ศรีบุญทอง...

1
ศรีบุญทอง ทองอินทร์ สาขาวิชาสถิติประยุกต์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี อาเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี 34000 การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาถึงพฤติกรรมและเปรียบเทียบการใช้ เฟซบุ๊ก (Facebook) ของนักศึกษาคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏ อุบลราชธานี จาแนกตามเพศ ชั้นปี และสาขาวิชา ตัวอย่างท่ใช้ในการวิจัย คือ นักศึกษาคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี จานวน 305 คน โดยวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้นภูมิ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ แบบสอบถาม โดยมีความเชื่อมั่นทั้งฉบับเท่ากับ .918 ทาการวิเคราะห์ข้อมูล ด้วยโปรแกรมสาเร็จรูปทางสถิติ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าร้อย ละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน t- test independent และ F-test ผลการวิจัยพบว่า พฤติกรรมการใช้เฟซบุ๊ก (Facebook) ของนักศึกษาคณะ วิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานีโดยภาพรวมอยู่ในระดับปาน กลาง บทคัดย่อ บทนา การสื่อสารในเครือข่ายสังคมออนไลน์ได้มีบทบาทอย่างมากในปัจจุบัน โดยเฉพาะกับกลุ่มนักศึกษาซึ่งเป็นวัยรุ่นที่นิยมเปิดรับเทคโนโลยีใหม่ๆอยูเสมอ เทคโนโลยีทางการสื่อสารอย่างเครือข่ายสังคมออนไลน์แบบเฟซบุ๊ก (Facebook) นั้นมีข้อดีคือการสร้างความความสัมพันธ์ทางการสื่อสารใน รูปแบบใหม่ที่ไม่ได้จากัดเฉพาะแต่การสนทนาซึ่งกันและกันเท่านั้น แต่ยังเป็น การสร้างความสัมพันธ์ระหว่างเพื่อน ลดช่องว่างทางระยะทางและเวลาเพราะ ทาให้เราได้พบเพื่อนใหม่รวมถึงพบเพื่อนเก่าๆที่ไม่ได้ติดต่อกันมานาน ทาให้ การสื่อสารง่ายและรวดเร็วมากขึ้น วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาพฤติกรรมการใช้ เฟซบุ๊ก (Facebook)ของนักศึกษาคณะ วิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี 2. เพื่อเปรียบเทียบพฤติกรรมการใช้ เฟซบุ๊ก (Facebook) ของนักศึกษาคณะ วิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี วิธีการทดลอง กลุ่มเป้าหมายคือ นักศึกษาคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏ อุบลราชธานี กาหนดขนาดตัวอย่างโดยใช้สูตรของ Taro Yamane ได้จานวน 305 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลคือ แบบสอบถาม ผู้วิจัยได้นา เนินการแจกแบบสอบถามที่คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏ อุบลราชธานี โดยวิธีการแจกแบบสอบถามให้นักศึกษาคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานีเป็นผู้ตอบแบบสอบถามเอง ผลการวิจัย วิจารณ์ผลการวิจัย นักศึกษาคณะวิทยาศาสตร์ มีพฤติกรรมการใช้เฟซบุ๊กโดยภาพรวมอยู่ใน ระดับปานกลาง ซึ่งจะมีความถี่ในการใช้เฟซบุ๊กอยู่ทุกวันโดยใช้ระยะเวลาใน การใช้มากกว่า 2 ชั่วโมง ดังนั้นการติดต่อสื่อสารผ่านทางเฟซบุ๊ก จึงเป็นอีก ช่องทางที่ใช้ในการสื่อสารกับนักศึกษาคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏ อุบลราชธานี เพราะจากผลการวิจัยนักศึกษาคณะวิทยาศาสตร์ใช้เฟซบุ๊กอยูทุกวัน สรุปผลการวิจัย พฤติกรรมการใช้เฟซบุ๊ก (Facebook) ของนักศึกษาคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานีโดยภาพรวมอยู่ในระดับปานกลางและเมื่อ พิจารณารายด้านพบว่า นักศึกษาคณะวิทยาศาสตร์มีพฤติกรรมการใช้เฟซบุ๊ก (Facebook) ด้านการรับรู้ถึงความเสี่ยงและด้านการแสดงออกอยู่ในระดับ มาก และนักศึกษาคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี ที่มี เพศ ชั้นปี และสาขาวิชาต่างกัน มีพฤติกรรมการใช้เฟซบุ๊ก (Facebook) ไม่ แตกต่างกันที่ระดับนัยสาคัญ 0.05 กิตติกรรมประกาศ ขอขอบพระคุณ คณาจารย์สาขาวิชาสถิติประยุกต์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัย ราชภัฏอุบลราชธานีทุกท่าน ที่กรุณาตรวจสอบให้คาแนะนาและข้อเสนอแนะจนทา ให้งานวิจัยครั้งนี้สาเร็จได้สมบรูณ์ เอกสารอ้างอิง 1. ข้อดีและข้อเสียของFacebook. (ออนไลน์) 2553 (อ้างเมื่อ 18 ธันวาคม 2557). จากhttp://www.nightsiam.com/forum/index.php?topic=3426.0;prev_next =prev#new 2. วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี. เฟซบุ๊ก. (ออนไลน์) 2557 (อ้างเมื่อ 18 ธันวาคม 2557). จากhttp://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%80%E0%B8%9F%E0%B8 %8B%E0%B8%9A%E0%B8%B8%E0%B9%8A%E0%B8%81 3. ภาณุวัฒน์ กองราช. การศึกษาพฤติกรรมการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ของ วัยรุ่นในประเทศไทย : กรณีศึกษา Facebook. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตร มหาบัณฑิต สาขาการบริหารเทคโนโลยี วิทยาลัยนวัตกรรมมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. 2554. ด้าน เพศชาย เพศหญิง t P n S.D n S.D ความหลงใหลจนผิดปกติ 36 3.09 1.08 269 3.21 1.03 -0.67 0.57 การติดการใช้งาน 36 2.86 1.08 269 2.92 1.04 -0.40 0.59 การรับรู้ถึงความเสี่ยง 36 3.50 0.93 269 3.68 0.89 -1.12 0.29 การรับรู้ถึงความเพลิดเพลิน 36 3.08 1.25 269 3.04 1.12 0.22 0.73 อิทธิพลทางสังคม 36 3.26 1.08 269 3.29 1.09 -0.29 0.41 การแสดงออก 36 3.48 0.77 269 3.70 0.87 -1.44 0.18 การรับรู้ถึงความกังวล 36 2.34 1.00 269 2.14 1.06 1.08 0.29 x x ตารางที่ 1 เปรียบเทียบความแตกต่างของพฤติกรรมการใช้เฟซบุ๊กจาแนก ตามสถานภาพด้านเพศ ตารางที่ 2 เปรียบเทียบความแตกต่างของพฤติกรรมการใช้เฟซบุ๊กจาแนก ตามสถานภาพด้านชั้นปี ด้าน F P-value ความหลงใหลจนผิดปกติ 1.53 .26 การติดการใช้งาน 1.89 .32 การรับรู้ถึงความเสี่ยง 0.87 .52 การรับรู้ถึงความเพลิดเพลิน 1.02 .43 อิทธิพลทางสังคม 1.11 .35 การแสดงออก 0.66 .62 การรับรู้ถึงความกังวล 1.23 .40 ตารางที่ 3 เปรียบเทียบความแตกต่างของพฤติกรรมการใช้เฟซบุ๊กจาแนก ตามสถานภาพด้านสาขาวิชา ด้าน F P-value ความหลงใหลจนผิดปกติ 1.75 .30 การติดการใช้งาน 0.94 .73 การรับรู้ถึงความเสี่ยง 0.40 .47 การรับรู้ถึงความเพลิดเพลิน 1.03 .53 อิทธิพลทางสังคม 0.62 .67 การแสดงออก 0.42 .10 การรับรู้ถึงความกังวล 0.79 .25 x

Upload: others

Post on 18-Nov-2020

0 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: ศรีบุญทอง ทองอินทร์nestc.sci.ubu.ac.th/2015/upload/Poster/N2015015.pdf · 2015. 2. 9. · วิกิพีเดียสารานุกรมเสรี

ศรีบุญทอง ทองอินทร์สาขาวิชาสถิติประยุกต์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี อ าเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี 34000

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาถึงพฤติกรรมและเปรียบเทียบการใช้ เฟซบุ๊ก (Facebook) ของนักศึกษาคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี จ าแนกตามเพศ ชั้นปี และสาขาวิชา ตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ นักศึกษาคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี จ านวน 305 คน โดยวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้นภูมิ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ แบบสอบถาม โดยมีความเชื่อมั่นทั้งฉบับเท่ากับ .918 ท าการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรมส าเร็จรูปทางสถิติ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน t- test independent และ F-testผลการวิจัยพบว่า พฤติกรรมการใช้เฟซบุ๊ก (Facebook) ของนักศึกษาคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานีโดยภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง

บทคัดย่อ

บทน าการสื่อสารในเครือข่ายสังคมออนไลน์ได้มีบทบาทอย่างมากในปัจจุบัน โดยเฉพาะกับกลุ่มนักศึกษาซึ่งเป็นวัยรุ่นที่นิยมเปิดรับเทคโนโลยีใหม่ๆอยู่เสมอ เทคโนโลยีทางการสื่อสารอย่างเครือข่ายสังคมออนไลน์แบบเฟซบุ๊ก(Facebook) นั้นมีข้อดีคือการสร้างความความสัมพันธ์ทางการสื่อสารในรูปแบบใหม่ที่ไม่ได้จ ากัดเฉพาะแต่การสนทนาซึ่งกันและกันเท่านั้น แต่ยังเป็นการสร้างความสัมพันธ์ระหว่างเพื่อน ลดช่องว่างทางระยะทางและเวลาเพราะท าให้เราได้พบเพื่อนใหม่รวมถึงพบเพื่อนเก่าๆที่ไม่ได้ติดต่อกันมานาน ท าให้การสื่อสารง่ายและรวดเร็วมากข้ึน

วัตถุประสงค์ของการวิจัย

1. เพื่อศึกษาพฤติกรรมการใช้ เฟซบุ๊ก (Facebook)ของนักศึกษาคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี2. เพื่อเปรียบเทียบพฤติกรรมการใช้ เฟซบุ๊ก (Facebook) ของนักศึกษาคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี

วิธีการทดลองกลุ่มเป้าหมายคือ นักศึกษาคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี ก าหนดขนาดตัวอย่างโดยใช้สูตรของ Taro Yamane ได้จ านวน 305 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลคือ แบบสอบถาม ผู้วิจัยได้น าเนินการแจกแบบสอบถามที่คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี โดยวิธีการแจกแบบสอบถามให้นักศึกษาคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานีเป็นผู้ตอบแบบสอบถามเอง

ผลการวิจัย

วิจารณ์ผลการวิจัย

นักศึกษาคณะวิทยาศาสตร์ มีพฤติกรรมการใช้ เฟซบุ๊กโดยภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง ซึ่งจะมีความถี่ในการใช้เฟซบุ๊กอยู่ทุกวันโดยใช้ระยะเวลาในการใช้มากกว่า 2 ชั่วโมง ดังนั้นการติดต่อสื่อสารผ่านทางเฟซบุ๊ก จึงเป็นอีกช่องทางที่ใช้ในการสื่อสารกับนักศึกษาคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี เพราะจากผลการวิจัยนักศึกษาคณะวิทยาศาสตร์ใช้เฟซบุ๊กอยู่ทุกวัน

สรุปผลการวิจัยพฤติกรรมการใช้ เฟซบุ๊ก (Facebook) ของนักศึกษาคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานีโดยภาพรวมอยู่ในระดับปานกลางและเมื่อพิจารณารายด้านพบว่า นักศึกษาคณะวิทยาศาสตร์มีพฤติกรรมการใช้เฟซบุ๊ก(Facebook) ด้านการรับรู้ถึงความเสี่ยงและด้านการแสดงออกอยู่ในระดับมาก และนักศึกษาคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี ที่มีเพศ ชั้นปี และสาขาวิชาต่างกัน มีพฤติกรรมการใช้ เฟซบุ๊ก (Facebook) ไม่แตกต่างกันที่ระดับนัยส าคัญ 0.05

กิตติกรรมประกาศ

ขอขอบพระคุณ คณาจารย์สาขาวิชาสถิติประยุกต์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานีทุกท่าน ที่กรุณาตรวจสอบให้ค าแนะน าและข้อเสนอแนะจนท าให้งานวิจัยครั้งนี้ส าเร็จได้สมบรูณ์

เอกสารอ้างอิง1. ข้อดีและข้อเสียของFacebook. (ออนไลน์) 2553 (อ้างเมื่อ 18 ธันวาคม 2557). จากhttp://www.nightsiam.com/forum/index.php?topic=3426.0;prev_next=prev#new2. วิกิพเีดีย สารานุกรมเสรี. เฟซบุ๊ก. (ออนไลน์) 2557 (อ้างเมื่อ 18 ธันวาคม 2557). จากhttp://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%80%E0%B8%9F%E0%B8 %8B%E0%B8%9A%E0%B8%B8%E0%B9%8A%E0%B8%813. ภาณุวัฒน์ กองราช. การศึกษาพฤติกรรมการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ของวัยรุ่นในประเทศไทย : กรณีศึกษา Facebook. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหารเทคโนโลยี วิทยาลัยนวัตกรรมมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. 2554.

ด้านเพศชาย เพศหญิง

t Pn S.D n S.D

ความหลงใหลจนผิดปกติ 36 3.09 1.08 269 3.21 1.03 -0.67 0.57การติดการใช้งาน 36 2.86 1.08 269 2.92 1.04 -0.40 0.59การรับรู้ถึงความเสี่ยง 36 3.50 0.93 269 3.68 0.89 -1.12 0.29การรับรู้ถึงความเพลิดเพลิน 36 3.08 1.25 269 3.04 1.12 0.22 0.73อิทธิพลทางสังคม 36 3.26 1.08 269 3.29 1.09 -0.29 0.41การแสดงออก 36 3.48 0.77 269 3.70 0.87 -1.44 0.18การรับรู้ถึงความกังวล 36 2.34 1.00 269 2.14 1.06 1.08 0.29

x

x

ตารางที่ 1 เปรียบเทียบความแตกต่างของพฤติกรรมการใช้เฟซบุ๊กจ าแนกตามสถานภาพด้านเพศ

ตารางที่ 2 เปรียบเทียบความแตกต่างของพฤติกรรมการใช้เฟซบุ๊กจ าแนกตามสถานภาพด้านชั้นปี

ด้าน F P-value ความหลงใหลจนผิดปกติ 1.53 .26

การติดการใช้งาน 1.89 .32การรับรู้ถึงความเสี่ยง 0.87 .52

การรับรู้ถึงความเพลิดเพลิน 1.02 .43อิทธิพลทางสังคม 1.11 .35การแสดงออก 0.66 .62

การรับรู้ถึงความกังวล 1.23 .40

ตารางที่ 3 เปรียบเทียบความแตกต่างของพฤติกรรมการใช้เฟซบุ๊กจ าแนกตามสถานภาพด้านสาขาวิชา

ด้าน F P-value ความหลงใหลจนผิดปกติ 1.75 .30

การติดการใช้งาน 0.94 .73

การรับรู้ถึงความเสี่ยง 0.40 .47

การรับรู้ถึงความเพลิดเพลิน 1.03 .53อิทธิพลทางสังคม 0.62 .67การแสดงออก 0.42 .10

การรับรู้ถึงความกังวล 0.79 .25

x