6 6 งงานและสาร ... -...

31
แผนการสอนสําหรับวิธีสอนโดยใชโครงงานวิทยาศาสตร วิชาวิทยาศาสตร ชั้นประถมศึกษาป ที6 หนวยที6 พลังงานและสารเคมี หนวยยอยที5 สารเคมี แผนการสอนที1 เรื่องประโยชนของสารเคมี หลักการใชสารเคมี ผลกระทบที่เกิดจากการใชสารเคมี เวลา 9 คาบ ………………………………………………………………………………………………………. สาระสําคัญ สารเคมี มีประโยชนมากมาย เพราะเปนสารประกอบของสิ่งตางๆ ที่ใชในชีวิตประจําวัน ในการใชสารเคมีใด ควรศึกษาขอมูลเกี่ยวกับสารนั้นใหชัดเจน ควรจะปฏิบัติตามอยางเครงครัด และระมัดระวังในการใช โดยเฉพาะสารที่มีอันตราย จุดประสงคการเรียนรู 1. มีความรู ความเขาใจเกี่ยวกับประโยชนของสารเคมี หลักการใชสารเคมี และ ผลกระทบที่เกิดจากการใชสารเคมี เนื้อหา - ประโยชนของสารเคมี - หลักการใชสารเคมี - ผลกระทบที่เกิดจากการใชสารเคมี กิจกรรมการเรียนการสอน ในการเรียนการสอนครั้งนีใชวิธีการใหนักเรียนทําโครงงานวิทยาศาสตร โดย กําหนด ขั้นตอนการจัดการเรียนการสอนไวดังนีขั้นนํา ครูนําเขาสูบทเรียนโดยการซักถามนักเรียน เกี่ยวกับสารเคมีที่ใชอยูในชีวิตประจําวัน ทบทวนความหมายของสารเคมีที่นักเรียนไดเรียนไปแลว และใหนักเรียนยกตัวอยางสารเคมีทีนักเรียนรูจัก การจัดประเภทของสารเคมี ตลอดจนรวมอภิปรายเกี่ยวกับการใชประโยชน หลักการ ใชสารเคมี และผลกระทบที่เกิดจากการใชสารเคมี โดยครูเตรียมสารเคมีที่ใชในชีวิตประจําวัน

Upload: others

Post on 06-Sep-2019

3 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: 6 6 งงานและสาร ... - kb.psu.ac.thkb.psu.ac.th/psukb/bitstream/2010/6290/11/Appendix.pdf · หรือมอบหมายให นักเรีียมมายนเตร

แผนการสอนสําหรับวิธีสอนโดยใชโครงงานวิทยาศาสตร

วิชาวิทยาศาสตร ชั้นประถมศึกษาปที่ 6 หนวยท่ี 6 พลังงานและสารเคมี หนวยยอยท่ี 5 สารเคมี แผนการสอนที่ 1 เร่ืองประโยชนของสารเคมี หลักการใชสารเคมี

ผลกระทบท่ีเกิดจากการใชสารเคมี เวลา 9 คาบ ………………………………………………………………………………………………………. สาระสําคัญ สารเคมี มีประโยชนมากมาย เพราะเปนสารประกอบของสิ่งตางๆ ที่ใชในชีวิตประจําวัน ในการใชสารเคมีใด ๆ ควรศึกษาขอมูลเกี่ยวกับสารนั้นใหชัดเจน ควรจะปฏิบัติตามอยางเครงครัดและระมัดระวังในการใช โดยเฉพาะสารที่มีอันตราย จุดประสงคการเรียนรู

1. มีความรู ความเขาใจเกี่ยวกับประโยชนของสารเคมี หลักการใชสารเคมี และ ผลกระทบที่เกิดจากการใชสารเคมี เนื้อหา - ประโยชนของสารเคมี - หลักการใชสารเคมี

- ผลกระทบที่เกิดจากการใชสารเคมี กิจกรรมการเรียนการสอน ในการเรียนการสอนครั้งนี้ ใชวิธีการใหนักเรียนทําโครงงานวิทยาศาสตร โดยกําหนด ขั้นตอนการจัดการเรียนการสอนไวดังนี้ ขั้นนํา ครูนําเขาสูบทเรียนโดยการซักถามนักเรียน เกี่ยวกับสารเคมีที่ใชอยูในชีวิตประจําวัน ทบทวนความหมายของสารเคมีที่นักเรียนไดเรียนไปแลว และใหนักเรียนยกตัวอยางสารเคมีที่ นักเรียนรูจัก การจัดประเภทของสารเคมี ตลอดจนรวมอภิปรายเกี่ยวกับการใชประโยชน หลักการใชสารเคมี และผลกระทบที่เกิดจากการใชสารเคมี โดยครูเตรียมสารเคมีที่ใชในชีวิตประจําวัน

Page 2: 6 6 งงานและสาร ... - kb.psu.ac.thkb.psu.ac.th/psukb/bitstream/2010/6290/11/Appendix.pdf · หรือมอบหมายให นักเรีียมมายนเตร

หรือมอบหมายใหนักเรียนเตรียมมา เชน สบู ผงซักฟอก น้ําสมสายชู ปุยเคมี น้ํายาลางแผล เปนตน

ขั้นสอน ขั้นท่ี 1. การกําหนดเรื่อง 1.1 การกําหนดจุดมุงหมาย 1) ครูแจงขอบขายเนื้อหา ในการทําโครงงานวิทยาศาสตรประเภทสํารวจ ตามสาระการเรียนรู ซ่ึงมีขอบขายของเนื้อหาดังนี้

- ประโยชนของสารเคมี - หลักการใชสารเคมี - ผลกระทบที่เกิดจากการใชสารเคมี

2) จากขอบขายของเนื้อหา ใหนักเรียนแบงกลุมตามความสนใจ กลุมละ 6-7 คน จํานวน 6 กลุม แตละกลุมแบงหนาที่ชัดเจนวาใครทําหนาที่อะไร โดยแตละกลุมศึกษารายละเอียด ของหัวขอที่กลุมสนใจ

3) จากการศึกษารายละเอียดของแตละกลุมในหัวขอที่สนใจ โดยครูตั้งคําถาม ถามนักเรียนวา

- อะไรบางที่นักเรียนรูแลวในหัวขอที่นักเรียนสนใจ - อะไรอีกบางที่นักเรียนยังไมรู และตองการจะรูเกี่ยวกับหัวขอดังกลาว

4) จากคําถามของครู นักเรียนแตละกลุมจะตองคิดสิ่งที่อยากรูเกี่ยวกับหัวขอ ดังกลาว ซ่ึงจะมีหลายเรื่องที่นักเรียนอยากรู

5) ครูพิจารณาความตองการเรื่องที่นักเรียนอยากรูของแตละกลุม โดยพิจารณาวา เร่ืองดังกลาวเหมาะแกการทําโครงงานวิทยาศาสตรประเภทสํารวจหรือไม เหมาะกับความสามารถของนักเรียนที่จะทําโครงงานนั้นไดสําเร็จเพียงใด ครูและนักเรียนแตละกลุมชวยกันคัดเลือกหัวขอที่เหมาะสม

6) ครูใชคําถาม โดยการถามนักเรียนวา ทําไมจึงเลือกเรื่องนี้ และอธิบายเพิ่มเติม วา เร่ืองที่นักเรียนอยากรูของทุก ๆ กลุม เราสามารถนํามากําหนดจุดมุงหมายของการทําโครงงานวิทยาศาสตรได แลวใหนักเรียนแตละกลุมชวยกันกําหนดจุดมุงหมายจากความตองการอยากรูเร่ืองตาง ๆ ของกลุม และนําเสนอครูผูสอน

Page 3: 6 6 งงานและสาร ... - kb.psu.ac.thkb.psu.ac.th/psukb/bitstream/2010/6290/11/Appendix.pdf · หรือมอบหมายให นักเรีียมมายนเตร

1.2 การต้ังชื่อโครงงานวิทยาศาสตร เมื่อทุกกลุมกําหนดจุดมุงหมายของโครงงานไดแลว ใหแตละกลุมชวยกันตั้งชื่อ

โครงงานวิทยาศาสตร โดยพิจารณาจากจุดมุงหมายของโครงงาน นั่นคือ ช่ือของโครงงานจะตองมีมโนทัศนสําคัญของจุดมุงหมายเปนสวนประกอบอยูดวย ครูผูสอนคอยใหคําแนะนํา ปรึกษา

ขั้นท่ี 2. การวางแผนการดําเนินงาน 2.1 การแปลงจุดมุงหมายเปนคําถาม

1) จากจุดมุงหมายของแตละกลุม ใหนักเรียนแปลงจุดมุงหมาย 1 ขอ ใหเปน คําถามหลาย ๆ คําถามใหครอบคลุมในสิ่งที่นักเรียนตองการศึกษา

2) การแปลงจุดมุงหมายเปนคําถามก็เพื่อเปนการใหนักเรียนศึกษาหาขอมูล และ ทําความเขาใจเรื่อง หรือหัวขอโครงงานที่นักเรียนตองการทํา 3) ครูตรวจการแปลงจุดมุงหมายเปนคําถามของนักเรียนทุกกลุม โดยพิจารณาวา คําถามครอบคลุมส่ิงที่นักเรียนอยากรูแลวหรือไม หากยังไมครอบคลุม ครูเสนอแนะเพิ่มเติมและพิจารณาคําถามเหลานั้น วานักเรียนสามารถหาคําตอบไดหรือไม 2.2 การระบุแหลงสารสนเทศ 1) นักเรียนแตละกลุมระบุแหลงขอมูลจากหลาย ๆ แหลง สําหรับการศึกษา คนควา เชน

1. หนังสือ เอกสารตาง ๆ จากหองสมุด ครูเตรียมมาให 2. การสัมภาษณ 3. ผูเชี่ยวชาญ 4. ศึกษาของจริง

2) ครูตองพิจารณาดูวาแหลงขอมูลที่นักเรียนระบุมาครอบคลุมหรือไม หากยังไม

ครอบคลุมครูตองเสนอแนะเพิ่มเติม และครูตองพิจารณาวาแหลงขอมูลที่นักเรียนระบุมานั้นสามารถหาไดในชุมชน 2.3 ระบุขั้นตอนการดําเนินงาน แตละกลุมระบุขั้นตอนการดําเนินงาน ซ่ึงเปนการกําหนดวาจะดําเนินงานใด กอน – หลัง ตามลําดับ ครูตองตรวจสอบการระบุขั้นตอนการดําเนินงานของนักเรียนทุกกลุม เชน

Page 4: 6 6 งงานและสาร ... - kb.psu.ac.thkb.psu.ac.th/psukb/bitstream/2010/6290/11/Appendix.pdf · หรือมอบหมายให นักเรีียมมายนเตร

1. อานหนังสือ 2. สัมภาษณผูเชี่ยวชาญ 3. สํารวจ

2.4 ระบุวิธีการนําเสนอโครงงาน แตละกลุมระบุวิธีการนําเสนอโครงงานวิทยาศาสตร ตามรูปแบบที่แตละกลุม สนใจ และเนนใหนักเรียนนําเสนอโครงงานดวยวิธีการที่หลากหลาย ซ่ึงอาจจะเปนการอธิบายพรอมแจกใบความรู เสนอตอครูผูสอนพิจารณา 2.5 กําหนดเวลาการดําเนินงาน แตละกลุมกําหนดวิธีการดําเนินงาน โดยระบุจากขั้นตอนการดําเนินงานวา การดําเนินงานในแตละขั้นใชเวลานานเพียงใด ครูพิจารณาความเหมาะสมของเวลากับขั้นตอน การดําเนินงานแตละขั้น เชน สัปดาหที่ 1 ดําเนินงานขั้นตอนที่ 1-3 คือ อานหนังสือ สัมภาษณผูเชี่ยวชาญ สํารวจ 2.6 กําหนดวิธีการประเมินโครงงาน แตละกลุมกําหนดวิธีการประเมินโครงงาน ซ่ึง 1 กลุมอาจใชวิธีการประเมิน หลาย ๆ วิธี เชน - นําเสนอตอพอแม เพื่อขอคําแนะนํา

- ใหเพื่อนรวมชั้นประเมิน - ใหผูเขาชมโครงงานประเมิน - ครูประเมิน (แบบประเมินโครงงานวิทยาศาสตรสําหรับครู)

- กรอกแบบประเมินตนเอง (แบบประเมินโครงงานวิทยาศาสตรสําหรับนักเรียน)

ขั้นท่ี 3. การดําเนินการตามแผน 1. ทุกกลุมทบทวนแผนการดําเนินงาน 2. นักเรียนทุกกลุมลงมือปฏิบัติตามแผนการดําเนินงานที่กําหนดไว โดยมีครู ผูสอนคอยใหคําแนะนํา ปรึกษา ขั้นท่ี 4. การประเมินผล เมื่อการปฏิบัติงานเสร็จสิ้นลง ผูเรียนตองประเมินการปฏิบัติงานของตนเอง

Page 5: 6 6 งงานและสาร ... - kb.psu.ac.thkb.psu.ac.th/psukb/bitstream/2010/6290/11/Appendix.pdf · หรือมอบหมายให นักเรีียมมายนเตร

ขั้นสรุป ครูและนักเรียนรวมกันกําหนดวา แตละกลุมจะนําเสนอเรื่องที่คนควา คือ ประโยชนของสารเคมี หลักการใชสารเคมี และผลกระทบที่เกิดจากการใชสารเคมี ดวยวิธีใด ซ่ึงอาจทําไดหลายรูปแบบ เชน จัดบอรด แจกแผนพับ เพื่อเปนการแลกเปลี่ยนเรียนรูซ่ึงกันและกัน สื่อการเรียนการสอน

1. แหลงการเรียนรูของแตละกลุม 2. วัสดุ อุปกรณในการทําโครงงานและการนําเสนอโครงงาน 3. ตัวอยางสารเคมีที่ใชในชีวิตประจําวัน เชน

3.1 สบู 3.2 ผงซักฟอก 3.3 น้ํายาลางแผล 3.4 น้ําสมสายชู 3.5 ปุยเคมี

เปนตน 4. แบบฟอรมการเขียนเคาโครง โครงงานวิทยาศาสตร 5. แบบฟอรมหัวขอในการเขียนรายงานโครงงานวิทยาศาสตร 6. ตัวอยางโครงงานวิทยาศาสตรประเภทสํารวจ การวัดและประเมินผล

1. สังเกตความสนใจในการปฏิบัติงาน 2. สังเกตการดําเนินงานตามแผน การนําเสนอโครงงาน 3. ตรวจการกําหนดเรื่อง จุดมุงหมาย การตั้งชื่อโครงงานวิทยาศาสตร 4. ตรวจการวางแผนการดําเนินงาน ผลการประเมินโครงงาน และรายงานโครงงาน

วิทยาศาสตร

Page 6: 6 6 งงานและสาร ... - kb.psu.ac.thkb.psu.ac.th/psukb/bitstream/2010/6290/11/Appendix.pdf · หรือมอบหมายให นักเรีียมมายนเตร

แผนการสอนสําหรับวิธีสอนโดยใชโครงงานวิทยาศาสตร

วิชาวิทยาศาสตร ชั้นประถมศึกษาปที่ 6 หนวยท่ี 6 พลังงานและสารเคมี หนวยยอยท่ี 5 สารเคมี แผนการสอนที่ 2 เร่ืองสมบัติของสารเคมี การเปล่ียนแปลงของสารเคมี และสารเคมีที่ใชในชีวิตประจําวัน เวลา 9 คาบ ………………………………………………………………………………………………………. สาระสําคัญ สารเคมีแตละชนิดมีสมบัติตาง ๆ กัน โดยอาจมีสถานะ สี การละลายน้ํา หรือการเปลี่ยนสีกระดาษลิตมัสตางกัน และเมื่อสารเคมีเกิดการเปลี่ยนแปลง บางชนิดสามารถเปลี่ยนกลับมาเปนสารเดิมไดอีก ไดแก การเปลี่ยนสถานะ การละลาย บางชนิดเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงแลวไมสามารถเปลี่ยนกลับมาเปนสารเดิมได สวนสารเคมีที่ใชในชีวิตประจําวัน ถานํามาใชและเก็บ ไมถูกวิธีอาจเกิดสารที่มีอันตรายตอรางกายขึ้นได จุดประสงคการเรียนรู 1. นักเรียนมีความรู ความเขาใจเกี่ยวกับสมบัติของสารเคมี การเปลี่ยนแปลงของสารเคมี และสารเคมีที่ใชในชีวิตประจําวัน เนื้อหา - สมบัติของสารเคมี

- การเปลี่ยนแปลงของสารเคมี - สารเคมีที่ใชในชีวิตประจําวัน

Page 7: 6 6 งงานและสาร ... - kb.psu.ac.thkb.psu.ac.th/psukb/bitstream/2010/6290/11/Appendix.pdf · หรือมอบหมายให นักเรีียมมายนเตร

กิจกรรมการเรียนการสอน ในการเรียนการสอนครั้งนี้ ใชวิธีการใหนักเรียนทําโครงงานวิทยาศาสตร โดยกําหนด ขั้นตอนการจัดการเรียนการสอนไวดังนี้ ขั้นนํา ครูนําเขาสูบทเรียนโดยการซักถามนักเรียน เกี่ยวกับสารเคมีที่นักเรียนรูจักและใชอยูในชีวิตประจําวัน ตลอดจนประโยชนของสารเคมี หลักการใช และผลกระทบที่เกิดจาการใชสารเคมีโดยครูเตรียมสารเคมีที่ใชในชีวิตประจําวัน หรือมอบหมายใหนักเรียนเตรียมมา เชน สบู ผงซักฟอก น้ําสมสายชู ปุยเคมี น้ํายาลางแผล เปนตน

ขั้นสอน ขั้นท่ี 1. การกําหนดเรื่อง

1.1 การกําหนดจุดมุงหมาย 1) ครูแจงขอบขายเนื้อหา ในการทําโครงงานวิทยาศาสตรประเภททดลอง ตามสาระการเรียนรูใหนักเรียนทราบ โดยกําหนดขอบขายของเนื้อหา ดังนี้

- สมบัติของสารเคมี - การเปลี่ยนแปลงของสารเคมี - สารเคมีที่ใชในชีวิตประจําวัน

2) จากขอบขายของเนื้อหา ใหนักเรียนแบงกลุมตามความสนใจ กลุมละ 6-7 คน จํานวน 6 กลุม แตละกลุมแบงหนาที่อยางชัดเจน วาใครทําหนาที่อะไร โดยแตละกลุมศึกษา รายละเอียด ของหัวขอที่กลุมสนใจ

3) จากการศึกษารายละเอียดของแตละกลุมในหัวขอที่สนใจ โดยครูตั้งคําถาม ถามนักเรียนวา

- อะไรบางที่นักเรียนรูแลวในหัวขอที่นักเรียนสนใจ - อะไรอีกบางที่นักเรียนยังไมรู และตองการจะรูเกี่ยวกับหัวขอดังกลาว

3) จากคําถามของครู นักเรียนแตละกลุมจะตองคิดสิ่งที่อยากรูเกี่ยวกับหัวขอ ดังกลาว ซ่ึงจะมีหลายเรื่องที่นักเรียนอยากรู

4) ครูพิจารณาความตองการเรื่องที่นักเรียนอยากรูของแตละกลุม โดยพิจารณาวา

Page 8: 6 6 งงานและสาร ... - kb.psu.ac.thkb.psu.ac.th/psukb/bitstream/2010/6290/11/Appendix.pdf · หรือมอบหมายให นักเรีียมมายนเตร

เร่ืองดังกลาวเหมาะแกการทําโครงงานวิทยาศาสตรประเภททดลองหรือไม เหมาะกับความสามารถของนักเรียนที่จะทําโครงงานนั้นไดสําเร็จเพียงใด ครูและนักเรียนแตละกลุมชวยกันคัดเลือกหัวขอที่เหมาะสม

5) ครูใชคําถาม โดยถามนักเรียนวา ทําไมจึงเลือกเรื่องนี้ และอธิบายเพิ่มเติมวา เร่ืองที่นักเรียนอยากรูของทุก ๆ กลุม เราสามารถนํามากําหนดจุดมุงหมายของการทําโครงงานวิทยาศาสตรได

6) ใหนักเรียนนําเรื่องที่นักเรียนอยากรู อยากศึกษามากําหนดจุดมุงหมายของ การทําโครงงานวิทยาศาสตร แลวนําจุดมุงหมายของโครงงานเสนอครูผูสอน

1.2 การตั้งชื่อโครงงานวิทยาศาสตร เมื่อทุกกลุมกําหนดจุดมุงหมายของโครงงานไดแลว ใหแตละกลุมชวยกันตั้งชื่อ

โครงงานวิทยาศาสตร โดยพิจารณาจากจุดมุงหมายของโครงงาน นั่นคือ ช่ือของโครงงานจะตองมีมโนทัศนสําคัญของจุดมุงหมายเปนสวนประกอบอยูดวย ครูผูสอนคอยใหคําแนะนํา ปรึกษา

ขั้นท่ี2. การวางแผนการดําเนินงาน 2.1 การแปลงจุดมุงหมายเปนคําถาม

1) จากจุดมุงหมายของแตละกลุม ใหนักเรียนแปลงจุดมุงหมาย 1 ขอ ใหเปน คําถามหลาย ๆ คําถามใหครอบคลุมในสิ่งที่นักเรียนตองการศึกษา

2) การแปลงจุดมุงหมายเปนคําถามก็เพื่อเปนการใหนักเรียนศึกษาหาขอมูล และ ทําความเขาใจเรื่อง หรือหัวขอโครงงานที่นักเรียนตองการทํา 3) ครูตรวจการแปลงจุดมุงหมายเปนคําถามของนักเรียนทุกกลุม โดยพิจารณาวาคําถามครอบคลุมส่ิงที่นักเรียนอยากรูแลวหรือไม หากยังไมครอบคลุม ครูเสนอแนะเพิ่มเติมและพิจารณาคําถามเหลนั้น วานักเรียนสามารถหาคําตอบไดหรือไม การตั้งสมมติฐาน จากการศึกษาเพื่อตอบคําถามที่แตละกลุมแปลงจากจุดมุงหมาย นักเรียนจะได ขอมูลเพื่อกําหนดสมมติฐานของการทดลอง ครูอธิบายการตั้งสมมติฐาน วาเปนการคาดคะเนคําตอบลวงหนากอนการทดลอง แลวใหนักเรียนชวยกันตั้งสมมติฐานของการทดลองของแตละกลุม ครูผูสอนตรวจสอบการตั้งสมมติฐานของทุกกลุม

Page 9: 6 6 งงานและสาร ... - kb.psu.ac.thkb.psu.ac.th/psukb/bitstream/2010/6290/11/Appendix.pdf · หรือมอบหมายให นักเรีียมมายนเตร

การระบุตัวแปรตน ตัวแปรตาม ตัวแปรควบคุม ครูอธิบายความหมายของตัวแปรตน ตัวแปรตาม ตัวแปรควบคุม พรอมทั้ง ยกตัวอยางใหนักเรียนดู แลวใหนักเรียนแตละกลุมกําหนดตัวแปรตน ตัวแปรตาม ตัวแปรควบคุม ของการทดลองของกลุมของตนเองนําเสนอครูผูสอน การออกแบบการทดลอง ครูอธิบายการออกแบบการทดลอง วาเปนการระบุการใชวัสดุ อุปกรณ การกําหนดวิธีการทดลอง และกําหนดขั้นตอนการทดลอง แลวใหแตละกลุมออกแบบการทดลองเสนอครูผูสอนพิจารณา 2.2 การระบุแหลงสารสนเทศ 1) นักเรียนแตละกลุมระบุแหลงขอมูลจากหลาย ๆ แหลง สําหรับการศึกษา คนควา เชน

1. หนังสือ เอกสารตาง ๆ จากหองสมุด ครูเตรียมมาให 2. การสัมภาษณ 3. ผูเชี่ยวชาญ 4. ศึกษาของจริง 5. ทดลอง

2) ครูตองพิจารณาดูวาแหลงขอมูลที่นักเรียนระบุมาครอบคลุมหรือไม หากยังไม

ครอบคลุมครูตองเสนอแนะเพิ่มเติม และครูตองพิจารณาวาแหลงขอมูลที่นักเรียนระบุมานั้นสามารถหาไดในชุมชน 2.3 ระบุขั้นตอนการดําเนินงาน แตละกลุมระบุขั้นตอนการดําเนินงาน ซ่ึงเปนการกําหนดวาจะดําเนินงานใด กอน – หลัง ตามลําดับ ครูตองตรวจสอบการระบุขั้นตอนการดําเนินงานของนักเรียนทุกกลุม เชน

1. อานหนังสือ 2. สัมภาษณผูเชี่ยวชาญ 3. สํารวจ

2.4 ระบุวิธีการนําเสนอโครงงาน 1) แตละกลุมระบุวิธีการนําเสนอโครงงานวิทยาศาสตร ตามรูปแบบที่แตละกลุม

Page 10: 6 6 งงานและสาร ... - kb.psu.ac.thkb.psu.ac.th/psukb/bitstream/2010/6290/11/Appendix.pdf · หรือมอบหมายให นักเรีียมมายนเตร

สนใจ และเนนใหนักเรียนนําเสนอโครงงานดวยวิธีการที่หลากหลาย เชน 1. การเขียนอภิปราย 2. การทําโปสเตอร

3. การสาธิต 4. ทําใบความรูแจกเพื่อน ๆ 5. ใหเพื่อน ๆ ทดลองทํา

2) ใหนักเรียนเสนอวิธีการนําเสนอตอครูผูสอนพิจารณา

2.5 กําหนดเวลาการดําเนินงาน แตละกลุมกําหนดวิธีการดําเนินงาน โดยระบุจากขั้นตอนการดําเนินงานวา การดําเนินงานในแตละขั้นใชเวลานานเพียงใด ครูพิจารณาความเหมาะสมของเวลากับขั้นตอน การดําเนินงานแตละขั้น เชน สัปดาหที่ 1 ดําเนินงานขั้นตอนที่ 1-3 2.6 กําหนดวิธีการประเมินโครงงาน

แตละกลุมกําหนดวิธีการประเมินโครงงาน ซ่ึง 1 กลุมอาจใชวิธีการประเมิน หลาย ๆ วิธี เชน - นําเสนอตอพอแม เพื่อขอคําแนะนํา

- ใหเพื่อนรวมชั้นประเมิน - ใหผูเขาชมโครงงานประเมิน - ครูประเมิน (แบบประเมินโครงงานวิทยาศาสตรสําหรับครู)

- กรอกแบบประเมินตนเอง (แบบประเมินโครงงานวิทยาศาสตรสําหรับนักเรียน)

ขั้นท่ี 3. การดําเนินการตามแผน 1. ทุกกลุมทบทวนแผนการดําเนินงาน 2. นักเรียนทุกกลุมลงมือปฏิบัติตามแผนการดําเนินงานที่กําหนดไว โดยมีครู ผูสอนคอยใหคําแนะนํา ปรึกษา ขั้นท่ี 4. การประเมินผล เมื่อการปฏิบัติงานเสร็จสิ้นลง ผูเรียนตองประเมินการปฏิบัติงานของตนเอง ขั้นสรุป ครูและนักเรียนรวมกันกําหนดวา แตละกลุมจะนําเสนอเรื่องที่คนควา คือ สมบัติของ

Page 11: 6 6 งงานและสาร ... - kb.psu.ac.thkb.psu.ac.th/psukb/bitstream/2010/6290/11/Appendix.pdf · หรือมอบหมายให นักเรีียมมายนเตร

สารเคมี การเปลี่ยนแปลงของสารเคมี และสารเคมีที่ใชในชีวิตประจําวันดวยวิธีใด ซ่ึงอาจทําไดหลายรูปแบบ เชน จัดบอรด แจกแผนพับ เพื่อเปนการแลกเปลี่ยนเรียนรูซ่ึงกันและกัน สื่อการเรียนการสอน

1. แหลงการเรียนรูของแตละกลุม 2. วัสดุ อุปกรณในการทําโครงงานและการนําเสนอโครงงาน

3. ตัวอยางโครงงานวิทยาศาสตรประเภททดลอง การวัดและประเมินผล

1. สังเกตความสนใจในการปฏิบัติงาน 2. สังเกตการดําเนินงานตามแผน การนําเสนอโครงงาน 3. ตรวจการกําหนดเรื่อง จุดมุงหมาย การตั้งชื่อโครงงานวิทยาศาสตร 4. ตรวจการวางแผนการดําเนินงาน ผลการประเมินโครงงาน และรายงานโครงงาน

วิทยาศาสตร

Page 12: 6 6 งงานและสาร ... - kb.psu.ac.thkb.psu.ac.th/psukb/bitstream/2010/6290/11/Appendix.pdf · หรือมอบหมายให นักเรีียมมายนเตร

แผนการสอนสําหรับวิธีสอนแบบปกติ

วิชาวิทยาศาสตร ชั้นประถมศึกษาปที่ 6 หนวยท่ี 6 พลังงานและสารเคมี หนวยยอยท่ี 5 สารเคมี แผนการสอนที่ 1 เร่ืองประโยชนของสารเคมี เวลา 3 คาบ ………………………………………………………………………………………………………. สาระสําคัญ สารเคมีมีประโยชนมากมาย เพราะสารเคมีเปนสารประกอบของสิ่งตางๆ ที่ใชในชีวิตประจําวัน จุดประสงคการเรียนรู จุดประสงคปลายทาง

1. มีความรู ความเขาใจเกี่ยวกับประโยชนของสารเคมี จุดประสงคนําทาง

1. สํารวจเพื่อศึกษาเกี่ยวกับการใชประโยชนจากสารเคมีในดานตางๆ 2. บอกชื่อและประโยชนของสารเคมีที่ใชในชีวิตประจําวันได

เนื้อหา ประโยชนของสารเคมี กิจกรรมการเรียนการสอน ขั้นนํา 1. ครูนําเขาสูบทเรียนโดยการซักถามเกี่ยวกับสารเคมีที่ใชอยูในชีวิตประจําวัน และสนทนาเกี่ยวกับการใชประโยชนของสารเคมี 2. ครูทบทวนความรูเดิมที่นักเรียนไดเรียนรูมาแลววา น้ําสมสายชู สีผสมอาหาร สบู สารปราบศัตรูพืช เปนสารเคมี โดยใชคําถามดังนี้

- มีส่ิงใดอีกบางที่เปนสารเคมี - เรานําส่ิงเหลานั้นมาใชประโยชนไดอยางไร

ข้ันสอน 1. ใหนักเรียนแบงกลุม ๆ ละ 6-7 คน แจกใบงานที่ 1 เพื่อใหนักเรียนสํารวจสถานที่

ตาง ๆ วามีสารเคมีใดบางที่พบ แลวบันทึกผลการสํารวจลงในใบงานที่ 1

Page 13: 6 6 งงานและสาร ... - kb.psu.ac.thkb.psu.ac.th/psukb/bitstream/2010/6290/11/Appendix.pdf · หรือมอบหมายให นักเรีียมมายนเตร

2. ใหนักเรียนจําแนกสารเคมีที่สํารวจไดในกิจกรรมใบงานที่ 1 ตามประโยชนที่ใช โดย เติมชื่อสารเคมีในใบงานที่ 2 เพื่อจําแนกสารเคมีตามประโยชนที่ใช

3. ครูและนักเรียนรวมกันอภิปราย ตามแนวคําถามดังนี้ - นอกจากประโยชนของสารเคมีในตาราง ยังมีการนําสารเคมีมาใชประโยชน

อ่ืน ๆ อีกหรือไม อยางไร - ถาไมมีสารเคมีเหลานี้ นักเรียนคิดวาจะมีผลอยางไร - สารเคมีมีความจําเปนตอมนุษยมากนอยเพียงใด เพื่อใหไดขอสรุปวา สารเคมี

มีประโยชนตอมนุษยหลายดาน โดยเปนสวนประกอบในอาหารและเครื่องดื่ม ใชในการทําความสะอาด ใหพลังงาน รักษาโรค เพาะปลูก ใชในหองทดลอง ใชกับรางกาย และทําวัสดุเครื่องใชชนิดตาง ๆ ขั้นสรุป

1. ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายสรุปเกี่ยวกับประโยชนของสารเคมีที่ใชในชีวิต ประจําวัน

2. นักเรียนศึกษาคนควาเพิ่มเติมจากเอกสาร สรุปจดบันทึกเกี่ยวกับประโยชนของ สารเคมี สื่อการเรียนการสอน

1. ใบงานที่ 1-2 2. สารเคมีของจริงหรือภาพสารเคมีที่ใชในชีวิตประจําวัน 3. หนังสือเรียน สปช. ป.6 เนื้อหาวิทยาศาสตร หรือหนังสือและเอกสารจากแหลงอ่ืน ๆ

การวัดและประเมินผล

1. สังเกตพฤติกรรมการทํางานกลุม 2. สังเกตการอภิปราย 3. ตรวจผลงานตามที่ใบงานกําหนด 4. ตรวจสมุดบันทึก

Page 14: 6 6 งงานและสาร ... - kb.psu.ac.thkb.psu.ac.th/psukb/bitstream/2010/6290/11/Appendix.pdf · หรือมอบหมายให นักเรีียมมายนเตร

เอกสารที่แนบหลังแผนการสอน - ใบงานที่ 1 , 2 ใบงานที่ 1

คําชี้แจง ใหนักเรียนแตละกลุมสํารวจสถานที่ตาง ๆ ภายในบาน โรงเรียน เชน หองครัว หองเรียน ในสถานที่เหลานั้นมีสารเคมีอะไรบาง พยายามเก็บขอมูลใหไดมากที่สุด แลวบันทึกลงในตาราง

ตารางบันทึกผลการสํารวจ

สถานที่สํารวจ สารเคมีท่ีพบ

Page 15: 6 6 งงานและสาร ... - kb.psu.ac.thkb.psu.ac.th/psukb/bitstream/2010/6290/11/Appendix.pdf · หรือมอบหมายให นักเรีียมมายนเตร

ใบงานที่ 2

คําชี้แจง ใหนักเรียนแตละกลุม จําแนกสารเคมีที่สํารวจไดในใบงานที่ 1 ตามประโยชน

ที่ใช โดยเติมชื่อสารเคมีในตาราง ดังนี้

ประโยชนของสารเคมี สารเคมีที่พบ

เปนสวนประกอบของอาหารและเครื่องดื่ม (สี, กันบูด, ปรุงรส)

ใหพลังงาน (ความรอน, แสงสวาง)

รักษาโรค

ใชในหองทดลอง

ใชทําความสะอาดเครื่องใช / บานเรือน

ใชทําความสะอาดรางกาย

ใชทําวัสดุเครื่องใชตาง ๆ

Page 16: 6 6 งงานและสาร ... - kb.psu.ac.thkb.psu.ac.th/psukb/bitstream/2010/6290/11/Appendix.pdf · หรือมอบหมายให นักเรีียมมายนเตร

แผนการสอนสําหรับวิธีสอนแบบปกติ

วิชาวิทยาศาสตร ชั้นประถมศึกษาปที่ 6 หนวยท่ี 6 พลังงานและสารเคมี หนวยยอยท่ี 5 สารเคมี แผนการสอนที่ 2 เร่ืองสมบัติของสารเคมี เวลา 9 คาบ ………………………………………………………………………………………………………. สาระสําคัญ สารเคมีแตละชนิดมีสมบัติตางกัน โดยอาจจะมีสถานะ สี การละลาย หรือการเปลี่ยนสีกระดาษลิตมัสตางกัน จุดประสงคการเรียนรู จุดประสงคปลายทาง

1. มีความรู ความเขาใจเกี่ยวกับสมบัติของสารเคมี จุดประสงคนําทาง

1. ทดลองเพื่อศึกษาสมบัติของสารเคมี 2. จําแนกสารเคมีโดยใชสมบัติของสารเปนเกณฑ 3. บอกเกณฑที่ใชในการจําแนกสารเคมีได

เนื้อหา สมบัติของสารเคมี กิจกรรมการเรียนการสอน ขั้นนํา 1. ครูนําเขาสูบทเรียนโดยการซักถามนักเรียนเกี่ยวกับลักษณะของสารเคมีที่ไดสํารวจมาแลว เพื่อใหไดขอสรุปวาสารเคมีแตละชนิดมีลักษณะแตกตางกันคือ บางชนิดเปนของแข็ง บางชนิดเปนของเหลว บางชนิดใชประโยชนไดเหมือนกัน บางชนิดมีลักษณะคลายกัน บางชนิดมีลักษณะแตกตางกัน ส่ิงตาง ๆ เหลานี้เปนสมบัติของสารเคมี

ข้ันสอน 1. ใหนักเรียนแบงกลุม ๆ ละ 6-7 คน แลวใหนักเรียนแตละกลุมทําการทดลอง

เกี่ยวกับสมบัติของสารเคมีและตอบคําถามหลังการทดลอง โดยครูแจกใบงานที่ 1

Page 17: 6 6 งงานและสาร ... - kb.psu.ac.thkb.psu.ac.th/psukb/bitstream/2010/6290/11/Appendix.pdf · หรือมอบหมายให นักเรีียมมายนเตร

2. กอนทําการทดลองครูอธิบายวิธีการใชชอนตักสาร หลอดหยดหรือหลอดดูด และ เตือนนักเรียนไมใหใชชอนตักสาร และหลอดหยดในการตักสารและดูดสารชนิดตาง ๆ ปนกัน แลวอธิบายวิธีการสังเกตการละลายน้ําของสาร

3. ใหนักเรียนบันทึกผลการทดลองในตารางบันทึกผลการทดลอง ในใบงานที่ 1 4. ครูซักถามนักเรียนเกี่ยวกับผลการทดลองตามแนวคําถาม ดังตอไปนี้

- สารเคมีที่นักเรียนศึกษามีสถานะใดบาง - สารเคมีใดบางที่มีสถานะและสีเหมือนกัน - สารเคมีใดบางเมื่อผสมกับน้ําแลวไดของเหลว - สารเคมีชนิดใดบางเมื่อผสมกับน้ําแลวไดของเหลวขุน หรือแยกชั้น ซ่ึงบางกลุมอาจจะไดผลการละลายน้ําของสารแตกตางจากกลุมอ่ืน ทั้งนี้อาจจะ

เปนเพราะนักเรียน เติมสารปริมาณมากเกินไป หรือไมไดคนสารเขาดวยกัน หรือคนสารยังไมนานเพียงพอหรืออุปกรณที่ใชมีสารปนเปอน จึงทําใหผลการทดลองคลาดเคลื่อน 5. ครูแจกใบงานที่ 2 เพื่อทดสอบสารที่ละลายน้ําไดดวยกระดาษลิตมัสสีแดงและสีน้ําเงิน สังเกตการเปลี่ยนสีของกระดาษลิตมัส แลวบันทึกผลการทดลองลงในตารางบันทึกผลการทดลอง พรอมตอบคําถามหลังการทดลองในใบงานที่ 2 เพื่อใหไดขอสรุปวา สารเคมีที่ละลายในน้ําเปลี่ยนสีกระดาษลิตมัสตาง ๆ กัน 6. ครูแจกใบงานที่ 3 เกี่ยวกับสมบัติของสาร เพื่อใหนักเรียนแตละกลุมศึกษาสมบัติของสารในตารางแสดงสมบัติของสารเคมี และใหนักเรียนเติมสถานะและสีของสารในชองวางของ ตาราง

7. ใหนักเรียนจําแนกสารตามเกณฑของนักเรียน แลวนําเสนอหนาชั้นเรียน 8. อภิปรายเปรียบเทียบเกณฑและรูปแบบการนําเสนอของแตละกลุม แลวซักถาม

นักเรียนตามแนวคําถาม หนา 147 ในหนังสือเรียน ซ่ึงนักเรียนอาจตอบดังนี้ - การจําแนกสารเคมีโดยใชเกณฑตางกัน กลุมของสารที่ไดเหมือนหรือตางกัน (จะจัด

กลุมไดตางกัน คือ ถาใชสถานะเปนเกณฑ สารในกลุมจะตางกับการใชสมบัติการละลายน้ําเปนเกณฑ) - การจําแนกสารเคมีโดยใชสมบัติการละลายน้ําเปนเกณฑ จะตองศึกษาสมบัติการละลายน้ําของสารเหลานั้นกอน แลวจําแนกเปนกลุมละลายน้ําได กลุมไมละลายน้ํา และละลายน้ําไดบาง - การรูจักสมบัติของสารเคมี มีประโยชนอยางไร นักเรียนอาจตอบไดหลากหลาย ครูควรรับฟงทุก ๆ คําตอบ และอาจกระตุนใหนักเรียนคิดเกี่ยวกับการนําความรูไปประยุกตใช

Page 18: 6 6 งงานและสาร ... - kb.psu.ac.thkb.psu.ac.th/psukb/bitstream/2010/6290/11/Appendix.pdf · หรือมอบหมายให นักเรีียมมายนเตร

ขั้นสรุป ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายสรุปเกี่ยวกับสมบัติของสารเคมีวา สารเคมีแตละชนิดมี

สมบัติเฉพาะ และสารตางชนิดกันจะมีสมบัติตางกัน สื่อการเรียนการสอน

1. ใบงานที่ 1 , 2 , 3 2. อุปกรณการทดลอง มีดังนี้

2.1 น้ําตาลทราย 2.2 แปงมัน 2.3 ผงซักฟอก 2.4 น้ําสมสายชู 2.5 น้ํามันพืช 2.6 น้ํา 2.7 หลอดหยด หรือ หลอดดูด 2.8 ชอนตักสาร 2.9 ถวยพลาสติก หรือ หลอดทดลอง 2.10 ชอนพลาสติกเล็ก 2.11 กระดาษลิตมัสสีแดงและสีน้ําเงิน

3. หนังสือเรียน สปช. ป.6 เนื้อหาวิทยาศาสตร การวัดและประเมินผล

1. สังเกตพฤติกรรมการทํางานกลุม 2. สังเกตการอภิปราย การเสนอรายงาน

3. ตรวจบันทึกผลการทดลอง และตอบคําถามจากใบงาน เอกสารที่แนบหลังแผนการสอน - ใบงานที่ 1 , 2 , 3 และคําถามหลังการทดลอง

Page 19: 6 6 งงานและสาร ... - kb.psu.ac.thkb.psu.ac.th/psukb/bitstream/2010/6290/11/Appendix.pdf · หรือมอบหมายให นักเรีียมมายนเตร

ใบงานที่ 1

คําชี้แจง ใหนักเรียนแบงกลุม ๆ ละ 6 – 7 คน แลวทดลองเกี่ยวกับสมบัติของสารเคมี ดังนี้

อุปกรณการทดลอง 1. ถวยพลาสติก 2. ชอนพลาสติก 3. กระดาษลิตมัส 4. น้ําตาลทราย 5. น้ํา 6. แปงมัน 7. ผงซักฟอก 8. น้ําสมสายชู 9. น้ํามันพืช

วิธีการทดลอง 1. ตักสารเคมีที่เตรียมไวแตละชนิดใสในถวยพลาสติก แลวสังเกต

ลักษณะของสีและสถานะ บันทึกผลในตารางบันทึกผลการทดลอง 2. เติมน้ําลงในถวยพลาสติกทีละถวย ใชชอนคน สังเกตการ เปล่ียนแปลงแลวบันทึกผลลงในตารางบันทึกผลการทดลอง

ตารางบันทึกผลการทดลอง

สารเคมี สถานะ สี ลักษณะของสารเมื่อผสมกับน้ํา

น้ําตาลทราย แปงมัน ผงซักฟอก น้ําสมสายชู

น้ํามันพืช

Page 20: 6 6 งงานและสาร ... - kb.psu.ac.thkb.psu.ac.th/psukb/bitstream/2010/6290/11/Appendix.pdf · หรือมอบหมายให นักเรีียมมายนเตร

สรุปผลการทดลอง …………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

Page 21: 6 6 งงานและสาร ... - kb.psu.ac.thkb.psu.ac.th/psukb/bitstream/2010/6290/11/Appendix.pdf · หรือมอบหมายให นักเรีียมมายนเตร

คําถามหลังการทดลอง

1. สารเคมีที่นักเรียนนํามาทดลอง มีสถานะใดบาง ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. 2. สารเคมีชนิดใดบางที่มีสถานะและสีเหมือนกัน ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. 3. สารเคมีชนิดใดบางที่นํามาทดลอง เมื่อผสมน้ําแลวละลายหมดไดของเหลว ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. 4. สารเคมีชนิดใดบางที่นํามาทดลอง เมื่อผสมกับน้ําแลวไดของเหลวขุนหรือแยกชั้น ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. 5. สารเคมีอะไรอีกบางที่เปนของแข็งและละลายน้ําได ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. 6. สารเคมีอะไรอีกบางที่เปนของแข็งและไมละลายน้ํา ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. 7. นักเรียนรูจักสารเคมีอะไรอีกบางที่เปนของเหลวและละลายน้ําได ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

Page 22: 6 6 งงานและสาร ... - kb.psu.ac.thkb.psu.ac.th/psukb/bitstream/2010/6290/11/Appendix.pdf · หรือมอบหมายให นักเรีียมมายนเตร

8. มีสารเคมีอะไรอีกบางที่เปนของเหลวและไมละลายน้ํา ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

ใบงานที่ 2

คําชี้แจง ใหนักเรียนแตละกลุม นําสารเคมีที่ละลายน้ําไดจากการทดลองในใบงานที่ 1 มาทดสอบดวยกระดาษลิตมัสสีแดงและสีน้ําเงิน สังเกตการเปลี่ยนแปลงของกระดาษลิตมัส แลวบันทึกผลลงในตาราง

ตารางบันทึกผลการทดลอง

สารเคมีท่ีละลายในน้ํา การเปล่ียนสีของกระดาษลิตมัส

สรุปผลการทดลอง ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

Page 23: 6 6 งงานและสาร ... - kb.psu.ac.thkb.psu.ac.th/psukb/bitstream/2010/6290/11/Appendix.pdf · หรือมอบหมายให นักเรีียมมายนเตร

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

คําถามหลังการทดลอง

1. จากการทดลอง สารเคมีชนิดใดบางที่เปล่ียนสีกระดาษลิตมัสจากสีแดงเปนสีน้ําเงิน ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. 2. จากการทดลอง สารเคมีชนิดใดบางที่เปล่ียนสีกระดาษลิตมัสจากสีน้ําเงินเปนสีแดง ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. 3. จากการทดลอง สารเคมีชนิดใดบางที่ไมเปล่ียนสีกระดาษลิตมัสทั้งสีน้ําเงินและสีแดง ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. 4. จากการทดลอง สารเคมีใดบางที่มีสมบัติเปนกรด ทราบไดอยางไร ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. 5. จากการทดลอง สารเคมีใดบางที่มีสมบัติเปนเบส ทราบไดอยางไร ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

Page 24: 6 6 งงานและสาร ... - kb.psu.ac.thkb.psu.ac.th/psukb/bitstream/2010/6290/11/Appendix.pdf · หรือมอบหมายให นักเรีียมมายนเตร

ใบงานที่ 3

คําชี้แจง ใหนักเรียนเติมสถานะและสีของสารในชองวางของตารางตอไปนี้

การเปลี่ยนสีกระดาษลิตมัส สารเคมี สถานะ สี การละลายน้ํา แดงเปน

น้ําเงิน น้ําเงินเปน

แดง ไมเปล่ียน

ผงชอลก ไมละลายน้ํา - - ยาขัดรองเทา ของแข็ง ดํา ไมละลายน้ํา - - สบูอาบน้ํา ของแข็ง ขาว ละลายน้ําไดบาง กาซออกซิเจน ไมมีสี ละลายน้ําเล็กนอย ขี้เถา ละลายน้ําไดบาง ผงซักฟอก ของแข็ง ขาว ละลายน้ําไดบาง น้ําอัดลม ไมมีสี ละลายน้ํา น้ํายาลางหองน้ํา ของเหลว ขาว ละลายน้ํา แอลกอฮอลลางแผล ละลายน้ํา ปุยยูเรีย ของแข็ง ขาว ละลายน้ํา น้ํายาลางจาน ของเหลว ไมมีสี ละลายน้ํา กาซคารบอนไดออกไซด

ไมมีสี ละลายน้ํา

พลาสติก ของแข็ง ขาว ไมละลายน้ํา แกว ไมละลายน้ํา กระดาษ ไมละลายน้ํา

Page 25: 6 6 งงานและสาร ... - kb.psu.ac.thkb.psu.ac.th/psukb/bitstream/2010/6290/11/Appendix.pdf · หรือมอบหมายให นักเรีียมมายนเตร

แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร ชั้นประถมศึกษาปท่ี 6 เร่ือง สารเคมีรอบตัวเรา

คําชี้แจง 1. แบบทดสอบฉบับนี้มีทั้งหมด 30 ขอ คะแนนเต็ม 30 คะแนน ใชเวลา 30 นาที 2. แบบทดสอบฉบับนี้เปนแบบทดสอบชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลือก คือ ก. ข. ค. และ

ง. ใหนักเรียนเลือกคําตอบที่ถูกตองที่สุดเพียงคําตอบเดียว แลวทําเครื่องหมายกากบาท (X) ลงในกระดาษคําตอบที่ครูแจกให ดังตัวอยาง

ตัวอยาง

กระดาษคําตอบ

ขอ ก ข ค ง 0 X

00 X

3. หามขีดเขียนหรือทําเครื่องหมายใดๆ ลงในแบบทดสอบ 4. ถานักเรียนมีอะไรสงสัย ใหยกมือถามครู

Page 26: 6 6 งงานและสาร ... - kb.psu.ac.thkb.psu.ac.th/psukb/bitstream/2010/6290/11/Appendix.pdf · หรือมอบหมายให นักเรีียมมายนเตร

แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร ชั้นประถมศึกษาปท่ี 6 เร่ือง สารเคมีรอบตัวเรา

จํานวน 30 ขอ เวลา 30 นาที ………………………………………………………………………………………………………. คําชี้แจง ใหนักเรียนเขียนเครื่องหมาย X ขอที่ถูกที่สุดลงในกระดาษคําตอบเพียงคําตอบเดียว 1. สารเคมีในขอใดจัดเปนสารเคมีประเภทกรด

ก. ดางทับทิม ข. เกลือแกง ค. ผงซักฟอก ง. น้ําอัดลม

2. ขอใด ไมใช ลักษณะของน้ํามันพืชใหม ก. ไมมีกล่ินเหม็นหืน ข. เหนียวหนืด ค. มีสีออน ง. ใส

3. ขอใด ไมใช สมบัติของแปงมัน ก. ละลายน้ําได ข. เปนของแข็ง ค. ไมละลายน้ํา ง. เมื่อเติมน้ําจะไดของเหลวขุน

4. สารเคมีที่สามารถเปลี่ยนกระดาษลิตมัสจากสีแดงเปนสีน้ําเงิน แสดงวามีสมบัติเปนอยางไร ก. เปนกรด ข. เปนเบส ค. เปนกลาง ง. ไมมีขอถูก

Page 27: 6 6 งงานและสาร ... - kb.psu.ac.thkb.psu.ac.th/psukb/bitstream/2010/6290/11/Appendix.pdf · หรือมอบหมายให นักเรีียมมายนเตร

5. ขอใดเปนสมบัติของสารเคมีที่เปนกลาง

ก. เปลี่ยนสีกระดาษลิตมัสจากแดงเปนดํา ข. เปลี่ยนสีกระดาษลิตมัสจากน้ําเงินเปนแดง ค. เปลี่ยนสีกระดาษลิตมัสจากแดงเปนน้ําเงิน ง. ไมเปลี่ยนสีกระดาษลิตมัส

6. สารเคมีในขอใดเมื่อเกิดการเปลี่ยนแปลง ไมสามารถทํากลับมาเปนเหมือนเดิมได ก. น้ํามันพืชที่ผสมกับน้ํา ข. แปงมันที่ผสมกับน้ํา ค. น้ําตาลทรายที่ละลายน้ํา ง. น้ํามันเชื้อเพลิงที่ถูกเผาไหม

7. ขอใดกลาวถูกตอง ก. ถุงพลาสติกที่ใชแลวนํามาบรรจุอาหารไดอีก ข. นําถังที่บรรจุผงซักฟอกมาบรรจุอาหารได ค. อาหารที่มีรสเปรี้ยวควรบรรจุในภาชนะพลาสติก ง. ถังตักน้ําไมควรนํามาบรรจุน้ํามันปรุงอาหาร

8. สารเคมีประเภทใดที่ควรใชอยางประหยัดและรูคุณคา ก. ปุยเคมี ข. ผงชูรส ค. น้ํามันเบนซิน ง. น้ําหอมกลิ่นกุหลาบ

9. หลักการใชยาฆาแมลงที่สําคัญคือขอใด ก. พนในขณะที่แดดจัด ข. ขณะฉีดพนตองยืนเหนือลม ค. หลังฉีดพนยาแลวควรนั่งพักสักครู ง. ควรผสมยาฆาแมลงใหเจือจางกวาปกติ

Page 28: 6 6 งงานและสาร ... - kb.psu.ac.thkb.psu.ac.th/psukb/bitstream/2010/6290/11/Appendix.pdf · หรือมอบหมายให นักเรีียมมายนเตร

10. สารเคมีปราบศัตรูพืชมักจะมีเครื่องหมายใดที่ฉลาก ก. รูปเปลวไฟ ข. มีตัวหนังสือสีแดง ค. รูปหัวกะโหลกไขว ง. เขียนบอกวาเปนยาอันตราย

11. ฉลากที่ติดตามภาชนะของอาหารและเครื่องดื่มแสดงไวเพื่ออะไร ก. เพื่อดึงดูดลูกคา ข. เพื่อการเลือกใชอยางถูกตอง ค. เพื่อความสวยงามนาเชื่อถือ ง. เพื่อปองกันไมใหอาหารเนาเสีย

12. ขอใดจัดเปนสมบัติทางเคมีของสาร ก. สถานะ ข. กรด – เบส ค. สีของสาร ง. การละลาย

13. การเปลี่ยนแปลงของสารเคมีในขอใดเกิดประโยชนตอมนุษย ก. การเกิดสนิมเหล็ก ข. อาหารที่ไดรับความรอน ค. การลุกติดไฟของใบไม ง. ดินเพาะปลูกที่ใชปุยเคมี

14. สารเคมีเกี่ยวของกับชีวิตประจําวันของเราในขอใดนอยที่สุด ก. ผสมอาหาร ข. ปราบศัตรูพืช ค. ทําความสะอาดภาชนะ ง. ทําความสะอาดรางกาย

15. ขอใดเปลี่ยนสีกระดาษลิตมัสจากน้ําเงินเปนแดง ก. สบู ข. ผงซักฟอก ค. น้ําสมสายชู ง. น้ํายาลางจาน

Page 29: 6 6 งงานและสาร ... - kb.psu.ac.thkb.psu.ac.th/psukb/bitstream/2010/6290/11/Appendix.pdf · หรือมอบหมายให นักเรีียมมายนเตร

16. การนําน้ํามันที่ใชแลวมาปรุงอาหาร จะทําใหอาหารมีลักษณะอยางไร ก. รสชาดอรอย ข. อาหารสุกเร็วขึ้น ค. อาหารมีกล่ินหืน ง. อาหารไมมีกล่ิน

17. สารเคมีขอใดที่มีสถานะและสีเหมือนกัน ก. แปงมัน น้ําสมสายชู น้ํามันพืช ข. แปงมัน ผงชูรส น้ําสมสายชู ค. น้ําตาลทราย ผงซักฟอก แปงมัน ง. น้ําตาลทราย แปงมัน น้ําสมสายชู

18. สารในขอใดเปนของเหลว ก. เหล็ก ข. ปรอท ค. กํามะถัน ง. โพแทสเซียม

19. สารที่ใสในอาหารประเภทใดที่ใหสารอาหารประเภทคารโบไฮเดรต ก. น้ําตาล เกลือ ข. น้ําตาล ผงชูรส ค. น้ําปลา เกลือ ง. น้ําตาล น้ําสมสายชู

20. การปฏิบัติเกี่ยวกับภาชนะใสสารฆาแมลง ขอใดถูกตอง ก. เอลางกระปองยาฆาแมลงแลวนํามาใสดินสอ ข. โอนํากระปองยาฆาแมลงที่ใชหมดแลวทิ้งถังขยะ ค. แอวนํากระปองยาฆาแมลงที่ใชหมดแลวฝงกลบในดิน ง. ออมนํากระปองยาฆาแมลงที่ใชหมดแลวทิ้งในคลอง

21. โมโนโซเดียมกลูตาเมตคือสารในขอใด ก. ผงชูรส ข. สารกันบูด ค. ดินประสิว ง. น้ําสมสายชู

Page 30: 6 6 งงานและสาร ... - kb.psu.ac.thkb.psu.ac.th/psukb/bitstream/2010/6290/11/Appendix.pdf · หรือมอบหมายให นักเรีียมมายนเตร

22. การเปลี่ยนแปลงในขอใดจัดเปนการเปลี่ยนแปลงทางเคมี ก. ใสเกร็ดดางทับทิมลงในน้ําจะมีสีมวงเกิดขึ้น ข. หยดกรดเกลือลงบนหินปูนแลวเกิดฟองฟู ค. ทิ้งลูกเหม็นไวสักครูพบวาลูกเหม็นมีขนาดเล็กลง ง. ตมน้ําจนเดือดแลวกลายเปนไอ

23. เพราะเหตุใดจึงจัดวาการเผาไหมเปนการเปลี่ยนแปลงทางเคมี ก. มีพลังงานเกิดขึ้น ข. สารใหมที่ไดแตกตางจากสารเดิมโดยสิ้นเชิง ค. องคประกอบภายในของสารเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม ง. ถูกตองทุกขอ

24. สารที่เปนสวนผสมของผงซักฟอกซึ่งมีผลทําใหพืชน้ําเจริญเติบโตไดดี คือขอใด ก. ซัลเฟต ข. ฟอสเฟต ค. ไนเตรต ง. คารบอเนต

25. กรดที่มีอยูในน้ําอัดลมเปนกรดชนิดใด ก. กรดแอซีติก ข. กรดน้ําสม ค. กรดคารบอนิก ง. กรดคารบอเนต

26. สารในขอใด ไมควร นํามาใสในอาหาร ก. เกลือ ข. น้ําปลา ค. น้ําตาล ง. ผงชูรส

27. สารละลายในขอใดที่มีฤทธิ์เปนกรดทั้งหมด ก. น้ําสมสายชู น้ําอัดลม และน้ํายาลางหองน้ํา ข. น้ําปูนใส น้ําขี้เถา และน้ํายาลางหองน้ํา ค. สารละลายเกลือแกง น้ําอัดลม และน้ําปูนใส ง. น้ําผงซักฟอก แชมพูสระผม และน้ําสมสายชู

Page 31: 6 6 งงานและสาร ... - kb.psu.ac.thkb.psu.ac.th/psukb/bitstream/2010/6290/11/Appendix.pdf · หรือมอบหมายให นักเรีียมมายนเตร

28. ถานักเรียนหยดน้ําอัดลมลงบนดอกอัญชัน ผลที่ไดจะเปนอยางไร ก. สีเขมขึ้น ข. สีจางลง ค. ไมเปลี่ยนแปลง ง. เปล่ียนเปนสีแดง

29. ขอใด ไมใช สมบัติทางกายภาพของเหล็ก ก. มีจุดหลอมเหลวสูง ข. มีสถานะเปนของแข็ง ค. มีความหนาแนนมากกวาน้ํา ง. เมื่อทิ้งไวในที่มีความชื้นจะเกิดสนิม

30. เพราะเหตุใดจึง ไมควร ใชผงซักฟอกลางจานและภาชนะใสอาหารอื่นๆ ก. มีสวนผสมของสารเรืองแสงซึ่งเปนสารกอมะเร็ง ข. มีสวนผสมของสารฟอสเฟตซึ่งเปนสารกอมะเร็ง ค. มีสวนผสมของโซดาไฟจะเปนสาเหตุของโรคทางเดินอาหารอักเสบ ง. มีสวนผสมของสารฟอกขาวซึ่งมีฤทธิ์กัดรุนแรงกับเนื้อเยื่อรางกาย

…………………………………..

ขอใหทุกคนโชคดี…….