองรางรูปขึ้นมาเปนภาพกอน ราง

วาด ลบ เพิ่มแกไขพัฒนาขึ้นไปเรื่อย ๆ จนมโนภาพนั้น เริ่มกอขึ้นเปนภาพ 2

จิตนาการ, จินตภาพ (Imagination, Image) เมื่อมีจินตนาการ จิตภาพจะเกิดขึ้น

จินตภาพนี้มีทั้งจินตภาพภายในและจินตภาพภายนอก

จินตภาพภายใน คือ ภาพที่เกิดขึ้นภายในจิต เปนภาพที่ยังเห็นไมชัดเจนจับตอง

ไมได ตอเมื่อไดแสดงออกเปนจินตภาพภายนอก ซึ่งอาจเปนภาพรางหรือ งานศิลปะแลวจึงรับรูได

ดวยจักษุสัมผัส

วิธีการนี้เปนกระบวนการของการสรางสรรคในทัศนศิลป ที่เราจะเห็นไดจากสมุด

งานของศิลปนหลายคน เราจะเห็นวาศิลปนจะสรางงานไดสักชิ้นหนึ่ง กระบวนการจินตภาพ

จะตองดําเนินไปหลายขั้น ดวยภาพรางหรืองานวาดเสนหลายรูปทีเดียว เมื่อรูปทรงของ

จินตนาการ สมบูรณจนไมสามารถจะพัฒนาตอไปไดอีกแลว ก็หมายถึงวา ชีวิตของจินตนาการ

ชวงหนึ่งของศิลปนไดเติบโต เปนจินตภาพที่สมบูรณแลวอยางนาพอใจ 3

การรางภาพ 2 มิติ จึงเปนสื่อที่ดี สะดวก และงายที่สุด ในการจะจับ และถายทอด

ความคิดที่ผุดสวางในใจออกมาใหปรากฏดวยเทคนิค วิธีการที่เราถนัด อาจเปนดินสอ ปากกา

หรือแทงถานก็สามารถเปนเครื่องมือพาเราไปสูโลกของความคิด และจินตนาการใหเปนจริงได

2สุรศักดิ์ เจริญวงศ, “การวาดเสน,” ใน การอบรมศิลปะปฏิบัติขั้นพื้นฐาน การวาด

เสน และองคประกอบศิลป (2530), 45. อางถึงใน สุชาติ เถาทอง, วาดเสน (กรุงเทพ ฯ : โอ.เอส.

พริ้นติ้งเฮาส, 2536), 49.3 Graham Collier, Form, Space and Vision (New Jersey : n.d., 1972), 235.

อางถึงใน ชะลูด นิ่มเสมอ, องคประกอบของศิลปะ, พิมพครั้งที่ 6, (กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช

จํากัด, 2544), 309.

25

ภาพที่ 7 ภาพราง 2 มิติ เพื่อคนหารูปทรงประติมากรรม 1

26

ภาพที่ 8 ภาพราง 2 มิติ เพื่อคนหารูปทรงประติมากรรม 2

27

ภาพที่ 9 ภาพราง 2 มิติ เพื่อคนหารูปทรงประติมากรรม 3

28

ภาพที่ 10 ภาพราง 2 มิติ เพื่อคนหารูปทรงประติมากรรม 4

29

2. การสรางภาพจําลอง 3 มิติ (Three Dimension Sketch) ในการสรางสรรคงานประติมากรรมนั้น การไดรูปตนความคิดจากรูปทรง 2 มิติ ยัง

ไมเพียงพอในการที่จะนําไปขยายสรางเปนชิ้นงานจริง จําเปนตองนํารูปทรง 2 มิติ นั้น มาสราง

เปนรูปแบบ 3 มิติอีกครั้ง ซึ่งบางคนเรียกวา “รูปโครงขนาดเล็ก” เพื่อใหสามารถสํารวจตรวจสอบ

รูปทรงนั้นไดโดยรอบและสามารถจัดการแกไขเพิ่มเติม ตัดทอนรูปทรงนั้นไดตามตองการ กอนที่

จะนําไปสรางเปนผลงานจริง นับไดวาเปนการแกปญหาของรูปทรงใหเกิดความแนนอนมั่นในใน

การที่จะสรางผลงานจริงตอไป

ซึ่งในการสรางแบบจําลอง 3 มิตินี้ อาจใชวัสดุที่สามารถจัดการรูปทรงไดงาย เชน

ดินเหนียวดินน้ํามัน ขี้ผึ้ง ปูนปลาสเตอร ในการเลือกตัดสินใจใชวัสดุนี้ขึ้นอยูกับรูปทรงที่จะสราง

ถาเปนรูปทรงที่ซับซอนก็ควรเลือกใชดินเหนียว ดินน้ํามัน เพราะสามารถปรับเปลี่ยนรูปทรงได

งายกวา ปูนปลาสเตอร หลังจากนั้นจึงคอยสรางเปนปูนปลาสเตอร ดวยวิธีการแกะสลักแทงปูน

อีกที วิธีการนี้เทากับเปนการทดลองจําลองวิธีการสรางงานจริง เพราะไดปฏิบัติและแกปญหาดวย

วิธีการเดียวกัน ซึ่งเปนการนําไปสูความมั่นใจและลดปญหาในการปฏิบัติชิ้นงานจริง

ภาพจําลอง 3 มิติ หรือโครงสรางขนาดเล็ก จึงเปนชิ้นงานตนความคิด ชวยใหการ

ไตรตรองและคิดคํานึงของประติมากรใกลเคียงผลงานสําเร็จและเปนเครื่องนําทางตอไปสําหรับ

การสรางผลงานจริงในขั้นสุดทาย

30

ภาพที่ 11 แบบจําลอง 3 มิติ ประกอบการสรางประติมากรรม 1

31

ภาพที่ 12 แบบจําลอง 3 มิติ ประกอบการสรางประติมากรรม 2

32

ภาพที่ 13 แบบจําลอง 3 มิติ ประกอบการสรางประติมากรรม 3

33

ภาพที่ 14 แบบจําลอง 3 มิติ ประกอบการสรางประติมากรรม 4

34

หลักฐานที่ปรากฏในงานศิลปะของประติมากรและจิตรกรเอกของโลกหลายตอหลาย คน

ไดแก โรแดง มัวร หรือ มีเกลันเจโล ตางก็อาศัยจินตภาพ (Image) จากรูปโครงขนาดเล็กมากอน

ทั้งสิ้น เพราะความรูที่ไดจากรูปความคิดขางตนชวยกระตุนใหศิลปนเกิดจินตนาการอยางตอเนื่อง

ในการพัฒนาและคลี่คลายรูปโครงขนาดเล็ก หรือแบบรางใหกาวหนาอยางไมหยุดยั้ง อีกทั้งยัง

หลอหลอม มโนภาพ เพื่อผลิตผลงานอยางไรขอบเขตอีกดวย 4

แหลงวัสดุ (หิน) ที่นํามาสรางสรรคผลงานแหลงหินมีอยูมากมายหลายแหลงดวยกันทั้งเล็กใหญ แตละแหลงก็มีความแตกตาง

ของชนิดหินขึ้นอยูกับพื้นที่และวัตถุประสงคของผูดําเนินกิจการ ในที่นี้ขาพเจาจะขอกลาวเพียง

แหลงหินที่นํามาสรางสรรค งานประติมากรรมของขาพเจาเทานั้น

สระบุรี มีการทํากิจการเหมืองหินออน หินออนที่สระบุรี จะมีสีดํา เทา และขาว

ขาพเจาไดติดตอกับรานจําหนายผลิตภัณฑหิน ซึ่งมีหินใหเลือกอยางหลากหลายทั้งสี ลวดลาย หิน

บางชนิดทางรานไดสั่งซื้อจากแหลงอื่น เพื่อนํามาสรางผลิตภัณฑใหมีความหลากหลายนาสนใจ

ในที่นี้ยังมีบริการผาตัดหินใหไดขนาดตามตองการ และยังสามารถกลึงรูปทรงที่

สมมาตรและขัดผิวใหมันวาวเห็นสีสันและลวดลายของหินไดชัดเจนงดงาม เพราะมีเครื่องมือและ

อุปกรณที่พรอมระดับโรงงาน งานบางชิ้นสวนจําเปนตองอาศัยโรงงานเหลานี้จัดการให จะทําให

ทุนเวลาและไดผลตามตองการ ในราคาที่ไมสูงนัก

ปากชอง นครราชสีมา เปนแหลงหินทรายและหินแกรนิต มีหินใหเลือกหลายสี ตั้งแต

ขาว เขียวเทา ชมพู น้ําตาล แดง และเหลือง

ตําบลเขางู อําเภอเมือง จังหวัดราชบุรี เปนผูแทนจําหนายหินผลิตภัณฑตกแตงสวน

มีตนไม กระถางตาง ๆ ที่ขึ้นหนาขึ้นตา คือ หินสวยงาม มีหลากหลายชนิดมาก มีที่เปนรูปทรง

จากธรรมชาติ รูปทรงตาง ๆ ที่งดงาม มีทั้งที่เจียร ตัด ขัดผิว เห็น สีสันสวดลายที่สวยงามนาสนใจ

ขนาดตั้งแตเล็กน้ําหนักไมกี่กิโลกรัมจนถึงขนาดใหญ น้ําหนักเปนหลายตัน จากการสอบถาม

เจาของกิจการถึงที่มาของหินเหลานี้ไดความวา มีทั้งหินที่มีอยูในพื้นที่ และหินที่นํามาจากที่อื่น

เชน จากจังหวัดกาญจนบุรี

4 สุชาติ เถาทอง, ประติมากรรมหิน (เชียงใหม : บริษัท เดอะเกรทไฟนอารท จํากัด,

2549), 177.

35

บอลูกรังในเขตพื้นที่ที่อยูของขาพเจาเอง ตําบลหนองกระทุม และตําบลทุงหลวง

อําเภอปากทอ จังหวัดราชบุรี ในเขตพื้นที่แหงนี้มีการดําเนินกิจการ ขุดหิน ขุดดิน ทําบอลูกรัง

เพื่อนําไปใชในการถมพื้นที่การกอสราง สรางทาง เปนตน ในการนี้มักจะพบหินกอนขนาดใหญอยู

ดานบน และไมเปนที่ตองการของผูใช เจาของมักนํากองไวดานขางบอดานบน อาจมีผูมาขอซื้อ

เพื่อนําไปตกแตงสวน บาง เชนกัน แตจะขายกันในราคาที่ไมสูงนัก และถาเปนคนรูจักกันตองการ

เพียงกอนสองกอน ก็จะใหกันฟรี ๆ หินเหลานี้มักจะเปนหินทราย สีแดง บางครั้งก็พบสีเหลืองบาง

และจะมีอีกชนิดหนึ่ง คือ หินศิลาแรงมีเนื้อพรุนมาก แตก็สรางลักษณะผิวที่นาสนใจได

การดําเนินการแกะสลักหินในขั้นตอนนี้ถือเปนขั้นตอนการดําเนินงานที่สําคัญที่สุด คือ เปนชวงสุดทายที่จะได

ผลงานขั้นสําเร็จออกมา หลังจากที่ไดคัดเลือก หินที่เหมาะสมกับการแกะสลักไดแลว คือ ทั้งชนิด

ขนาด รูปทรง ก็จะไดเริ่มดําเนินการตามขั้นตอน ดังนี้

1. รางภาพ (รูปทรงที่ตองการแกะสลัก) ลงบนกอนหินโดย ดูทิศทางของรูปทรง จาก

ภาพจําลอง 3 มิติ โดยจะรางทีละดาน

2. สกัดสวนที่ไมตองการออก ใหเหลือเพียงสวนที่ตองการที่เปนรูปทรงสวนรวม ๆ

หยาบ ๆ จะจับรูปทรงใหเปนเหลี่ยม เพื่องายในการตรวจสอบรูปทรงดานตาง ๆ

3. ลบเหลี่ยมแตละดานสรางปริมาตรโคงตามรูปทรงที่ตองการ

ในการสกัด ขาพเจาจะใชเครื่องมือกลผสมกับเครื่องมือที่ใชมือรวมกัน โดยใชเครื่องมือ

กลใบตัด ตัดลงบนเนื้อหินสวนที่ตองการเอาออก เปนเสนแนวเรียงกันไปเรื่อย ๆ แตละเสนหางกัน

ประมาณ 1-3 ซม. ขึ้นอยูกับพื้นที่ ถาพื้นที่ใหญ กวางก็ใหมีความหางของเสนกวางตามสวน ถา

พื้นที่แคบเล็ก หรือเปนสวนที่สําคัญก็ใหระยะเสนชิดกัน มากกวาสวนความลึกของเสนแตละเสน

เชนเดียวกัน ถาเปนสวนที่ตองการสกัดความหนาออกจํานวนมาก ก็จะตัดความลึกของรองเสนให

ลึกมาก แตถาเปนสวนที่สําคัญก็จะตัดรองเสนใหตื้น หลังจากนั้นใชเครื่องมือที่ใชมือ (สิ่ว) สกัด

แนวรองเสนหินก็จะหลุดออกตามรอยรองที่ตัดไว ทําเชนนี้ไปเรื่อย ๆ จนถึงสวนและไดรูปทรงที่

ตองการ

ในกรณีที่ใชรูปทรงหินจากธรรมชาติ ที่มีรูปทรงและลักษณะผิวที่งดงามนาสนใจอยู

แลว เราก็จะจัดการแคสวนที่ตองการสรางรูปทรงภายในกอนรูปทรงธรรมชาตินั้นเทานั้น

การเก็บรายละเอียดและตกแตงผิวของชิ้นงาน การสรางลักษณะผิวใหกับงาน

ประติมากรรมหินนั้นนับวาเปนสวนที่ชวยเสริมใหงานนั้นนาสนใจเพิ่มขึ้น การสรางลักษณะผิวก็มี

ดวยกันหลายวิธี ขึ้นอยู กับความตองการของผูสรางสรรควา จะเลือกใชลักษณะผิวอยางไรให

36

เหมาะสมกับรูปทรงหรือบางพื้นที่ในรูปทรง เพื่อชวยสนับสนุนใหชิ้นงานมีความสมบูรณมากยิ่งขึ้น

โดยมีวิธีการตาง ๆ ดังนี้

การปลอยลักษณะผิวใหเหลือรองรอยของเครื่องมือ อาจเปนรองรอยของเครื่องมือกล

หรือ เครื่องมือที่ใชมือดวย ริ้วรอยของจังหวะ เสนตาง ๆ หรือถาตองการลักษณะผิวที่มีลักษณะ

เปนเม็ดคลายเม็ดทราย ก็ใชสิ่วปลายแหลม ตอกสรางลักษณะผิวนั้น

ถาตองการผิวเรียบเนียนก็จะใชเครื่องมือ ที่เรียกถวยเจียร จัดการรองรอยตาง ๆ ใหผิว

เรียบเนียน แลวใชหินขัดซ้ําอีกครั้งเพื่อขจัดริ้วรอยของเครื่องที่ยังหลงเหลืออยู

ในหินบางชนิดสามารถสรางลักษณะผิวใหมันแวววาวได และยังสามารถแสดงสีสัน

และลวด ลายของหินนั้นได ทํางานอยางเต็มที่ โดยการขัดจากหินขัด ปรับริ้วรอย พื้นผิวดานนอก

สุดเสียกอน จากนั้นขัดดวยกระดาษทรายน้ํา จากเบอรที่หยาบเปลี่ยนไปสูเบอรที่ละเอียดขื้นเรื่อยๆ

จนไดความเรียบเนียน เห็นสีสันของหินไดอยางเต็มที่ ในการขัดผิวตองใชน้ําเปนตัวรวมทุกครั้ง

เพราะน้ําจะเปนตัวชะใหผิวหินที่หลุดออกมาไปกันกับน้ํา ใหเหลือผิวหินสัมผัสกับกระดาษทราย

อยูตลอดเวลา เมื่อไดผิวที่เรียบเนียนมีสีสัน ลวดลายของหินแลว แตเมื่อทิ้งใหผิวแหงไปจากน้ํา

สีสันลวดลายตาง ๆ ก็จะจางลงไมแจมชัดเหมือนเดิม เรามีวิธีที่จะใหสีสัน เหลานั้น ปรากฎอยู

ตลอดไปไดดวยการใช WAX ขัดเปนขั้นตอนสุดทาย ก็จะไดผิวหินที่มันแวววาวสีสัน ลวดลาย

สดใสงดงาม นาสนใจอยูตลอดไป

37

บทที่ 4

การสรางสรรคและพัฒนาผลงานวิทยานิพนธ

การสรางสรรค คือ การสรางสัญลักษณ (Symbol) หนึ่งขึ้น เพื่อสื่อความหมาย

ความหมายที่ใชสื่อสารระหวางมนุษยในชีวิตประจําวันนั้น เราใชสัญลักษณธรรมดาที่เขาใจกันดีอยู

แลว แตศิลปะเปนการสื่อความหมายจากจิตใจสวนลึก จะตองใชสัญลักษณที่สรางขึ้นใหมให

เหมาะสม เปนสัญลักษณที่แสดงพุทธิปญญา หรืออารมณสะเทือนใจ จิตรกรรม ประติมากรรม ดนตรี

บทประพันธ ลวนเปนสัญลักษณ การประกอบกันของรูปทรงเรขาคณิต หรือ รูปทรงอิสระในศิลปะ

แบบนามธรรมเปนสัญลักษณ ตนไม ผลไม รูปคนในศิลปะแบบรูป ธรรมก็เปนสัญลักษณ เพราะ

ศิลปนเขียนเขียนรูปตนไมมิใชเพื่อแสดงตนไมในธรรมชาติ เขาใชมันเปนสัญลักษณของ อารมณ

หรือความคิดของเขาสัญลักษณในศิลปะจึงเปนสัญลักษณที่เกิดขึ้นใหมเปนสัญลักษณสวนตนของ

ศิลปน 1

เพื่อใหเห็นถึงความตอเนื่องในการพัฒนาผลงานของขาพเจาจึงขอนําผลงานชวงกอน

ผลงานวิทยานิพนธมาประกอบในที่นี้ดวย

1 ชะลูด นิ่มเสมอ, องคประกอบของศิลปะ, พิมพครั้งที่ 6 (กรุงเทพ ฯ : ไทยวัฒนา

พานิช จํากัด, 2544), 307.

38

ผลงานชวงกอนผลงานวิทยานิพนธ

ภาพที่ 15 ผลงานชวงกอนวิทยานิพนธ ชิ้นที่ 1

ชื่อผลงาน “รําลึกถึงพระคุณ พอ แม หมายเลข 1”

วัสดุ หินออน

ขนาด 40 x 57 x 85 ซม.

39

ภาพที่ 16 ผลงานชวงกอนวิทยานิพนธ ชิ้นที่ 2

ชื่อผลงาน “รําลึกถึงพระคุณ พอ แม หมายเลข 2”

วัสดุ หินออนและหินทราย

ขนาด 44 x 70 x 28 ซม.

40

ภาพที่ 17 ผลงานชวงกอนวิทยานิพนธ ชิ้นที่ 3

ชื่อผลงาน “รําลึกถึงพระคุณ พอ แม หมายเลข 3”

วัสดุ หินออนและหินออนสี

ขนาด 46 x 78 x 41 ซม.

41

ภาพที่ 18 ผลงานชวงกอนวิทยานิพนธ ชิ้นที่ 4

ชื่อผลงาน “รําลึกถึงพระคุณ พอ แม หมายเลข 4”

วัสดุ หินออน, หินปูน และหินทราย

ขนาด 45 x 85 x 63 ซม.

42

ภาพที่ 19 ผลงานชวงกอนวิทยานิพนธ ชิ้นที่ 5

ชื่อผลงาน “รําลึกถึงพระคุณ พอ แม หมายเลข 5”

วัสดุ หินปูนและหินออน

ขนาด 40 x 80 x 48 ซม.

43

ผลงานวิทยานิพนธ

ผลงานวิทยานิพนธชิ้นที่ 1วัสดุ ขาพเจาใชหินออนจากแหลงเขางู ประกอบกันกับ หินศิลาแรง จากบอลูกรังในเขต

พื้นที่

องคประกอบ ขาพเจาใชรูปทรงรี (Oval form) โดยรูปทรงดานบนจะเล็กสวนรูปทรง

ดานลางจะใหญกวาอยูในลักษณะหอหุมโอบกอดรูปทรงดานบนไวภายใน สวนโคงของรูปทรง

ดานบนและลางจะรับสัมพันธกันมองเปนรูปทรงเดียวกัน

ผลงานชิ้นนี้ขาพเจาไดความคิดมาจากการผสมผสานระหวางรูปทรงของ รังนกกับ

รูปทรง ชวงแขนถึงมือไดทําการ คลี่คลาย ตัดทอน รูปทรงใหเรียบงาย แตสามารถสื่อถึงความรูสึกที่

ตองการและเกิดจินตนาการรวมได ที่กําลังโอบอุมรูปทรงรีที่อยูดานบน ซึ่งเปนสัญลักษณแทน ชีวิตที่

เริ่มแรก ออนวัย ที่ตองการการดูแลปกปองอยางทะนุถนอม

เสนแทนของรูปทรงขาพเจาจัดวางใหอยูในแนวนอนซึ่งเปนเสนที่กลมกลืนกับแรงดึงดูด

ของโลก ทําใหรูสึก พักผอน เงียบเฉยสงบ และผอนคลายแมเสนแทนของรูปทรงสวนรวม จะดูนิ่งเฉย

เงียบสงบ แตเสนขอบของรูปทรงดานลางมีการเคลื่อนไหวขึ้นลง รวมถึงลักษณะผิวของศิลาแรง ทําให

รูสึกมีชีวิตชีวา ไมนิ่งจนเกินไป

ลักษณะผิว นับวาเปนสวนที่นาสนใจ พอ ๆ กับรูปทรงทีเดียว เพราะมีผลในเรื่องของ

องคประกอบ และความหมาย รวมถึงการแสดงคุณคาของวัสดุอยางเต็มที่ขาพเจาใชหินศิลาแรง ซึ่งมี

ความพรุนของเนื้อหิน ที่มีลักษณะเฉพาะตัว รอยพรุนจะมีทั้งขนาดเล็กและใหญ ผสมสลับกันไปใน

ลักษณะรูปทรงที่อิสระ ซึ่งในแงขององคประกอบ จะชวยลดความทึบตัน ทําใหรูสึกหนักอึดอัด ความ

พรุนของเนื้อหินดังกลาว ทําใหรูสึก เบาสบาย มีชองวาง ที่อากาศสามารถระบายถายเทเขาออกได

สวนในดานความหมาย ใหความรูสึกในเรื่องของ อายุไข ที่ผานกาลเวลามายาวนาน ดุจดังชีวิตของ

แมที่กําลังโอบกอดลูก ที่เปนรูปทรงอยูดานบนที่ฝงตัวลงภายในรูปทรงดานลาง ซึ่งขาพเจาใชหินออน

ที่มีคาน้ําหนักออน และมีลักษณะผิวที่เรียบเนียน ใหความรูสึกของชีวิตที่ออนวัย ลักษณะผิวของ

รูปทรงทั้งสองจะตัดกันทําใหนาสนใจ แตก็กลมกลืนกันดีดวย ลักษณะและอาการของรูปทรง

44

ภาพที่ 20 ผลงานวิทยานิพนธ ชิ้นที่ 1

ชื่อผลงาน “รําลึกถึงพระคุณ พอ แม หมายเลข 1”

วัสดุ หินออนและหินศิลาแรง

ขนาด 53 x 70 x 45 ซม.

45

ผลงานวิทยานิพนธ ชิ้นที่ 2วัสดุขาพเจาใชหินทรายรูปทรงธรรมชาติ จากแหลงบอลูกรังในพื้นที่ เปนรูปทรงคอนขาง

อิสระ มีขนาดของของความกวางและสูงมากกวาความหนา รูปทรงอิสระธรรมชาติ ใหความ หมาย

และความรูสึกกับขาพเจาเกี่ยวกับความ ความกวางใหญ ขยายออกอยางไร ขีดจํากัด

ขาพเจาไดจัดการสรางรูปทรงโคงในแนวตั้งในลักษณะรูปทรงไขที่ยืดออก และตัดครึ่ง

กลาง ๆ สองรูปทรง มีขนาดสูงต่ําแตกตางกันเล็กนอย จัดวางซอนกัน (Over lapping form) ในสวนที่

ซอนกันนั้นไดเกิดเปนรูปทรงเพิ่มขึ้นใหมอีก 1 รูปทรง (ดูภาพประกอบจากชวงภาพราง 2 มิติ)

จากแนวความคิดนี้ ขาพเจาไดนําไปจัดการลงบนกอนหินรูปทรงอิสระ โดยการสราง 2

รูปทรงแรกที่ซอนกันใหอยู ในลักษณะของปริมาตรเวา (Negative Volume) เปลรียบเสมือนแมพิมพ

2 ชิ้น ที่ถอดจากรูปทรงของชิ้นงานที่เปน Possitive ในตําแหนงของสวนที่ซอนกันขาพเจาไดสราง

รูปทรงในขนาดและลักษณะของสวนที่ซอนในลักษณะของ Possitive วางไวในตําแหนงนั้น จะเกิด

ความสัมพันธของรูปทรง 3 รูปทรงที่อยูในตําแหนงที่พอดี

นอกจากนี้ สี น้ําหนักของผิว และลักษณะผิว ของกอนที่เปนรูปทรงหลักที่เปนธรรมชาติ

อยูแลว คือ ภายนอกเปนลักษณะผิวที่หยาบตามรองรอยที่เกิดตามธรรมชาติ และมีสีเหลืองอม

น้ําตาล เมื่อขาพเจาจัดการสรางปริมาตร เวา เขาในเนื้อหิน สีภายในจะเปน สีหินทรายแดง ดวยการ

เจียร ในตําแหนงการซอน ขาพเจาใชหินทรายสีเหลือง ซึ่งจะทําใหเกิดความสัมพันธกับผิวภายนอก

ของกอนหลัก และสีผิวน้ําตาลแดงที่เปนรูปทรงปริมาตรเวา จะขับชิ้นที่เปน Possitive สีเหลืองให

เดนชัดออกมา

ในแงของความหมาย เปนรูปทรงสัญลักษณ ที่เปรียบพอแม ดังแมพิมพ ที่ใหกําเนิดลูก

ออกมาดังชิ้นงานประติมากรรม

46

ภาพที่ 21 ผลงานวิทยานิพนธ ชิ้นที่ 2

ชื่อผลงาน “รําลึกถึงพระคุณ พอ แม หมายเลข 2”

วัสดุ หินทรายแดงและหินทรายเหลือง

ขนาด 39 x 80 x 120 ซม.

47

ผลงานวิทยานิพนธชิ้นที่ 3วัสดุ ขาพเจาใชหินทรายแดง จากบอลูกรังพื้นบาน

องคประกอบ รูปทรง ขาพเจาไดพัฒนาจากรูปทรงไข โดยยืดรูปทรงใหมีความยาว และ

เปนเสนโคงโดยปลายทั้งสองดานโคงขึ้น ดูเคาโครง คลายตัวออน หรือ ดักแด ซึ่งตองการสื่อใหรูสึกถึง

การเกิดของชีวิตที่ยังออนวัย รูปทรงที่ประกอบขึ้นดวย เสนโคงตาง ๆ ให ความรูสึกของความนุมนวล

สุภาพ อิ่มเอิบ สบายเปลี่ยนแปลงได เลื่อนไหล ตอเนื่อง มีความกลมกลืน ในการเปลี่ยนทิศทาง

เคลื่อนไหวชา ๆ2

เสนแกนของรูปทรง ขาพเจารูปทรงใหอยูในทิศทางของเสนเฉียง ซึ่งใหความรูสึกของการ

เคลื่อนไหว มีชีวิต แต ถาเสนนี้อยูตามลําพัง จะรูสึกถึงความไมมั่นคงไดเหมือนกัน ขาพเจาใชรูปทรงรี

(ไข) ครึ่งซีก หนุนไวดานลางในจัดที่น้ําหนักทิ้งตัวไดพอดี ใหรูสึกถึงการเอนตัวพิงอยางสบาย

รูปทรงของปริมาตรเวา (Negative form) ขาพเจาไดสรางรูปทรงของปริมาตรเวา ฝงอยูใน

รูปทรงหลัก โดยมีเสนรอบรูปทรงที่มีความคดโคงตอเนื่อง มากกวารูปทรงหลักซึ่งใหความรูสึก

เคลื่อนไหวอยูภายในมากกวา สวนปริมาตรที่เวาเขาดานใน เปนลักษณะพื้นที่ที่เรียบเนียน อยูใน

รูปทรงที่มนโคง ใหความรูสึกที่สามารถพักอาศัยได อยางสบายและปลอดภัย

รูปทรงของพื้นที่วาง (Form of Space) สืบเนื่องมาจากรูปทรงของปริมาตรเวา เมื่อมอง

ดานขางจะเห็นเปนรูปทรงรี (รูปไข) (Oval form) โดยขาพเจาไดจัดการใหปริมาตรเวาดานบนทั้งสอง

ดานลึกกวาดานลาง จนเหลือเปนเสนใหความรูสึกของเสนแทนของรูปทรงภายนอก สวนดานลาง จะ

เหลือพื้นที่ไวกวางกวา ใหความรูสึกของการรองรับเก็บรักษาสวนที่อยูภายในใหอบอุน และปลอดภัย

ลักษณะผิว (Texture) ขาพเจาปลอยลักษณะผิวดานนอก ดวยรองรอยของเครื่องมือ แต

จัดการขัดผิวดานในใหเรียบเนียน มองในเรื่องขององคประกอบลักษณะผิวทั้งสองจะดูนาสนใจ คือไม

เรียบเนียมจนเกินไปจนทําใหดูเลี่ยน หรือมีแตลักษณะผิวที่หยาบกระดางไปทั้งหมด มองในดาน

ความหมายและความรูสึก ริ้วรอยลักษณะผิวภายนอกใหความรูสึกของการปกปองตอสูภัยอันตรายที่

จะมารบกวนสวนที่อยูภายใน ซึ่งมีความเรียบเนียนใหความรูสึกของความดีงาม ความออนวัย ที่

ตองการการทะนุถนอม

รูปทรงรีที่หนุนรูปทรงหลักอยูดานลาง ซึ่งสัมพันธกับรูปทรงของพื้นที่วางใหความรูสึก

และจินตนาการถึงการคลอดออกมาจากรูปทรงใหญ และไดกลับมาหนุนรูปทรงใหญ ใหรูสึกสบาย

และมั่นคงอีกครั้ง

2 ชะลูด นิ่มเสมอ, องคประกอบของศิลปะ, พิมพครั้งที่ 6 (กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนา พานิช

จํากัด, 2544), 35.

48

ภาพที่ 22 ผลงานวิทยานิพนธ ชิ้นที่ 3

ชื่อผลงาน “รําลึกถึงพระคุณ พอ แม หมายเลข 3”

วัสดุ หินทรายแดง

ขนาด 58 x 130 x 110 ซม.

49

ผลงานวิทยานิพนธ ชิ้นที่ 4วัสดุ ขาพเจาใชหินทราย รูปทรงอิสระ จากบอลูกรังเปนรูปทรงที่คอนขาง เปนสี่เหลี่ยม

ผืน ผา ที่ถูกลบมุมเหลี่ยม จนเรียบมนลักษณะผิวธรรมชาติ ถูกกะเทาะลอนออกเปนแหง ๆ

สลับกันไปกับสวนที่ไมถูกกะเทาะสีจะออนกวา เปนน้ําตาล แดงที่ออนเกือบขาว ชมพู มีสีดําของแร

ปรากฎอยูบางบางสวน

องคประกอบ ขาพเจาจัดการรูปทรงของหินใหอยูในแนวตั้ง ซึ่งก็จะใหความรูสึกของ

ความมั่นคงแข็งแรง แตก็ทําใหดูนิ่ง ขาพเจาไดสรางแนวของปริมาตรเวาไมลึกมากนัก เปนแนว

เฉียงไขวรูปทรงโดยรอบทั้ง 2 ดาน และสรางลักษณะผิวที่เปนริ้วเสนอยางสม่ําเสมอในปริมาตรเวา

นั้น ซึ่งจะทําใหเกิดความแตกตาง จากลักษณะผิวดานนอก ซึ่งปริมาตรเวาในแนวเฉียง และ

ลักษณะผิว จะทําใหเกิดการเคลื่อนไหว และมีชีวิตมากขึ้น

จากนั้นขาพเจาไดสรางปริมาตรเวารูปทรงไข (Oval form) ซอนเขาไปในปริมาตรเวา

ชั้นแรกอีกระยะหนึ่ง ซึ่งอยูในตําแหนงประมาณกึ่งกลาง จัดวางทิศทางของรูปทรงตรงขามกัน แนว

เฉียงแนวแรก

การตัดกันของทิศทางของรูปทรงทั้งสองคอนขางจะรุนแรง แตรูปทรงของไข ที่มีความ

โคงที่นุมนวล สามารถสรางความกลมกลืนใหคลายความขัดแยงลง และทําใหองคประกอบดูนาสนใจ

ยิ่งขึ้น

จากนั้นขาพเจาสรางรูปทรงของพื้นที่วาง (Form of space) ผสมกับปริมาตรเวา

บางสวน ภาย ใน รูปทรงไขนั้นอีกครั้ง เปนลักษณะรูปทรงของตัวออนรูปทรงของตัวออน ซึ่งทําใหดู

รูสึกเคลื่อนไหว และมีชีวิตอยูภายใน

นอกจากสวนตาง ๆ ในงานที่กลาวมา ผลของระยะของปริมาตรเวา ยังเปนสวนหนึ่งใน

การ นําสายตาใหเคลื่อนเขาสูภายในชิ้นงานเพิ่มอีกสวนหนึ่ง

50

ภาพที่ 23 ผลงานวิทยานิพนธ ชิ้นที่ 4

ชื่อผลงาน “รําลึกถึงพระคุณ พอ แม หมายเลข 4”

วัสดุ หินทรายแดง

ขนาด 47 x 64 x 95 ซม.

51

บทที่ 5

บทสรุป

ในการที่ไดกลับมาอยูกับพอ หลังจากการที่ตองจากบานไปตั้งแตวัยเด็ก ทําใหขาพเจา

ไดใกลชิด ไดรับความรัก ความอบอุน ความจริงใจ ทําใหขาพเจาเกิดความสํานึก รําลึกถึงพระคุณ

พอแม และตองการตอบแทนพระคุณนั้น ดวยการแสดงออกโดยการสรางสรรคงานประติมากรรม

ขึ้นในครั้งนี้ ถึงเปนเพียงแคสวนเสี้ยวเล็กนอย นอกจากนี้ ขาพเจายังหวังใหเปนสวนหนึ่งในการ

ปลุกจิตสํานึกตอสังคมใหหันกลับมาดูแลใหความเอาใจใสตอพอแม บุพการี ไมทอดทิ้งใหทาน

เหลานั้นตองโดดเดี่ยว ทุกขทรมานอยูผูเดียวดวยประการตาง ๆ

ในการสรางสรรค ในครั้งนี้ ขาพเจาไดใช วิธีการประมวล ทบทวน ความทรงจําจาก

อดีต จนถึงปจจุบันคนควาหาขอมูลเพิ่มเติม จากแหลงขอมูลตาง ๆ เพื่อใหเนื้อหาสมบูรณและเปน

สากลยิ่งขึ้น จากนั้นเรียบเรียงเนื้อหาเพื่อสรุปเปนแนวความคิดในการสรางสรรคงานประติมากรรม

ดวยขั้นตอนดังตอไปนี้คือ เริ่มคนหารูปทรงดวยรางภาพแบบจําลอง 2 มิติ ดวยการคลี่คลายตัด

ทอน เพิ่มเติม ผสมผสานรูปทรงใหไดรูปทรงที่สามารถ สื่อความหมายของเนื้อหาที่ตองการ

แสดงออก จากนั้นนําแบบจําลอง 2 มิติ มาสรางเปนแบบจําลอง 3 มิติในลักษณะวิเคราะห โดย

การปรับปรุง แกไข ลด ตัดทอนเพิ่มเติมสวนตาง ๆ เพื่อแกปญหารูปทรงโดยรอบ กอนที่จะนําไป

สรางเปนผลงานจริง จากนั้นกําหนดวัสดุ และเสาะหาวัสดุตามแหลงตาง ๆ เมื่อไดวัสดุตาม

ตองการ ขยายรูปทรงจากแบบจําลอง 3 มิติเปนผลงานจริง

ผลที่ไดจากการสรางสรรคงานประติมากรรมในครั้งนี้ คือ ประสบการณการทํางาน

และการแกปญหาที่นําไปใชในการสรางสรรคผลงานครั้งตอไป และที่เห็นเปนรูปธรรม คือ ผลงาน

สรางสรรค ประติมากรรมหินจํานวน 4 ชิ้น

จากผลการศึกษาและสรางสรรคงานประติมากรรมในครั้งนี้ เมื่อมีโอกาสไดแสดงผล

งานเปนการเผยแพรตอสาธารณชน จะทําใหสังคมไดรวมรับรูและชื่นชม งานประติมากรรม

ยังผลใหเกิดความสุขทางใจและเปนการปลุกจิตสํานึกตอสังคมผูเปนลูกหลาน ใหสํานึกถึงพระคุณ

พอแม บุพการี พรอม จะตอบแทนพระคุณนั้นทุกโอกาสอยางเต็มที่

52

ขาพเจามีความคิดและหวังที่จะเชิญชวนใหผูเปนลูกหลานไดรวมแสดงความสํานึกใน

พระคุณของพอแมและบุพการี ตามวิธีที่ตนเองถนัดและสามารถกระทําได นอกจากงานสรางสรรค

ประติมากรรมอาจจะเปนงานจิตรกรรม บทประพันธ หรือ ดนตรี เปนตน

ในการสรางสรรคงานประติมากรรมในครั้งนี้ ขาพเจาไดพบปญหาตาง ๆ และคิดวิธีที่

จะแกปญหาในครั้งตอไปดังนี้

ปญหาเรื่องระยะเวลา ควรมีการทําปฏิทินในการปฏิบัติงานและพยายามดําเนินการ

ตาง ๆ ใหทันตามกําหนดเวลาที่วางไว

ปญหาเรื่อง กําลังงาน เนื่องดวยเทคนิคแกะสลักหินเปนการจัดการกับวัสดุที่มีน้ําหนัก

และความแข็งแกรงมาก ดังนั้นควรฝกหรือหาบุคคลที่สามารถชวยการทํางานใหมีความคลองตัว

ปญหาเรื่อง เครื่องมือ และอุปกรณ จากขอจํากัดที่กลาวมาในการปฏิบัติงานแกะสลัก

หิน เครื่องมือ และอุปกรณ นับวาเปนสวนที่จําเปนและสําคัญ เพราะมีผลในการที่จะทําใหผลงาน

สําเร็จออกมาอยางมีคุณภาพตามกําหนดเวลาโดยสวัสดิภาพ

ปญหาเรื่องงบประมาณ อาจมีการหาทุนสนับสนุนตามแหลงเงินทุนตาง ๆ ดวย

เงื่อนไข ขอตกลงที่เปนไปได

53

บรรณานุกรม

เข็มรัตน กองสุข. “อนุสาวรียแหงความจํา”. ใน เสน สี ทรง แสง และ แรงสรางสรรค. 172

กรุงเทพฯ : พริ้นติ้ง จํากัด (มหาชน), 2539.

ชะลูด นิ่มเสมอ. องคประกอบของศิลป. พิมพครั้งที่ 6. กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช จํากัด,

2544.

นนทิวรรธน จันทนะผะลิน. “แมพระของลูก 2548 ปูนปลาสเตอร.” ใน นิทรรศการผลงาน

ประติมากรรมเชิดชูเกียรติ 3 ประติมากร. 13. ณ หอศิลป คณะจิตรกรรม ประติมากรรม

และภาพพิมพ มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตวังทาพระ, 15-30 ตุลาคม 2550.

ม.ป.ท., 2550.

พระธรรมโกศาจารย (พุทธทาสภิกขุ). กตัญูกตเวทีเปนรมโพธิ์รมไทรของโลก. กรุงเทพฯ:

ธรรมสภา, 2536.

. พระคุณของแมคือสันติภาพของโลก. กรุงเทพฯ : ธรรมสภา, ม.ป.ป.

พระธรรมโกศาจารย (ปญญานันทภิกขุ). “คํานํา”. ใน พอพระในบาน. กรุงเทพฯ : ธรรมสภา,

ม.ป.ป.

พระธรรมปริยัติเวที (สุเทพ ผุสสธม โม). “คํานํา”. ใน แมของลูก. กรุงเทพฯ : ธรรมสภา, ม.ป.ป.

พระธรรมปฎก (ป. อ. ปยุตโต). คุณบิดามารดาสุดพรรณนามหาศาล. กรุงเทพฯ : ธรรมสภา,

2546.

พระมหาไชยา จิตรหวัง. ลูกจาจําไดไหม. พิมพครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : ธรรมสภา, 2544.

พระมหาอุดม สารเมธี. กตัญูกตเวทิตาการรูจักตอบแทนคุณ. พิมพครั้งที่ 2. นครปฐม :

ระฆังทอง, 2548.

สุชาติ เถาทอง. วาดเสน. กรุงเทพฯ : โอ. เอส. พริ้นติ้ง เฮาส, 2536.

. ประติมากรรมหิน. เชียงใหม : เดอะเกรทไฟนอารท จํากัด, 2537.

สุรศักดิ์ เจริญวงศ. “การวาดเสน”. ใน การอบรมศิลปะปฏิบัติขั้นพื้นฐาน การวาดเสน และ

องคประกอบศิลป (2530), 45. อางถึงใน สุชาติ เถาทอง. วาดเสน. กรุงเทพ ฯ :

โอ. เอส. พริ้นติ้งเฮาส, 2536.

Department of Guide books for Foreign Tourists. The Hermitage. N.p. : 1976.

Read Herbert. Modern Sculpture. New York : n.d., 1964.

54

Roy Chondhury Sarbari. Bronze Sculture. Calcutta : n.p., n.d.

ภาคผนวก

56

ทัศนธาตุ

ทัศนธาตุ คือ ธาตุตาง ๆ ที่ศิลปนใชในการสรางรูปทรงเพื่อใหเห็นได ประกอบดวย

จุด เสน น้ําหนัก ที่วาง สีและลักษณะผิว

จุด เปนทาสเบื้องตนที่สุดของการเห็น มีมติเปนศูนย ไมมีความกวาง ความยาว หรือ

ความลึก

เสน คือ จุดที่ตอกันในทางยาว หรือรองรอยของจุดที่เคลื่อนที่ไป มีมิติเดียว คือ ความ

ยาว ทําหนาที่เปนขอบเขตของที่วาง ขอบเขตของสิ่งของ ขอบเขตของรูปทรง ขอบเขตของน้ําหนัก

ขอบเขตของสี ขอบเขตของสี ขอบเขตของกลุมรูปที่รวมกันอยู และเปนแกนหรือโครงสรางของ

รูปทรง

น้ําหนัก คือ ความแกของบริเวณที่สวางและบริเวณที่มืด หรือความออนแกของสีดํา

หรือสีอื่นที่ระบายลงไป นําหนักใหปริมาตรแกรูปทรง และใหความรูสึกหรืออารมณดวยการ

ประสานกันของตัวมันเอง น้ําหนักมี 2 มิติ คือ กวาง กับยาว

แบบรูปของที่วาง คือ ที่วางที่ถูกกําหนดดวยเสนใหมีรูปรางขึ้น ไดแก แผนของ

น้ําหนัก แผนราบที่มี 2 มิติ หรือ ประกอบเปน 3 มิติ และบริเวณที่วางที่เปนบวกเปนลบ

สี เปนทัศนธาตุหนึ่งที่มีคุณลักษณะของทัศนธาตุทั้งหลายรวมกันครบถวน คือ มีเสน

น้ําหนัก แบบรูปของที่วาง และลักษณะผิว นอกจากนั้น ยังมีคุณลักษณะพิเศษเพิ่มขึ้นอีก 2

ประการ คือ ความเปนสี และความจัดของสี

ลักษณะผิว คือ บริเวณพื้นที่ของสิ่งตาง ๆ ที่มีลักษณะตางกันเมื่อสัมผัสจับตอง เชน

หยาบ ละเอียด มัน ดาน ขรุขระ เรียบ ฯลฯ

ชนิดของหินสําหรับประติมากรรม

“หิน” มีรูปลักษณะและคุณลักษณะทางกายภาพที่หลากหลายมาก เหมาะสําหรับการ

เลือกไปใชสรางประติมากรรม ไดแก ชนิดของสี ความแข็ง – ความออน พื้นผิว – ลวดลาย เปนตน

สีของ หินจะประกอบดวยสีแดง น้ําตาล และเทา ไปจนถึงออกทางสีขาว น้ําเงินและเขียว หินมีทั้ง

ความแข็งแกรงและความออนนุมจนสามารถใชเล็บขีดขวนได อีกทั้ง พื้นผิวของหินบางชนิดมี

ลวดลายงามหลังจากไดรับการขัดแตงแลวเสร็จ บางชนิดมีแถว แนวเสน เปนดางเปนดวง หรือเปน

57

ลวดสีตาง ๆ กันไป ซึ่งคุณสมบัติดังกลาวตองไดรับการเอาใจใสดูแล เพื่อใหเกิดประโยชนตอการ

สรางสรรค ประติมากรรม

ชนิดของหินสําหรับประติมากรรม ตองพิจารณาถึงความหนาแนนของเนื้อหิน ขนาด

ปริมาตรหินที่มีความเหมาะพอดี และความแข็งแกรงสําหรับผูฝกหัดอาจเริ่มจากกอนหินที่มี

เนื้อออนนุมกอนแลวจึงคอยพัฒนาไปสูชนิดของหินมีเนื้อแข็งเพิ่มมากขึ้นโดยสามารถประมวลชนิด

ของหินที่นิยมนํามาสรางประติมากรรม ดังนี้

1. หินอะลาบัสเตอร หินยิปซัม (แคลซัลเฟต) มีเนื้อเปนสีขาวผองโปรงแสงหรือ

คอนขางโปรงแสง เนื้อออนจนสามารถตัดไดดวยเลื่อยมือ ขณะเมื่อแกะสลักจะเปนรอยขีดขวนได

งาย จะมีความคงทนตอเมื่ออยูในที่รม และตองอาศัยการเก็บรักษาอยางระมัดระวัง

2. หินสบู เปนหินแปรที่มาจากหินอัศนี มีสวนผสมของแมกนีเซียมอยูในเนื้อปริมาณ

มาก มีแรทัสก (Talc) อัดแนนในเนื้อลักษณะตาง ๆ เปนหินแกะสลักงาย เนื้อคลายเทียนไขเออน

ลื่นและขัดผิวใหมันไดดี หินสบูที่นํามาสลัก ไดแก “ หินอัลเบอลีน ” (alberene) หินพอต (pots)

หินสเตียไทน (steatite) เปนตน

3. หินปูน เปนผลึกหินมีลักษณะเปนเกล็ดรวมตัวกันเปนกอนมีแคลเซียมคารบอเนต

เปนสวน ประกอบหลัก มีสวนประกอบและแหลงที่เกิด เชนเดียวกับหินประเภทหินออน ซึ่งเปน

หินปูนที่เปลี่ยนรูปเมื่อไดรับความรอน สวนหินปูนมีเนื้อออนกวาและการสลัก ตัดหรือเจาะทําได

งายกวาหินออน เมื่อขัดมักจะไดผิวดาน ซึ่งตางไปจากหินออนจะมีผิวมันวาวหลังการขัด กรณี

หินปูนบางชนิดมีเนื้อแนนสีคอนขางสดเขม หรือมีลวดลายสวยงามมักเรียกกันในชื่อที่ใชเรียกออน

เชน หินออนเบทสวิล (Batesville Marble) และหินออนสีดํากับสีทองหินปูนสวนมากนิยมมาทํา

ประติมากรรมมักมีสีครีม และเทาแบบหินปูนอูลิติค (Oolitic) เชน หินปูนอินเดียนา และหินเคน

(Indiana Limestone & Caen Stone) ประกอบดวยเกล็ดของแคลเซียมคารบอเนตผนึกรวมกันมี

ลักษณะคลายไขปลาขนาดเล็ก ๆ สวนหินปูนฝรั่งเศสมีชื่อเสียงที่สุดในหมูประติมากร ทั้งในดาน

ความงาม และคุณสมบัติที่สะดวกในการทํางาน หินสีครีมชนิดมีชื่อเสียงของฝรั่งเศสมีหลายชนิด

เชน เออวีล โลตาแรงกา นอรมองโด เปอรง

หินปูนอิตาลี ชนิดคุณภาพดีจะมีสีดําจัด เนื้อเรียบ มีเสนริ้วสีทองหมน ๆ ลวดลาย

เปนระเบียบ ถาแบบคุณภาพต่ําจะมีเนื้อไปทางสีน้ําตาลหรือเทาแก และมีลวดลายยุงเหยิง หิน

ชนิดนี้บางครั้งเรียกวา “หินออนพอรโต” (Porto หรือ Portor) ซึ่งไดจากเหมืองพอรโตเวเนเรและ

จากเกาะพัลมาเรียที่อาวสเปเซีย สวนหินปูนอยางดีของอเมริกา ไดแก หินปูนอินเดียนา หินออน

58

เบสวิท หินสีเทานโปเลียนและหินปูนเท็กซัส (Napoleongray และ Texas Limestone) หินปูนชนิด

อื่น ๆ ไดแก ทูฟา (Tufa) ซึ่งเปนหินที่ใชในการแกะสลักประติมากรรมสมัยโบราณ

4. หินออน เปนผลึกของสารประกอบคารบอนของหินปูน (แคลเซียมคารบอเนต) เปน

หินเนื้อละเอียด แนน และผิวสามารถขัดใหมันได หินออนเปนหินปูนเปลี่ยนสภาพเนื่องจากความ

รอน ดังนั้น จึงมีสวนประกอบดวยเคมีเชนเดียวกับหินปูนเพียงแตตางกันที่รูปลักษณโครงสราง

ภายนอกเทานั้น หินออนมีดวยกันหลายชนิด และมีสีสันที่หลากหลาย มีการทําเหมือง อยูทั่วไปใน

โลก เชน ประเทศกรีซ มีหินออน ปาเรียน เพนเตลิก รอสโซแอนติโก และเอลูซีเนียน (Parian

marble, Pentelic marble, Rosso antico และ Eleusinian marble) สําหรับหินออนมีชื่อเสียง

ที่สุดที่มณฑล คารรารา ในอปวเนีย ประเทศอิตาลี มีเนื้อแนนละเอียดและมีสีตั้งแตขาวผองจนถึง

ขาวนวล ถาหินออนชั้นดีจะโปรงแสง มีเกล็ดคลายน้ําตาลในเนื้อหิน หินออนคารราราใชกันมา

ตั้งแตโบราณโดยเฉพาะในยุคกลาง และยุคฟนฟูศิลปวิทยา เชน ผลงานสวนใหญของมี เกลันเจโล

แกะสลักจากหินออนประเภทนี้

หินออนชั้นดีซื้อขายกันเพื่อใชแกะสลักประติมากรรมมี 2 เกรด คือ Italian Statuary

และ Bianco P. สวนหินออนของกรีก (Penteelic) อยูบริเวณเทือกเขาเพนเตลิกอน ใกลนคร

เอเธนส มีสีตั้งแตขาวไปจนถึงสีออกทางเทา ใชกันมาตั้งแตประมาณ 600 ป กอนคริสตกาล (ราว

57 ปกอนพุทธกาล) และเปนหินออนที่นิยมนํามาแกะสลักประติมากรรมและใชสรางโบสถวิหารกัน

สืบมาเปนเวลานาน วิหารพารเทนอน ก็สรางดวยหินออน เพนเตลิกนี้

5. หินทราย เปนหินมีรูพรุนซึ่งเกิดจากเม็ดทรายผนึกติดกันดวยสารซิลิกา หรือสาร

อื่นๆ เชน ออกไซดของเหล็ก ดินเหนียวหรือแคลไซท หินทรายมีลายชนิด สวนใหญแกะสลักไดงาย

ขณะขุดขึ้นมาจากเหมืองใหม ๆ ดวยเนื้อหินยังชุมน้ําอยู ซึ่งในเนื้อหินทรายจะเต็มไปดวยธาตุ และ

สารตาง ๆ ละลายอยู แตถากอนหินนี้ถูกอากาศนานเขา ความชื้นในเนื้อหินจะคอย ๆ ระเหยไป

เหลือแตแรธาตุตาง ๆ มีผลใหชวยกันจับยึดเนื้อหินจนแข็งตัว หินทรายสําหรับประติมากรอเมริกัน

นิยมนํา มาใช ไดแก หินสีน้ําตาล หินทรายแอมเฮอรส และหินดันวิลล (Brown sandtone,

Amhersts sandstone และ Dunville stone) สวนหินทรายในแถบเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต

แกะสลักประติมากรรม และ/หรือสรางสถาปตยกรรม (เทวสถาน , พุทธสถาน) ไดแก หินทรายออก

ทางสีชมพู สีเขียว และน้ําตาล

59

6. หินแกรนิต เปนหินเนื้อแข็งแนนประกอบดวยสารซิลิกาและซิลิเกต สลักไดยาก

กวาหินทราย และหินปูน เหตุที่นิยมนํามาใชเนื่องจากมีเนื้อแข็ง ทนทาน สามารถขัดมันและติดทน

นาน หินแกรนิตมีสีออกทางสีเทา สีแดง และมีลวดลายในเนื้อหินหินแกรนิตเมื่อขัดผิวจะเห็น

ลวดลายในเนื้อคลายการ “จาร” ตัวอักษรบนศิลารึก เชน อักษรฮิบรูหรืออักษรหรืออักษรลิ่ม เรียก

กันในนามหินแกรนิตของ ฮิบรู ในแถบเอเซียมีประเทศจีนและญี่ปุนนิยมแกะสลักประติมากรรม

ดวยหินแกรนิตมากตั้งแตชิ้นงานขนาดเล็กจนถึงวิหารหนาผาตาง ๆ สวนประเทศไทยหินแกรนิต

จะแข็งที่สุด ไดแก หินแกรนิตจากจังหวัดเลย มีสีขาวอมชมพู (ปจจุบันไมมีการผลิต) และ

หินแกรนิตที่นํามาใชกับการแกะสลักหินสวนใหญจะเปนแกรนิตนํามาจากจังหวัดตาก หินแกรนิต

จากจันทบุรี หรือนําเขาจากตางประเทศ

60

ประวัติผูวิจัย

ชื่อ – สกุล นายประดับ เต็มดี

ที่อยู 133 หมู 8 ตําบลหนองกระทุม อําเภอปากทอ จังหวัดราชบุรี 70140

ที่ทํางาน วิทยาลัยเทคนิคราชบุรี 433 ถนนศรีสุริยวงศ ตําบลหนาเมือง

อําเภอเมือง จังหวัดราชบุรี 70000

โทรศัพท 032 – 337228 ตอ 164

ประวัติการศึกษาพ.ศ. 2521 สําเร็จการศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ แผนกศิลปหัตถกรรม

พ.ศ. 2523 สําเร็จการศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง

แผนกประติมากรรม

พ.ศ. 2525 สําเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี (ศษ.บ)

ศิลปกรรม – ประติมากรรม

พ.ศ. 2540 Kala – Bhavana, Visva – Bharati, Santiniketan Advance

DiplomaSculpture ประเทศอินเดีย

พ.ศ. 2546 ศึกษาตอระดับปริญญามหาบัณฑิต สาขาประติมากรรม

บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร

ประวัติการทํางานพ.ศ. 2526-2542 อ.1 ระดับ 3 สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตภาคพายัพ

พ.ศ. 2542-ปจจุบัน ครู คศ. 2 วิทยาลัยเทคนิคราชบุรี

ประวัติการแสดงงาน- เปนสมาชิกกลุม โคจร

- เปนสมาชิกกลุม แปนเกล็ด

- เปนสมาชิกกลุม ผูสอนศิลปะวิทยาเขตภาคพายัพ

- รวมแสดงงาน นิทรรศการศิลปะในจังหวัดเชียงใหม

61

- รวมแสดงงาน นักศึกษาตางชาติ ณ Santiniketan ประเทศอินเดีย

- สงงานประกวด ศิลปกรรม โตชิบา แหงประเทศไทย

- สงงานประกวดศิลปกรรม ปตท. แหงประเทศไทย

- แสดงเดี่ยว ณ อหิงสา อารต แกลลอรี่ จังหวัดเชียงราย

- รางวัลดีเดน ศิลปกรรม ปตท. หัวขอเรื่อง “ทะเล”