[เรีื่อง : อาจารย์มณชัย...

2
108 : February 2011 เรียนรู้คู่ครัว [เร่อง : อาจารย์มณชัย เดชสังกรานนท์] อาจารย์มณชัย เดชสังกรานนท์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต [email protected] สไปรูไลน่า (ตอนที่ 5) : การเพาะเลี้ยงสไปรูไลน่านอกจากจะต้องควบคุมปัจจัยแวดล้อมต่างๆ ให้เหมาะสมแล้ว รูปแบบการเพาะเลี้ยง หรือวิธีการเพาะเลี้ยงก็มีผลต่อการเจริญ และการผลิตสารมูลค่าสูงของสไปรูไลน่าด้วย จากบทความที่แล้วเราทราบ ว่าสาหร่ายต้องการปัจจัยแวดล้อมแตกต่างกันไป แล้วแต่ชนิดและสายพันธุ์ของสาหร่าย ในบทความนี้ผู้เขียนจะขอ กล่าวถึงรูปแบบการเพาะเลี้ยงสาหร่ายสไปรูไลน่า เพื่อการผลิตมวลเซลล์และสารสำคัญที่มีมูลค่าสูงของสไปรูไลน่า 1. การเพาะเลี้ยงแบบ Photoautotrophic 1.1 การเลี้ยงแบบกลางแจ้ง (Outdoor) การเพาะเลี้ยงสไปรูไลน่าทางการค้าส่วนใหญ่ จะเลี้ยงแบบบ่อเปิดกลาง แจ้ง (Photoautotrophic) และนิยมเลี้ยงกันมากในประเทศที่มีภูมิอากาศร้อน แถบ มหาสมุทรแปซิฟิคโดยสาหร่ายจะอาศัยแสงแดดในการสังเคราะห์แสง จากการ รวบรวมผลผลิตสไปรูไลน่าทั่วทั้งโลก พบว่าในแต่ละปีมีผลผลิตของสาหร่าย แห้งรวมมากกว่า 3,000 ตัน ซึ่งส่วนใหญ่จะใช้เป็นผลิตภัณฑ์เสริมสุขภาพและ ใช้ผสมในอาหารสัตว์ (Eriksen, 2008) เนื่องจากการเพาะเลี้ยงแบบนี้จะอาศัย แสงแดดจากธรรมชาติ ดังนั้นความสูงของอาหารเลี้ยงสาหร่ายจึงไม่สูงมากนัก ส่วนใหญ่จะอยู่ในช่วง 10-30 cm ซึ่งเป็นระดับความสูงที่การผสมโดยใช้ใบพัด (Paddle wheels) ดำเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพ การเพาะเลี้ยงแบบกลางแจ้งนีแสงจะทะลุผ่านได้ดีในระดับน้ำที่ไม่ลึกมาก เซลล์ที่อยู่บริเวณผิวหน้าจะได้รับ แสงที่มีความเข้มสูงๆ มากกว่าเซลล์ที่อยู่ด้านล่างทำให้ประสิทธิภาพการ สังเคราะห์แสงลดต่ำลง ทั้งนี้เนื่องจากเซลล์ที่ได้รับแสงมากเกินไปจึงทำให้เซลล์ อ่อนแอลงและตายในที่สุด (Phototinhibition) (Grobbelaar, 2007) การยับยั้งเนื่องจากแสง (Photoinhibition) ลดลง ภาพที่ 1 ลักษณะของถังหมักแบบให้แสง(Enclosed photobioreactors) ชนิดต่างๆ (a-e: Photobioreactor, d: Outdoor) การเพาะเลี้ยงสไปรูไลน่า เพื่อการผลิตสารมูลค่าสูง การเพาะเลี้ยง Spirulina เพื่อการผลิต ซี-ไฟโคไซยานิน 1.2 การเพาะเลี้ยงในถังหมักแบบให้แสง (Photobioreactor) การปรับปรุงการเลี้ยงเพาะเลี้ยงสไปรูไลน่า แบบบ่อเปิดกลางแจ้ง สามารถทำได้โดยการเลี้ยงในถังหมักแบบให้แสง (Enclosed photobioreactors) ซึ่งอาจจะเป็นแสงแดดโดยตรงหรือจากหลอดไฟกำเนิดแสง การเพาะเลี้ยงแบบ นี้ความสูงของระดับน้ำจะลดลง และความหนาแน่นของเซลล์สาหร่ายจะเพิ่ม ขึ้น จึงจะช่วยแก้ปัญหาเซลล์สาหร่ายได้รับแสงไม่ทั่วถึง ในสภาวะที่เซลล์ มีความหนาแน่นมากเกินไป (Gittelson et al., 1996) และช่วยหมุนเวียน ของเหลวระหว่างบริเวณที่ได้รับแสงและไม่ได้รับแสง เพื่อให้เซลล์สาหร่าย ได้รับแสงอย่างทั่วถึงเหมือนๆ กัน นอกจากนี้ยังช่วยลดระยะเวลาในการได้รับ แสงของเซลล์ให้สั้นลง โดยเฉพาะในช่วงเวลาที่ความเข้มของแสงมากเกินไป จึงทำให้ประสิทธิภาพในการสังเคราะห์แสงของสาหร่ายเพิ่มขึ้นและ Eriksen (2008) กล่าวว่าการเพาะเลี้ยง สไปรูไลน่าในถังหมักแบบให้แสงมีข้อดีคือ สามารถ ควบคุมอุณหภูมิได้ดีกว่าการเลี้ยงแบบบ่อเปิด กลางแจ้ง จึงช่วยปรับปรุงอัตราการผลิตมวลเซลล์ ของสาหร่ายให้ดีขึ้น โดยเฉพาะในช่วงฤดูร้อนและ ที่สำคัญการเลี้ยงในถังหมักสามารถรักษาสภาวะ การเลี้ยงให้คงที่ได้ดีกว่าการเลี้ยงแบบบ่อเปิดกลาง แจ้ง อย่างไรก็ตามการเลี้ยงในถังหมักยังมีข้อจำกัด ในเรื่องการขยายขนาดการผลิตซึ่งทำได้ยากและ ต้องใช้ต้นทุนสูงในการดำเนินการ

Upload: others

Post on 30-Dec-2019

8 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: [เรีื่อง : อาจารย์มณชัย เดชสังกรานนท์] สไปรูไลน่า (ตอนที่ 5)thaifranchisedownload.com/dl/group7320120907161735.pdf ·

108 : February 2011

เรยนรคครว[เรอง : อาจารยมณชย เดชสงกรานนท]

อาจารยมณชย เดชสงกรานนท คณะวทยาศาสตรและเทคโนโลย มหาวทยาลยราชภฏสวนดสต [email protected]

สไปรไลนา (ตอนท 5) :

การเพาะเลยงสไปรไลนานอกจากจะตองควบคมปจจยแวดลอมตางๆ ใหเหมาะสมแลว รปแบบการเพาะเลยงหรอวธการเพาะเลยงกมผลตอการเจรญ และการผลตสารมลคาสงของสไปรไลนาดวย จากบทความทแลวเราทราบวาสาหรายตองการปจจยแวดลอมแตกตางกนไป แลวแตชนดและสายพนธของสาหราย ในบทความนผเขยนจะขอกลาวถงรปแบบการเพาะเลยงสาหรายสไปรไลนาเพอการผลตมวลเซลลและสารสำคญทมมลคาสงของสไปรไลนา

1. การเพาะเลยงแบบ Photoautotrophic

1.1การเลยงแบบกลางแจง(Outdoor) การเพาะเลยงสไปรไลนาทางการคาสวนใหญ จะเลยงแบบบอเปดกลาง

แจง (Photoautotrophic) และนยมเลยงกนมากในประเทศทมภมอากาศรอน แถบ

มหาสมทรแปซฟคโดยสาหรายจะอาศยแสงแดดในการสงเคราะหแสง จากการ

รวบรวมผลผลตสไปรไลนาทวทงโลก พบวาในแตละปมผลผลตของสาหราย

แหงรวมมากกวา 3,000 ตน ซงสวนใหญจะใชเปนผลตภณฑเสรมสขภาพและ

ใชผสมในอาหารสตว (Eriksen, 2008) เนองจากการเพาะเลยงแบบนจะอาศย

แสงแดดจากธรรมชาต ดงนนความสงของอาหารเลยงสาหรายจงไมสงมากนก

สวนใหญจะอยในชวง 10-30 cm ซงเปนระดบความสงทการผสมโดยใชใบพด

(Paddle wheels) ดำเนนไปอยางมประสทธภาพ การเพาะเลยงแบบกลางแจงน

แสงจะทะลผานไดดในระดบนำทไมลกมาก เซลลทอยบรเวณผวหนาจะไดรบ

แสงทมความเขมสงๆ มากกวาเซลลทอยดานลางทำใหประสทธภาพการ

สงเคราะหแสงลดตำลง ทงนเนองจากเซลลทไดรบแสงมากเกนไปจงทำใหเซลล

ออนแอลงและตายในทสด (Phototinhibition) (Grobbelaar, 2007)

การยบยงเนองจากแสง (Photoinhibition) ลดลง

ภาพท 1 ลกษณะของถงหมกแบบใหแสง(Enclosed photobioreactors) ชนดตางๆ (a-e: Photobioreactor, d: Outdoor)

การเพาะเลยงสไปรไลนา เพอการผลตสารมลคาสง

การเพาะเลยง Spirulina เพอการผลต ซ-ไฟโคไซยานน

1.2การเพาะเลยงในถงหมกแบบใหแสง(Photobioreactor)

การปรบปรงการเลยงเพาะเลยงสไปรไลนา แบบบอเปดกลางแจง

สามารถทำไดโดยการเลยงในถงหมกแบบใหแสง (Enclosed photobioreactors)

ซงอาจจะเปนแสงแดดโดยตรงหรอจากหลอดไฟกำเนดแสง การเพาะเลยงแบบ

นความสงของระดบนำจะลดลง และความหนาแนนของเซลลสาหรายจะเพม

ขน จงจะชวยแกปญหาเซลลสาหรายไดรบแสงไมทวถง ในสภาวะทเซลล

มความหนาแนนมากเกนไป (Gittelson et al., 1996) และชวยหมนเวยน

ของเหลวระหวางบรเวณทไดรบแสงและไมไดรบแสง เพอใหเซลลสาหราย

ไดรบแสงอยางทวถงเหมอนๆ กน นอกจากนยงชวยลดระยะเวลาในการไดรบ

แสงของเซลลใหสนลง โดยเฉพาะในชวงเวลาทความเขมของแสงมากเกนไป

จงทำใหประสทธภาพในการสงเคราะหแสงของสาหรายเพมขนและ

Eriksen (2008) กลาววาการเพาะเลยง

สไปรไลนาในถงหมกแบบใหแสงมขอดคอ สามารถ

ควบคมอณหภมไดดกวาการเลยงแบบบอเปด

กลางแจง จงชวยปรบปรงอตราการผลตมวลเซลล

ของสาหรายใหดขน โดยเฉพาะในชวงฤดรอนและ

ทสำคญการเลยงในถงหมกสามารถรกษาสภาวะ

การเลยงใหคงทไดดกวาการเลยงแบบบอเปดกลาง

แจง อยางไรกตามการเลยงในถงหมกยงมขอจำกด

ในเรองการขยายขนาดการผลตซงทำไดยากและ

ตองใชตนทนสงในการดำเนนการ

Page 2: [เรีื่อง : อาจารย์มณชัย เดชสังกรานนท์] สไปรูไลน่า (ตอนที่ 5)thaifranchisedownload.com/dl/group7320120907161735.pdf ·

กมภาพนธ 2554 : 109

เอกสารอางอง

Eriksen, N.T. 2008. Production of phycocyanin

biotechnology, foods and medicine. Appl. Microbiol. Biotechnol. 2008. 80:

1–14.

Chen, F. and Y. Zhang. 1997. High cell density mixotrophic culture of

Spirulina platensis

On glucose for phycocyanin production using a fed-batch system.

Enzyme

Microb.Technol. 20: 221–224.

Gittelson, A., H. Quiang and A. Richmond. 1996. Photic volume in

photobioreactors

Supporting ultrahigh population densities of the photoautotroph

Spirulina

platensis. Appl. Environ. Microbiol. 62: 1570–1573.

Grobbelaar, J.U. 2007. Photosynthetic characteristics of Spirulina

platensis grown in

commercial-scale open outdoor raceway ponds: what de the

organisms tell us?.

J. Appl. Phycol. 19: 591–598.

Marquez, F.J., K. Sasaki, T. Kakizono, N. Nishio and S. Nagai. 1993. Growth

characterization of Spirulina platensis in mixotrophic and heterotrophic

conditions. J. Ferment. Bioeng. 76: 408–410.

2. การเพาะ เล ยงแบบใหแสงรวมกบการ เตมแหลงคารบอน (Mixotrophic)

สไปรไลนานอกจากจะเจรญไดในสภาวะทมการใหแสงเพยง

อยางเดยวแลว (Photoautotrophic) ยงสามารถเจรญไดในสภาวะทมการ

ใหแสง (แสงแดดหรอหลอดไฟกำเนดแสง) รวมกบการเตมแหลงคารบอน

อาหารซงสวนใหญกคอกลโคส การเพาะเลยงแบบนจะชวยใหสไปรไลนาเจรญ

ไดเรวขน และความเขมขนของมวลเซลลกสงขนดวย เมอเปรยบเทยบกบการ

เลยงแบบบอเปดกลางแจง Chen and Zhang (1997) ไดพฒนาการเพาะเลยง

สไปรไลนาเพอการผลตมวลเซลลและ ซ-ไฟโคไซยานน โดยวธการหมกแบบ

Fed-batch cultures และใชกลโคสเปนแหลงคารบอน พบวาสามารถเพม

ความเขมขนของเซลลไดถง 10 g/L วธการเพาะเลยงแบบนจะไมเกดปญหา

กลโคสขดขวางการเจรญและการผลตซ-ไฟโคไซยานนจงทำใหอตราการผลต

ชวมวลและซ-ไฟโคไซยานนสงขน

3. การเพาะเลยงแบบไมใหแสง (Heterotrophic)

มรายงานวาสไปรไลนาเกอบทกสายพนธ สามารถเจรญไดในทมด

(Heterotrophically) โดยอาศยพลงงานจากกลโคสและฟรคโตส จากรายงานวจย

พบวาการเพาะเลยงสไปรไลนา ในสภาวะดงกลาวจะมการเจรญและการผลตซ-

ไฟโคไซยานนไดนอยมาก Marquez et al. (1993) รายงานวาการเลยงสไปรไลนา

แบบ Heterotrophically จะใหอตราการผลตรงควตถนอยเพยง 0.01 g /L/day