สารออกฤทธิ์จากหญ้าหนวดแมวnestc.sci.ubu.ac.th/2015/upload/poster/n2015115.pdf ·...

1
สารออกฤทธิ์จากหญ้าหนวดแมว Bioactive compounds from Orthosiphon stamineus วิไลลักษณ์ ระงับภัย , จุฑารัตน์ บันลือ , อรุณ จันทร์คา, อรทัย สายสะอาด * ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี, อาเภอเมือง , จังหวัดอุบลราชธานี, 34000 บทคัดย่อ จากการนาผงของหญ้าหนวดแมวมาแช่ในตัวทาละลายเมทานอล นาสารละลายที่สกัดได้ไประเหยตัวทาละลายออก โดยใช้หลักการลดความดัน ได้สารสกัดหยาบชั้นเมทานอล นาสารสกัดที่ได้ไปทาการแยกด้วยวิธี คอลัมน์โครมาโทกราฟี นาสารท่แยกได้จากคอลัมน์โครมาโทกราฟี ไปวิเคราะห์ ด้วยเทคนิคทางสเปกโทรสโคปี พบว่า สารท่ได้อยู่ในกลุ่มของฟลาโวนอยด์ บทนา หญ้าหนวดแมว มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Orthosiphon aristatus (Blume) Miq. เป็นไม้พุ่มขนาดเล็ก กิ่งและก้านเป็นสี่เหลี่ยม สีม่วงแดง ใบเดี่ยว เรียงตรงข้าม รูปไข่แกมสี่เหลี่ยมข้าวหลามตัด ดอกออกเป็นช่อที่ปลายยอด กลีบดอกสีขาว เกสรตัวผู้ปลายยื่นพ้นกลีบดอกออกมาคล้ายหนวดแมว สรรพคุณของหญ้าหนวดแมว คือ ใช้ขับปัสสาวะ รักษาโรคปวดข้อ ปวดหลัง ไขข้ออักเสบ ลดความดันโลหิต รักษาโรคเบาหวาน ขับกรดยูริคเอซิคจากไต ใช้รักษาโรคกระษัย โรคปวดหลัง และบั้นเอว โรคนิ่ว และเยื่อจมูกอักเสบ วัตถุประสงค์ของงานวิจัย เพื่อศึกษาการสกัดและการแยกสารด้วยวิธีโครมาโทกราฟเพื่อศึกษาสารสาคัญจากหญ้าหนวดแมว วิธีการทดลอง ผลการทดลอง สรุปผลการทดลอง กิตติกรรมประกาศ ขอขอบพระคุณ อาจารย์ ดร .อรุณ จันทร์คา อาจารย์ที่ปรึกษา โครงการวิจัย อาจารย์ ดร.อรทัย สายสะอาด อาจารย์ที่ปรึกษา โครงการวิจัยร่วม ที่ช่วยเหลือในการวางแผนการทาวิจัยให้คาแนะนาและ ตรวจสอบแก้ไขข้อบกพร่องต่างๆ รวมทั้งให้คาปรึกษาอันเป็นประโยชน์ ต่อการวิจัยตลอดระยะเวลาการทาวิจัย เอกสารอ้างอิง 1. N.R. Abdullah and Z. Ismail. Acute toxicityof Orthosiphon stamineus Benth standardizedextractin Sprague Dawleyrats Phytomedicine. 2009, 16, 222226. 2. Y. Adama, M.N. Somchit a,b, M.R. Sulaimana, A.A. Nasaruddinc, A. Zuraini A.A. Bustamama,and Z.A. Zakariad. Diuretic properties of Orthosiphon stamineus Benth. Journal of Ethnopharmacology. 2009, 124, 154158. ผงหญ้าหนวดแมว หมักด้วย Methanol กรองด้วยสาลี สารละลาย + Methanol กาก ระเหยตัวทาละลายด้วย Rotary evaporator สารสกัดหยาบเมทานอล 1. การสกัดสมุนไพร 2. แยกสารด้วยคอลัมน์โครมาโทกราฟี 3. วิเคราะห์โครงสร้างของสารที่ได้ด้วยเทคนิคทางสเปกโทรสโกปี ภาพที1 แสดง IR spectrum ของสาร A Wave number Functional group 3419.61 O-H ยืดของ alcohol 1638.00 C=C ยืดของ alkene 1453.15 C-H ยืดของ alkene 1117.77 C-O ยืดของ alcohol จากการนาผงของหญ้าหนวดแมวมาสกัดด้วยตัวทาละลาย เมทานอล และแยกสารสกัดหยาบในชั้นเมทานอล ด้วยวิธี คอลัมน์โครมาโทกราฟีซ้าหลายๆ ครั้ง พบว่า สารที่แยกได้อยู่ในกลุ่ม ฟลาโวนอยด์ ตารางที1 แสดงค่า Wave number ของสาร A

Upload: others

Post on 27-Jun-2020

1 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: สารออกฤทธิ์จากหญ้าหนวดแมวnestc.sci.ubu.ac.th/2015/upload/Poster/N2015115.pdf · สารออกฤทธิ์จากหญ้าหนวดแมว

สารออกฤทธิ์จากหญ้าหนวดแมวBioactive compounds from Orthosiphon stamineus

วิไลลักษณ์ ระงับภัย , จุฑารัตน์ บันลือ, อรุณ จันทร์ค า, อรทัย สายสะอาด*

ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธาน,ี อ าเภอเมือง , จังหวัดอุบลราชธานี, 34000

บทคัดย่อ

จากการน าผงของหญ้าหนวดแมวมาแช่ในตัวท าละลายเมทานอล น าสารละลายที่สกัดได้ไประเหยตัวท าละลายออก โดยใช้หลักการลดความดันได้สารสกัดหยาบชั้นเมทานอล น าสารสกัดที่ ได้ ไปท าการแยกด้วยวิธี คอลัมน์โครมาโทกราฟี น าสารที่แยกได้จากคอลัมน์โครมาโทกราฟี ไปวิเคราะห์ด้วยเทคนิคทางสเปกโทรสโคปี พบว่า สารที่ได้อยู่ในกลุ่มของฟลาโวนอยด์

บทน า

หญ้าหนวดแมว มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Orthosiphon aristatus (Blume) Miq. เป็นไม้พุ่มขนาดเล็ก กิ่งและก้านเป็นสี่เหลี่ยม สีม่วงแดง ใบเดี่ยว เรียงตรงข้าม รูปไข่แกมสี่เหลี่ยมข้าวหลามตัด ดอกออกเป็นช่อที่ปลายยอด กลีบดอกสีขาว เกสรตัวผู้ปลายยื่นพ้นกลีบดอกออกมาคล้ายหนวดแมว สรรพคุณของหญ้าหนวดแมว คือ ใช้ขับปัสสาวะ รักษาโรคปวดข้อ ปวดหลัง ไขข้ออักเสบ ลดความดันโลหิต รักษาโรคเบาหวาน ขับกรดยูริคเอซิคจากไต ใช้รักษาโรคกระษัย โรคปวดหลัง และบั้นเอว โรคนิ่ว และเยื่อจมูกอักเสบ

วัตถุประสงค์ของงานวิจัย

เพื่อศึกษาการสกัดและการแยกสารด้วยวิธีโครมาโทกราฟีเพื่อศึกษาสารส าคัญจากหญ้าหนวดแมว

วิธีการทดลอง

ผลการทดลอง

สรุปผลการทดลอง

กิตติกรรมประกาศ ขอขอบพระคุณ อาจารย์ ดร.อรุณ จันทร์ค า อาจารย์ที่ปรึกษาโครงการวิจัย อาจารย์ ดร .อรทัย สายสะอาด อาจารย์ที่ปรึกษาโครงการวิจัยร่วม ที่ช่วยเหลือในการวางแผนการท าวิจัยให้ค าแนะน าและตรวจสอบแก้ไขข้อบกพร่องต่างๆ รวมทั้งให้ค าปรึกษาอันเป็นประโยชน์ต่อการวิจัยตลอดระยะเวลาการท าวิจัย

เอกสารอ้างอิง

1. N.R. Abdullah and Z. Ismail. Acute toxicityof Orthosiphon stamineus Benth standardizedextractin Sprague DawleyratsPhytomedicine. 2009, 16, 222–226. 2. Y. Adama, M.N. Somchit a,b, M.R. Sulaimana, A.A. Nasaruddinc, A. Zuraini A.A. Bustamama,and Z.A. Zakariad. Diuretic properties of Orthosiphon stamineus Benth. Journal of Ethnopharmacology. 2009, 124, 154–158.

ผงหญ้าหนวดแมว

หมักด้วย Methanol

กรองด้วยส าลี

สารละลาย + Methanol กาก

ระเหยตัวท าละลายด้วย Rotary evaporator

สารสกัดหยาบเมทานอล

1. การสกัดสมุนไพร

2. แยกสารด้วยคอลัมนโ์ครมาโทกราฟี

3. วิเคราะห์โครงสร้างของสารที่ได้ด้วยเทคนิคทางสเปกโทรสโกปี

ภาพที่ 1 แสดง IR spectrum ของสาร A

Wave number Functional group

3419.61 O-H ยืดของ alcohol

1638.00 C=C ยืดของ alkene

1453.15 C-H ยืดของ alkene

1117.77 C-O ยืดของ alcohol

จากการน าผงของหญ้าหนวดแมวมาสกัดด้วยตัวท าละลาย เมทานอล และแยกสารสกั ดหยาบในชั้ น เมทา นอล ด้ วยวิ ธี คอลัมน์โครมาโทกราฟีซ้ าหลายๆ ครั้ง พบว่า สารที่แยกได้อยู่ในกลุ่ม ฟลาโวนอยด์

ตารางที่ 1 แสดงค่า Wave number ของสาร A