หน วยที่ 3 เรื่อง...

47
ผังมโนทัศนหนวยการเรียนรูที3 รายวิชาฟสิกสพื้นฐาน เรื่อง การเคลื่อนทีชั้นมัธยมศึกษาปที4 จํานวน 20 ชั่วโมง หนวยที3 เรื่อง การเคลื่อนทีการหาอัตราเร็วและ อัตราเร็วขณะหนึ่ง โดยใชเครื่องเคาะ สั ญญาณเวลา(. 4.1) ปริมาณตาง ๆที่เกี่ยวของกับ การเคลื่อนที(. 4.2) การเคลื่อนที่ของวัตถุใน สนามโนมถวง (. 4.2) ชนิดของแรง (. 4.1) การนําเสนอ ขอมูลทางฟสิกส (. 8.1) การแกปญหา การใช เหตุผลเกี่ยวกับการวัด และการคาดคะเน (. 2.1,2.2,2.3 ) การเชื่อมโยงความรู คณิตศาสตรในเรื่อง ความสัมพันธและฟงกชัน กราฟ การแปลความหมาย จากกราฟ การนําเสนอขอมูล (. 4.1,4.2,6.3,6.4) การฟง การดู การอาน การคิด การวิเคราะห การเขียน การสื่อ ความหมายสิ่งที่เรียนรู (. 1.1,2.1,3.1) ทักษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตร/ทักษะ กระบวนการสืบเสาะหา ความรู ทักษะการและ กระบวนการคิดทักษะการ สื่อสารและกระบวนการ ทํางาน ( . 8.1) กราฟความสัมพันธ ระหวางปริมาณตาง (4.2)

Upload: others

Post on 11-Sep-2019

4 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: หน วยที่ 3 เรื่อง การเคลื่อนที่sci/techer/backward3.pdf · - กราฟและการแปลความหมายจากกราฟ

ผังมโนทัศนหนวยการเรียนรูที่ 3

รายวิชาฟสิกสพื้นฐาน เรือ่ง การเคลื่อนที่ ชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 4 จํานวน 20 ชั่วโมง

หนวยที่ 3 เร่ือง การเคลื่อนที่

การหาอัตราเรว็และอัตราเร็วขณะหนึ่งโดยใชเครื่องเคาะ

สัญญาณเวลา(ว. 4.1)

ปริมาณตาง ๆท่ีเก่ียวของกับการเคล่ือนท่ี

(ว. 4.2)

การเคล่ือนท่ีของวัตถุในสนามโนมถวง

(ว. 4.2)

ชนิดของแรง (ว. 4.1)

การนําเสนอขอมูลทางฟสกิส

(ว. 8.1)

การแกปญหา การใชเหตุผลเกี่ยวกับการวัดและการคาดคะเน (ค. 2.1,2.2,2.3 )

การเชื่อมโยงความรูคณิตศาสตรในเรื่อง

ความสัมพันธและฟงกชัน กราฟ การแปลความหมายจากกราฟ การนําเสนอขอมูล

(ค. 4.1,4.2,6.3,6.4)

การฟง การดู การอาน การคิด การวิเคราะห การเขียน การสื่อ

ความหมายสิง่ท่ีเรียนรู (ท. 1.1,2.1,3.1)

ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร/ทักษะ

กระบวนการสืบเสาะหาความรู ทักษะการและ

กระบวนการคิดทักษะการสื่อสารและกระบวนการ

ทํางาน ( ว. 8.1)

กราฟความสมัพันธระหวางปริมาณตาง ๆ

(ว 4.2)

Page 2: หน วยที่ 3 เรื่อง การเคลื่อนที่sci/techer/backward3.pdf · - กราฟและการแปลความหมายจากกราฟ

รายวิชาฟสิกสพื้นฐาน เรือ่ง การเคลื่อนที่ ชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 4 จํานวน 20 ชั่วโมง

แผนการจัดการเรียนรูดวยเทคนิค backward design

หนวยการเรียนรูท่ี 1 เร่ือง การเคลื่อนที่ กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร รายวิชา ฟสิกสพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 4 เวลาเรียน 20 ช่ัวโมง 1. เปาหมายการเรียนรู / มาตรฐานการเรียนรู มาตรฐานสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร มาตรฐานที่ 8.1 : ใชกระบวนการทางวทิยาศาสตรและจิตวิทยาศาสตรในการสืบเสาะหาความรู การแกปญหา รูวาปรากฏการณทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นสวนใหญมีรูปแบบที่แนนอน สามารถอธิบายและตรวจสอบไดภายใตขอมูลและเครื่องมือที่มีอยูในชวงเวลานั้น ๆ เขาใจวาวิทยาศาสตร เทคโนโลยีสังคมและสิ่งแวดลอมมีความเกีย่วของสัมพันธกัน มาตรฐานที ่ 4.1 : เขาใจธรรมชาติของแรงแมเหล็กไฟฟา แรงโนมถวง และแรงนวิเคลียร มีกระบวน การสืบเสาะหาความรู ส่ือสารสิ่งที่เรียนรูและนําความรูไปใชประโยชนอยางถูกตอง และ มคีุณธรรม มาตรฐานที่ 4.2 เขาใจลักษณะการเคลือ่นที่แบบตาง ๆ ของวัตถุในธรรมชาติ มีกระบวนการสืบเสาะหา ความรูและจิตวิทยาศาสตร ส่ือสารสิ่งที่เรียนรูและนําความรูไปใชประโยชน มาตรฐานสาระการเรียนรูคณิตศาสตร มาตรฐานที่ 2.1 : เขาใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวัด มาตรฐานที่ 2.2 : วัดและคาดคะเนขนาดของสิ่งที่ตองการวัดได มาตรฐานที่ 6.1 : มีความสามารถในการแกปญหา มาตรฐานที่ 6.2 : มีความสามารถในการใชเหตผุล มาตรฐานที่ 6.3 : มีความสามารถในการสื่อสาร การสื่อความหมายในทางคณติศาสตร และ การนําเสนอขอมูล มาตรฐานที่ 6.4 : มีความสามารถในการเชื่อมโยงความรูตาง ๆ ทางคณิตศาสตร และเชื่อมโยง คณิตศาสตรกับ ศาสตรสาขาอื่น ๆ ได กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย มาตรฐาน 1.1 : ใชกระบวนการอานสรางความรูและความคิดไปใชตัดสินใจ แกปญหาและสราง วิสัยทัศนในการดําเนนิชีวิต และมีนสัิยรักการอาน มาตรฐาน 2.1 : ใชกระบวนการเขยีน เขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ ยอความและเขียนเรื่องราวใน

Page 3: หน วยที่ 3 เรื่อง การเคลื่อนที่sci/techer/backward3.pdf · - กราฟและการแปลความหมายจากกราฟ

รูปแบบตาง ๆ เขียนรายงานขอมูลสารสนเทศและรายงานการศกึษาคนควาอยางมี ประสิทธิภาพ มาตรฐาน 3.1 : สามารถเลือกฟงและดูอยางมีวจิารณญาณ และพดูแสดงความรู ความคิด ความรูสึกในโอกาสตาง ๆ อยางมีวิจารณญาณและสรางสรรค 2. ความรู เจตคติและทักษะ 2.1 สาระหลัก : Knowledge (K) - การเคลื่อนที่ของวัตถุในสนามโนมถวง - ปริมาณตาง ๆที่เกี่ยวของกับการเคลื่อนที่ - การหาอัตราเร็วและอัตราเร็วขณะหนึ่งโดยใชเครื่องเคาะสัญญาณเวลา - อัตราเรงและความเรง - กราฟความสัมพันธระหวางปริมาณตาง ๆ - การเคลื่อนที่ในแนวตรง - การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล - การเคลื่อนที่ในแนววงกลม - การเคลื่อนที่แบบหมุน - การเคลื่อนที่แบบซิมเปลฮารมอนิกอยางงาย - กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน - การนําเสนอขอมูลทางฟสิกส สาระครอมวิชา - การอาน การฟง การพูด การเขียน - การใชภาษาในแสวงหาความรู - การคํานวณและการแกปญหา - กราฟและการแปลความหมายจากกราฟ - รูปแบบความสัมพันธและฟงกชัน - การใชเหตุผล - การสื่อความหมายเชิงคณิตศาสตร - การสรางสรรคงานทัศนศิลปตามจินตนาการ 2.2 ทักษะ / กระบวนการ : Process (P) ทักษะเฉพาะวิชา

- กระบวนการสืบเสาะหาความรูดวยวิธีการทางวิทยาศาสตร - กระบวนการเรียนรูโดยใชปญหาเปนฐาน - กระบวนการกลุม

Page 4: หน วยที่ 3 เรื่อง การเคลื่อนที่sci/techer/backward3.pdf · - กราฟและการแปลความหมายจากกราฟ

- กระบวนการทํางาน - การบวนการสรางความคิดรวบยอด - ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร - ทักษะการวิเคราะหเชื่อมโยง

ทักษะครอมวิชา - ทักษะการสื่อสาร - ทักษะการคิดทั่วไป - ทักษะการคิดขึ้นสูง 2.3 คุณลักษณะที่พึงประสงค : Attitude (A) - จิตวิทยาศาสตร

- ความสนใจ ใฝรู มีความรอบรู มีนิสัยใฝดี - ความซื่อสัตยสุจริต ความอดทนมุงมั่น ความขยันขันแข็ง - การใชสติปญญาในการแกปญหา - ความรูจักแบงปนและแลกเปลีย่นการมใีจกวางยอมรับฟงความคิดเห็น - ความรับผิดชอบมีเหตุผล - มีภาระความเปนผูนําผูตามที่ดี รูรักสามัคคี

3. ความรูความเขาใจคงทน / ความรูติดตัว ปจจัยสําคัญที่ทําใหวัตถุเกดิการเคลื่อนที่ในลักษณะตาง ๆ ที่เราพบเห็นอยูในชีวิตประวาจะเปนการเคลื่อนที่ในแนวตรง การเคลื่อนที่ในแนววิถีโคง การเคลื่อนที่ในแนววงกลม การเคลื่อนที่แบบซ้ําไปซํ้ามาและการเคลื่อนที่แบบหมุน เปนผลมาจากการกระทําของแรง เมื่อลักษณะของแรงที่มากระทาํตอวัตถุแตกตางกันจะทําใหเกิดรูปแบบการเคลื่อนที่ที่แตกตางกนั เชนถาแรงกระทําในแนวผานจุดศูนยกลางมวลจะทําใหวัตถุเคลื่อนที่ในแนวตรงใน 1 มิติ ถามีแรงมากระทําตอวัตถุสองแนวพรอม ๆ กันในลักษณะตั้งฉากซึ่งกันและกันจะทําใหวัตถุเคลื่อนที่เปนแนวโคงโพรเจกไทล ถาแรงมากระทําตอวตัถุในลักษณะทีไ่มผานศูนยกลางมวลจะทําใหวตัถุเกิดการหมนุ และหากแรงที่มากระทํามีลักษณะพุงเขาหาแนวสมดุลอยูตลอดเวลาจะทําใหวตัถุเคลื่อนที่แบบซ้ําไปซ้ํามาหรือแบบซิมเปลฮารมอนิก ในการศึกษาเกีย่วกับการเคลือ่นที่ของอนุภาคหรือวัตถุจะเกี่ยวของกับปริมาณตาง ๆ ไดแก ระยะทาง การกระจัด อัตราเร็ว ความเรว็ และความเรง ซ่ึงปริมาณเหลานี้จะมีความสมัพันธกับเวลาในรูปแบบของฟงกชัน ดังนัน้เหลาสามารถวิเคราะหหาปริมาณตาง ๆ เรานีไ้ดโดยอาศยัความสมัพันธทางคณิตศาสตร และการวัดอัตราเร็วเฉลี่ยและอัตราเร็วขณะหนึ่ง ความเรว็เฉลี่ยและความเร็วขณะหนึง่ของการเคลื่อนที่ในแนวเสนตรงอยางงายสามารถทําไดโดยการวิเคราะหจุดจากแถบกระดาษที่ถูกดึงผานเครื่องเคาะสัญญาณเวลา ในการอธิบายเกี่ยวกับการเคลื่อนที่ของวัตถุภายใตสนามโนมถวงจะเปนไปตามกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน ซ่ึงมีอยู 3 ขอดวยกัน

Page 5: หน วยที่ 3 เรื่อง การเคลื่อนที่sci/techer/backward3.pdf · - กราฟและการแปลความหมายจากกราฟ

4. กรอบการวัดและประเมินผล กิจกรรม/ภาระงาน/ชิ้นงาน/ผลงาน

วิธีการประเมิน เคร่ืองมือท่ีใชประเมิน เกณฑการผานขั้นต่าํ

- เขียนสรุปเกีย่วกับการเคลื่อนที่ของวัตถุในสนามโนมถวง -เขียนตอบ/ทําแบบฝกเกี่ยวกับการหาปริมาณตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับการเคลื่อนที่ -ศึกษาและสรุปเกี่ยวกับการหาอัตราเรว็และอัตราเร็วขณะหนึ่งโดยใชเครื่องเคาะสัญญาณเวลา -รายงานกิจกรรมที่ 3.1 การหาอัตราเรว็เฉลี่ยความเร็วเฉลี่ยอัตราเร็วขณะหนึ่งและความเร็วขณะหนึ่งโดยใชเครื่องเคาะสัญญาณเวลา - ศึกษา/วิเคราะหและเขียนสรุปเกีย่วกับอัตราเรงและความเรง การหาความเรงเฉลี่ยและความเรงขณะหนึ่งของวัตถุจากแถบกระดาษ และทําแบบฝกหัด -รายงานกิจกรรมที่ 3.2 การหาความเรงของวัตถุที่เคลื่อนที่เปนเสนตรงในแนวราบ

การตอบคําถามสั้น ๆ ทั้งปากเปลาและเขียนสรุป -การเขียนรายงานการทดลอง -การตอบคําถามหลังการทดลอง - การรวบรวมขอมูล /การนําเสนอ/การวิเคราะหและลงขอสรุป - การทําแผนผงัความคิด - การสืบคนขอมูล - การนําเสนอผลงาน - การอธิบาย/การอภิปราย - สังเกตกระบวนการทํางาน / กระบวนการกลุม/กระบวนการสืบเสาะหาความรู/กระบวนการแกปญหา/กระบวนการสรางความคิดรวบยอด -การใชทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร/ ทักษะการวิเคราะหเชื่อมโยง/ทักษะการสื่อสาร /ทักษะการคิดทั่วไป/ทักษะการคิดขึ้นสูง - สังเกตจิตวิทยาศาสตร/ความสนใจ ใฝรู มคีวามรอบรู มีนิสัยใฝดี /ความซื่อสัตยสุจริต ความอดทนมุงมั่น ความขยันขนัแข็ง / การใชสติปญญาในการแกปญหา / ความรูจักแบงปนและแลกเปลี่ยนการมีใจกวางยอมรับฟงความคิดเห็น / ความรับผิดชอบมีเหตุผล / มีภาระความเปนผูนําผูตามที่ดี รูรักสามัคคี

- ความถูกตองของคําตอบ - การสังเคราะหความรูของนักเรียน -แบบประเมินการตอบคําถาม -แบบประเมินการเขียนรายงานการทดลองและตอบคําถาม - แบบประเมนิการเขียนแผนผังความคดิ - แบบประเมนิการนําเสนอผลงาน - แบบประเมนิการสืบคนขอมูลขาวสาร -แบบประเมินทักษะการทํางานกลุม/ทักษะการทดลอง/ทักษะการส่ือสาร/ทักษะการนําเสนอขอมูล/ทักษะการคิด

ระดับพอใชขึ้นไป

Page 6: หน วยที่ 3 เรื่อง การเคลื่อนที่sci/techer/backward3.pdf · - กราฟและการแปลความหมายจากกราฟ

กิจกรรม/ภาระงาน/ชิ้นงาน/ผลงาน

วิธีการประเมิน เคร่ืองมือท่ีใชประเมิน เกณฑการผานขั้นต่าํ

-ศึกษาเกี่ยวกบักราฟความสัมพันธระหวางปริมาณตาง ๆ วิเคราะหและสรุปองคความรูในรูปแผนผังความคิดและทําแบบฝกหัด -ศึกษาขอมูลเขียนสรุปเกี่ยวกับการเคลื่อนที่ในแนวตรง -รายงานการทดลองกิจกรรมที่ 3.4 การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล -การเขียนสรุปเกี่ยวกับการเคลื่อนที่ในแนววงกลมในรูปแผนผังความคิด -ทําแบบฝกหดัเกีย่วกับการเคลื่อนที่ในแนววงกลม -รายงานการทดลองกิจกรรมที่3.5 การยิงวัตถุ - รายงานกิจกรรมการทดลองที่ 3.6 การเคลื่อนที่ในแนววงกลม -รายงานกิจกรรมที่ 3.7 การเคลื่อนที่แบบหมุน -รายงานกิจกรรมที่ 3.8

Page 7: หน วยที่ 3 เรื่อง การเคลื่อนที่sci/techer/backward3.pdf · - กราฟและการแปลความหมายจากกราฟ

กิจกรรม/ภาระงาน/ชิ้นงาน/

ผลงาน วิธีการประเมิน เคร่ืองมือท่ีใชประเมิน เกณฑการ

ผานขั้นต่าํ การเคลื่อนที่แบบตาง ๆ ในชีวิตประจําวัน -รายงานกิจกรรมลองทําดู -รายงานการสืบคนและนําเสนอเกีย่วกับกฎการเคลื่อนที่ขอที่ 1 ของนิวตัน -รายงานกิจกรรมการทดลองที่ 3.9 -แผนผังความคิดเกี่ยวกับสภาพสมดุลของแรงลัพธ -รายงานกิจกรรมที่ 3.10 กฎการเคลื่อนที่ขอที่ 2 ของนิวตัน -แผนผังความคิดเกี่ยวกับกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน -เขียนตอบแบบฝกหัดทายหนวยที่ 3

5. จุดประสงคการเรียนรู 1. อธิบายการเคลื่อนที่ของวัตถุในสนามโนมถวงพรอมยกตัวอยางประกอบได 2. อธิบายความหมายของปริมาณตางๆ ที่เกี่ยวของกับการเคลื่อนที่ไดแก ระยะทาง การกระจัด

อัตราเร็ว อัตราเร็วขณะใดขณะหนึ่ง ความเร็ว ความเร็วขณะใดขณะหนึ่ง อัตราเรง ความเรง อัตราเรงเฉลี่ย ความเรงเฉลี่ยได 3. ทดลองและคํานวณหาปริมาณตางๆ ที่เกี่ยวของกับการเคลื่อนที่ได 4. อธิบายเกีย่วกับการหาปริมาณตางๆ ของการเคลื่อนที่จากกราฟได 5. อธิบายและยกตัวอยางเกี่ยวกับการเคลื่อนที่ในแนวโคงแบบโพรเจกไทลของวัตถุได 6. ทดลองเพื่อศึกษาการเคลื่อนที่ของวัตถุในแนวโคงแบบโพรเจกไทล 7. อธิบายเกี่ยวกับแรงที่ทําใหวัตถุเคลื่อนที่ในแนววงกลมได 8. ทดลองเกี่ยวกับการเคลื่อนที่ของวัตถุในแนววงกลมได

Page 8: หน วยที่ 3 เรื่อง การเคลื่อนที่sci/techer/backward3.pdf · - กราฟและการแปลความหมายจากกราฟ

9. อธิบายเกี่ยวกับการเคลื่อนที่แบบหมุนของวัตถุได 10. ทดลองเพื่อศึกษาเกี่ยวกับการเคลื่อนที่แบบหมุนของวัตถุได 11. อธิบายเกี่ยวกับการเคลื่อนที่แบบสั่นอยางงายของวัตถุได 12. อธิบายเกี่ยวกับกฎการเคลื่อนที่ทั้ง 3 ขอของนิวตันได 13. ยกตัวอยางสถานการณในชีวิตประจําวันที่เกี่ยวของกับกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันได 14. นําความรูเกี่ยวกับกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันไปอธิบายเกี่ยวกับสมดุลของวัตถุและ จุดศูนยถวงของวัตถุได 15. นําความรูเกี่ยวกับการเคลื่อนที่แบบตางๆ ไปอธิบายสถานการณที่เกี่ยวของกับชีวิตประจําวันได 16. ใชทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรในการแกปญหาตาง ไดอยางเหมาะสม และดวย จิตวิทยาศาสตร 17. นําหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงหลักคุณธรรมนําความรูมาประยุกตใชในการเรียนรูได 6. กิจกรรมการเรียนรู ชั่วโมงที่ 1-2 เร่ือง การเคล่ือนท่ีของวัตถุในสนามโนมถวงและการเคลื่อนท่ีของอนภุาคในสนามไฟฟาและสนามแมเหล็ก (กระบวนการสืบเสาะหาความรู 5 ขั้น) ขั้นตอนของกระบวนการ

กิจกรรมการเรียนการสอน ทักษะการคิดท่ีเก่ียวของ

ขั้นเราความสนใจ 1. รวมกันสนทนาเกีย่วกับการเคลื่อนที่ของสิ่งตางๆ ที่พบเหน็ไดในชีวิต โดยใชภาพสถานการณการเคลื่อนที่ของสิ่งตาง ๆ เชน รถเล้ียวโคง วัตถุตก วัตถุหมนุ วัตถุที่อยู คนเดินวัตถุถูกผลัก ลูกเทนนิสที่ถูกตีใหลอยอยูในอากาศ ภาพกบกระโดด นกักีฬาทุมน้ําหนัก เปนตน ใหนกัเรียนแตกลุมรวมกันวิเคราะหวามีลักษณะอยางไรบาง ทําไมมันจึงเคลื่อนที่ในลักษณะเชนนัน้ นักเรยีนคิดวาอะไรเปนสาเหต ุ2. รวมกันสนทนาเกีย่วกับสถานการณที่เราโยนกอนหินขึน้ไปบนทองฟา แตในที่สุดกอนหนิกลับตกลงมาสูพื้นดินเชนเดมิ ทําไมจึงเกดิเหตุการณเชนนี้ หรือการตกของวัตถุจากทีสู่ง การหลนของผลไม เปนตน

- การสังเกต - การใชขอมูล / การอธิบาย - การสํารวจ - การหาความเชื่อพื้นฐาน - การคาดคะเน/การพยากรณ - การใหเหตุผล - การวิเคราะห - การผสมผสานขอมูล - การจัดระบบความคิด - การตั้งสมมตฐิาน - การประยุกตใชความรู

Page 9: หน วยที่ 3 เรื่อง การเคลื่อนที่sci/techer/backward3.pdf · - กราฟและการแปลความหมายจากกราฟ

ขั้นตอนของกระบวนการ

กิจกรรมการเรียนการสอน ทักษะการคิดท่ีเก่ียวของ

3. สนทนาตอไปเกี่ยวกับแรงไฟฟาและแรงแมเหล็กที่เรียนผานมาแลว นักเรียนคิดวาถาเราปลอยอนุภาคที่มีประจุไฟฟาเขาไปในบริเวณที่มีสนามแมเหล็ก นักเรียนคิดวาอนุภาคที่มีประจุจะมีรูปแบบการเคลื่อนที่อยางไร รูปแบบการเคลื่อนที่ของอนุภาคที่มีประจุจะขึ้นอยูกับปจจัยอะไรบาง

ขั้นสํารวจและคนหา

4. นักเรียนแตละกลุมศึกษาและทํากจิกรรมที่ 3.1 เร่ือง การเคลื่อนที่ของวัตถุในสนามโนมถวง ในหนังสือเรียนแม็ค รวมกนัวางแผนทําการทดลอง การบันทึกผลการทดลอง ตลอดจนการกําหนดสมมุติฐานและตวัแปรที่เกี่ยวของ รวบรวมขอมลูจากการสํารวจตรวจสอบ เพื่อนําไปรวมกนัวิเคราะห อภปิรายและลงขอสรุป ปฏิบัติการทดลองตามที่กลุมนักเรียนไดวางแผนไว ซ่ึงนักเรียนแตละกลุมตองมีการแบงหนาที่กันทํางานโดยไมใหซํ้ากับหนาที่เดิมที่เคยปฏิบัติมาแลว ครูซํ้าเตือนนักเรยีนเกี่ยวกับการประเมินนักเรียนในขณะทีน่ักเรียนทํางาน 5. ใหนกัเรียนแตละกลุมสืบคนและศึกษาขอมูลเกี่ยวกับการเคลื่อนที่ของวัตถุหรืออนุภาคในสนามโนมถวงและการเคลื่อนที่ของอนุภาคในสนามไฟฟาและสนามแมเหล็กจากแหลงสืบคนตางๆ เชน หนงัสือเรียนแม็ค หนังสืออางอิงตางๆ อินเทอรเน็ต เปนตน เก็บรวบรวมขอมูลจากการสืบคนใหไดมากที่สุด รวมมือรวมใจกนัภายในกลุม แบงหนาที่กนัทาํงานอยางยตุิธรรม

- การสังเกต/ การอาน - การใชขอมูล / การอธิบาย - การเขียน / การสํารวจ - การเก็บรวบรวมขอมูล - การตั้งสมมตฐิาน - การคาดคะเน - การใหเหตุผล - การวิเคราะห - การผสมผสานขอมูล - การจัดระบบความคิด

ขั้นอธิบายและลงขอสรุป

6. นําขอมูลที่ไดจากการทํากิจกรรมที่ 3.1 มารวมกันวิเคราะห แปลความหมาย จดักระทํา ลงขอสรุปแลวจัดทํารายงานฉบับสมบูรณ

- การสังเกต - การใชขอมูล / การอธิบาย - การสํารวจ

Page 10: หน วยที่ 3 เรื่อง การเคลื่อนที่sci/techer/backward3.pdf · - กราฟและการแปลความหมายจากกราฟ

ขั้นตอนของกระบวนการ

กิจกรรมการเรียนการสอน ทักษะการคิดท่ีเก่ียวของ

อธิบายซักถามกันภายในกลุมจนเขาใจตรงกัน 5. นักเรียนแตละกลุมรวมกนันําขอมูลที่รวบรวมที่ไดจากการศึกษา มารวมกันระดมสมองแปลความหมาย วิเคราะห จดักระทาํ ลงขอสรุปรวมกันแลวสรุปผลการสืบคนในรูปของแผนผังความคดิ ซ่ึงนักเรียนสามารถใชการวาดรูปประกอบเพือ่ส่ือความหมายผลการสืบคนใหนาสนใจ ตกแตงใหสวยงามภายในเวลาที่กําหนด และอภิปรายซักถามกันภายในกลุมจนเปนที่เขาใจตรงกัน 6. สุมตัวแทนนักเรียนจากกลุมตางๆ ประมาณ 1-2 กลุม นําเสนอผลงานการทดลองตามรายละเอียดในกิจกรรมที่ 3.1 จากนั้นรวมกันอภิปรายซักถามเพื่อใหไดขอสรุปที่สมบูรณที่สุด 7. ใหนกัเรียนแตละกลุมนําแผนผังความคดิ ไปติดที่ผนังหองเรียน สุมตัวแทนนักเรยีนจากกลุมตาง ๆ ประมาณ 1- 2 กลุม นําเสนอผลงานรวมกันอภิปรายสรุปเพื่อใหไดขอสรุปที่ตรงกันและสมบูรณทีสุ่ด ครูช้ีใหนกัเรียนเห็นวาผลงานที่สมบูรณควรไดขอคนพบอยางไรบาง จากนั้นใหนกัเรียนแตละกลุมผลัดเปลี่ยนกันใหคะแนน

- การหาความเชื่อพื้นฐาน - การใหเหตุผล - การวิเคราะห /สังเคราะห - การผสมผสานขอมูล - การจัดระบบความคิด - การประยุกตใชความรู - การแกไขปรับปรุงโครงสรางความรู

ขั้นขยายความรู 8. ครูใหความรูเพิ่มเติมเกีย่วกับการเคลื่อนที่ของวัตถุหรืออนุภาคในสนามโนมถวง และการเคลื่อนที่ของอนุภาคในสนามไฟฟาและสนามแมเหล็ก โดยใชส่ือ power point

- การฟง - การเชื่อมโยง - การเขียน - การวิเคราะห - การจัดระบบการคิด - การประยุกตใชความรู

ขั้นประเมิน 9. เปดโอกาสใหนกัเรียนซักถามขอสงสัย ที่นักเรียนยังไมเขาใจเกีย่วกับเรื่องที่เรียน

- การสรุปยอ - การพูด

Page 11: หน วยที่ 3 เรื่อง การเคลื่อนที่sci/techer/backward3.pdf · - กราฟและการแปลความหมายจากกราฟ

ขั้นตอนของกระบวนการ

กิจกรรมการเรียนการสอน ทักษะการคิดท่ีเก่ียวของ

10. สุมนักเรียนอภิปรายสรปุเกี่ยวกับความรูที่ไดรับในการศึกษาในครั้งนี ้11. นักเรียนบนัทึกผลการเรียนรูในสมดุบนัทึกผลการเรียนรูรายช่ัวโมง 12. ติชม/เสนอแนะเกี่ยวกับขอคนพบตาง ๆ จากการสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในการเรียนรูคร้ังนี้ 13. สอบถามความรูสึกของนกัเรียนที่มีตอการเรียนรูในครั้งนี้ รวมถึงขอเสนอแนะตาง ๆ ที่นักเรียนคิดวาควรปรับปรุงแกไข เพื่อนําไปพฒันาการเรียนรูการจัดการเรียนรูในครั้งตอไป

- การเขียน - การสรางความรูใหม

ชั่วโมงที่ 1 เร่ือง ระยะทางและการกระจัด ( กระบวนการกลุมแบบเพื่อนชวยเพื่อนเทคนิคอัศวินโตะกลม) ขั้นตอนของกระบวนการ

กิจกรรมการเรียนการสอน ทักษะการคิดท่ีเก่ียวของ

ขั้นนําเขาสูบทเรียน

1. ตั้งคําถามวา “ ในชีวิตประวันนกัเรียนพบวาวัตถุตาง ๆ เชน ปากกาทีว่างอยูบนโตะ พัดลมที่กําลังหมุน คนที่เดินอยูนอกหอง รถที่วิ่งอยูบนถนน หนังสือที่วางอยูบนโตะ” จากตวัอยางที่ยกมานกัเรียนบอกไดหรือไมวา วัตถุไหนมีการเคลื่อนที่ วัตถุไหนไมมกีารเคลื่อนที่ นักเรียนทราบไดอยางไร 2. สนทนาถึงสถานการณในชีวิตประจําวนัเกี่ยวกับมาตรวัดอัตราเร็วของรถยนต รถจักรยานยนต ซ่ึงนอกจากจะมีเข็มชีว้ัดความเร็วของรถยนตขณะกําลังเคลื่อนที่ซ่ึงอาจเปนแบบตวัเลขหรือเปนแบบขีดสเกลแลวแตชนิดของรถ ยงัมีเครื่องวัดอกีอยางหนึ่งทีบ่อกเปนตัวเลขที่เปลี่ยนแปลงไปขณะที่รถมีการ

- การสังเกต - การใชขอมูล / การอธิบาย - การสํารวจ - การหาความเชื่อพื้นฐาน - การคาดคะเน/การพยากรณ - การใหเหตุผล - การวิเคราะห - การผสมผสานขอมูล - การจัดระบบความคิด - การตั้งสมมตฐิาน - การประยุกตใชความรู

Page 12: หน วยที่ 3 เรื่อง การเคลื่อนที่sci/techer/backward3.pdf · - กราฟและการแปลความหมายจากกราฟ

ขั้นตอนของกระบวนการ

กิจกรรมการเรียนการสอน ทักษะการคิดท่ีเก่ียวของ

เคลื่อนที่ อาจมีหนวยเปนกโิลเมตรหรือไมลอยูบริเวณหนาปดรถ ตั้งคําถามกับนักเรยีนวา มีนักเรียนคนไหนเคยสังเกตบางหรือไมวา ขณะที่รถจักรยานยนตหรือรถยนตวิ่งไปนัน้ บริเวณหนาปดหนารถมีอะไรบางที่เปลี่ยนแปลง และส่ิงที่เปลี่ยนแปลงนั้นบอกคาอะไรบาง ปริมาณที่แสดงออกมานั้นจัดเปนปรมิาณเวกเตอรหรือปริมาณสเกลาร เพราะเหตใุด

ขั้นเรียนรู 3. นําเสนอปญหาในเรื่องทีจ่ะศึกษาดังตอไปนี ้ - ระยะทางกับการกระจัดคืออะไร แตกตางกันอยางไร ใหอธิบายและยกตัวอยางประกอบ - ตําแหนงของวัตถุมีความสําคัญอยางไร และตําแหนงของวัตถุมีความเกี่ยวกับกับระยะทางและการกระจดัหรือไม อยางไร ในการสังเกตการเคลื่อนที่ของวัตถุ ตําแหนงมีความสําคัญอยางไร 4. ใหนกัเรียนแตละกลุม แบงออกเปน 2 กลุมยอย จากนั้นใหแตละกลุมยอยศึกษารายละเอียดของประเด็นปญหากลุมยอยละ 1 ปญหา โดยการสืบคนขอมูลจากแบบเรยีนแม็ค หนังสืออางอิงหรือแหลงเรียนรูอ่ืน ๆ โดยในการทาํงานรวมกันนักเรียนควรจะชวยเหลือเกื้อกูลกนั รูจักแบงปน แลกเปลี่ยนเรียนรูซ่ึงกันและกัน มนี้ําใจ รูรักสามัคคีกัน ชวยเหลือกนั ขจัดความเห็นแกตัว เหน็ความสําคัญของการทํางานเปนทีม 5. นําความรูทีไ่ดจากการสืบคนมารวมกันลงขอสรุปเปนองคความรูของกลุม 6. สุมตัวแทนนักเรียนจากกลุมตาง ๆ โดยการจับฉลากประมาณ 1 –2 กลุม นําเสนอผลการระดมสมอง จากนั้นรวมกันอภิปรายซักถามจน

- การสังเกต/ การอาน - การใชขอมูล / การอธิบาย - การเขียน / การสํารวจ - การเก็บรวบรวมขอมูล - การสรุปอางอิง - การแปล / การตีความ - การขยายความ / การใหเหตุผล - การวิเคราะห/ การสังเคราะห - การผสมผสานขอมูล - การจัดระบบความคิด - การสรางความรูใหม - การประยุกตใชความรู - การเชื่อมโยงองคความรู

Page 13: หน วยที่ 3 เรื่อง การเคลื่อนที่sci/techer/backward3.pdf · - กราฟและการแปลความหมายจากกราฟ

ขั้นตอนของกระบวนการ

กิจกรรมการเรียนการสอน ทักษะการคิดท่ีเก่ียวของ

ไดขอสรุปที่เปนที่เขาใจตรงกัน ขั้นนําไปใช 7. ครูนําเสนอแผนที่ทางหลวง จากนั้นตั้งคําถาม

เพื่อใหนักเรยีนนําความรูที่ไดศึกษามาใชในการแกปญหา โดยการใหนกัเรียนบอกตําแหนงที่ตั้งของตําบล อําเภอ ที่ครูตองการใหนักเรียนอธิบาย 8. มอบหมายใหนกัเรียนตอบคําถามในแบบเรียนแม็คหนา 99

- การฟง - การเชื่อมโยง - การเขียน - การวิเคราะห - การจัดระบบการคิด - การประยุกตใชความรู

ขั้นประเมิน 9. ชักถามนักเรียนเกีย่วกับการนําความรูเกีย่วกับเร่ืองนี้ไปใชในชีวิตประจําวนั 10. เปดโอกาสใหนักเรียนซกัถามขอสงสัย ที่นักเรียนยังไมเขาใจเกีย่วกับเรื่องที่เรียน 11. สุมนักเรียนอภิปรายสรปุเกี่ยวกับความรูที่ไดรับในการศึกษาในครั้งนี ้12. ใหนกัเรียนสรุปผลการเรียนรูในครั้งนีใ้นสมุดบันทึกผลการเรียนรูรายชั่วโมง

- การสรุปยอ - การพดู/การฟง - การเขียน - การสรางความรูใหม

ชั่วโมงที่ 2 เร่ือง ระยะทางและการกระจัด ( กระบวนการกลุมแบบเพื่อนชวยเพื่อน เทคนิค Leaning Together ) ขั้นตอนของกระบวนการ

กิจกรรมการเรียนการสอน ทักษะการคิดท่ีเก่ียวของ

ขั้นนําเขาสูบทเรียน

1. ใหนกัเรียนแตละคนสังเกตภาพการเคลือ่นที่ของรถในแนวตรง(ครูควรหาภาพที่ส่ือใหเห็นถึงรถที่เคลื่อนที่ดวยความเรว็ที่ไมเทากันหรือใชภาพเคลื่อนไหวจากอนิเตอรเนท) และตั้งคําถามนักเรียนดังตอไปนี ้ - รถในภาพที่นักเรยีนเห็นวิ่งดวยอัตราเร็วเทากันหรือไม อยางไร - รถคันใดมีอัตราเร็วมากที่สุด นักเรยีน

- การสังเกต - การใชขอมูล / การอธิบาย - การสํารวจ - การหาความเชื่อพื้นฐาน - การคาดคะเน/การพยากรณ - การใหเหตุผล - การวิเคราะห - การผสมผสานขอมูล

Page 14: หน วยที่ 3 เรื่อง การเคลื่อนที่sci/techer/backward3.pdf · - กราฟและการแปลความหมายจากกราฟ

ขั้นตอนของกระบวนการ

กิจกรรมการเรียนการสอน ทักษะการคิดท่ีเก่ียวของ

สังเกตไดอยางไรหรือนักเรยีนใชอะไรเปนเกณฑในการบอกวาวัตถุใดมีอัตราเร็วมากหรือนอย - นักเรยีนคงเคยเห็นการแขงรถ เสนทางที่รถวิ่งมีลักษณะเปนอยางไร รถที่เขาเสนชัยกอนจะมีอัตราเร็วเปนอยางไรเมือ่เทียบกับรถคันอื่นๆ และใชเวลาในการเคลื่อนที่เปนอยางไร เมื่อวิ่งในเสนทางที่มคีวามยาวเชนเดียวกันกับรถคันอ่ืนๆ - ถาเราพิจารณาเสนทางที่ส้ันที่สุดของรถแขงจากจุดเริ่มตนถึงจุดสุดทายจะมีคาเทากับเสนทางที่รถแขงวิ่งจริงๆ หรือไม อยางไร - ถาเรานําความยาวของเสนทางทั้งหมดที่รถวิ่งไดจริงๆ มาเทียบกับเวลาที่รถแขงใชในการเคลื่อนที่ตั้งแตจุดเริ่มตนถึงจุดสุดทาย เปรียบเทียบกบัการนําความยาวของเสนทางที่ส้ันที่สุดที่วัดจากจุดเริ่มตนถึงสุดทายมาเทียบกับเวลาที่รถแขงใชในการเคลื่อนที่ตั้งแตจุดเริ่มตนถึงจุดสุดทายจะมีคาแตกตางกันหรือไม อยางไร ปริมาณที่นักเรียนหาไดทั้งสองกรณีนี้คือปริมาณอะไร เราจะมวีิธีการหาปริมาณเหลานีไ้ด อยางไรบาง

- การจัดระบบความคิด - การตั้งสมมตฐิาน - การประยุกตใชความรู

ขั้นเรียนรู 2. ใหนกัเรียนแตละกลุมสืบคนและศึกษาขอมูลเกี่ยวกับความหมายของอัตราเร็ว ความเรว็ การหาอัตราเร็วและความเรว็จากแหลงสืบคนตางๆ เชน หนังสือเรียนแม็คหนา 101-107 หนังสืออางอิงตางๆ อินเทอรเน็ต เปนตน แบงหนาที่ความรับผิดชอบในการทํางาน และใหสมาชิกแตละคนทําหนาที่ที่ไดรับมอบหมายใหดีที่สุด จากนั้นนําขอมูลที่รวบรวมที่ไดมาวเิคราะห จัดกระทํา ลงขอสรุปแลวเขียนสรุปเปนองคความรู

- การสังเกต/ การอาน - การใชขอมูล / การอธิบาย - การเขียน / การสํารวจ - การเก็บรวบรวมขอมูล - การสรุปอางอิง - การแปล / การตีความ - การขยายความ / การใหเหตุผล - การวิเคราะห/ การสังเคราะห - การผสมผสานขอมูล

Page 15: หน วยที่ 3 เรื่อง การเคลื่อนที่sci/techer/backward3.pdf · - กราฟและการแปลความหมายจากกราฟ

ขั้นตอนของกระบวนการ

กิจกรรมการเรียนการสอน ทักษะการคิดท่ีเก่ียวของ

ของกลุมตนเองรวมกันอภิปรายซักถามกันภายในกลุมจนเปนที่เขาใจตรงกัน 3. สุมตัวแทนนักเรียนจากกลุมตาง ๆ โดยวิธีการจับฉลากทั้งหมายเลขกลุมและหมายเลขสมาชิก ประมาณ 1- 2 กลุม นําเสนอผลงานของกลุม แลวรวมกันอภิปรายซักถามจนไดขอสรุปที่เขาใจตรงกนั

- การจัดระบบความคิด - การสรางความรูใหม - การประยุกตใชความรู - การเชื่อมโยงองคความรู

ขั้นนําไปใช 4. ครูเนนเนนเกี่ยวกับวิธีการคํานวณหาอัตราเร็วและความเรว็ พรอมใหโจทยตัวอยางเพิ่มเติม 5. ใหนกัเรียนทําแบบฝกหัดเกี่ยวกับอัตราเร็วและความเรว็เพิ่มเติม

- การฟง - การเชื่อมโยง - การเขียน - การวิเคราะห - การจัดระบบการคิด - การประยุกตใชความรู

ขั้นประเมิน 6. ชักถามนักเรียนเกีย่วกับการนําความรูเกีย่วกับเร่ืองนี้ไปใชในชีวิตประจําวนั 7. เปดโอกาสใหนกัเรียนซักถามขอสงสัย ที่นักเรียนยังไมเขาใจเกีย่วกับเรื่องที่เรียน 8. สุมนักเรียนอภิปรายสรุปเกี่ยวกับความรูที่ไดรับในการศึกษาในครั้งนี ้9. ใหนกัเรียนสรุปผลการเรียนรูในครั้งนีใ้นสมุดบันทึกผลการเรียนรูรายช่ัวโมง

- การสรุปยอ - การพดู/การฟง - การเขียน - การสรางความรูใหม

ชั่วโมงที่ 2 - 3 เร่ือง การหาอัตราเร็วและอัตราเร็วขณะหนึ่งโดยใชเคร่ืองเคาะสัญญาณเวลา (กระบวนการสืบเสาะหาความรู 5 ขั้น) ขั้นตอนของกระบวนการ

กิจกรรมการเรียนการสอน ทักษะการคิดท่ีเก่ียวของ

ขั้นเราความสนใจ 1. สนทนาทบทวนเกี่ยวกับการหาอัตราเร็ว ความเร็วเฉลี่ยที่นักเรียนไดเรียนรูจากชัว่โมงที่ผานมา

- การสังเกต - การใชขอมูล / การอธิบาย - การสํารวจ

Page 16: หน วยที่ 3 เรื่อง การเคลื่อนที่sci/techer/backward3.pdf · - กราฟและการแปลความหมายจากกราฟ

ขั้นตอนของกระบวนการ

กิจกรรมการเรียนการสอน ทักษะการคิดท่ีเก่ียวของ

2. จากการศึกษาที่ผานมา เมื่อนักเรียนตองการที่จะหาอัตราเรว็และความเรว็ของวัตถุ ตองทราบปริมาณที่เกีย่วของกับการเคลื่อนที่ของวัตถุอยางไรบาง 3. ในชีวิตเราสามารถสังเกตอัตราเร็ว/ความเร็วของการเคลื่อนที่ของวัตถุบางอยางได เชน การเคลื่อนของรถยนตเปนตน โดยสังเกตจากมาตรวัดความเร็วทีต่ิดมากับรถ นักเรียนคิดวา หากเราตองการที่จะหาอัตราเรว็เฉลี่ย ความเร็วเฉลี่ย อัตราเร็ว/ความเร็วขณะใดในหองปฏิบัติการนักเรียนจะมีวธีิการหาอยางไรไดบาง

- การหาความเชื่อพื้นฐาน - การคาดคะเน/การพยากรณ - การใหเหตุผล - การวิเคราะห - การผสมผสานขอมูล - การจัดระบบความคิด - การตั้งสมมตฐิาน - การประยุกตใชความรู

ขั้นสํารวจและคนหา

4. ใหนกัเรียนแตละกลุมรวมกันศึกษา คนควา วิเคราะหเกีย่วกับการหาอัตราเร็วเฉลี่ย ความเร็วเฉลี่ย อัตราเร็ว/ความเรว็ขณะใด โดยใชเครื่องเคาะสัญญาณเวลา ตามรายละเอียดในแบบเรียนแม็คหนา 108 - 111 รวบรวมขอมูลจากการศึกษาคนควา 5. ใหนักเรียนแตละกลุมศึกษาและทํากิจกรรมที่ 3.2 เร่ือง การหาอัตราเร็วเฉลี่ย ความเร็วเฉลี่ย อัตราเร็วขณะหนึ่ง ความเร็วขณะหนึ่ง โดยใชเครื่องเคาะสัญญาณเวลา ในหนงัสือเรียนแม็ครวมกันวางแผนทําการทดลอง การกําหนดสมมุติฐานและตัวแปรที่เกีย่วของ เก็บรวบรวมขอม ูลที่ไดจากการทดลอง และตองมีการแบงหนาที่กนัทํางาน โดยไมใหซํ้ากับหนาที่ เดิมที่เคยปฏิบัติมาแลว ครูซํ้าเกี่ยวกับการประเมนินักเรียนในระหวางการเรียนและการทํางาน

- การสังเกต - การอาน - การใชขอมูล - การอธิบาย - การเขียน - การสํารวจ - การเก็บรวบรวมขอมูล - การตั้งสมมตฐิาน - การคาดคะเน

ขั้นอธิบายและลงขอสรุป

6. นําขอมูลที่นักเรียนรวบรวมไดจากการสืบคนเกี่ยวกับการหาอัตราเร็ว/ความเร็วโดยใชเครื่องเคาะสัญญาณเวลา ทําความเขาใจ วิเคราะห

- การสังเกต - การใชขอมูล / การอธิบาย - การสํารวจ

Page 17: หน วยที่ 3 เรื่อง การเคลื่อนที่sci/techer/backward3.pdf · - กราฟและการแปลความหมายจากกราฟ

ขั้นตอนของกระบวนการ

กิจกรรมการเรียนการสอน ทักษะการคิดท่ีเก่ียวของ

แปลความหมาย เขียนสรุปเปนองคความรูของกลุม อภิปรายซักถามภายในกลุมจนเปนทีเ่ขาใจตรงกัน 7. นักเรียนแตละกลุมรวมกนันําขอมูลที่รวบรวมที่ไดจากการทดลองมาวิเคราะห แปลความหมาย จดักระทํา ลงขอสรุปรวมกันอภิปรายซักถามกันภายในกลุมจนเปนที่เขาใจตรงกันแลวจัดทํารายงานฉบบัสมบูรณ 8. สุมตัวแทนนักเรียนจากกลุมตาง ๆ โดยการจับฉลากประมาณ 1 -2 กลุม นําเสนอผลการสรุปความรูที่ไดจากการคนควา 8. สุมตัวแทนนักเรียนจากกลุมตาง ๆ โดยการจับฉลากทั้งหมายเลขกลุมและหมายเลขสมาชิกนําเสนอผลการทดลองและขอสรุปที่ไดจากการทดลองที่ 3.2 แลวรวมกันอภิปรายสรุปจนเปนที่เขาใจตรงกนั

- การหาความเชื่อพื้นฐาน - การใหเหตุผล - การวิเคราะห /สังเคราะห - การผสมผสานขอมูล - การจัดระบบความคิด - การประยุกตใชความรู - การแกไขปรับปรุงโครงสรางความรู

ขั้นขยายความรู 9. ครูใหความรูเพิ่มเติมเกีย่วกับการหาอัตราเร็ว และความเรว็ของวัตถุโดยใชส่ือ power point และสื่อ animation 10. ใหนกัเรียนฝกโจทยปญหาเพิ่มเติม 11. นักเรียนสามารถนําความรูที่ศึกษาเกีย่วกับเร่ืองนี้ไปใชประโยชนในชีวติประจําวนัไดอยางไรบาง ลองยกตวัอยางประกอบ สุมตัวแทนนักเรียนนําเสนอคําตอบ รวมอภิปรายสรุปจนเปนที่เขาใจตรงกัน

- การฟง - การเชื่อมโยง - การวเิคราะห - การจัดระบบการคิด - การประยุกตใชความรู

ขั้นประเมิน 12. เปดโอกาสใหนักเรียนซกัถามขอสงสัย ที่นักเรียนยังไมเขาใจเกีย่วกับเรื่องที่เรียน 13. สุมนักเรียนอภิปรายสรปุเกี่ยวกับความรูที่ไดรับในการศึกษาในครั้งนี ้14. นักเรียนบนัทึกผลการเรียนรูในสมดุบนัทึก

- การสรุปยอ - การพูด - การเขียน - การสรางความรูใหม

Page 18: หน วยที่ 3 เรื่อง การเคลื่อนที่sci/techer/backward3.pdf · - กราฟและการแปลความหมายจากกราฟ

ขั้นตอนของกระบวนการ

กิจกรรมการเรียนการสอน ทักษะการคิดท่ีเก่ียวของ

ผลการเรียนรูรายช่ัวโมง 15. ติชม/เสนอแนะเกี่ยวกับขอคนพบตาง ๆ จากการสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในการเรียนรูคร้ังนี้ 16. สอบถามความรูสึกของนกัเรียนที่มีตอการเรียนรูในครั้งนี้ รวมถึงขอเสนอแนะตาง ๆ ที่นักเรียนคิดวาควรปรับปรุงแกไข เพื่อนําไปพัฒนาการเรียนรูการจัดการเรียนรูในครั้งตอไป

ชั่วโมงที่ 4 - 5 เร่ือง อัตราเรงและความเรง (กระบวนการสืบเสาะหาความรู 5 ขั้น) ขั้นตอนของกระบวนการ

กิจกรรมการเรียนการสอน ทักษะการคิดท่ีเก่ียวของ

ขั้นเราความสนใจ 1. สนทนาทบทวนเกี่ยวกับการหาอัตราเร็ว ความเร็วเฉลี่ย 2. สาธิตการเคลื่อนที่ของวัตถุ โดยนํารางไมมาหนุนใหดานหนึ่งสูงขึ้นจากพื้นจากนั้นใชรถเด็กเลนปลอยใหเคลื่อนที่ลงมาจากปลอยที่หนุนใหสูง ใหนักเรียนสังเกตการณเคลื่อนที่ของรถ 3. ใชวัสดหุนนุใหรางไมสูงมากขึ้นกวาเดมิ จากนั้นปลอยใหรถเด็กเลนเคลื่อนที่ลงมาจากปลอยที่หนุนใหสูง นักเรียนสังเกตเห็นการเปลี่ยนแปลงอะไรที่แตกตางไปจากเดมิ ตั้งคําถามตอไปวา - ในการสังเกตการเคลื่อนที่ของรถเด็กเลนทั้งสองครั้งมีอะไรที่แตกตางกัน - ในการเคลื่อนที่ของรถเด็กเลนทั้งสองครั้งมีระยะทางในการเคลื่อนที่แตกตางกันหรือไม - ในการเคลื่อนที่ของรถเด็กเลนทั้งสองคร้ังมีเวลาในการเคลื่อนที่แตกตางกันหรือไม

- การสังเกต - การใชขอมูล - การอธิบาย - การสํารวจ - การหาความเชื่อพื้นฐาน - การคาดคะเน/การพยากรณ - การใหเหตุผล - การวิเคราะห - การผสมผสานขอมูล - การจัดระบบความคิด - การตั้งสมมตฐิาน - การประยุกตใชความรู

Page 19: หน วยที่ 3 เรื่อง การเคลื่อนที่sci/techer/backward3.pdf · - กราฟและการแปลความหมายจากกราฟ

ขั้นตอนของกระบวนการ

กิจกรรมการเรียนการสอน ทักษะการคิดท่ีเก่ียวของ

- จากการสังเกตถารถมีความเร็วมาก เวลา ในการเคลื่อนที่จะเปนอยางไร - การเปลี่ยนแปลงความเร็วเทียบกับเวลาของรถเด็กเลนจากการทดลองทั้งสองครั้งมีความแตกตางกันหรือไมอยางไร อัตราการเปลี่ยนแปลงนีช้ี้บงเกี่ยวกับอะไรสําหรับการเคลื่อนที่นี้

ขั้นสํารวจและคนหา

4. ใหนกัเรียนแตละกลุมรวมกันศึกษา คนควา วิเคราะหเกีย่วกับการหาอัตราเรงและความเรง ตามรายละเอียดในแบบเรียนแม็คหนา 114 - 117 รวบรวมขอมลูจากการศึกษาคนควาใหไดมากที่สุด 5. ใหนักเรียนแตละกลุมศึกษาและทํากิจกรรมที่ 3.3 เร่ือง การหาความเรงของวัตถุที่เคลื่นที่เปนเสนตรงในแนวราบ และกิจกรรมที่ 3.4 การหาความเรงของวัตถุที่เคลื่อนที่เปนเสนตรงในแนวดิ่ง ในหนังสือเรียนแมค็รวมกันวางแผนทําการทดลอง การกําหนดสมมตุิฐานและตัวแปรที่เกี่ยวของ เก็บรวบรวมขอม ูลที่ไดจากการทดลอง และตองมีการแบงหนาที่กนัทํางาน โดยไมใหซํ้ากับหนาที่ เดิมที่เคยปฏิบัติมาแลว ครูซํ้าเกี่ยวกับการประเมินนกัเรียนในระหวางการเรียนและการทํางาน

- การสงัเกต - การอาน - การใชขอมูล - การอธิบาย - การเขียน - การสํารวจ - การเก็บรวบรวมขอมูล - การตั้งสมมตฐิาน - การคาดคะเน

ขั้นอธิบายและลงขอสรุป

6. นําขอมูลที่นักเรียนรวบรวมไดจากการสืบคนเกี่ยวกับความเรง อัตราเรง การหาความเรงของวัตถุ เขียนสรปุเปนองคความรูของกลุม อภิปรายซักถามภายในกลุมจนเปนที่เขาใจตรงกัน 7. นักเรียนแตละกลุมรวมกนันําขอมูลที่รวบรวมที่ไดจากการทดลองที่ 3.2 และ 3.3 มา

- การสังเกต - การใชขอมูล / การอธิบาย - การสํารวจ

Page 20: หน วยที่ 3 เรื่อง การเคลื่อนที่sci/techer/backward3.pdf · - กราฟและการแปลความหมายจากกราฟ

ขั้นตอนของกระบวนการ

กิจกรรมการเรียนการสอน ทักษะการคิดท่ีเก่ียวของ

วิเคราะห แปลความหมาย จดักระทํา ลงขอสรุปรวมกัน อภิปรายซักถามกันภายในกลุมจนเปนที่เขาใจตรงกนัแลวจัดทํารายงานฉบับสมบูรณ 8. สุมตัวแทนนักเรียนจากกลุมตาง ๆ โดยการจับฉลากประมาณ 1 -2 คน นําเสนอองคความรูที่ไดจากการศึกษาคนควาเกี่ยวกับความเรงของวัตถุ 9. สุมตัวแทนนักเรียนจากกลุมตาง ๆ โดยการจับฉลากทั้งหมายเลขกลุมและหมายเลขสมาชิกนําเสนอผลการทดลองและขอสรุปที่ไดจากการทดลองที่ 3.3 และ 3.4 แลวรวมกันอภปิรายสรุปจนเปนที่เขาใจตรงกัน

- การหาความเชื่อพื้นฐาน - การใหเหตุผล - การวิเคราะห /สังเคราะห - การผสมผสานขอมูล - การจัดระบบความคิด - การประยุกตใชความรู - การแกไขปรับปรุงโครงสรางความรู

ขั้นขยายความรู 10. ครูใหความรูเพิ่มเติมเกีย่วกับความเรงของวัตถุที่เคลื่อนที่ในแนวราบและแนวดิ่ง ความเรงของวัตถุที่เคลื่อนที่ในแนวดิง่แบบอิสระ โดยใชส่ือ power point และสื่อ animation 11. ใหนกัเรียนฝกโจทยปญหาเพิ่มเติม 12. นักเรียนสามารถนําความรูที่ศึกษาเกีย่วกับเร่ืองนี้ไปใชประโยชนในชีวติประจําวนัไดอยางไรบาง ลองยกตวัอยางประกอบ สุมตัวแทนนักเรียนนําเสนอคําตอบ รวมอภิปรายสรุปจนเปนที่เขาใจตรงกัน

- การฟง - การเชื่อมโยง - การวิเคราะห/สังเคราะห - การจัดระบบการคิด - การประยุกตใชความรู

ขั้นประเมิน 13. เปดโอกาสใหนักเรียนซกัถามขอสงสัย ที่นักเรียนยังไมเขาใจเกีย่วกับเรื่องที่เรียน 14. สุมนักเรียนอภิปรายสรปุเกี่ยวกับความรูที่ไดรับในการศึกษาในครั้งนี ้15. นักเรียนบนัทึกผลการเรียนรูในสมดุบนัทึกผลการเรียนรูรายช่ัวโมง

- การสรุปยอ - การพูด - การเขียน - การสรางความรูใหม

Page 21: หน วยที่ 3 เรื่อง การเคลื่อนที่sci/techer/backward3.pdf · - กราฟและการแปลความหมายจากกราฟ

ขั้นตอนของกระบวนการ

กิจกรรมการเรียนการสอน ทักษะการคิดท่ีเก่ียวของ

16. ติชม/เสนอแนะเกี่ยวกับขอคนพบตาง ๆ จากการสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในการเรียนรูคร้ังนี้ 17. สอบถามความรูสึกของนกัเรียนที่มีตอการเรียนรูในครั้งนี้ รวมถึงขอเสนอแนะตาง ๆ ที่นักเรียนคิดวาควรปรับปรุงแกไข เพื่อนําไปพัฒนาการเรียนรูการจัดการเรียนรูในครั้งตอไป

ชั่วโมงที่ 6 - 7 เร่ือง กราฟความสัมพันธระหวางปริมาณตาง ๆ (กระบวนการสืบเสาะหาความรู 5 ขั้น) ขั้นตอนของกระบวนการ

กิจกรรมการเรียนการสอน ทักษะการคิดท่ีเก่ียวของ

ขั้นเราความสนใจ 1. สนทนาทบทวนปริมาณตางๆ ที่เกี่ยวของกับการเคลื่อนที่ตามที่ไดศึกษามาแลว 2. การหาอัตราเร็ว การหาความเร็วที่เรียนผานมาวา เรามีวิธีการหาคาอัตราเร็วและความเร็ว หรือความเรงอยางไร 3. ที่มาของอัตราเร็ว ความเรว็ ความเรง มาจากความสัมพันธระหวางปริมาณอะไร เทยีบกับปริมาณอะไร นักเรียนคดิวาถาเรานาํปริมาณทั้งสองมาเขยีนกราฟแสดงความสัมพันธ นกัเรียนคิดวากราฟที่ไดจะมีลักษณะเปนอยางไรบาง 4. กราฟที่นักเรียนไดศกึษาผานมาในวิชาคณิตศาสตรมีกราฟอะไรบาง กราฟแตละชนิดมีความหมาย และมีสมการแสดงความสัมพันธแตกตางกันหรือไม อยางไร

- การฟง - การจํา - การใชขอมูล - การอธิบาย - การสํารวจ - การหาความเชื่อพื้นฐาน - การใหเหตุผล - การวิเคราะห/สังเคราะห - การผสมผสานขอมูล - การจัดระบบความคิด - การประยุกตใชความรู

ขั้นสํารวจและคนหา

5. มอบหมายใหนักเรยีนแตละกลุมสืบคนขอมูลเกี่ยวกับกราฟความสัมพันธระหวางปริมาณ ตาง ๆ จากแหลงเรียนรูตางๆ เชน อินเทอรเน็ต หนังสือเรียนแม็ค หนังสืออางอิงอื่นๆ รวบรวม

- การสังเกต - การอาน - การใชขอมูล - การอธิบาย

Page 22: หน วยที่ 3 เรื่อง การเคลื่อนที่sci/techer/backward3.pdf · - กราฟและการแปลความหมายจากกราฟ

ขั้นตอนของกระบวนการ

กิจกรรมการเรียนการสอน ทักษะการคิดท่ีเก่ียวของ

ขอมูลใหไดมากที่สุด - การเขียน - การสํารวจ - การเก็บรวบรวมขอมูล

ขั้นอธิบายและลงขอสรุป

6. นําขอมูลที่นักเรียนรวบรวมไดจากการสืบคนเกี่ยวกับกราฟความสัมพันธระหวางปริมาณ ตาง ๆ มารวมกันวเิคราะห สังเคราะห จัดระบบขอมูล ปรับปรุงแกไของคความรูที่ไดใหสมบูรณที่สุด แลวจัดทาํในรปูของแผนผังความคิด นกัเรียนควรออกแบบการนําเสนอขอมูลใหนาสนใจ เชน วาดรูป ใชสัญลักษณ เปนตน และตกแตงใหสวยงาม ทําความเขาใจกับผลงานของกลุมโดยการอภิปรายซักถาม 7. ใหนกัเรียนแตละกลุมนําผลงานแผนผังความคิดเกีย่วกับกราฟความสัมพันธระหวางปริมาณตาง ๆ ไปติดที่ผนังหอง 8. สุมตัวแทนนักเรียนจากกลุมตาง ๆ ประมาณ 1- 2 กลุม นําเสนอผลงาน จากนั้นรวมกันอภิปรายสรุปจนเปนที่เขาใจตรงกัน และใหนักเรียนแตละกลุมผลัดเปลี่ยนกนัตรวจผลงานพรอมระบุเหตุผลในการใหคะแนน จดุเดน/จุดดอยของผลงานใหเจาของผลงานรับทราบ

- การสังเกต - การใชขอมูล / การอธิบาย - การสํารวจ - การสรุปอางอิง - การตีความหมาย - การหาความเชื่อพื้นฐาน - การใหเหตุผล - การวิเคราะห /สังเคราะห - การผสมผสานขอมูล - การจัดระบบความคิด - การประยุกตใชความรู - การสรางองคความรูใหม

ขั้นขยายความรู 9. ครูใหความรูเพิ่มเติมเกีย่วกับกราฟความสัมพันธของปริมาณตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับการเคลื่อนที่ ตัวอยางการคํานวณหาปริมาณ ตาง ๆ ของการเคลื่อนที่จากกราฟ โดยใชส่ือ power point และสื่อ animation 10. ใหนกัเรียนฝกโจทยปญหาเพิ่มเติม

- การฟง - การเชื่อมโยง - การวิเคราะห/สังเคราะห - การประยุกตใชความรู - การสรุปอางอิง - การตีความหมาย - การผสมผสานขอมูล - การสรางองคความรูใหม

Page 23: หน วยที่ 3 เรื่อง การเคลื่อนที่sci/techer/backward3.pdf · - กราฟและการแปลความหมายจากกราฟ

ขั้นตอนของกระบวนการ

กิจกรรมการเรียนการสอน ทักษะการคิดท่ีเก่ียวของ

ขั้นประเมิน 11. เปดโอกาสใหนักเรียนซกัถามขอสงสัย ที่นักเรียนยังไมเขาใจเกีย่วกับเรื่องที่เรียน 12. สุมนักเรียนอภิปรายสรปุเกี่ยวกับความรูที่ไดรับในการศึกษาในครั้งนี ้13. นักเรียนบนัทึกผลการเรียนรูในสมดุบนัทึกผลการเรียนรูรายช่ัวโมง 14. สอบถามความรูสึกของนักเรียนที่มีตอการเรียนรูในครั้งนี้ รวมถึงขอเสนอแนะตาง ๆ ที่นักเรียนคิดวาควรปรับปรุงแกไข เพื่อนําไปพัฒนาการเรียนรูการจัดการเรียนรูในครั้งตอไป

- การสรุปยอ - การพูด - การเขียน - การสรางความรูใหม

ชั่วโมงที่ 9 การเคล่ือนท่ีในแนวตรง (กระบวนการกลุมแบบ Think-Pair-Share) ขั้นตอนของกระบวนการ

กิจกรรมการเรียนการสอน ทักษะการคิดท่ีเก่ียวของ

ขั้นนําเขาสูบทเรียน

1. สนทนาทบทวนเกี่ยวกับลักษณะการเคลือ่นที่ของวัตถุที่เราพบเห็นในชวีติประจําวนั 2. ใหนกัเรียนสังเกตภาพ animation เกี่ยวกับการเคลื่อนที่ในแนวตรงในแนวระดับ และการเคลื่อนที่ในแนวตรงในแนวดิ่ง พรอมตั้งคําถามใหนกัเรียนรวมกันคิด ดังนี ้

- การสังเกต - การใชขอมูล - การอธิบาย - การสํารวจ - การเก็บรวบรวมขอมูล - การสรุปอางอิง - การแปล - การตีความ - การขยายความ - การใหเหตุผล - การวิเคราะห/ การสังเคราะห - การผสมผสานขอมูล - การประยุกตใชความรู - การเชื่อมโยงองคความรู

Page 24: หน วยที่ 3 เรื่อง การเคลื่อนที่sci/techer/backward3.pdf · - กราฟและการแปลความหมายจากกราฟ

ขั้นตอนของกระบวนการ

กิจกรรมการเรียนการสอน ทักษะการคิดท่ีเก่ียวของ

- ลักษณะหรือรูปแบบการเคลื่อนที่ของวัตถุที่นักเรยีนสังเกต มีความเหมือนหรือแตกตางกันอยางไร - แรงทีก่ระทําตอวตัถุในขณะที่วตัถุเกิดการเคลื่อนที่มีความแตกตางกันหรือไม อยางไร นักเรียนลองวิเคราะหและเขยีนภาพแสดงแรงที่กระทํากับวัตถุ

ขั้นเรียนรู 3. ตั้งคําถามนักเรียนแตละกลุมดังตอไปนี้ - จงอธิบายเกีย่วกับการเคลื่อนที่แนวตรงของวัตถุในระนาบระดับ - จงอธิบายเกีย่วกับการเคลื่อนที่แนวตรงของวัตถุในระนาบดิ่ง - อธิบายความแตกตางของการเคลื่อนที่แนวตรงในแนวดิ่งกับแนวระดับ ในแงของแรงที่กระทํา ความเร็ว ความเรงทีเ่กิดขึ้น 4. ใหนกัเรียนแตละกลุมสืบคนขอมูล คิดหาคําตอบของปญหา 5. จับคูกันภายในกลุม จากนัน้ใหผลัดเปลี่ยนกันอธิบายคําตอบของปญหาใหกันและกันฟง ใชเวลาประมาณ 10 นาที 6. สุมตัวแทนนักเรียนจากกลุมตางๆ ประมาณ 1-2 กลุม สรุปคําตอบทั้งหมดใหเพื่อนทั้งหองรับทราบ 7. ครูนําอภิปรายสรุปอีกครั้ง

- การสังเกต - การอาน/การเขียน - การใชขอมูล - การอธิบาย - การสํารวจ - การเก็บรวบรวมขอมูล - การสรุปอางอิง - การแปล - การตีความ - การขยายความ - การใหเหตุผล - การวิเคราะห/ การสังเคราะห - การผสมผสานขอมูล - การจัดระบบความคิด - การสรางความรูใหม - การประยุกตใชความรู - การเชื่อมโยงองคความรู

ขั้นประเมิน 8. เปดโอกาสใหนกัเรียนซักถามขอสงสัย ที่นักเรียนยังไมเขาใจเกีย่วกับเรื่องที่เรียน 9. สุมนักเรียนอภิปรายสรุปเกี่ยวกับความรูที่ไดรับในการศึกษาในครั้งนี ้10. นักเรียนบันทึกผลการเรียนรูในสมุดบันทึกผลการเรียนรูรายช่ัวโมง

- การสรุปยอ - การพูด - การเขียน - การประยุกตใชความรู - การใหเหตุผล - การสรางความรูใหม

Page 25: หน วยที่ 3 เรื่อง การเคลื่อนที่sci/techer/backward3.pdf · - กราฟและการแปลความหมายจากกราฟ

ชั่วโมงที่ 10 -11 เร่ือง การเคล่ือนท่ีแบบโพรเจกไทล ( กระบวนการสืบเสาะหาความรู 5 ขั้น) ขั้นตอนของกระบวนการ

กิจกรรมการเรียนการสอน ทักษะการคิดท่ีเก่ียวของ

ขั้นเราความสนใจ 1. สนทนาพูดคุยเกี่ยวกับลักษณะของการเคลื่อนที่เราพบเห็นในชวีิตและสนทนาทบทวนเกี่ยวกับการเคลื่อนที่ในแนวตรงและปริมาณตางๆ ที่เกี่ยวของตามที่ไดศึกษาผานมาแลว 2. ตั้งคําถามตอไปนี้ - จากการสังเกตลักษณะการเคลื่อนทีข่องรถยนตที่เคลื่อนที่บนทางโคง การเคลื่อนที่ของลูกปงปอง การกระโดดน้ําของนักกฬีาวายน้ํา การกระโดนของกบหรือตั๊กแตน การเคลื่อนที่ที่ยกตวัอยางมาจะมีความแตกตางกันจากการเคลื่อนที่ที่เรียนผานมาอยางไร นักเรียนคดิวาอะไรเปนสาเหตุสําคัญที่ทําใหแนวทางการเคลื่อนที่เกิดความแตกตางกนั - เมื่อนกัเรียนขวางกอนหินออกไปในแนวระดับ เหตใุดกอนหินจึงไมเคลื่อนที่เปนแนวตรงไปเรื่อย ๆ ทําไมกอนหนิจึงโคงตกสูพื้นในที่สุด

- การฟง - การจํา - การใชขอมูล - การอธิบาย - การสํารวจ - การหาความเชื่อพื้นฐาน - การใหเหตุผล - การวเิคราะห/สังเคราะห - การผสมผสานขอมูล - การจัดระบบความคิด - การประยุกตใชความรู

ขั้นสํารวจและคนหา

3. ใหนกัเรียนแตละกลุมศึกษาและทํากิจกรรมที่ 3.5 เร่ือง การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล และ 3.6 เร่ือง การยิงวตัถุ ในแบบเรยีนแม็ค รวมกนัวางแผนทําการทดลอง กําหนดสมมุติฐานและตัวแปรที่เกี่ยวของ เก็บรวบรวมขอมูลจากการทดลอง แบงหนาที่กนัทํางานโดยไมใหซํ้าหนาที่เดิม รับผิดชอบตอหนาที่ที่ไดรับมอบหมายจากกลุม ครูซํ้าเตือนนักเรยีนเกีย่วกับการประเมินนกัเรียนในขณะที่นักเรียนทํางาน

- การสังเกต - การอาน - การใชขอมูล - การอธิบาย - การเขียน - การสํารวจ - การเก็บรวบรวมขอมูล - การตั้งสมมตฐิาน - การคาดคะเน

ขั้นอธิบายและลงขอสรุป

4. นักเรียนแตละกลุมรวมกนันําขอมูลที่รวบรวมที่ไดจากการทดลองกิจกรรมที่ 3.5 และ

- การเขียน /การใชขอมูล - การอธิบาย/การสรุปอางอิง

Page 26: หน วยที่ 3 เรื่อง การเคลื่อนที่sci/techer/backward3.pdf · - กราฟและการแปลความหมายจากกราฟ

ขั้นตอนของกระบวนการ

กิจกรรมการเรียนการสอน ทักษะการคิดท่ีเก่ียวของ

3.6 มาวิเคราะห แปลความหมาย จัดกระทํา ลงขอสรุปรวมกันอภิปรายซักถามกันภายในกลุมจนเปนทีเ่ขาใจตรงกันแลวจัดทํารายงานฉบับสมบูรณ 5. สุมตัวแทนนักเรียนจากกลุมตาง ๆ โดยการจับฉลากทั้งหมายเลขกลุมและหมายเลขสมาชิกนําเสนอผลการทดลองและขอสรุปที่ไดจากการทดลองที่ 3.5 และ 3.6 แลวรวมกันอภิปรายสรุปจนเปนที่เขาใจตรงกัน

- การแปล / การตีความ - การขยายความ - การใหเหตุผล - การวิเคราะห/ การสังเคราะห - การผสมผสานขอมูล - การจดัระบบความคิด - การสรางความรูใหม - การประยุกตใชความรู - การเชื่อมโยงองคความรู

ขั้นขยายความรู 6. ครูใหความรูเพิ่มเติมเกีย่วกับการเคลื่อนที่แบบวิถีโคง โดยใชส่ือ power point และสื่อ animation 7. ใหนกัเรียนแตละกลุมระดมสมองเพื่อยกตวัอยางการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทลที่นักเรียนพบเหน็ในชวีิตประจํากลุมละประมาณ 2 - 3 ตัวอยาง พรอมทั้งอภิปรายเกีย่วกับลักษณะการเคลื่อนของวัตถุนั้น 8. นักเรียนรวมกันอภิปรายคําถามของกิจกรรมลองสืบคนและอภิปรายในหนังสือเรียนแมค็ 9. ใหนกัเรยีนนําความรูเกีย่วกับการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทลไปวิเคราะหเชื่อมโยงกับการเลนกีฬา พรอมใหเหตุผลวาจะสามารถนําความรูเกี่ยวกบัเรื่องนี้ไปใชในการเลนกีฬาชนิดนั้นอยางไรไดบาง เพราะเหตุใด

- การฟง - การเชื่อมโยง - การวิเคราะห/สังเคราะห - การประยุกตใชความรู - การสรุปอางอิง - การตีความหมาย - การผสมผสานขอมูล - การสรางองคความรูใหม

ขั้นประเมิน 10. เปดโอกาสใหนักเรียนซกัถามขอสงสัย ที่นักเรียนยังไมเขาใจเกีย่วกับเรื่องที่เรียน 11. สุมนักเรียนอภิปรายสรปุเกี่ยวกับความรูที่ไดรับในการศึกษาในครั้งนี ้12. นักเรียนบันทึกผลการเรียนรูในสมุดบันทึกผลการเรียนรูรายช่ัวโมง

- การสรุปยอ - การพูด - การเขียน - การประยุกตใชความรู - การใหเหตุผล - การสรางความรูใหม

Page 27: หน วยที่ 3 เรื่อง การเคลื่อนที่sci/techer/backward3.pdf · - กราฟและการแปลความหมายจากกราฟ

ชั่วโมงที่ 12 - 13 เร่ือง การเคล่ือนท่ีในแนววงกลม (กระบวนสืบเสาะหาความรูแบบ 5 ขั้น) ขั้นตอนของกระบวนการ

กิจกรรมการเรียนการสอน ทักษะการคิดท่ีเก่ียวของ

ขั้นเราความสนใจ 1. สนทนาทบทวนเกี่ยวกับการเคลื่อนที่ในแนวตรงและการเคลื่อนที่ในแนววิถีโคงตามที่ไดเรียนผานมาแลว นอกจากนีน้ักเรียนยังพบเห็นลักษณะการเคลื่อนที่แบบอื่นอีกหรือไม อยางไรบาง 2. นักเรียนทราบมาแลววา ถาเราจะทําใหวัตถุเคลื่อนที่ในแนวโคงโพรเจกไทลเราตองออกแรงทําใหวัตถุเกิดการเคลื่อนที่ในสองแนวพรอม ๆ กันและใหเกิดที่อิสระจากกนั ถานักเรียนจะทําใหวตัถุเกิดการเคลื่อนที่ในแนววงกลม นกัเรียนจะออกแรงกระทํากับวัตถุอยางไร จึงจะทําใหวัตถุนั้นเคลื่อนที่ในแนววงกลมได 3. นักเรียนคงเคยสังเกตการเคลื่อนที่ของรถไฟเหาะที่ตีลังกา เหตุใดจึงตองทํารางใหโคงเปนวงกลม หากไมมีรางโคงรถไฟจะเคลื่อนที่ในลักษณะดังกลาวไดหรือไม รางโคงมีไวทําไม เพื่อประโยชนอะไร

- การสังเกต - การใชขอมูล - การอธิบาย - การสํารวจ - การหาความเชื่อพื้นฐาน - การคาดคะเน/การพยากรณ - การใหเหตุผล - การวิเคราะห - การผสมผสานขอมูล - การจัดระบบความคิด - การตั้งสมมตฐิาน - การประยุกตใชความรู

ขั้นสํารวจและคนหา

4. ใหนกัเรียนแตละกลุมรวมกันศึกษา คนควา วิเคราะหเกีย่วกับการเคลื่อนที่ในแนววงกลม ตามรายละเอียดในแบบเรียนแม็คหนา 139 - 143 รวบรวมขอมลูจากการศึกษาคนควาใหไดมากที่สุด 5. ใหนักเรียนแตละกลุมศึกษาและทํากิจกรรมที่ 3.7 เร่ือง การเคลื่อนที่ในแนววงกลม ในหนังสือเรียนแม็ครวมกันวางแผนทําการทดลอง การกําหนดสมมุติฐานและตัวแปรที่เกี่ยวของ เก็บรวบรวมขอม ูลที่ไดจากการทดลอง และตองมีการแบงหนาที่กนัทํางาน โดยไมใหซํ้ากับหนาที่ เดิมทีเ่คยปฏิบัติมาแลว ครูซํ้าเกี่ยวกบัการ

- การสังเกต - การอาน - การใชขอมูล - การอธิบาย - การเขียน - การสํารวจ - การเก็บรวบรวมขอมูล - การตั้งสมมตฐิาน - การคาดคะเน

Page 28: หน วยที่ 3 เรื่อง การเคลื่อนที่sci/techer/backward3.pdf · - กราฟและการแปลความหมายจากกราฟ

ขั้นตอนของกระบวนการ

กิจกรรมการเรียนการสอน ทักษะการคิดท่ีเก่ียวของ

ประเมินนกัเรยีนในระหวางการเรียนและการทํางาน

ขั้นอธิบายและลงขอสรุป

6. นําขอมูลที่ไดจากการทํากิจกรรมที่ 3.7 มารวมกันวิเคราะห แปลความหมาย จดักระทํา ลงขอสรุปแลวจัดทํารายงานฉบับสมบูรณ อธิบายซักถามกันภายในกลุมจนเขาใจตรงกัน 7. นักเรียนแตละกลุมรวมกนันําขอมูลที่รวบรวมที่ไดจากการศึกษา มารวมกันระดมสมองแปลความหมาย วิเคราะห จดักระทาํ ลงขอสรุปรวมกันแลวสรุปผลการสืบคนในรูปของแผนผังเวน เปรียบเทียบลักษณะการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทลกับการเคลื่อนที่ในแนวกลม ซ่ึงนักเรียนสามารถใชการวาดรูปประกอบเพื่อส่ือความหมายใหนาสนใจ ตกแตงใหสวยงามภายในเวลาที่กําหนด และอภิปรายซักถามกันภายในกลุมจนเปนที่เขาใจตรงกัน 8. สุมตัวแทนนักเรียนจากกลุมตางๆ ประมาณ 1-2 กลุม นําเสนอผลงานการทดลองตามรายละเอียดในกิจกรรมที่ 3.7 จากนั้นรวมกันอภิปรายซักถามเพื่อใหไดขอสรุปที่สมบูรณที่สุด 9. ใหนกัเรียนแตละกลุมนําแผนผังเวนไปติดที่ผนังหองเรียน สุมตัวแทนนกัเรียนจากกลุม ตาง ๆ ประมาณ 1- 2 กลุม นําเสนอผลงานรวมกันอภิปรายสรุปเพื่อใหไดขอสรุปที่ตรงกันและสมบูรณทีสุ่ด ครูช้ีใหนกัเรียนเห็นวาผลงานที่สมบูรณควรไดขอคนพบอยางไรบาง จากนั้นใหนกัเรียนแตละกลุมผลัดเปลี่ยนกันใหคะแนน และบอกเหตุผลในการใหคะแนน บอกจุดเดนจุดดอยของผลงานของเพื่อนเพื่อการแกไข

- การใชขอมูล - การสํารวจ - การสังเกต - การอาน/การเขียน - การใชขอมูล - การอธิบาย - การสํารวจ - การเก็บรวบรวมขอมูล - การสรุปอางอิง - การแปล - การตีความ - การขยายความ - การเปรียบเทยีบ - การใหเหตุผล - การวิเคราะห/ การสังเคราะห - การผสมผสานขอมูล - การจัดระบบความคิด - การสรางความรูใหม - การประยุกตใชความรู - การเชื่อมโยงองคความรู

Page 29: หน วยที่ 3 เรื่อง การเคลื่อนที่sci/techer/backward3.pdf · - กราฟและการแปลความหมายจากกราฟ

ขั้นตอนของกระบวนการ

กิจกรรมการเรียนการสอน ทักษะการคิดท่ีเก่ียวของ

ปรับปรุงในครั้งตอไป ขั้นขยายความรู 10. ครูใหความรูเพิ่มเติมเกีย่วกับการเคลือ่นที่

ในแนววงกลม โดยใชส่ือ power point และสื่อ animation 11. ใหนกัเรียนฝกตัวอยางการคคํานวณเพิม่เติม 12. นักเรียนรวมกันอภิปรายคําถามของกิจกรรมลองสืบคนและอภิปรายในหนังสือเรียนแมค็ 13. ใหนกัเรียนแตละกลุมระดมสมองเพื่อยกตวัอยางการเคลื่อนที่แบบวงกลมที่นกัเรียนพบเห็นในชวีติประจํากลุมละประมาณ 2 - 3 ตัวอยางพรอมทั้งอภิปรายเกีย่วกับลักษณะการเคลื่อนของวัตถุนั้น

- การฟง - การเชื่อมโยง - การวิเคราะห/สังเคราะห - การประยุกตใชความรู - การสรุปอางอิง - การตีความหมาย - การผสมผสานขอมูล - การสรางองคความรูใหม

ขั้นประเมิน 14. เปดโอกาสใหนักเรียนซกัถามขอสงสัย ที่นักเรียนยังไมเขาใจเกีย่วกับเรื่องที่เรียน 15. สุมนักเรียนอภิปรายสรปุเกี่ยวกับความรูที่ไดรับในการศึกษาในครั้งนี ้16. นักเรียนบันทึกผลการเรียนรูในสมุดบันทึกผลการเรียนรูรายช่ัวโมง

- การสรุปยอ - การพูด - การเขียน - การประยุกตใชความรู - การใหเหตุผล - การสรางความรูใหม

ชั่วโมงที่ 12 - 13 เร่ือง การเคล่ือนท่ีแบบหมุน (กระบวนสบืเสาะหาความรูแบบ 5 ขั้น) ขั้นตอนของกระบวนการ

กิจกรรมการเรียนการสอน ทักษะการคิดท่ีเก่ียวของ

ขั้นเราความสนใจ 1. สนทนาทบทวนเกี่ยวกับการเคลื่อนที่แบบวงกลมที่เรียนผานมา 2. สนทนาตอไปเกี่ยวกับแรงที่ทําใหวัตถุเคลื่อนที่ในแนววงกลม นัน่คือแรงเขาสูศูนยกลาง ซ่ึงเปนแรงที่มีทิศพุงเขาหาศูนยการการเคลื่อนที่ของวัตถุและตั้งฉากกับทิศของความเร็ว ถาหากไมมีแรงนีว้ตัถุจะไมสามารถ

- การฟง - การจํา - การใชขอมูล - การอธิบาย - การสํารวจ - การหาความเชื่อพื้นฐาน - การใหเหตุผล

Page 30: หน วยที่ 3 เรื่อง การเคลื่อนที่sci/techer/backward3.pdf · - กราฟและการแปลความหมายจากกราฟ

ขั้นตอนของกระบวนการ

กิจกรรมการเรียนการสอน ทักษะการคิดท่ีเก่ียวของ

เคลื่อนที่ในแนววงกลมได แตถานักเรยีนจะทําใหวตัถุเกิดการเคลื่อนที่แบบหมุน นกัเรียนจะมีวิธีการอยางไร จะตองออกแรงกระทําตอวตัถุอยางไร จึงจะทําใหวัตถุนั้นเคลื่อนที่แบบหมุน

- การวิเคราะห/สังเคราะห - การผสมผสานขอมูล - การจัดระบบความคิด - การประยุกตใชความรู

ขั้นสํารวจและคนหา

3. แจกกลองกระดาษรูปสี่เหล่ียมใหกับนักเรียนทุกกลุม นักเรยีนทุกกลุมวางกลองกระดาษบนพื้นโตะที่เรียบ จากนั้นใหนกัเรียนออกแรงดันกลองกระดาษที่บริเวณตรงกลาง จนกระทัง่กลองกระดาษมีการเปลี่ยนแปลงสภาพการเคลื่อนที่ไปจากเดิม สังเกตวากลองกระดาษมีการเปลี่ยนแปลงสภาพการเคลื่อนที่อยางไร 4. ใหนกัเรียนวางกลองกระดาษที่บริเวณขอบโตะ ออกแรงปดกลองกระดาษใหหลุดจากขอบโตะ สังเกตวากลองกระดาษมีการเปลี่ยนแปลงสภาพการเคลือ่นที่อยางไร 5. วางกลองกระดาษบนพื้นโตะที่เรียบ ใหนักเรียนออกแรงดันกลองกระดาษที่บริเวณปลายดานใดดานหนึ่งจนกระทั่งกลองกระดาษมีการเปลี่ยนแปลงสภาพการเคลื่อนที่ไปจากเดิม สังเกตวากลองกระดาษมีการเปลี่ยนแปลงสภาพการเคลื่อนที่อยางไร 6. จากสถานการณที่ใหนักเรยีนทํา นกัเรียนบอกไดหรือไมวา เหตุใดกลองกระดาษจึงมีการเปลี่ยนแปลงสภาพการเคลื่อนที่ที่แตกตางกัน และถานักเรยีนตองการใหกลองกระดาษเกิดการเคลื่อนที่แบบหมุน นกัเรียนตองออกแรงอยางไร เหตุใดตองเปนเชนนัน้ ใหทุกกลุมรวมระดมสมองคิดหาเหตุใดของสถานการณที่เกดิขึ้น พรอมเขียนสรุปเปนผลงานของกลุม

- การสังเกต - การอาน - การใชขอมูล - การอธิบาย - การเขียน - การสํารวจ - การเก็บรวบรวมขอมูล - การตั้งสมมตฐิาน - การคาดคะเน

Page 31: หน วยที่ 3 เรื่อง การเคลื่อนที่sci/techer/backward3.pdf · - กราฟและการแปลความหมายจากกราฟ

ขั้นตอนของกระบวนการ

กิจกรรมการเรียนการสอน ทักษะการคิดท่ีเก่ียวของ

7. ใหนกัเรียนแตละกลุมศึกษาและทํากิจกรรมที่ 3.8 เร่ือง การเคลื่อนที่แบบหมุน ในแบบเรียนแม็ค รวมกนัวางแผนทําการทดลอง กําหนดสมมุติฐานและตัวแปรที่เกีย่วของ เก็บรวบรวมขอมูลจากการทดลอง แบงหนาที่กนัทํางานโดยไมใหซํ้าหนาที่เดิม รับผิดชอบตอหนาที่ทีไ่ดรับมอบหมายจากกลุม ครูย้ําเตอืนนักเรยีนเกีย่วกับการประเมินนกัเรียนในขณะที่นักเรียนทํางาน

ขั้นอธิบายและลงขอสรุป

5. นักเรียนอภปิรายซักถาม ทําความเขาใจกันภายในกลุมเกีย่วกับเหตุผลของสถานการณในการออกแรงกระทําตอกลองกระดาษจนเปนที่เขาใจตรงกนั 6. นักเรียนแตละกลุมรวมกนันําขอมูลที่รวบรวมที่ไดจากการทดลองกิจกรรมที่ 3.8 เร่ือง การเคลื่อนที่แบบหมุน มาวเิคราะห แปลความหมาย จัดกระทาํ ลงขอสรุปรวมกันอภิปรายซักถามกันภายในกลุมจนเปนที่เขาใจตรงกันแลวจัดทํารายงานฉบับสมบูรณ 7. สุมตัวแทนนักเรียนจากกลุมตาง ๆ โดยการจับฉลาก นําเสนอผลการระดมสมองเกี่ยวกับการวิเคราะหหาเหตุผลและคําตอบของสถานการณการออกแรงกระทําตอกลองกระดาษ 8. สุมตัวแทนนักเรียนจากกลุมตาง ๆ โดยการจับฉลากทั้งหมายเลขกลุมและหมายเลขสมาชิกนําเสนอผลการทดลองและขอสรุปที่ไดจากการทดลองที่ 3.8 แลวรวมกันอภิปรายสรุปจนเปนที่เขาใจตรงกนั

- การเขียน /การใชขอมูล - การอธิบาย/การสรุปอางอิง - การแปล / การตีความ - การขยายความ - การใหเหตุผล - การวิเคราะห/ การสังเคราะห - การผสมผสานขอมูล - การจัดระบบความคิด - การสรางความรูใหม - การประยุกตใชความรู - การเชื่อมโยงองคความรู

ขั้นขยายความรู 9. ครูใหความรูเพิ่มเติมเกีย่วกับการเคลื่อนที่แบบหมุน โดยใชส่ือ power point และสื่อ animation

- การฟง - การเชื่อมโยง - การวิเคราะห/สังเคราะห

Page 32: หน วยที่ 3 เรื่อง การเคลื่อนที่sci/techer/backward3.pdf · - กราฟและการแปลความหมายจากกราฟ

ขั้นตอนของกระบวนการ

กิจกรรมการเรียนการสอน ทักษะการคิดท่ีเก่ียวของ

10. ใหนกัเรียนแตละกลุมระดมสมองเพื่อยกตวัอยางการเคลื่อนที่แบบหมุนที่นกัเรยีนพบเห็นในชีวิตประจํากลุมละประมาณ 2 - 3 ตัวอยาง พรอมทั้งอภิปรายเกี่ยวกับลักษณะการเคลื่อนของวัตถุนั้น 11. นักเรียนรวมกันอภิปรายคําถามของกิจกรรมลองสืบคนและอภิปรายในหนังสือเรียนแมค็ 12. ใหนกัเรียนนําความรูเกีย่วกับการเคลือ่นที่แบบหมุนไปวเิคราะหเชื่อมโยงกับการเลนกีฬา พรอมใหเหตุผลวาจะสามารถนําความรูเกีย่วกับเร่ืองนี้ไปใชในการเลนกฬีาชนิดนั้นอยางไร ไดบาง เพราะเหตุใด

- การประยุกตใชความรู - การสรุปอางอิง - การตีความหมาย - การผสมผสานขอมูล - การสรางองคความรูใหม

ขั้นประเมิน 13. เปดโอกาสใหนักเรียนซกัถามขอสงสัย ที่นักเรียนยังไมเขาใจเกีย่วกับเรื่องที่เรียน 14. สุมนักเรียนอภิปรายสรปุเกี่ยวกับความรูที่ไดรับในการศึกษาในครั้งนี ้15. นักเรียนบันทึกผลการเรียนรูในสมุดบันทึกผลการเรียนรูรายช่ัวโมง

- การสรุปยอ - การพูด - การเขียน - การประยุกตใชความรู - การใหเหตุผล - การสรางความรูใหม

ชั่วโมงที่ 14 เร่ือง การเคล่ือนท่ีแบบซิมเปลฮารมอนิก (กระบวนการกลุมแบบเพื่อนชวยเพื่อน)

ขั้นตอนของกระบวนการ

กิจกรรมการเรียนการสอน ทักษะการคิดท่ีเก่ียวของ

ขั้นนําเขาสูบทเรียน

1. รวมกันสนทนาทบทวนเกี่ยวกับการเคลื่อนที่แบบตาง ๆ เรียนผานมาแลว 2. ใหตวัแทนนักเรียนทําการสาธิตตอโดยการนํานอตผูกกับเชอืกแลวแกวงใหเกิดการเคลื่อนที่ในชวงแคบๆ พรอมตั้งคําถามกับนักเรยีนวา - การเคลื่อนที่ที่เกิดขึน้นี้มีลักษณะแตกตางจากการเคลื่อนที่แบบอื่นๆ ที่นักเรยีน

- การฟง/การสังเกต - การจํา - การใชขอมูล - การอธิบาย - การสํารวจ - การหาความเชื่อพื้นฐาน - การใหเหตุผล

Page 33: หน วยที่ 3 เรื่อง การเคลื่อนที่sci/techer/backward3.pdf · - กราฟและการแปลความหมายจากกราฟ

ขั้นตอนของกระบวนการ

กิจกรรมการเรียนการสอน ทักษะการคิดท่ีเก่ียวของ

พบเห็นมา อยางไร ลักษณะของการเคลื่อนที่แบบนี้นกัเรียนเคยพบเห็นในชีวิตประจําวนัหรือไม ลองยกตัวอยาง และอะไรเปนปจจัยสําคัญที่ทําใหเกิดการเคลื่อนที่ในลักษณะนี ้

- การบอกความรูดวยตนเอง

ขั้นเรียนรู 3. ใหนักเรยีนแตละกลุมรวมกันศึกษา คนควา วิเคราะหเกีย่วกับการเคลื่อนที่ในแบบซิมเปลฮารมอนิก ตามรายละเอียดในแบบเรียนแม็คหนา 149-151 รวบรวมขอมูลจากการศึกษาคนควาใหไดมากที่สุด 4. นักเรียนแตละกลุมรวมกนันําขอมูลที่รวบรวมที่ไดจากการศึกษา มารวมกันระดมสมองแปลความหมาย วิเคราะห จดักระทาํ ลงขอสรุปรวมกันแลวสรุปผลการสืบคนในรูปของแผนผังเวน เปรียบเทยีบลักษณะการเคลื่อนที่แบบซิมเปลฮารมอนิกกับการเคลื่อนที่แบบวงกลม ซ่ึงนักเรียนสามารถใชการวาดรูปประกอบเพื่อส่ือความหมายใหนาสนใจ ตกแตงใหสวยงามภายในเวลาที่กําหนด และอภปิรายซักถามกันภายในกลุมจนเปนที่เขาใจตรงกัน 5. ใหนกัเรียนแตละกลุมนําแผนผังเวนไปติดที่ผนังหองเรียน สุมตัวแทนนกัเรียนจากกลุม ตาง ๆ ประมาณ 1- 2 กลุม นําเสนอผลงานรวมกันอภิปรายสรุปเพื่อใหไดขอสรุปที่ตรงกันและสมบูรณทีสุ่ด ครูช้ีใหนกัเรียนเห็นวาผลงานที่สมบูรณควรไดขอคนพบอยางไรบาง จากนั้นใหนกัเรียนแตละกลุมผลัดเปลี่ยนกันใหคะแนน และบอกเหตุผลในการใหคะแนน บอกจุดเดนจุดดอยของผลงานของเพื่อนเพื่อการแกไขปรับปรุงในครั้งตอไป

- การสังเกต - การอาน/การเขียน - การใชขอมูล - การอธิบาย - การสํารวจ - การเก็บรวบรวมขอมูล - การสรุปอางอิง - การแปล - การตีความ - การขยายความ - การใหเหตุผล - การวิเคราะห/ การสังเคราะห - การผสมผสานขอมูล - การจัดระบบความคิด - การสรางความรูใหม - การประยุกตใชความรู - การเชื่อมโยงองคความรู

Page 34: หน วยที่ 3 เรื่อง การเคลื่อนที่sci/techer/backward3.pdf · - กราฟและการแปลความหมายจากกราฟ

ขั้นตอนของกระบวนการ

กิจกรรมการเรียนการสอน ทักษะการคิดท่ีเก่ียวของ

6. ใหนกัเรียนนําความรูเกีย่วกับการเคลื่อนที่แบบซิมเปลฮารมอนิกไปวเิคราะหเชื่อมโยงกับการเลนกฬีา พรอมใหเหตุผลวาจะสามารถนําความรูเกี่ยวกบัเรื่องนี้ไปใชในการเลนกีฬาชนิดนั้นอยางไร ไดบาง เพราะเหตุใด 7. มอบหมายใหนักเรยีนทําแบบฝกหัดทายหนวยที่ 3

ขั้นประเมิน 8. เปดโอกาสใหนกัเรียนซักถามขอสงสัย ที่นักเรียนยังไมเขาใจเกีย่วกับเรื่องที่เรียน 9. สุมนักเรียนอภิปรายสรุปเกี่ยวกับความรูที่ไดรับในการศึกษาในครั้งนี ้10. นักเรียนบันทึกผลการเรียนรูในสมุดบันทึกผลการเรียนรูรายช่ัวโมง

- การสรุปยอ - การพูด - การเขียน - การประยุกตใชความรู - การใหเหตุผล - การสรางความรูใหม

ชั่วโมงที่ 15 - 16 เร่ือง การเคล่ือนท่ีขอท่ี 1 ของนิวตัน (กระบวนการสืบเสาะหาความรู)

ขั้นตอนของกระบวนการ

กิจกรรมการเรียนการสอน ทักษะการคิดท่ีเก่ียวของ

ขั้นเราความสนใจ 1. ใหนกัเรียนแตละคนสังเกตการสาธิตการออกแรงผลักรถทดลองที่ผลิตขึ้นโดยมีวัตถุสองชิ้น วางอยูบนรถซึง่วัตถุทั้งสองชิ้นมีลักษณะภายนอกเหมือนกันทกุประการ แตมีมวลไมเทากันโดยการใสทรายลงไปในวัตถุที่ทํามาจากกระปองน้ําอัดลมในปริมาณที่ไมเทากัน จากนั้นครูตั้งคําถามนักเรียน ดังตอไปนี้ - เมื่อครูออกแรงผลักรถ รถมีการเปลี่ยนแปลงอยางไรและวัตถุที่วางอยูบนรถทั้งสองชิ้นมีการเปลี่ยนแปลงแตกตางกันอยางไร นักเรยีนบอกไดหรือไมวา เหตุใดจึงเปนเชนนั้น

- การสังเกต - การใชขอมูล / การอธิบาย - การสํารวจ - การหาความเชื่อพื้นฐาน - การคาดคะเน/การพยากรณ - การใหเหตุผล - การวิเคราะห - การผสมผสานขอมูล - การจัดระบบความคิด - การตั้งสมมตฐิาน - การประยุกตใชความรู

Page 35: หน วยที่ 3 เรื่อง การเคลื่อนที่sci/techer/backward3.pdf · - กราฟและการแปลความหมายจากกราฟ

ขั้นตอนของกระบวนการ

กิจกรรมการเรียนการสอน ทักษะการคิดท่ีเก่ียวของ

- เหตใุดวตัถุทั้งสองชิ้นที่วางอยูบนรถซึ่งมีลักษณะภายนอกเหมือนกันทุกประการจึงมีการเปลี่ยนแปลงแตกตางกัน - การเปลี่ยนแปลงสภาพเดิมของกระปองทั้งสองใบขึ้นอยูกับปริมาณอะไรของวัตถุ 2. นําเสนอชุดสื่อการเรียนรูเกี่ยวกับมวลและความเฉื่อยมาสาธิตใหนักเรยีนสังเกตการเปลี่ยนแปลงทีเ่กิดขึ้น ซ่ึงสื่อที่สรางขึ้นประกอบดวยวัตถุที่มีลักษณะภายนอกเหมอืนกัน แตมีมวลตางกนั ไดแกชุดความเฉื่อยของขวดที่บรรจุทรายลงไปไมเทากัน 3 ขวด แขวนอยูกับโครงไม ชุดตุกตาโยกศีรษะ ชุดรถบรรทุกขวดที่มีมวลไมเทากัน พรอมตั้งคาํถามกับนักเรยีนวาเหตุใดวัตถุที่มลัีกษณะภายนอกเหมือนกันจึงเปลี่ยนแปลงแตกตางกันเมื่อออกแรงกระทาํในลักษณะเดยีวกนั และวัตถุที่มีลักษณะอยางไรที่สามารถรักษาสภาพเดิมของมันไวไดดีที่สุด เพราะเหตุใดจงึเปนเชนนัน้ จากนั้นลองใหนักเรียนทุกคนไดสัมผัสกับชุดทดลอง เพือ่คนหาความจริงที่เกดิขึ้น

ขั้นสํารวจและคนหา

3. ใหนกัเรียนแตละกลุมสืบคนขอมูลเกี่ยวกับ กฏการเคลื่อนที่ขอที่ 1 ของนิวตัน มวลและความเฉื่อย สมดุลของวัตถุ จากแหลงสืบคนตางๆ เชน หนังสือเรียนแม็ค หนังสืออางอิงตางๆ อินเทอรเน็ต เปนตน รวบรวมขอมูลใหไดมากที่สุด 4. นักเรียนแตละกลุมศึกษากิจกรรมที่ 3.10 เร่ือง กฎการเคลื่อนที่ขอที่ 1 ของนิวตัน ในหนงัสือเรียนแม็ค รวมกันวางแผนทําการทดลอง การบันทึกผลการทดลอง ตลอดจนการกําหนด

- การเขียน /การใชขอมูล - การอธิบาย/การสรุปอางอิง - การแปล / การตีความ - การขยายความ /การใหเหตผุล - การวิเคราะห/ การสังเคราะห - การผสมผสานขอมูล - การจัดระบบความคิด - การสรางความรูใหม - การประยุกตใชความรู - การเชื่อมโยงองคความรู

Page 36: หน วยที่ 3 เรื่อง การเคลื่อนที่sci/techer/backward3.pdf · - กราฟและการแปลความหมายจากกราฟ

ขั้นตอนของกระบวนการ

กิจกรรมการเรียนการสอน ทักษะการคิดท่ีเก่ียวของ

สมมุติฐานและตัวแปรที่เกีย่วของ รวบรวมขอมูลจากการสํารวจตรวจสอบ เพื่อนําไปรวมกันวิเคราะห อภิปรายและลงขอสรุป ปฏิบัติการทดลองตามที่กลุมนักเรียนไดวางแผนไว ซ่ึงนักเรียนแตละกลุมตองมีการแบงหนาที่กันทํางานโดยไมใหซํ้ากับหนาที่เดิมที่เคยปฏิบัติมาแลว ครูซํ้าเตือนนักเรยีนเกี่ยวกับการประเมินนักเรียนในขณะทีน่ักเรียนทํางาน

ขั้นอธิบายและลงขอสรุป

3. นําผลการสืบคนขอมูลมารวมกันวิเคราะห แปลความหมาย อภิปรายซกัถามกันภายในกลุมจนเปนที่เขาใจตรงกัน 4. นําขอมูลที่ไดจากการทํากจิกรรมที่ 3.10 มารวมกันวิเคราะห แปลความหมาย จดักระทํา ลงขอสรุปแลวจัดทํารายงานฉบับสมบูรณ อธิบายซักถามกันภายในกลุมจนเขาใจตรงกัน 5. สุมตัวแทนนักเรียนจากกลุมตางๆ ประมาณ 1-2 กลุม นําเสนอผลงานการทดลองตามรายละเอียดในกิจกรรมที่ 3.10 และกิจกรรมลองทําดู และกิจกรรมการสืบคนขอมูลเกี่ยวกบั กฏการเคลื่อนที่ขอที่ 1 ของนิวตัน จากนั้นรวมกันอภิปรายสรุปเพื่อใหไดขอสรุปที่สมบูรณที่สุด

- การประยุกตใชความรู - การสรุปอางอิง - การตีความหมาย - การผสมผสานขอมูล - การสรางองคความรูใหม

ขั้นขยายความรู 6. ครูใหความรูเพิ่มเติมเกีย่วกับกฏการเคลื่อนที่ขอที่ 1 ของนิวตัน มวล ความเฉื่อย โดยใชส่ือ power point และสื่อ animation 7. ใหนกัเรียนแตละกลุมระดมสมองเพื่อยกตวัอยางสถานการณทีน่ักเรียนพบเห็นในชีวิตประจํากลุมละ 1 ตัวอยาง พรอมทั้งอภิปรายเกี่ยวกับเรื่องทีศ่ึกษา

- การฟง - การเชื่อมโยง - การวิเคราะห/สังเคราะห

Page 37: หน วยที่ 3 เรื่อง การเคลื่อนที่sci/techer/backward3.pdf · - กราฟและการแปลความหมายจากกราฟ

ขั้นตอนของกระบวนการ

กิจกรรมการเรียนการสอน ทักษะการคิดท่ีเก่ียวของ

ขั้นประเมิน 8. เปดโอกาสใหนกัเรียนซักถามขอสงสัย ที่นักเรียนยังไมเขาใจเกีย่วกับเรื่องที่เรียน 9. สุมนักเรียนอภิปรายสรุปเกี่ยวกับความรูที่ไดรับในการศึกษาในครั้งนี ้10. นักเรียนบันทึกผลการเรียนรูในสมุดบันทึกผลการเรียนรูรายช่ัวโมง

- การสรุปยอ - การพูด - การเขียน - การประยุกตใชความรู - การใหเหตุผล - การสรางความรูใหม

ชั่วโมงที่ 17 - 18 เร่ือง กฏการเคลื่อนท่ีขอท่ี 2 ของนิวตนั (กระบวนการสืบเสาะหาความรู)

ขั้นตอนของกระบวนการ

กิจกรรมการเรียนการสอน ทักษะการคิดท่ีเก่ียวของ

ขั้นเราความสนใจ 1. รวมกันสนทนาเกีย่วกับกฎการเคลื่อนที่ขอที่ 1 ของนิวตันโดยใชส่ือ animation จากอินเตอรเนทดังตัวอยาง 2. ใหนกัเรียนสังเกตการณเคลื่อนที่ของรถทดลอง 2 คันที่มีลักษณะเหมือนกันทุกประการ แตถูกผลักดวยแรงที่มีขนาดตางกัน รถทั้งสองมีการเปลี่ยนแปลงที่แตกตางกนัอยางไร อัตราการเปลี่ยนแปลงความเร็วของรถทั้งสองแตกตางกันหรือไม อยางไร 3. ทําการสาธิตเชนเดิม แตวางกอนมวลทีร่ถคันใดคันหนึ่งจํานวน 2 กอน จากนั้นออกแรงผลักดวยแรงขนาดเทากัน รถทั้งสองมีการ

- การสังเกต - การใชขอมูล / การอธิบาย - การสํารวจ - การหาความเชื่อพื้นฐาน - การคาดคะเน/การพยากรณ - การใหเหตุผล - การวิเคราะห - การผสมผสานขอมูล - การจัดระบบความคิด - การตั้งสมมตฐิาน - การประยุกตใชความรู

Page 38: หน วยที่ 3 เรื่อง การเคลื่อนที่sci/techer/backward3.pdf · - กราฟและการแปลความหมายจากกราฟ

ขั้นตอนของกระบวนการ

กิจกรรมการเรียนการสอน ทักษะการคิดท่ีเก่ียวของ

เปลี่ยนแปลงทีแ่ตกตางกันอยางไร อัตราการเปลี่ยนแปลงความเร็วของรถทั้งสองแตกตางกันหรือไม อยางไร 4. จากสถานการณขางตน นกัเรียนคดิวาอตัราการเปลี่ยนแปลงความเร็วของรถทดลองทั้งสองคันขึ้นอยูกับปริมาณอะไร

ขั้นสํารวจและคนหา

5. ใหนกัเรียนแตละกลุมสืบคนขอมูลเกี่ยวกับกฏการเคลื่อนที่ขอที่ 2 ของนิวตนั ในแบบเรียนแม็คหนา 157- 162 และจากแหลงสืบคนตางๆ เชน หนังสืออางอิงตางๆ อินเทอรเน็ต เปนตน แลวรวบรวมขอมลูที่ไดจากการสืบคนใหไดมากที่สุด เพื่อนําไปใชเปนขอสรุปในการสรุปอางอิงสรางองคความรูใหม 6. นักเรียนแตละกลุมศึกษากิจกรรมที่ 3.11 เร่ือง กฎการเคลื่อนที่ขอที่ 2 ของนิวตัน ในหนังสือเรียนแม็ค รวมกันวางแผนทําการทดลอง การบันทึกผลการทดลอง ตลอดจนการกําหนดสมมุติฐานและตวัแปรที่เกี่ยวของ รวบรวมขอมลูจากการสํารวจตรวจสอบ เพื่อนําไปรวมกนัวิเคราะห อภปิรายและลงขอสรุป ปฏิบัติการทดลองตามที่กลุมนักเรียนไดวางแผนไว ซ่ึงนักเรียนแตละกลุมตองมีการแบงหนาที่กันทํางานโดยไมใหซํ้ากับหนาที่เดิมที่เคยปฏบิัติมาแลว ครูซํ้าเตือนนักเรยีนเกี่ยวกับการประเมินนักเรียนในขณะทีน่ักเรียนทํางาน

- การเขียน /การใชขอมูล - การอธิบาย/การสรุปอางอิง - การแปล / การตีความ - การขยายความ /การใหเหตผุล - การวิเคราะห/ การสังเคราะห - การผสมผสานขอมูล - การจัดระบบความคิด - การสรางความรูใหม - การประยุกตใชความรู - การเชื่อมโยงองคความรู

ขั้นอธิบายและลงขอสรุป

7. นักเรียนแตละกลุมรวมกนันําขอมูลที่รวบรวมที่ไดจากการศึกษาเกีย่วกับกฎการเคลื่อนที่ขอที่ 2 ของนิวตัน มาวิเคราะห สังเคราะห จดักระทํา ลงขอสรุปรวมกันอภิปรายซักถามกันภายในกลุมจนเปนที่เขาใจ

Page 39: หน วยที่ 3 เรื่อง การเคลื่อนที่sci/techer/backward3.pdf · - กราฟและการแปลความหมายจากกราฟ

ขั้นตอนของกระบวนการ

กิจกรรมการเรียนการสอน ทักษะการคิดท่ีเก่ียวของ

ตรงกัน 8. นําขอมูลที่ไดจากการทํากิจกรรมที่ 3.11มารวมกันวิเคราะห แปลความหมาย จดักระทํา ลงขอสรุปแลวจัดทํารายงานฉบับสมบูรณ อธิบายซักถามกันภายในกลุมจนเขาใจตรงกัน 9. สุมตัวแทนนักเรียนจากกลุมตาง ๆ ประมาณ 1- 2 กลุม ผลการศึกษาเกีย่วกบักฎการเคลื่อนที่ขอที่ 2 ของนิวตัน แลวรวมกนัอภิปรายสรปุจนเขาใจตรงกนั 10. สุมตัวแทนนักเรยีนจากกลุมตางๆ ประมาณ 1-2 กลุม นําเสนอผลงานการทดลองตามรายละเอียดในกิจกรรมที่ 3.11 จากนั้นรวมกันอภิปรายสรุป เพื่อใหไดขอสรุปที่สมบูรณที่สุด

- การประยุกตใชความรู - การใชขอมูล - การใหเหตุผล - การสรุปอางอิง - การตีความหมาย - การผสมผสานขอมูล - การสรางองคความรูใหม

ขั้นขยายความรู 11. ครูใหความรูเพิ่มเติมเกีย่วกับกฏการเคลื่อนที่ขอที่ 2 ของนิวตันและการคํานวณตามรายละเอียดในหนังสือเรียนแม็คและสื่อ animation ดังตัวอยาง 12. ใหนกัเรียนลองฝกคํานวณจากโจทยที่ครูกําหนดขึ้น 13. ใหนกัเรียนตอบคําถามเกี่ยวกับการนําความรูเร่ือง กฎการเคลื่อนที่ขอที่ 2 ของนิวตัน ไปอธิบายเหตุการณหรือสถานการณในชีวิตประจําวัน

- การฟง - การเชื่อมโยง - การเขียน - การวิเคราะห - การจัดระบบการคิด - การประยุกตใชความรู

Page 40: หน วยที่ 3 เรื่อง การเคลื่อนที่sci/techer/backward3.pdf · - กราฟและการแปลความหมายจากกราฟ

ขั้นตอนของกระบวนการ

กิจกรรมการเรียนการสอน ทักษะการคิดท่ีเก่ียวของ

ขั้นประเมิน 14. เปดโอกาสใหนักเรียนซกัถามขอสงสัย ที่นักเรียนยังไมเขาใจเกีย่วกับเรื่องที่เรียน 15. สุมนักเรียนอภิปรายสรปุเกี่ยวกับความรูที่ไดรับในการศึกษาในครั้งนี ้16. นักเรียนบนัทึกผลการเรียนรูในสมดุบนัทึกผลการเรียนรูรายช่ัวโมง 17. ติชม/เสนอแนะเกี่ยวกับขอคนพบตาง ๆ จากการสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในการเรียนรูคร้ังนี้ 18. สอบถามความรูสึกของนกัเรียนที่มีตอการเรียนรูในครั้งนี้ รวมถึงขอเสนอแนะตาง ๆ ที่นักเรียนคิดวาควรปรับปรุงแกไข เพื่อนําไปพัฒนาการเรียนรูการจัดการเรียนรูในครั้งตอไป

- การสรุปยอ - การพูด - การเขียน - การสรางความรูใหม

ชั่วโมงที่ 19 - 20 เร่ือง กฏการเคลื่อนท่ีขอท่ี 3 ของนิวตนั (กระบวนการสืบเสาะหาความรู) ขั้นตอนของกระบวนการ

กิจกรรมการเรียนการสอน ทักษะการคิดท่ีเก่ียวของ

ขั้นเราความสนใจ 1. รวมกันสนทนาทบทวนเกี่ยวกับกฎการเคลื่อนที่ขอที่ 1 และ 2 ของนิวตันทีเ่รียนผานแลว 2. รวมกันสนทนาเกีย่วกับสถานการณที่พบในชีวิต เชน การที่เราโยนลุกบอลไปกระทบกับผนังเพราะเหตใุด ลูกบอลจึงเคลื่อนที่สะทอนกลับออกมาจากผนังได แรงที่ทําใหลูกบอลเคลื่อนที่สะทอนกลับเกิดขึน้ไดอยางไร มาจากไหน มลัีกษณะเปนอยางไร

- การสังเกต - การใชขอมูล / การอธิบาย - การสํารวจ - การหาความเชื่อพื้นฐาน - การคาดคะเน/การพยากรณ - การใหเหตุผล - การวิเคราะหผสมผสานขอมูล - การตั้งสมมตฐิาน - การประยุกตใชความรู

ขั้นสํารวจและคนหา

3. นักเรียนแตละกลุมศึกษากิจกรรมที่ 3.11 เรื อง กฎการเคลื่อนที่ขอที่ 2 ของนิวตัน ในหนังสือเรียนแม็ค รวมกนัวางแผนทําการ

Page 41: หน วยที่ 3 เรื่อง การเคลื่อนที่sci/techer/backward3.pdf · - กราฟและการแปลความหมายจากกราฟ

ขั้นตอนของกระบวนการ

กิจกรรมการเรียนการสอน ทักษะการคิดท่ีเก่ียวของ

ทดลอง การบันทึกผลการทดลอง ตลอดจนการกําหนดสมมุติฐานและตวัแปรที่เกี่ยวของ รวบรวมขอมลูจากการสํารวจตรวจสอบ เพื่อนําไปรวมกนัวิเคราะห อภปิรายและลงขอสรุป ปฏิบัติการทดลองตามที่กลุมนักเรียนไดวางแผนไว ซ่ึงนักเรียนแตละกลุมตองมีการแบงหนาที่กันทํางานโดยไมใหซํ้ากับหนาที่เดิมที่เคยปฏิบัติมาแลว ครูซํ้าเตือนนักเรยีนเกี่ยวกับการประเมินนักเรียนในขณะทีน่ักเรียนทํางาน

ขั้นอธิบายและลงขอสรุป

4. นักเรียนแตละกลุมรวมกนันําขอมูลที่รวบรวมที่ไดจากการทดลองเกี่ยวกับกฎการเคลื่อนที่ขอที่ 3 ของนิวตัน มาวิเคราะห สังเคราะห จดักระทํา ลงขอสรุปรวมกันอภิปรายซักถามกันภายในกลุมจนเปนที่เขาใจและจัดทํารายงานฉบับสมบูรณ 5. สุมตัวแทนนักเรียนจากกลุมตางๆ ประมาณ 1-2 กลุม นําเสนอผลงานการทดลองตามรายละเอียดในกิจกรรมที่ 3.12 จากนั้นรวมกันอภิปรายสรุป เพื่อใหไดขอสรุปที่สมบูรณที่สุด 6. มอบหมายใหนักเรยีนแตละกลุมคิดหาคําตอบของกิจกรรมลองทําดูในหนา 167 แลวสุมตัวแทนนักเรียนนําเสนอคําตอบ จากนั้นรวมกันอภิปรายสรุป 7. ใหนกัเรียนแตละกลุมทําแผนผังความคดิสรุปเกี่ยวกับกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันทั้งสามขอ พรอมยกตวัอยางสถานการณในชวีิตที่เกี่ยวของกับกฎการเคลือ่นที่แตละขอ ออกแบบการนําเสนอขอมูลใหนาสนใจ ตกแตงผลงานใหสวยงาม 8. ใหนกัเรียนแตละกลุมนําแผนผังความคดิ ไป

- การประยุกตใชความรู - การใชขอมูล - การใหเหตุผล - การสรุปอางอิง - การวิเคราะห/สังเคราะห - การตีความหมาย - การผสมผสานขอมูล - การสรางองคความรูใหม

Page 42: หน วยที่ 3 เรื่อง การเคลื่อนที่sci/techer/backward3.pdf · - กราฟและการแปลความหมายจากกราฟ

ขั้นตอนของกระบวนการ

กิจกรรมการเรียนการสอน ทักษะการคิดท่ีเก่ียวของ

ติดที่ผนังหองเรียน สุมตัวแทนนักเรยีนจากกลุมตาง ๆ ประมาณ 1- 2 กลุม นําเสนอผลงาน 9. รวมกันอภปิรายสรุปเกี่ยวกับแรงเสียดทานที่ใหสืบคนเพื่อใหไดขอสรุปที่ตรงกันและสมบูรณที่สุด ครูช้ีใหนักเรียนเห็นวาผลงานที่สมบูรณควรไดขอคนพบอยางไรบาง จากนั้นใหนักเรียนแตละกลุมผลัดเปลี่ยนกันใหคะแนนผลงานเพื่อน พรอมระบุเหตผุลในการใหคะแนนดวยวา เพราะเหตุใดจึงใหคะแนนเทานัน้

ขั้นขยายความรู 10. ครูใหความรูเพิ่มเติมเกีย่วกับกฏการเคลื่อนที่ขอที่ 3 ของนิวตันตามรายละเอียดในหนังสือเรียนแม็คและสื่อ animation ดังตัวอยาง

- การฟง - การเชื่อมโยง - การเขียน - การวิเคราะห - การจัดระบบการคิด - การประยุกตใชความรู

ขั้นประเมิน 11. เปดโอกาสใหนักเรียนซกัถามขอสงสัย ที่นักเรียนยังไมเขาใจเกีย่วกับเรื่องที่เรียน 12. สุมนักเรียนอภิปรายสรปุเกี่ยวกับความรูที่ไดรับในการศึกษาในครั้งนี ้13. นักเรียนบนัทึกผลการเรียนรูในสมดุบนัทึกผลการเรียนรูรายช่ัวโมง 14. ติชม/เสนอแนะเกี่ยวกับขอคนพบตาง ๆ จากการสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในการเรียนรูคร้ังนี้ 15. มอบหมายใหนกัเรียนทําแบบฝกหัดทายหนวยที่ 3

- การสรุปยอ - การพูด - การเขียน - การสรางความรูใหม

Page 43: หน วยที่ 3 เรื่อง การเคลื่อนที่sci/techer/backward3.pdf · - กราฟและการแปลความหมายจากกราฟ

7. การประเมินผลการเรียนรู 7.1 วิธีการประเมินผล 1. ครูประเมิน - ประเมินขณะที่ปฏิบัติกจิกรรม - ประเมินคณุลักษณะทีพ่งึประสงค ตามรายละเอียดในแบบประเมนิ - ประเมินทกัษะการปฏิบัติ ความคลองแคลวในการทาํกิจกรรม การใชเครื่องมือโดยใช แบบสังเกตการณปฏิบัตกิิจกรรม - ประเมินทกัษะการคิดจากการตอบคําถาม การถามคําถาม การวิเคราะหขอมูล การลงขอสรุป การอาน การฟง การเขียน การสรางสรรคผลงาน อธิบาย การอภิปราย การนําเสนอผลงาน เปนตน - ประเมินจากผลของการทํากิจกรรมคือ รายงานการทาํกิจกรรม รายงานการทดลอง สมุดบันทึกผลการเรียนรู 2. นักเรียนประเมิน - ประเมินตนเอง - ประเมินเพื่อน 7.2 เคร่ืองมือประเมิน - แบบประเมินการอภิปรายหรือการนําเสนอผลงาน - แบบสังเกตและประเมนิพฤติกรรม - แบบประเมินการรับฟงการนําเสนอกจิกรรมการเรียนรู - แบบสังเกตการทดลองของครูและนักเรยีน - แบบประเมินการทํางานกลุม - แบบประเมินแผนผังความคิด - แบบประเมินการสืบคนขอมูล - สมุดบันทกึผลการเรียนรูรายช่ัวโมง - คําถาม แบบฝกหัด ใบกิจกรรม แบบฝก 7.3 เกณฑการประเมินผล 1. การประเมินผลงาน

1. ระดับคุณภาพของผลงานดีมาก ไดคะแนน 5 คะแนน 2. ระดับคุณภาพของผลงานดี ไดคะแนน 4 คะแนน 3. ระดับคุณภาพของผลงานพอใช ไดคะแนน 3 คะแนน 4. ระดับคุณภาพของผลงานปรับปรุง ไดคะแนน 2 คะแนน

Page 44: หน วยที่ 3 เรื่อง การเคลื่อนที่sci/techer/backward3.pdf · - กราฟและการแปลความหมายจากกราฟ

2. การประเมนิการนําเสนอผลงาน 1. ระดับคุณภาพของการนําเสนอผลงาน ดีมาก ไดคะแนน 5 คะแนน 2. ระดับคุณภาพของการนําเสนอผลงาน ดี ไดคะแนน 4 คะแนน 3. ระดับคุณภาพของการนําเสนอผลงาน พอใช ไดคะแนน 3 คะแนน 4. ระดับคุณภาพของการนําเสนอผลงาน นอย ไดคะแนน 2 คะแนน 5. ระดับคุณภาพของการนําเสนอผลงาน ปรับปรุง ไดคะแนน 1 คะแนน

3. การประเมนิผลการสังเกตการทดลอง การทํางานกลุมและพฤติกรรมการทํางานในกลุม 1. ระดับคุณภาพของการปฏิบัติ ดีมาก ไดคะแนน 5 คะแนน 2. ระดับคุณภาพของการปฏิบัติ ดี ไดคะแนน 4 คะแนน 3. ระดับคุณภาพของการปฏิบัติ พอใช ไดคะแนน 3 คะแนน 4. ระดับคุณภาพของการปฏิบัติ ปรับปรุง ไดคะแนน 2 คะแนน

4. การประเมินการรบัฟงการนําเสนอกิจกรรมการเรียนรู 1. ระดับคุณภาพของการรับฟงนําเสนอผลงาน ดีมาก ไดคะแนน 5 คะแนน 2. ระดับคุณภาพของการรับฟงนําเสนอผลงาน ดี ไดคะแนน 4 คะแนน 3. ระดับคุณภาพของการรับฟงนําเสนอผลงาน พอใช ไดคะแนน 3 คะแนน 4. ระดับคุณภาพของการรับฟงนําเสนอผลงาน นอย ไดคะแนน 2 คะแนน 5. ระดับคุณภาพของการรับฟงนําเสนอผลงาน ปรับปรุง ไดคะแนน 1 คะแนน

5. การประเมินคุณลักษณะที่พึงประสงค

1. ระดับคุณภาพ มากที่สุด ไดคะแนน 5 คะแนน 2. ระดับคุณภาพ มาก ไดคะแนน 4 คะแนน 3. ระดับคุณภาพ ปานกลาง ไดคะแนน 3 คะแนน 4. ระดับคุณภาพ นอย ไดคะแนน 2 คะแนน 5. ระดับคุณภาพ นอยที่สุด ไดคะแนน 1 คะแนน

8. สื่อการเรียนรู

1. เครื่องเคาะสัญญาณเวลา 2. หมอแปลงโวลตต่ํา 3. สายไฟ 4. กระดาษคารบอน 5. แถบกระดาษ 6. ไมบรรทัด 7. ถุงทราย

Page 45: หน วยที่ 3 เรื่อง การเคลื่อนที่sci/techer/backward3.pdf · - กราฟและการแปลความหมายจากกราฟ

8. เหรียญ 5 บาท 9. เครื่องยิงวัตถุ

10. ไมเมตรหรือตลับเมตร 11. เชือก 12. ตุมน้ําหนักขนาด 1 กิโลกรัม 13. ตุมน้ําหนักขนาด 2 กิโลกรัม 14. กระดาษกลอง 15. เทปใส 16. วงเวียน 17. กรรไกร 18. ปากกาปากแหลม 19. แกวน้ํา 20. กระดาษหนา 21. รถทดลอง 22. กระปองน้ําอัดลม 23. ทราย 24. เชือกล่ืน 25. ขอเกี่ยวน้ําหนัก 26. นอต 27. เครื่องชั่งสปริง 28. กระดาษเขียนรายงาน 29. หนังสือเรียนสํานักพิมพแม็ค 30. แบบประเมิน 31. กลองกระดาษ 32. รางไม 33. วัสดุหนุนรางไม 34. รถเด็กเลน

9. แหลงเรียนรู 1. หองสมุด 2. หนังสือคูมือจากสํานักพิมพตางๆ 3. http://www.ipst.ac.th 4. http://www.ku.ac.th 5. http://www.chula.ac.th

Page 46: หน วยที่ 3 เรื่อง การเคลื่อนที่sci/techer/backward3.pdf · - กราฟและการแปลความหมายจากกราฟ

6. http://www.tei.or.th 7. http://www.cgat.or.th 8. http://www.nasa.gov 9. http://www.physlink.com

10. http://www.physics.berkeley.edu/ 11. http://www.rit.ac.th 12. http://www.school.net.th/library 13. http://www.sanook.com

14. http://www.google.com 10. บันทึกผลการสอน ผลการเรียนรู ดานความรู……………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………….. ดานทักษะและกระบวนการ……………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………….. ดานคุณลักษณะอันพึ่งประสงค ………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………... ………………………………………………………………………………………………………….. ผลการประเมินบรรยากาศในการจดัการเรียนรูโดยภาพรวม ………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………. ความคิดเหน็ของครูผูสอนตอการจัดกจิกรรมการเรียนรู……… ………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………. ปญหาและอุปสรรค ………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………….. ขอเสนอแนะและแนวทางการแกไข ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………...

Page 47: หน วยที่ 3 เรื่อง การเคลื่อนที่sci/techer/backward3.pdf · - กราฟและการแปลความหมายจากกราฟ

ลงชื่อ……………………………………...ผูจัดกิจกรรมการเรียนรู (นางณฐัภัสสร เหลาเนตร) ตําแหนงครูชํานาญการพิเศษ ………./………./……….. 11. ขอเสนอแนะของหัวหนาสถานศึกษาหรือผูท่ีไดรับมอบหมาย ไดทําการตรวจแผนการจัดการเรยีนรูของอาจารยณัฐภัสสร เหลาเนตร แลวมีความคิดเห็นดังนี ้ 11.1 เปนแผนการจัดการเรียนรูท่ี ดีมาก

ดี พอใช ควรปรับปรุง

11.2 การจดักิจกรรมไดนําเอากระบวนการเรียนรู ที่เนนผูเรียนเปนสําคัญมาใชในการสอนไดอยางเหมาะสม

ที่ยังไมเนนผูเรียนเปนสําคญั ควรปรับปรุงพัฒนาตอไป 11.3 เปนแผนการจัดการเรียนรูท่ี นําไปใชไดจริง ควรปรับปรุงกอนนําไปใช 11.4 ขอเสนอแนะอื่น ๆ ………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………….. ลงชื่อ………………………………………ผูนิเทศ/ผูตรวจ (.................................................) ตําแหนง............................................