การบ%หารโครงการ · 2017-10-12 ·...

52
การบหารโครงการ (Project Management)

Upload: others

Post on 03-Feb-2020

4 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

การบริหารโครงการ (Project Management)

การบริหารโครงการ1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโครงการ

–ความหมายโครงการ/ตัวอย่างโครงการ–ลักษณะของโครงการ–ความแตกต่างระหว่างแผนงาน(Program)และโครงการ(Project)

–วงจรการพัฒนาโครงการ2. ขั้นตอนการบริหารโครงการ

–การวางแผนโครงการ–การบริหารโครงการและควบคุมโครงการ–ปิดโครงการ–ประเมินผลการดำเนินงาน

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโครงการโครงการ(Project) หมายถึง- ข้อเสนอที่จะดำเนินงานในเรื่องใดเรื่องหนึ่งให้สำเร็จ โดยมีการตระเตรียมและวางแผนงานไว้ล่วงหน้า

- เป็นการจัดการเพื่อให้ได้ผลลัพธ์ในเรื่องหนึ่ง ในระยะเวลาใดเวลาหนึ่ง เช่น งานด้านวิจัยเรื่องหนึ่ง, การก่อสร้างถนน,การก่อสร้างเขื่อน,การฝึกอบรม

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโครงการตัวอย่าง โครงการทางวิศวกรรม• การก่อสร้างท่าเรือ• ยานอวกาศ• การก่อสร้างอาคาร• รถไฟใต้ดิน

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโครงการ• การสัมมนา /โครงการฝึกอาชีพ / การขุดรอกทางน้ำตัวอย่าง โครงการทางสังคม/วัฒนธรรม

• การจัดงาน / การแข่งกีฬา ฯลฯ

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโครงการ

Project

Time Cost

Quality

ลักษณะของโครงการ• มีวัตถุประสงค์ชัดเจน (เน้นผลลัพธ์)• มีกำหนดเวลาเริ่มต้นและสิ้นสุด• ดำเนินงานอยู่ภายใต้ข้อจำกัด เวลา ต้นทุน คุณภาพ

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโครงการ

• แผนงาน หนึ่งแผนจะประกอบด้วยโครงการมากกว่า1โครงการ

• แผนงาน เป็นการดำเนินงานระยะยาว(5-10ปี) ในขณะที่โครงการจะเป็นการดำเนินงานในระยะสั้น(ไม่เกิน5ปี)

• การวางแผนงาน จะมีกระบวนการดำเนินการทั่วทั้งองค์การ แต่การวางแผนโครงการจะจัดทำโดยหน่วยงานเดียว และจะจัดทำโครงการเพื่อสนับสนุนแผนงานหลัก

ความแตกต่างระหว่างแผนงาน(Program)และโครงการ Project

วงจรการพัฒนาโครงการ:1. ช่วงระยะก่อนการบริหารโครงการ

• เสาะหาโครงการ• การวิเคราะห์โครงการเบื้องต้น• ศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการ

• การประเมินโครงการและตัดสินใจ

2. ช่วงระยะการบริหารโครงการ• การวางแผนบริหารโครงการ• การติดตามควบคุมโครงการ• ปิดโครงการ• ประเมินผลการดำเนินงาน

3. ช่วงระยะการบำรุงรักษา• การรับประกันและบำรุงรักษา

1.วิเคราะห์โครงการ

2. การบริหารโครงการ

ปิดโครงการ

การวางแผน

3. การบำรุงรักษา

การติดตามควบคุม

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโครงการ

วิเคราะห์โครงการการวางแผนโครงการ ควบคุมติดตามโครงการ

บำรุงรักษาปิดโครงการ

จัดซื้อ

ประเมินผลกิจกรรมกิจกรรมกิจกรรม

บัญชี-การเงิน

วัตถุประสงค์

ช่วงระยะการบริหารโครงการช่วงระยะก่อนบริหารโครงการ

ช่วงระยะหลังบริหารโครงการ

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโครงการ

การใช้ทรัพยากรเพื่อบริหารโครงการ

ริเริ่มโครงการ

วางแผน

ดำเนินการโครงการ

ปิดโครงการ

ปริมาณทรัพยากร

เวลา

ปริมาณการใช้ทรัพยากร

(เงินทุน,แรงงาน,เครื่องจักร)

การวางแผนโครงการ❑ จุดมุ่งหมายของการวางแผน

– กำหนดงานที่จะต้องทำ– ป้องกันก่อนที่ปัญหาจะเกิดขึ้น– เตรียมเกณฑ์ที่จะตรวจสอบประเมินผล

❑ ปัจจัยที่ต้องคำนึงถึงในการวางแผน– ผลิตภัณฑ์ที่ต้องส่งมอบและคุณภาพงาน– เวลา– ทรัพยากร

❑ ขั้นตอนการวางแผนโครงการ● กำหนดวัตถุประสงค์และขอบเขตของงาน● ผลิตภัณฑ์/บริการที่ต้องส่งมอบและโครงสร้างงาน● การจัดองค์กรและการทำงาน

• การจัดองค์กร• ระบุความรับผิดชอบ• ระบบการบันทึกเวลา• ระบบการรายงาน

● กำหนดระบบการทำงานและระบบเอกสาร• ระบบการทำงาน

● ตารางเวลาและทรัพยากร• จะต้องทำงานอะไรบ้าง, ใช้เวลาเท่าไร,ใช้ทรัพยากรอะไร• ใช้ตาราง แกนท์ชาร์ต(Gantt Chart)

● วิเคราะห์ความเสี่ยง

การวางแผนโครงการ

การวางแผนโครงการ1.กำหนดวัตถุประสงค์

2.รายการส่งมอบและรายการโครงสร้างงาน

3.จัดองค์กรและการทำงาน

4.กำหนดระบบงาน-เอกสาร

แผนงาน(Project

5.ทำตารางเวลา

6.วิเคราะห์ความเสี่ยง

แผนหลัก(MainProject)แผนย่อย(SubProject)

ระบบข้อมูลและเอกสาร

x

ผจก.โครงการ

Y Z

WBS

งบประมาณ-ทรัพยากร

แผนแก้ปัญหา

การวางแผนโครงการ1. กำหนดวัตถุประสงค์และขอบเขตของงาน

– อธิบายถึงวัตถุประสงค์ของการดำเนินการเพื่อให้บรรลุผล เมื่อสิ้นสุดโครงการ

–กำหนดขอบเขตของงานว่า จะครอบคลุมถึงการทำงานด้านใด จากพื้นที่ใดถึงพื้นที่ใด

การวางแผนโครงการตัวอย่าง - กำหนดวัตถุประสงค์และขอบเขตของงานโครงการหมู่บ้าน/ชุมชนเฉลิมพระเกียรติปลอดยาเสพติดวัตถุประสงค์ของโครงการ• เพื่อรณรงค์ให้ประชาชนและทุกหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชนร่วมมือร่วมใจกันดําเนินการให้ชุมชนของตนอย่างน้อย 4,000 แห่งปลอดยาเสพติด โดยถวายเป็นพระกุศลเนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 6 รอบ 5 ธันวาคม 2542

การวางแผนโครงการ2. กำหนดผลิตภัณฑ์ที่จะต้องส่งมอบและระบุรายการโครงสร้างงาน–ระบุผลิตภัณฑ์(Product) เอกสาร (Documents) ระบบงาน (System) ที่จะต้องส่งมอบให้ชัดเจน

–กำหนดรายการโครงสร้างงาน(WBS:Work Breakdown Structure)

การวางแผนโครงการ• รายการโครงสร้างงาน(WBS) หมายถึง กลุ่มรายการงานที่ต้องทำภายในโครงการหนึ่งๆ งานใดที่ไม่ระบุในรายการโครงสร้างงาน งานนั้นจะอยู่นอกขอบเขตของโครงการ

• ลักษณะของรายการโครงสร้างงาน–มักแทนด้วยรูปผังต้นไม้(Tree Structure)– เป็นรายการงานที่ต้องส่งมอบของโครงการขนาดใหญ่ เช่น โครงการสร้างสนามบิน (กรณีโครงการเล็กได้แก่ กิจกรรมที่ต้องทำในโครงการ)

–ใช้เป็นรายการฐาน(Baseline)ในการควบคุมโครงการ–ใช้เพื่อมอบหมายงานให้ผู้รับผิดชอบ

การวางแผนโครงการตัวอย่าง รายการโครงสร้างงาน(WBS) สนามบินสุวรรณภูมิ

การวางแผนโครงการตัวอย่าง รายการโครงสร้างงาน(WBS) สนามบินสุวรรณภูมิ

ตารางเวลา

S T U

V X

Y แต่ละงานสามารถจะนำไปแตกย่อยเป็นกิจกรรมย่อยๆ เพื่อจัดทำตารางเวลาการทำงาน

LS-งานปรับพื้นที่

กิจกรรมS-ถมพื้นInputs - ทรายOutputs- พื้นที่ราบ Cost-23 ล้านSchedule-12 ก.ค.2545

S-ถมพื้นT-ขุดร่องน้ำU- ฝังท่อV- ราดยางยะตอยX- รถบดถนนY- ตีเส้นทาง

การวางแผนโครงการ

ตัวอย่าง - ระบุผลิตภัณฑ์ที่ส่งมอบโครงการมู่บ้าน/ชุมชนเฉลิมพระเกียรติปลอดยาเสพติด

รายการส่งมอบเมื่อสิ้นสุดโครงการ–รายชื่อชุมชนอย่างน้อย 4,000 แห่งได้รับการประกาศรับรอง

–ประชาคมเครือข่ายอย่างน้อย 4,000 แห่งได้รับการจัดตั้ง

–อาสาสมัครประจำหมู่บ้าน 4,000 แห่ง ผ่านการฝึกอบรม

การวางแผนโครงการตัวอย่าง รายการโครงสร้างงาน(WBS)

การวางแผนโครงการ3. การจัดองค์กร

– การจัดองค์กรคือ การจัดความสัมพันธ์ระหว่างคนกับหน้าที่ เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพมากที่สุดสำหรับโครงการหนึ่งๆ

– การจัดองค์กรในลักษณะโครงการ (Project Organization)• กลุ่มงาน/ทีมงาน (Taskforce,Working Team)• ผู้ประสานงาน (Project Coordinator)• องค์กรแบบโครงการถาวร (Pure Project

Organization)• องค์กรแบบ2มิติ (Matrix Organization)

การวางแผนโครงการ• กลุ่มงาน/ทีมงาน (Taskforce,Working Team)

ลักษณะ• เพื่อให้การทำงานประจำรวดเร็วขึ้น• ลักษณะงานชั่วคราว งานที่ต้องการความเร่งด่วน• งานไม่ซับซ้อน

ประธาน

ฝ่ายการตลาด-ขาย ฝ่ายโรงงาน ฝ่ายบัญชี-การเงิน

พนักงานขาย เจ้าหน้าที่ เจ้าหน้าที่ คนงาน พนักงานบัญชีเจ้าหน้าที่การเงิน

ทีมงานในหน่วยเดียว

กลุ่มแก้ไขปัญหา

การวางแผนโครงการ• ผู้ประสานงาน (Project Coordinator)

ประธาน

ฝ่ายคอมพิวเตอร์

ฝ่ายโรงงาน

ฝ่ายบริหาร

เจ้าหน้าที่

ผู้ประสานงาน

Projectโครงการจัดทำระบบคอมพิวเตอร์

ผจก.ฝ่ายMIS

หัวหน้าแผนกQC

ผจก.โรงงาน

เจ้าหน้าที่จัดซื้อ

เจ้าหน้าที่บัญชี

ลักษณะ• เพื่อให้เกิดการประสานงานให้โครงการสำเร็จ• ลักษณะงานเกี่ยวข้องกับหน่วยงานหลายหน่วย• โครงการต้องใช้เวลา

การวางแผนโครงการ• องค์การแบบโครงการถาวร (Pure Project

Organization)

โครงการก่อสร้างสนามบิน

ผ่ายจัดส่ง ฝ่ายวิศวกรรม

ฝ่ายจัดซื้อ

–ฝ่ายจัดส่ง

–เจ้าหน้าที่

–วิศวกร

–วิศวกร

–เจ้าหน้าที่จัดซื้อ

–เจ้าหน้าที่จัดซื้อ

ลักษณะ•เป็นการดำเนินการแบบโครงการใหญ่•โครงการซับซ้อน•โครงการต้องใช้เวลา•สลายตัวเมื่อโครงการเสร็จ

การวางแผนโครงการ• องค์การแบบ2มิติ (Matrix Organization)

ประธาน

ฝ่ายวิศวกรรม ฝ่ายจัดซื้อ

ผจก.โครงการ-1

ผจก.โครงการ-2

เจ้าหน้าที่จัดซื้อเจ้าหน้าที่จัดซื้อ

วิศวกร

วิศวกร

ฝ่ายโครงการ

ลักษณะ• โครงการซับซ้อน• มีโครงการเกิดขึ้นใหม่จำนวนมากและมีลักษณะคล้ายกัน

• บุคลากรย้ายคืนหน่วยงานเมื่อโครงการเสร็จ

• ต้องการรักษาบุคลากรให้มีความชำนาญ

การวางแผนโครงการปัจจัยในการพิจารณาในการจัดองค์การในโครงการขนาดและความ

ซับซ้อนมาก

น้อย

ปานกลาง

ระยะเวลาโครงการ&จำนวนโครงการใหม่

มากน้อย ปานกลาง

กลุ่มงาน/ทีมงานในแผนกเดียว

กลุ่มงาน/ทีมงานหลายแผนก

องค์การ2มิติ(ชั่วคราว)

องค์การ2มิติ(ถาวร)

จัดองค์การโครงการถาวร

การวางแผนโครงการ• การกำหนดบทบาทและหน้าที่ความรับผิดชอบ

–หน้าที่และบทบาท (Roles and Functions)–การกำหนดหน้าที่ความรับผิดชอบ (Allocation of

Responsibility) ตัวอย่างบทบาทในโครงการ• ผู้ดำเนินงาน,วิศวกร,นักวิจัย,ผู้ช่วยนักวิจัย&ข้อมูล,โปรแกรมเมอร์• ผู้จัดการโครงการ,ผู้รับผิดชอบโครงการ,ผู้ประสานงาน• เจ้าหน้าที่ทดสอบ,เจ้าหน้าที่ตรวจสอบคุณภาพ,เจ้าหน้าที่ควบคุมข้อมูล,เจ้าหน้าที่ควบคุมงบประมาณ,เจ้าหน้าที่จัดซื้อ

• นักออกแบบ,เจ้าหน้าที่วิเคราะห์,สถาปัตยกร,ครีเอทีฟ

Viable Systems Model (Stanfford Beer; VSM)

FutureEnvironmentสภาวะ/เงื่อนไขในอนาคต

Local Environmentสภาวะท้องถิ่น

Environmentสภาวะแวดล้อม

(ภายนอก)

S2Coordinationหน่วยประสาน

Controlหน่วยควบคุม

S3

Intelligenceหน่วย ข่าว-วิจัย-ออกแบบS4

Identityสิ่งยึดเหนี่ยว

S5

Auditสอบภายใน-ประเมินผล

S3*

ระบบบริหารงาน

องค์กร

Operational Elements หน่วยปฎิบัติระดับต่างๆ

S1สภาวะแวดล้อมการทำงาน

(ภายใน)

การติ

ดต่อ-สื่อ

สาร

S1S1

การควบคุมและติดตามโครงการ❑ หน้าที่ของผู้จัดการโครงการ

–วางแผนและปรับปรุงแผนโครงการ–ติดตาม ควบคุมให้งานเป็นไปตามแผนที่วางไว้

–ประสานงานกับทุกส่วนที่เกี่ยวข้อง–ช่วยเหลือติดตามดูแลการทำงานลูกทีม–สนับสนุนจัดหาสิ่งที่จำเป็นในโครงการ–แก้ไขปัญหาข้อขัดแย้งต่างๆ

การวางแผนโครงการ4. กำหนดระบบการทำงานและระบบเอกสาร

– ระบบเวลาทำงาน (Time Reporting)– ระบบการรายงาน (Reporting System)– ระบบเอกสาร (Document Management)

• ระบบการจัดเก็บเอกสารโครงการ (Project Library)• ระบบการจัดเก็บผลิตภัณฑ์ (Product Library)• ระบบหมายเลขเอกสาร (Document Layouts)• ระบบการเปลี่ยนแปลงเอกสาร (Configuration/Change

Management)• ระบบการจ่ายแจกเอกสาร (Information Distribution)

– แผนคุณภาพ• วิธีการในการทำงาน - วัสดุอุปกรณ์ที่ต้องใช้ - ผลลัพธ์ที่ต้องการ

การวางแผนโครงการ5. การกำหนดตารางเวลา

–จะต้องทำงานอะไรบ้าง– ใช้เวลาเท่าไร– ใช้ทรัพยากรอะไร

การกำหนดตารางเวลาโครงการ❑ จุดมุ่งหมายของการกำหนดตารางเวลาโครงการ– จะต้องทำงานอะไรบ้าง– ใช้เวลาเท่าไร– ใช้ทรัพยากรอะไร

❑ เครื่องมือที่ใช้ในการจัดทำตารางเวลา– Gantt Chart : by Henry Gantt–ประกอบด้วยกิจกรรมช่วงเวลา กราฟแท่งแนวนอน

– Precedence Diagram Method (PDM): by John W. Fondahl, Standford University

การกำหนดตารางเวลาโครงการลักษณะแผนผัง PDM

• ใช้กล่องสี่เหลี่ยมแทนงาน• ลูกศรจะแทนความสัมพันธ์ระหว่างงานในหลายๆชนิด

เสร็จหมายเลขชื่องาน

เวลาผู้รับผิดชอบ

ES

LS

EF

LFเริ่ม

ES=EarlyStart

LF=LateFinish

EF=EarlyFinish

LS=LateStart

TF=TotalFloat

การกำหนดตารางเวลาโครงการ

10

งานA3 นายB

20

งานC6 นายB

30

งานE4 นายB

25

งานD9 นายA

35

เสร็จ0 -

0 0 0 3

3 12

3 9 9 13

13 13

0 7

0 0 0 3

4 13

3 9

2 9

9 13

13 13

การวิเคราะห์ความเสี่ยงการวิเคราะห์ความเสี่ยง

– ความเสี่ยงคือ สิ่งที่มีโอกาสจะทำให้การดำเนินการโครงการล้มเหลว– ขั้นตอนการวิเคราะห์ปัญหา

• คำถามเพื่อประเมินความเสี่ยง• การกำหนดและประเมินความเสี่ยง• ประเมินระดับความเสี่ยง (ความเป็นได้ที่จะเกิดและความรุนแรง)• จัดทำแผนฉุกเฉินเพื่อป้องกัน/แก้ไขปัญหา

– การจัดการกับความเสี่ยง

• ดำเนินการทันที (Act)• ติดตาม (Watch)• โอนย้าย (Transfer)• มอบหมาย (Delegate)• จัดทำแผน (Strategize)

การวิเคราะห์ความเสี่ยงคำถามเพื่อการวิเคราะห์ความเสี่ยง

– กระบวนการบริหารโครงการ • มีการวางแผน• มีการปฏิบัติตามแผน• มีการจัดองค์กร• ประสบการณ์และความซับซ้อนของโครงการมากน้อย• การติดตามควบคุมมีตัวชี้วัดที่ดีหรือไม่• มีระบบควบคุมคุณภาพ ระบบควบคุมเอกสาร หรือไม่

– สภาพแวดล้อมในการบริหารโครงการ • ทัศนคติต่อระบบคุณภาพ• ขวัญกำลังใจของบุคลากร• การร่วมมือประสานงาน• การติดต่อสื่อสาร

– ข้อจำกัด• ข้อจำกัดด้านเวลา บุคลากร งบประมาณ สิ่งอำนวยความสะดวก• ความเกี่ยวพันกับโครงการอื่น

การวิเคราะห์ความเสี่ยง

ความน่าจะเป็น3-โอกาสสูง(75%) 2-อาจจะ(50%) 1-ไม่น่าเกิด(25%)

4-หายนะ สูงมาก สูง ปานกลาง3-รุนแรง สูง ปานกลาง ปานกลางต่ำ2-เล็กน้อย ปานกลาง ปานกลางต่ำ ต่ำ1-ไม่ต้องสนใจ ปานกลางต่ำ ต่ำ ต่ำมาก

ผลกร

ะทบ

การควบคุมและติดตามโครงการช่วงเริ่มดำเนินการ

–ดำเนินการติดตามโครงการตามจุดตรวจสอบ–ประเมินผลตามเกณฑ์การวัดผล

วันที แ่ล้วเสร็จจุดตรวจสอบ รายการ WBSแผน จริง ช้า/เร็วกว่าแผน

1. เริ ม่งาน 1.0 8 ก.ค. 412. งานทำสัญญา 2.3 14 ก.ค. 413. ส่งแบบเก็บข้อมูล 3.2 21 ก.ค. 414. ส่งมอบฐานข้อมูล 3.3 18 ส.ค. 41

การควบคุมและติดตามโครงการช่วงดำเนินโครงการ

– ติดตามการสื่อสารภายในโครงการ• ตารางการรายงาน• รายงานสถานภาพของกิจกรรมในโครงการ

– การประชุม• การประชุมเริ่มโครงการ (Kick off Meeting)• ประเภทการประชุม

– การประชุมภายในทีมงาน– การประชุมระหว่างกรรมการบริหารและทีมงาน–ประชุมแก้ปัญหาเฉพาะกิจ

• ความถี่ในการประชุม

การควบคุมและติดตามโครงการการติดตามดูแลโครงการ (Project Monitoring)

– การตรวจติดตาม(Audit)• การติดตามโดยผู้จ้าง• การตรวจติดตามในระดับโครงการเอง

– การวัดความก้าวหน้าระหว่างการดำเนินงาน• จัดทำโดยผู้จัดการโครงการ ทุกสัปดาห์ 1 เดือน 3 เดือน• วัดความก้าวหน้า ทบทวนปัญหา หาทางแก้ไขและป้องกัน

กระบวนการในการควบคุมและติดตามผล

ดำเนินการจริง

การควบคุมและติดตามโครงการ

ระบุสาเหตุ

ประชุมอนุมัติ

เริ่ม

รายงานความก้าวหน้าไม่มีปัญหา มีปัญหา

เขียนใบขอแก้ไข

แก้ไขปัญหา

P

D

C

A

Plan-Do-Check-Action

ตรวจสอบ

แผนงานฐาน(Base Line)

การควบคุมและติดตามโครงการ

• กระบวนการแก้ไขปัญหา– การระบุปัญหา– รวบรวมข้อมูล– วิเคราะห์หาสาเหตุ– ทำแผนปฏิบัติ– กำหนดทางเลือกในการแก้ไขปัญหา– เลือกทางแก้ไขที่ดีที่สุด– นำแผนไปปฏิบัติ– ประเมินผลการแก้ไข

P

D

C

A

Plan-Do-Check-Action

การแก้ไขปัญหาและการจัดการความขัดแย้ง

การควบคุมและติดตามโครงการ• ความขัดแย้งในโครงการ

– สาเหตุ1. ความแตกต่างระหว่างบุคคล อายุ ประสบการณ์

พื้นฐาน ความรู้2. บุคลิกภาพ3. ทัศนคติ4. เป้าหมายของโครงการไม่เห็นชอบร่วมกัน5. ความรับผิดชอบไม่ชัดเจน6. ความไม่ไว้วางใจซึ่งกันและกัน

– ประเภทความขัดแย้ง• ความขัดแย้งระหว่างผู้ว่าจ้างและผู้รับจ้าง• ความขัดแย้งภายในโครงการ• ความขัดแย้งระหว่างกลุ่ม

– การจัดการความขัดแย้ง• กำหนดหน้าที่ให้ชัดเจน• กำหนดบทบาทในทีม• กำหนดบทบาทโดยการปรึกษาหารือ• แก้ไขปัญหาความขัดแย้งระหว่างกลุ่ม

– ความตึงเครียดในโครงการ• สาเหตุ• หาวิธีการจัดการกับความตึงเครียด

การควบคุมและติดตามโครงการ

การปิดโครงการ• รูปแบบการปิดโครงการ

– การปิดโครงการเมื่อแล้วเสร็จตามแผน

– การปิดโครงการกลางคัน– การปิดโครงการเดิม และเปิดโครงการใหม่

ขั้นตอนการปิดโครงการ

ข้อกำหนดงานแล้วเสร็จ

ประชุมปิดงาน

ยอมรับงานส่งมอบ

จัดทำรายงานปิดโครงการ/ประเมินผล

โครงการ

โครงการเสร็จสมบูรณ์

การประเมินผลโครงการการประเมินผลโครงการ (Project Evaluation) หมายถึง“การใช้วิธีการทางวิทยาศาสตร์ เพื่อให้ได้มาซึ่งสารสนเทศ อันจะนำไปสู่การตัดสินใจ (Decision Based) หรือการวินิจฉัยคุณค่า (Value Based) ของโครงการ”

การประเมินผลโครงการวัตถุประสงค์– เพื่อให้ได้การรับรองวิทยฐานะ (Accreditation System)– เพื่อให้ได้รับการสนับสนุนงบประมาณอย่างพอเพียง– ช่วยให้การใช้ทรัพยากรเกิดประโยชน์เต็มที่ (Efficiency)– เพื่อให้ได้สารสนเทศที่สำคัญสำหรับช่วยผู้บริหารในการตัดสินใจ

– ช่วยให้โครงการบรรลุวัตถุประสงค์ หรือครบถ้วนตามกระบวนการของการวางแผนโครงการ

– ช่วยในการควบคุมคุณภาพของโครงการ– เพื่อให้ทราบผลผลิต หรือผลกระทบจากโครงการ

ขั้นตอนการประเมินผลโครงการขั้นตอนการจัดทำระบบการประเมินผลโครงการ1. กำหนดผลสัมฤทธิ์ที่ต้องการ(ช่วงวางแผนโครงการ)

2. กำหนดตัวชี้วัดความสำเร็จของงาน (ช่วงวางแผนโครงการ)3. กำหนดวิธีการรวบรวมข้อมูล (ช่วงวางแผนโครงการ)4. กำหนดมาตรฐานการปฏิบัติงาน (ช่วงวางแผนโครงการ)5. รายงานผลสัมฤทธิ์ (ช่วงสิ้นสุดโครงการ)6. ใช้ประโยชน์ข้อมูลจากการประเมินผลโครงการ (ช่วงสิ้นสุด

โครงการ)

หลักการประเมินผลโครงการแบบRBM (Result Based Management)

โครงการ

วัตถุประสงค์ ปัจจัยนำเข้า

กิจกรรม ผลผลิต ผลลัพธ์

ประหยัดความมี

ประสิทธิภาพความมีประสิทธิผล

หลักการประเมินผลโครงการแบบRBM (Result Based Management)

• ความประหยัด (Economy)– การใช้ทรัพยากรน้อยที่สุดในการผลิต โดยใช้ปัจจัยนำเข้า

(Inputs) ด้วยต้นทุนต่ำที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้• ความมีประสิทธิภาพ (Efficiency)

– การเปรียบเทียบระหว่างปัจจัยนำเข้า(Inputs) กับผลผลิต(Outputs) ได้แก่ การสร้างผลผลิตในระดับที่สูงกว่าปัจจัยนำเข้า ความมีประสิทธิภาพวัดได้จาก การนำปัจจัยนำเข้าหารด้วยผลผลิต (Outputs)

• ความมีประสิทธิผล (Effectiveness)– การเปรียบเทียบวัตถุประสงค์กับผลลัพธ์ของโครงการ (ระดับการบรรลุวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้)

ขอบคุณสำหรับการรับฟัง