2559 - ithesis-ir.su.ac.thithesis-ir.su.ac.th/dspace/bitstream/123456789/884/1/57156318...

83
การออกแบบสื่ออัตลักษณแมวไทยเพื่อการเผยแพร โดย นางสาวพงษพิสุทธิศรีสด วิทยานิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาศิลปมหาบัณฑิต สาขาวิชาศิลปะการออกแบบ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร ปการศึกษา 2559 ลิขสิทธิ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร

Upload: others

Post on 06-Feb-2020

10 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: 2559 - ithesis-ir.su.ac.thithesis-ir.su.ac.th/dspace/bitstream/123456789/884/1/57156318 พงษ์... · การออกแบบสื่ออัตลักษณ แมวไทยเพื่อการเผยแพร

การออกแบบสื่ออัตลักษณแมวไทยเพื่อการเผยแพร

โดย

นางสาวพงษพิสุทธิ์ ศรสีด

วิทยานพินธนีเ้ปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาศลิปมหาบัณฑิต

สาขาวิชาศลิปะการออกแบบ

บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร

ปการศึกษา 2559

ลิขสิทธิข์องบณัฑิตวิทยาลยั มหาวิทยาลยัศิลปากร

Page 2: 2559 - ithesis-ir.su.ac.thithesis-ir.su.ac.th/dspace/bitstream/123456789/884/1/57156318 พงษ์... · การออกแบบสื่ออัตลักษณ แมวไทยเพื่อการเผยแพร

การออกแบบสื่ออัตลักษณแมวไทยเพื่อการเผยแพร

โดย

นางสาวพงษพิสุทธิ์ ศรสีด

วิทยานพินธนีเ้ปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาศลิปมหาบัณฑิต

สาขาวิชาศลิปะการออกแบบ

บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร

ปการศึกษา 2559

ลิขสิทธิข์องบณัฑิตวิทยาลยั มหาวิทยาลยัศิลปากร

Page 3: 2559 - ithesis-ir.su.ac.thithesis-ir.su.ac.th/dspace/bitstream/123456789/884/1/57156318 พงษ์... · การออกแบบสื่ออัตลักษณ แมวไทยเพื่อการเผยแพร

SIAMESE CAT'S CORPORATE IDENTITY DESIGN AS PUBLIC KNOWLEDGE MEDIA

DISTRIBUTION

By

Miss Pongpisut Srisod

A Thesis Submitted in Partial Fulfillment of the Requirements for the Degree

Master of Fine Arts Program in Design Arts

Graduate School, Silpakorn University

Academic Year 2016

Copyright of Graduate School, Silpakorn University

Page 4: 2559 - ithesis-ir.su.ac.thithesis-ir.su.ac.th/dspace/bitstream/123456789/884/1/57156318 พงษ์... · การออกแบบสื่ออัตลักษณ แมวไทยเพื่อการเผยแพร

บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร อนุมัติให้วิทยานิพนธ์เรื่อง “การออกแบบ สื่ออัตลักษณ์แมวไทยเพ่ือการเผยแพร่” เสนอโดย นางสาวพงษ์พิสุทธิ์ ศรีสด เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาศิลปมหาบัณฑิต สาขาวิชาศิลปะการออกแบบ

……………………………………...………………

(รองศาสตราจารย์ ดร.ปานใจ ธารทัศนวงศ์)

คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย

วันที่...……. เดือน……………. พ.ศ.……………

อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์

1. อาจารย์ ดร.ธนาทร เจียรกุล

2. ผู้ช่วยศาสตราจารย์กรธนา กองสุข

คณะกรรมการการตรวจสอบวิทยานิพนธ์

……………………………………… ประธานกรรมการ

(รองศาสตราจารย์ปรีชา ปั้นกล่่า)

……… / ………………. / ……..…..

……………………………………… กรรมการ ……………………………………… กรรมการ

(ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อภิสักก์ สินธุภัค) (รองศาสตราจารย์ประเสริฐ พิชยะสุนทร)

……… / ………………. / ……..….. ……… / ………………. / …..……..

……………………………………… กรรมการ ……………………………………… กรรมการ

(อาจารย์ ดร.ธนาทร เจียรกุล) (ผู้ช่วยศาสตราจารย์กรธนา กองสุข)

……… / ………………. / ……..….. ……… / ………………. / ……..…..

Page 5: 2559 - ithesis-ir.su.ac.thithesis-ir.su.ac.th/dspace/bitstream/123456789/884/1/57156318 พงษ์... · การออกแบบสื่ออัตลักษณ แมวไทยเพื่อการเผยแพร

57156318 : สาขาวิชาศิลปะการออกแบบ

คําสําคัญ : แมวไทย/สื่ออัตลักษณ/อนุรักษ

พงษพิสุทธ์ิ ศรีสด : การออกแบบสื่ออัตลักษณแมวไทยเพ่ือการเผยแพร อาจารยที่ปรึกษา

วิทยานิพนธ : อ.ดร.ธนาทร เจียรกุล และ ผศ.กรธนา กองสุข. 69 หนา

การวิจัยน้ีมีวัตถุประสงคเพ่ือออกแบบและสรางสรรคงานศิลปะ เพ่ือใหคนทั่วไปไดตระหนักและ

เห็นความสําคัญของแมวไทย เน่ืองจากแมวไทยเปนสัตวเลี้ยงที่อยูคูกับวิถีชีวิตคนไทยมาต้ังแตโบราณ แมว

ไทยมีเอกลักษณเฉพาะตัว แตกตางจากแมวสายพันธุอ่ืน และเปนที่รูจักและยอมรับในระดับนานาชาติ นา

เสียดายที่แมวสายพันธุไทยที่เคยมีถึง 17 สายพันธุซึ่งไดบันทึกไวในตําราสมุดขอยไดสูญพันธุไปแลวถึง

12 สายพันธุ เหลืออยูเพียง 5 สายพันธุเทาน้ันในปจจุบัน หากละเลย ไมใหความสําคัญ แมวไทยก็จะสูญ

พันธุและสูญหายไปอยางนาเสียดาย

สําหรับระเบียบวิธีวิจัยที่ใชในการรวบรวมขอมูลเกี่ยวกับแมวไทยและการออกแบบผลิตภัณฑ

ผูวิจัยใชการผสม ผสานระหวางการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) กับ การวิจัยเชิงปริมาณ

(Quantitative Research) โดยการวิจัยเชิงคุณภาพมุงหาขอมูลเกี่ยวกับแมวไทยอยางครบถวนและรอบ

ดานดวยการสัมภาษณเชิงลึก (In-depth Interview) กับนักอนุรักษแมวไทยและการสังเกตการณแบบมี

สวนรวมอยางใกลชิด (Participant Observation) สวนการวิจัยเชิงปริมาณน้ันไดใชแบบสอบถาม

(Questionnaire) เพ่ือประมวลผลประกอบการตัดสินใจเลือกผลิตภัณฑที่จะออกแบบเพ่ือใหสอดคลองกับ

ความตองการของกลุมเปาหมาย

การนําผลจากการวิจัยดังกลาวมาใชในการสรางสรรคผลงานโดยการบูรณาการระหวางองค

ความรูดานการออกแบบนิเทศศิลป (Visual Communication Arts) กับกระบวนการทําเครื่องเคลือบดิน

เผา (Ceramics) เปนของใชในชีวิตประจําวันและของที่ระลึกขนาดเล็ก (Small Souvenir) จะมีสวนชวย

ใหประชาชนทั่วไปรูจักและตระหนักถึงคุณคาของสายพันธุแมวไทยที่ยังคงเหลืออยูทั้ง 5 สายพันธุ และ

เปนสวนหน่ึงของการรวมอนุรักษสัตวเลี้ยงคูบานคนไทยที่เปนมรดกภูมิปญญาทางวัฒนธรรมของชาติใหคง

อยูตอไปนานเทานาน

ภาควิชาศิลปะการออกแบบ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร

ลายมือช่ือนักศึกษา……………………………………………………………. ปการศึกษา 2559

ลายมือช่ืออาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธ 1. ……………………………… 2. ………………………………….

Page 6: 2559 - ithesis-ir.su.ac.thithesis-ir.su.ac.th/dspace/bitstream/123456789/884/1/57156318 พงษ์... · การออกแบบสื่ออัตลักษณ แมวไทยเพื่อการเผยแพร

57156321 : MAJOR : MFA DESIGN ARTS

KEY WORDS : SIAMESE CAT/IDENTITY MEDIA DESIGN/CONSERVATION

PONGPISUT SRISOD : SIAMESE CAT’S CORPORATE IDENTITY DESIGN AS PUBLIC

KNOWLEDGE MEDIA DISTRIBUTION. THESIS ADVISORS : THANATORN JIARAKUL, Ph.D AND ASSOC.

PROF. KORNTHANA KONGSUK. 69 pp.

The objective of the research is to design and create artifacts that motivate the

public to recognize the value of Siamese cat. Having cats in the house have been Thai

way of life for a long time. Siamese cats, have their own unique identities though they

shared common qualifications of the other felines. Specific kinds of Siamese cat are

internationally well-known. Accordingly, 17 kinds of Siamese cat have been recorded on

ancient pulp book, where only five survived.

The combination of qualitative and quantitative research methodology has been

deployed to collect and gather all information and data. For qualitative research, in-

depth Interview and participant observation are tools in order to collect comprehensive

information about Siamese cat while the satisfactory of specific products are gathered

via questionnaires upon the quantitative research.

The finished products are the integration of expertise knowledge on visual

communication arts and ceramics that designed and created, which based on the

processed and compiled data. They are daily life products for example: coffee set,

screened T-shirt, scarf, and tote. Hopefully, these small utensils with Siamese cat

identities would serve as reminders for people to realize the value of Siamese cat and

encourage them to be parts of the conservation of Thai heritage through the Siamese

cat.

Department of MFA Design Arts Graduate School, Silpakorn University

Student’s signature……………………………………………… Academic Year 2016

Thesis Advisors’ signature 1. ……………………………………. 2. ………………………………………

Page 7: 2559 - ithesis-ir.su.ac.thithesis-ir.su.ac.th/dspace/bitstream/123456789/884/1/57156318 พงษ์... · การออกแบบสื่ออัตลักษณ แมวไทยเพื่อการเผยแพร

กิตติกรรมประกาศ

วิทยานิพนธฉบับน้ีสําเร็จลุลวงไปไดดวยดี เพราะไดรับความกรุณาจากอาจารย ดร.ธนาทร

เจียรกุล และผูชวยศาสตราจารยกรธนา กองสุข ซึ่งเปนอาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธที่ใหความชวยเหลือ

และใหคําแนะนําที่เปนประโยชนอยางย่ิงตอผูวิจัย รวมทั้งผูชวยศาสตราจารยปรีชา ปนกล่ํา ประธาน

กรรมการสอบวิทยานิพนธ ผูชวยศาสตราจารย ดร.อภิสักก สินธุภัค และผูชวยศาสตราจารยโชติวัฒน

ปุณโณปถัมภ ผูวิจัยขอขอบพระคุณในความกรุณาของทุกทานเปนอยางสูง

ขอขอบพระคุณคณาจารยสาขาวิชาศิลปะการออกแบบ คณะมัณฑนศิลป มหาวิทยาลัยศิลปากร

ทุกทานที่ใหความรู ใหคําแนะนําและประสบการณอันมีคาย่ิงแกผูวิจัย

ขอขอบพระคุณกํานันปรีชา พุคคะบุตร เจาของและผูกอต้ังศูนยอนุรักษแมวไทยโบราณ

อ.อัมพวา จ.สมุทรสงคราม ที่ใหขอมูลเกี่ยวกับแมวไทยอยางละเอียดและเอ้ือเฟอสถานที่ใหผูวิจัยสามารถ

บันทึกขอมูลตางๆ ไดอยางเต็มที่

ขอขอบคุณเพ่ือนๆ และครอบครัวที่ใหคําแนะนําและกําลังใจตลอดมา

Page 8: 2559 - ithesis-ir.su.ac.thithesis-ir.su.ac.th/dspace/bitstream/123456789/884/1/57156318 พงษ์... · การออกแบบสื่ออัตลักษณ แมวไทยเพื่อการเผยแพร

สารบญั

หนา

บทคัดยอภาษาไทย ........................................................................................................................ ง

บทคัดยอภาษาอังกฤษ ................................................................................................................... จ

กิตติกรรมประกาศ ......................................................................................................................... ฉ

สารบัญตาราง ................................................................................................................................ ญ

สารบัญภาพ ................................................................................................................................... ฏ

บทที ่

1 บทนํา ............................................................................................................................... 1

ความเปนมาและความสําคัญของการวิจัย ............................................................... 1

ความมุงหมายและวัตถุประสงคของการวิจัย .......................................................... 2

สมมติฐานของการศึกษา ......................................................................................... 2

ขอบเขตของการศึกษาและขัน้ตอนของการศึกษา .................................................. 2

ขั้นตอนของการศึกษา ............................................................................................. 3

คําจํากัดความที่ใชในการศึกษา ............................................................................... 4

2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ ....................................................................................... 5

ขอมูลเกี่ยวกับแมวและแมวไทย .............................................................................. 5

ขอมูลเกี่ยวกับการออกแบบอัตลักษณ .................................................................... 21

ขอมูลเกี่ยวกับทฤษฎีการเผยแพร............................................................................ 23

ขอมูลทีใ่ชในการออกแบบ ....................................................................................... 26

3 วิธีดําเนินการวิจัย ............................................................................................................. 31

กระบวนการศึกษาวิจัย............................................................................................ 31

การรวบรวมขอมูล ................................................................................................... 32

การวิเคราะหขอมูล ................................................................................................. 33

ดําเนินการออกแบบสรางสรรค ............................................................................... 34

สรุปผลการศึกษาและขอเสนอแนะ ......................................................................... 34

4 การวิเคราะหขอมูลและการออกแบบ .............................................................................. 35

5 สรุปอภิปรายผลและขอเสนอแนะ .................................................................................... 62

สรุปผลการวิจยั ................................................................................................................ 62

อภิปรายผลการวิจัย ......................................................................................................... 63

Page 9: 2559 - ithesis-ir.su.ac.thithesis-ir.su.ac.th/dspace/bitstream/123456789/884/1/57156318 พงษ์... · การออกแบบสื่ออัตลักษณ แมวไทยเพื่อการเผยแพร

บทที ่

5 ขอเสนอแนะ .................................................................................................................... 63

รายการอางอิง ................................................................................................................................ 64

ภาคผนวก ...................................................................................................................................... 65

ประวัติผูวิจัย ................................................................................................................................ 69

Page 10: 2559 - ithesis-ir.su.ac.thithesis-ir.su.ac.th/dspace/bitstream/123456789/884/1/57156318 พงษ์... · การออกแบบสื่ออัตลักษณ แมวไทยเพื่อการเผยแพร

สารบญัตาราง

ตารางที่ หนา

1 แสดงเพศของกลุมผูใชเปาหมาย ...................................................................................... 36

2 แสดงอายุของผูใชกลุมเปาหมาย ...................................................................................... 36

3 แสดงอาชีพของผูใชกลุมเปาหมาย ................................................................................... 36

4 แสดงระดับการศึกษาของผูใชกลุมเปาหมาย ................................................................... 37

5 แสดงรายไดโดยเฉลี่ยตอเดือนของกลุมเปาหมาย ............................................................ 37

6 แสดงลักษณะที่อยูอาศัยของผูใชกลุมเปาหมาย ............................................................... 37

7 แสดงสายพันธุแมวไทยที่เปนที่รูจัก .................................................................................. 38

8 แสดงเอกลักษณของแมวไทยแตละชนิด .......................................................................... 39

9 แสดงสํารวจความนิยมของผลิตภัณฑประเภทตางๆ ........................................................ 39

10 แสดงวัตถุประสงคในการเลือกซื้อของกลุมเปาหมาย ....................................................... 39

11 แสดงรูปแบบของผลิตภัณฑเครื่องเคลือบดินเผา ............................................................. 40

12 แสดงการปรับแกผลงานออกแบบ ในการเสนอความคืบหนาครั้งที่ 1 ............................. 42

13 แสดงการปรับแกผลงานออกแบบ ในการเสนอความคืบหนาครั้งที่ 2 ............................. 47

14 แสดงการปรับแกผลงานออกแบบ ในการเสนอความคืบหนาครั้งที่ 3 ............................. 50

15 แสดงการปรับแกผลงานออกแบบ ในการเสนอความคืบหนาครั้งที่ 4 ............................. 55

Page 11: 2559 - ithesis-ir.su.ac.thithesis-ir.su.ac.th/dspace/bitstream/123456789/884/1/57156318 พงษ์... · การออกแบบสื่ออัตลักษณ แมวไทยเพื่อการเผยแพร

สารบญัภาพ

ภาพที่ หนา

1 หลุมศพที่ขุดพบ ดานบนเปนโครงกระดูกแมว ดานลางเปนโครงกระดูกมนุษย ............... 6

2 บริเวณที่มีการขุดคนที่หมูบาน Shillourokambos ประเทศไซปรสั ............................... 6

3 รูปปนเทพแมวหรือเทวีบาสเต็ต ....................................................................................... 7

4 แมวไทยที่ถูกบันทึกไวในสมุดขอยโบราณ ........................................................................ 8

5 แมวศุภลักษณ .................................................................................................................. 10

6 แมวสีสวาด ....................................................................................................................... 11

7 แมววิเชียรมาศ ................................................................................................................. 12

8 แมวโกนจา ....................................................................................................................... 13

9 แมวขาวมณี ...................................................................................................................... 14

10 บรรยากาศภายในศูนยอนุรักษแมวไทยโบราณ .............................................................. 15

11 กํานันปรีชา พุคคะบุตร เจาของและผูกอต้ังศูนยอนุรักษแมวไทยโบราณ ........................ 16

12 แมวโกนจา ในศูนยอนุรักษแมวไทยโบราณ ..................................................................... 16

13 จดหมายของ David B. Sickels สงถึง Lucy Webb Hayes .......................................... 18

14 Amy ลูกสาวประธานาธิบดี Jimmy Carter อุม Misty Malarkey Yin Yang ............... 19

15 ภาพถายชุด Roi Du Siam .............................................................................................. 20

16 ติโต จากภาพถายชุด Roi Du Siam ................................................................................ 21

17 ผลงานช่ือ Cat and Flowers ของฮิงุจิ ยูโกะ ................................................................. 29

18 ผลงานของฮิงูจิ ยูโกะที่ออกแบบลวดลายและบรรจุภัณฑใหกับแบรนดเครื่องสําอาง...... 30

19 กระบวนการศึกษาวิจัย .................................................................................................... 31

20 ผลงานเทคนิคสีนํ้า ในการสอบความคืบหนาครั้งที่ 1 รูปแบบที่ 1 .................................. 40

21 ตัวอยางผลิตภัณฑแบบจําลอง ในการสอบความคืบหนาครั้งที่ 1 รูปแบบที่ 1 ................ 41

22 ตัวอยางผลิตภัณฑแบบจําลอง ในการสอบความคืบหนาครั้งที่ 1 รูปแบบที่ 2 ................ 42

23 โทนสีของแมวไทยที่ไดมาจากการลงพ้ืนที่และเก็บรวบรวมขอมูล ................................... 43

24 การออกแบบตราสัญลักษณ ในการสอบความคืบหนาครั้งที ่2 รูปแบบที่ 1 .................... 45

25 ตัวอยางผลิตภัณฑแบบจําลอง ในการสอบความคืบหนาครั้งที่ 2 รูปแบบที่ 1 ................ 46

26 ผลงานเทคนิคสีนํ้า ในการสอบความคืบหนาครั้งที่ 2 รูปแบบที่ 2 ................................. 47

27 ตัวอยางผลิตภัณฑแบบจําลอง ในการสอบความคืบหนาครั้งที่ 2 รูปแบบที่ 2 ................ 48

Page 12: 2559 - ithesis-ir.su.ac.thithesis-ir.su.ac.th/dspace/bitstream/123456789/884/1/57156318 พงษ์... · การออกแบบสื่ออัตลักษณ แมวไทยเพื่อการเผยแพร

ภาพที ่

28 ตัวอยางผลิตภัณฑแบบจําลอง ในการสอบความคืบหนาครั้งที่ 2 รูปแบบที่ 3 ................ 48

29 ตัวอยางผลิตภัณฑแบบจําลอง ในการสอบความคืบหนาครั้งที่ 2 รูปแบบที่ 4 ................ 49

30 แบบรางตราสัญลักษณ ในการสอบความคืบหนาครั้งที่ 2 รูปแบบที่ 2 ............................ 49

31 ทดลองเทคนิคอ่ืนๆ ทางกระบวนการผลิตเครื่องเคลือบดินเผา รูปแบบที่ 1 ................... 50

32 ทดลองเทคนิคอ่ืนๆ ทางกระบวนการผลิตเครื่องเคลือบดินเผา รูปแบบที่ 2 ................... 51

33 ทดลองเทคนิคอ่ืนๆ ทางกระบวนการผลิตเครื่องเคลือบดินเผา รูปแบบที่ 3 ................... 51

34 ตราสัญลักษณที่ไดรับการปรับแกไข ในการสอบความคืบหนาในครั้งที่ 3 รูปแบบที่ 1 ... 52

35 ตัวอยางผลิตภัณฑแบบจําลอง ในการสอบความคืบหนาครั้งที่ 3 รูปแบบที่ 1 ................ 53

36 ตัวอยางผลิตภัณฑแบบจําลอง ในการสอบความคืบหนาครั้งที่ 3 รูปแบบที่ 2 ................ 53

37 รูปแบบบรรจภัุณฑที่จะนํามาใชกับผลิตภัณฑเครื่องเคลือบดินเผา .................................. 54

38 ขั้นตอนการทําเทคนิครูปลอกเซรามิค รูปแบบที่ 1 .......................................................... 55

39 ขั้นตอนการทําเทคนิครูปลอกเซรามิค รูปแบบที่ 2 .......................................................... 56

40 ขั้นตอนการทําเทคนิครูปลอกเซรามิค รูปแบบที่ 3 .......................................................... 56

41 ขั้นตอนการทําเทคนิครูปลอกเซรามิค รูปแบบที่ 4 .......................................................... 57

42 ขั้นตอนการทําเทคนิครูปลอกเซรามิค รูปแบบที่ 5 .......................................................... 57

43 ขั้นตอนการทําเทคนิครูปลอกเซรามิค รูปแบบที่ 6 .......................................................... 58

44 ขั้นตอนการทําเทคนิครูปลอกเซรามิค รูปแบบที่ 7 .......................................................... 58

45 ขั้นตอนการทําเทคนิครูปลอกเซรามิค รูปแบบที่ 8 .......................................................... 59

46 ผลงานสําเร็จในวันสอบจบวิทยานิพนธ รูปแบบที่ 1 ........................................................ 59

47 ผลงานสําเร็จในวันสอบจบวิทยานิพนธ รูปแบบที่ 2 ........................................................ 60

48 ผลงานสําเร็จทีนํ่ามาเผยแพรผลงานในรูปแบบของการจัดนิทรรศการ รูปแบบที่ 1 ........ 60

49 ผลงานสําเร็จทีนํ่ามาเผยแพรผลงานในรูปแบบของการจัดนิทรรศการ รูปแบบที่ 2 ........ 61

50 ผลงานสําเร็จทีนํ่ามาเผยแพรผลงานในรูปแบบของการจัดนิทรรศการ รูปแบบที่ 3 ........ 61

Page 13: 2559 - ithesis-ir.su.ac.thithesis-ir.su.ac.th/dspace/bitstream/123456789/884/1/57156318 พงษ์... · การออกแบบสื่ออัตลักษณ แมวไทยเพื่อการเผยแพร

1

บทท่ี 1

บทนํา

ความเปนมาและความสาํคญัของปญหา

แมวเปนสัตวเลี้ยงที่อยูคูกับวิถีชีวิตคนไทยมาต้ังแตโบราณ มีลักษณะเฉพาะตัวและมีอุปนิสัยที่โดด

เดนคือ มีความฉลาด แสนรู รูจักประจบ รักเจาของ ซึ่งทําใหแมวไทยมีความแตกตางจากแมวสายพันธุอ่ืน

และยังทําใหแมวไทยไดรับความนิยม เปนที่รูจักและเปนที่ตองการในตางประเทศ แมแตผูมีช่ือเสียงระดับ

โลกต้ังแตในอดีตหลายคนก็ยังนิยมเลี้ยงแมวไทย จึงนับไดวาแมวไทยมีความสําคัญและมีจุดขายที่เปน

เอกลักษณในระดับสากล

เพ่ือเปนการอนุรักษแมวไทยใหคงอยูสืบไป กระทรวงวัฒนธรรมจึงไดประกาศขึ้นทะเบียนมรดก

ภูมิปญญาทางวัฒนธรรมของชาติเมื่อ พ.ศ. 2557 โดยข้ึนทะเบียนแมวไทยในหมวดความรูและแนวปฏิบัติ

เก่ียวกับธรรมชาติและจักรวาล ทั้งน้ีเพ่ือใหสังคมไดตระหนักถึงคุณคาและมีความภาคภูมิใจรวมกันใน

คุณคามรดกภูมิปญญา โดยไดมีการจัดทําบัญชีรายช่ือแมวไทยเพ่ือเปนฐานขอมูลในการนําไปเปนหลักฐาน

สําคัญของชาติ ทั้งน้ีกระทรวงวัฒนธรรม เช่ือวาจะเปนการปกปองคุมครองมรดกทางวัฒนธรรมใหคงอยู

อยางเหมาะสมและสอดคลองกับสภาพการณในยุคปจจุบัน

จากสายพันธุแมวไทยลักษณะดีที่ใหคุณทั้งหมด 17 สายพันธุ ปจจุบันไดสูญหายไปจนเหลือเพียง

5 สายพันธุ จึงจําเปนตองมีการอนุรักษสายพันธุเทาที่มีใหคงอยูอยางเปนรูปธรรม ดวยการเพาะพันธุจนได

แมวไทยสายพันธุแท ซึ่งนําไปสูการจัดต้ังศูนยอนุรักษแมวไทย เชน ศูนยอนุรักษแมวไทยโบราณ อ.อัมพวา

จ.สมุทรสงคราม เพ่ือเปนศูนยอนุรักษและเรียนรูในชุมชนใหบุคคลที่สนใจไดเขาชมและเปนแหลงขอมูล

ใหกับคนรุนหลัง

เพ่ือเปนการรวบรวมและเผยแพรขอมูลเกี่ยวกับแมวไทย ผูวิจัยจึงจะดําเนินการวิจัยแบบ

ผสมผสาน (Mix Methods) โดยใชการวิจัยแบบคุณภาพ (Qualitative Research) โดยเขาสังเกตการณ

แมวไทยที่มีการอนุรักษเอาไวที่ศูนยอนุรักษแมวไทยโบราณดังกลาว เพ่ือบันทึกลักษณะเดนและ

ลักษณะเฉพาะของแมวไทย ที่เปนแมวลักษณะดีตามตําราแมวไทยและเปนสายพันธุที่ยังคงมีอยูใน

ปจจุบัน โดยเฝาสังเกตบุคลิกและอุปนิสัยของแมวไทย มองหาคุณลักษณะที่โดดเดนและแตกตางจากแมว

Page 14: 2559 - ithesis-ir.su.ac.thithesis-ir.su.ac.th/dspace/bitstream/123456789/884/1/57156318 พงษ์... · การออกแบบสื่ออัตลักษณ แมวไทยเพื่อการเผยแพร

2

สายพันธุอ่ืน รวมถึงเก็บขอมูลจากการสัมภาษณกํานันปรีชา พุคคะบุตร เจาของและผูกอต้ังอุทยานแมว

ไทยโบราณ ซึ่งเปนผูทรงความรูเกี่ยวกับแมวไทยในทุกๆ ดาน นอกจากน้ียังใชการวิจัยในเชิงปริมาณ

(Quantitative Research) ดวยการออกแบบสอบถาม (Questionnaire) และจับสุมกลุมตัวอยาง เพ่ือ

สํารวจรสนิยมสวนใหญและความตองการผลิตภัณฑที่จะมีความเกี่ยวของกับแมวไทย ขอมูลทั้งหมดที่ได

จะนํามาวิเคราะหและประมวลเพ่ือนําไปสูการออกแบบสื่ออัตลักษณเพ่ือการเผยแพรและนํามาใชตอยอด

สรางสรรคเปนผลงานออกแบบที่สามารถใชไดจริงในชีวิตประจําวันของคนทั่วไป โดยทุกการออกแบบจะ

เนนยํ้าและนําเสนอคุณลักษณะพิเศษของแมวไทย สนับสนุนใหรวมกันอนุรักษสายพันธุแมวไทยที่มี

เอกลักษณที่สวยงามใหคงอยูตอไป

ความมุงหมายและวัตถุประสงคของการวิจัย

1. เพ่ือออกแบบและสรางสรรคผลิตภัณฑเพ่ือใหคนทั่วไปไดตระหนัก เขาใจเอกลักษณและเห็น

ความสําคัญของแมวไทย

2. ใหความรูความเขาใจเกี่ยวกับแมวไทยผานงานศิลปะบนผลิตภัณฑ

3. เพ่ือปลูกฝงความคิดใหรวมกันอนุรักษสายพันธุแมวไทยใหคงอยูตอไป

สมมติฐานของการศึกษา

การออกแบบสื่ออัตลักษณแมวไทยเพ่ือใหไดขอมูลเกี่ยวกับแมวไทยอยางครบถวนรอบดานและ

นําไปออกแบบผลิตภัณฑใหสอดคลองกับรสนิยมและความตองการของผูซื้อ โดยเปนการออกแบบบน

พ้ืนฐานจากการทําแบบสอบถามเพ่ือหาแนวโนมความนิยมรวมดวย

ขอบเขตของการศึกษาและขั้นตอนของการศึกษา

ผูวิจัยกําหนดขอบเขตของการศึกษาไวที่แมวไทยลักษณะดี 5 สายพันธุ ไดแก แมวศุภลักษณ แมว

สีสวาด แมววิเชียรมาศ แมวโกนจาและแมวขาวมณี โดยใชพ้ืนที่ศูนยอนุรักษแมวไทยโบราณ อ.อัมพวา

จ.สมุทรสงคราม โดยมีขั้นตอนของการศึกษา ดังน้ี

1. การทบทวนวรรณกรรม (Literature Review) โดยการศึกษาจากเอกสารที่เกี่ยวของกับ

แมวทั่วๆ ไปและที่เกี่ยวของกับแมวไทยโดยละเอียด จากเอกสาร ตํารา งานวิจัยที่เกี่ยวของ แหลงความรู

Online ที่เช่ือถือไดและกรณีศึกษา (Case Study)

Page 15: 2559 - ithesis-ir.su.ac.thithesis-ir.su.ac.th/dspace/bitstream/123456789/884/1/57156318 พงษ์... · การออกแบบสื่ออัตลักษณ แมวไทยเพื่อการเผยแพร

3

2. การสังเกตการณแบบมีสวนรวมอยางใกลชิด (Participant Observation) แบบมีสวนรวมเปน

ผูสังเกตการณ (Participant as Observer) โดยจะเขาไปสังเกตการณในศูนยอนุรักษแมวไทยโบราณ

อ.อัมพวา จ.สมุทรสงคราม เพ่ือสังเกตลักษณะความเปนอยู อาหารการกิน พฤติกรรมของแมวไทย 5 สาย

พันธุที่ไดรับการอนุรักษไวในพ้ืนที่ศึกษา

3. การสัมภาษณแบบเจาะลึก (In-Depth Interview) เพ่ือรวบรวมขอมูล ความรู ขอสังเกตุจาก

ผูเช่ียวชาญสายพันธุแมวไทย และการเลี้ยงดู จากนักวิชาการ ผูเช่ียวชาญที่มีความรูความเช่ียวชาญดาน

แมวไทยจากสถาบันการศึกษาตางๆ

4. การศึกษางานศิลปะที่เกี่ยวกับแมวและแมวไทยจากศิลปนไทยและศิลปนที่ไดรับการยอมรับ

ในตางประเทศ ที่ใชเทคนิคตางๆ เชน ภาพวาดสีนํ้า สีนํ้ามัน ภาพพิมพไม จิตรกรรมฝาผนัง ประติมากรรม

เครื่องเคลือบดินเผาและอ่ืนๆ

5. การใชแบบสอบถามโดยการสุมตัวอยาง (Sampling) เปนการเลือกกลุมตัวอยางแบบโควตา

(Quota Sampling) โดยคํานึงถึงสัดสวนองคประกอบของประชากร กําหนดกลุมตัวอยางจํานวน 100 คน

แบงเปนเพศชาย 50 คน หญิง 50 คน โดยไมจํากัดชวงอายุ มีเครื่องมือคือ แบบสอบถามในลักษณะ

คําถามปลายปด (Closed Alternative Question) เพ่ือใหผูตอบเลือกคําตอบเพียงขอเดียว (Multiple

Choice or Check List Question) และคําถามที่ใหผูตอบจัดลําดับความสําคัญ (Ranking of Item) และ

แบบประมาณคา (Rating Scale) มีนํ้าหนักเปรียบเทียบจากนอยไปหามาก

6. วิเคราะหขอมูลที่ได เพ่ือใชทําการออกแบบผลงาน โดยมีขอบเขตของการออกแบบผลิตภัณฑ

แบงเปน 4 ประเภท คือ เคร่ืองเขียน (Stationery) อุปกรณเครื่องใชบนโตะอาหาร (Tableware) ของที่

ระลึกช้ินเล็ก (Small Souvenir) ซึ่งเปนเคร่ืองใชในชีวิตประจําวันของคนทั่วไปหรือกลุมเปาหมายและ

เปนผลิตภัณฑที่ไดรับความนิยมในปจจุบัน

ขั้นตอนของการศึกษา

ขั้นตอนในการศึกษาจะแบงเปน 3 ขั้นตอน คือ การรวบรวมขอมูล การประมวลแยกประเภทและ

จัดหมวดหมูและการวิเคราะหขอมูลที่ไดมาทั้งหมด เพ่ือดําเนินการออกแบบอัตลักษณแมวไทยเพ่ือการ

อนุรักษตอไป สําหรับขั้นตอนตางๆ มีรายละเอียดดังน้ี

Page 16: 2559 - ithesis-ir.su.ac.thithesis-ir.su.ac.th/dspace/bitstream/123456789/884/1/57156318 พงษ์... · การออกแบบสื่ออัตลักษณ แมวไทยเพื่อการเผยแพร

4

1. รวบรวมขอมูลจากการทบทวนวรรณกรรม (Literature Review) เอกสารที่เกี่ยวของกับแมว

ไทยโดยละเอียดกับแมวทั่วๆ ไป โดยรวบรวมหรือแยกประเภทแมวไทยออกจากแมวอ่ืนๆ และกําหนด

ลักษณะเดนของแมวไทย 5 ชนิด ในสวนที่ตางและเหมือน เพ่ือประมวลและจัดหมวดหมู

2. ลงพ้ืนที่เพ่ือทําการสังเกตการณแบบมีสวนรวมอยางใกลชิด (Participant Observation) เปน

การมีสวนรวมแบบเปนผูสังเกตการณ (Participant as Observer) รวบรวมขอมูลดวยการจดบันทึก ถาย

ภาพน่ิงและภาพเคลื่อนไหว วาดภาพราง (Sketching) บันทึกเสียง แมวไทยทั้งหมดที่ศูนยอนุรักษแมวไทย

โบราณ อ.อัมพวา จ.สมุทรสงคราม ประมวล วิเคราะหและจัดหมวดหมู

3. รวบรวมขอมูลจากสัมภาษณอยางเจาะลึก (In-Depth Interview) โดยสัมภาษณกํานันปรีชา

พุคคะบุตร เจาของและผูกอต้ังอุทยานแมวไทยโบราณ อ.อัมพวา จ.สมุทรสงคราม ถอดความแบบคําตอ

คํา (Verbatim) ประมวลและจําแนกประเด็น

4. รวบรวมขอมูลที่ไดจากการศึกษางานศิลปะทั้งหมด จดบันทึกและจัดเปนหมวดหมู

5. ดําเนินการแจกแบบสอบถาม รวบรวมและวิเคราะหขอมูลที่ไดจากการตอบแบบสอบถามที่

ไดมาจากการสุมตัวอยาง (Sampling)

6. วิเคราะหขอมูลที่ไดและสรุปเพ่ือเปนแนวทางในการออกแบบตอไป

7. นําขอมูลที่วิเคราะหแลวมาใชในการสรางผลงานออกแบบสื่ออัตลักษณแมวไทยและจัดทํา

Website อนุรักษแมวไทย

8. รวบรวมผลงานแบบราง (Sketch) แยกหมวดหมูและพัฒนาผลงานออกแบบจากขอมูลที่สรุป

ได

9. นําเสนอผลงานการออกแบบเพ่ือใหคณะกรรมการตรวจรางวิทยานิพนธประเมิน

10. สรุปผลการศึกษาและขอเสนอแนะ

คําจํากัดความที่ใชในการศึกษา

1. แมวไทย 5 สายพันธุ ไดแก แมวศุภลักษณ แมวสสีวาด แมววิเชียรมาศ แมวโกนจาและแมว

ขาวมณี

2. ศูนยอนุรักษแมวไทยโบราณ หมายถึงเฉพาะศูนยอนุรักษแมวไทยที่กอต้ังขึ้นโดยกํานันปรีชา

พุคคะบุตร ซึ่งต้ังอยูในอ.อัมพวา จ.สมุทรสงคราม

Page 17: 2559 - ithesis-ir.su.ac.thithesis-ir.su.ac.th/dspace/bitstream/123456789/884/1/57156318 พงษ์... · การออกแบบสื่ออัตลักษณ แมวไทยเพื่อการเผยแพร

5

บทท่ี 2

เอกสารและงานวิจัยท่ีเก่ียวของ

การศึกษาวิจัยเรื่อง “การออกแบบสื่ออัตลักษณแมวไทยเพ่ือการอนุรักษ” ไดนําแนวคิด ทฤษฎี

และงานวิจัยที่เกี่ยวของ เพ่ือใชเปนแนวทางในการศึกษาวิจัยดังน้ี คือ

1. ขอมูลเกี่ยวกับแมวและแมวไทย

2. ขอมูลเกี่ยวกับการออกแบบอัตลักษณ

3. ขอมูลเกี่ยวกับทฤษฎีการเผยแพร

4. ขอมูลที่ใชในการออกแบบ

1. ขอมูลเก่ียวกับแมวและแมวไทย

1.1 ขอมูลเกี่ยวกับแมวทั่วไป

แมวเปนสัตวเลี้ยงลูกดวยนม (Class: Mamalia) ในอันดับสัตวกินเน้ือ (Order: Carnivora)

ขนาดเล็กสกุลหน่ึง จัดเปนเสือขนาดเล็ก ในวงศเสือและแมว (Family: Felidae) ในสกุล Felis

(Genus:Filis)

สวนที่มาของแมวบานน้ัน จากการศึกษา หนวยพันธุกรรม (DNA) ยอนกลับไปพบวา แมวบาน

แยกตัวมาจากแมวปาเมื่อประมาณ 131,000 ปที่ผานมา ตนตระกูลแมวบานทุกสายพันธุ มีถิ่นกําเนิดอยู

ในบริเวณดินแดนอุดมสมบูรณที่ติดตอกันคลายพระจันทรเสี้ยวผืนใหญ จากฝงทะเลเมดิเตอรเรเนียนไป

จรดอาวเปอรเซีย (Fertile Crescent) ปจจุบันเรียกบริเวณน้ีวาตะวันออกใกล (Near East) หรือ อัฟริกา

เหนือ (North Africa) ประกอบดวย 6 ประเทศ คือ Algeria, Egypt, Libya, Morocco, Sudan,

Tunisia และเขต Western Sahara

แมวอยูกับคนมาเน่ินนานกวาที่เดิมเคยเช่ือกัน มีหลักฐานลาสุดระบุวา แมวอยูกับมนุษยมาแลว

ถึง 9,500 ป Professor Jean Guilaine จากศูนยวิจัยทางโบราณคดี CNRS (CNRS Centre

d'Anthropologie) ซึ่งอยูที่เมืองตูลูส ประเทศฝรั่งเศส ผูขุดคนพบหลักฐานดังกลาวระบุวา พบโครง

กระดูกแมวที่สมบูรณถูกฝงหางจากคนที่เช่ือวาเปนเจาของแมว 40 เซนติเมตรในหลุมผังศพของหมูบาน

Shillourokambos ประเทศไซปรัส แมวที่พบนาจะเปนกึ่งๆ ระหวางแมวปากับแมวบาน แตคอนไปทาง

แมวบาน การคนพบแมวถูกฝงพรอมกับมนุษยในครั้งน้ี คลายคลึงกับการคนพบสุนัขถูกฝงพรอมมนุษยใน

Page 18: 2559 - ithesis-ir.su.ac.thithesis-ir.su.ac.th/dspace/bitstream/123456789/884/1/57156318 พงษ์... · การออกแบบสื่ออัตลักษณ แมวไทยเพื่อการเผยแพร

6

อิสราเอลเมื่อ 12,000 - 11,000 กอนคริสตกาล (ประมาณ 13,000-14,000 ป) หลักฐานน้ีลบลางความ

เช่ือที่วาแมวอยูกับคนมาแลวประมาณ 4,000 ปหรือ 2,000 ปกอนคริสตกาล จากหลักฐานภาพวาดของ

อียิปต

ภาพที่ 1 หลมุศพที่ขุดพบ ดานบนเปนโครงกระดูกแมว ดานลางเปนโครงกระดูกมนุษย

ที่มา : MGR Online, วิเคราะหดีเอ็นเอสืบบรรพบุรุษเหมียวบานที่แทคือแมวปาตะวันออกกลาง,

เขาถึงเมื่อ 29 มกราคม 2559, เขาถึงไดจาก http://www.manager.co.th/science/ViewNews.

aspx?NewsID=9500000076707

ภาพที่ 2 บริเวณที่มีการขุดคนที่หมูบาน Shillourokambos ประเทศไซปรัส

ที่มา : MGR Online, วิเคราะหดีเอ็นเอสืบบรรพบุรุษเหมียวบานที่แทคือแมวปาตะวันออกกลาง,

เขาถึงเมื่อ 29 มกราคม 2559, เขาถึงไดจาก http://www.manager.co.th/science/ViewNews.

aspx?NewsID=9500000076707

Page 19: 2559 - ithesis-ir.su.ac.thithesis-ir.su.ac.th/dspace/bitstream/123456789/884/1/57156318 พงษ์... · การออกแบบสื่ออัตลักษณ แมวไทยเพื่อการเผยแพร

7

ในยุคอียิปตโบราณ 3,150 กอนคริสตกาล (ประมาณ 5,000 ปที่แลว) ชาวอิยิปตบูชาแมวและถือ

วาแมวเปนเทพ คนที่ทํารายแมวหรือฆาแมวจะตองรับโทษสถานหนัก เทพแมวหรือเทวีบาสเต็ต (Bastet)

มักจะอยูในรูปครึ่งคน ครึ่งแมว ชาวอิยิปตที่เมืองบูบาสตีส (Bubastis) ทางตอนเหนือของอิยิปตบูชาเทพ

แมวเทวีบาสเต็ตกันมาก เฮโรโดตัส ผูบันทึกเรื่องราวชาวโรมันซึ่งไดรบการยกยองใหเปน บิดาแหงวิชา

ประวัติศาสตร เขียนไววา มีการจัดงานเฉลิมฉลองเทพแมว เทวีบาสเต็ตอยางย่ิงใหญ ที่เมืองบูบาสตีส ใน

วิหารจะมีสถานที่เฉพาะสําหรับเลี้ยงแมว โดยพระเปนผูดูแล และยังมีการทํามัมมี่แมวจํานวนมากอีกดวย

นอกจากน้ียังคนพบรูปปนแมวตัวเล็กๆ นับพันตัวที่วิหารในบูบาสตีสที่คนนํามาถวาย

ภาพที่ 3 รูปปนเทพแมวหรือเทวีบาสเต็ต

ที่มา : Joshua J. Mark, Definetion of Bastet, เขาถึงเมื่อ 28 มกราคม 2559, เขาถึงไดจาก http://

www.tumnandd.com

แมวกับคนอียิปตผูกพันกันมากในยุคแรกๆ เทพแมวที่ชาวอียิปตนับถือคือ มาฟเด็ต ภาพวาด

ในปรามิด ทําใหเห็นวา เทวีมาฟเด็ตใชอุงมือตะปบงูพิษจนตาย สวนภาพเทวีมาฟเด็ตบนแจกันหินที่หลุม

ศพเมืองอไบโดส (Abydos) มีอายุ 2,800 ปกอนคริสตกาล (ประมาณ 4,800 ปที่แลว) เปนลักษณะของ

แมวตัวโตคลายเสือชีตาหหรือเสือดาว ทําใหสันนิษฐานวา คําวา มาฟเด็ต อาจจะแปลวา นักว่ิง (Runner)

ซึ่งเปนคุณลักษณะเดนของเสือชีตาหและเสือดาว

Page 20: 2559 - ithesis-ir.su.ac.thithesis-ir.su.ac.th/dspace/bitstream/123456789/884/1/57156318 พงษ์... · การออกแบบสื่ออัตลักษณ แมวไทยเพื่อการเผยแพร

8

นอกจากเทวีมาฟเด็ต อียิปตยังนับถือมีเทพแมวอีกหลายองค เชน เทวีเซคฮเม็ต ซึ่งมีศีรษะเปน

สิงโต แตเทพแมวที่มีลักษณะของแมวบานมีเพียงเทวีบาสเต็ตเทาน้ัน

1.2 ขอมูลเก่ียวกับแมวไทย

สําหรับแมวไทยไมมีบันทึกอยางเปนทางการวามีตนกําเนิดมาต้ังแตเมื่อใด แตมีบันทึกไวในสมุด

ขอยสมัยรัตนโกสินทรตอนตน บรรยายลักษณะแมวดีและแมวราย ที่จะใหคุณและโทษแกผูเลี้ยงและมี

ภาพวาดของแมวประกอบกับคํากลอน เพ่ืออธิบายลักษณะทางกายภาพของแมวไทยดวย ปจจุบันตํารา

แมวไทยน้ีไดเก็บรักษาอยูที่หอสมุดแหงชาติ เช่ือวาเปนตําราแมวที่เกาแกที่สุดเลมหน่ึง

ภาพที่ 4 แมวไทยที่ถูกบันทึกไวในสมุดขอยโบราณ

ที่มา : มติชนออนไลน, ยอนชมสมุดขอย “ตําราแมวไทย” หลังถูกตางชาติชิงอางสทิธิ์เกลี้ยง เหลอืแค

‘ศุภลักษณ’, เขาถึงเมื่อ 21 ธันวาคม 2559, เขาถึงไดจาก http://www.matichon.co.th/news/

314134

แมวไทยมีอุปนิสัยที่โดดเดนคือ มีความฉลาด มีความเปนตัวของตัวเอง รูจักคิด รูจักประจบ รัก

บาน รักเจาของและเหนืออ่ืนใดคือ รักความอิสระเปนชีวิตจิตใจ ซึ่งถือวาเปนบุคลิกประจําตัวที่ทําให

แตกตางจากแมวพันธุอ่ืน ทําใหคนไทยนิยมเลี้ยงแมวมาแตโบราณ จึงไดมีการจดบันทึกเรื่องราวไวใน

หนังสือตําราแมว โดยรวมลักษณะที่ดีแบงเปน 17 ชนิดและลักษณะราย 6 ชนิด โดยจะนิยมเลี้ยงตาม

Page 21: 2559 - ithesis-ir.su.ac.thithesis-ir.su.ac.th/dspace/bitstream/123456789/884/1/57156318 พงษ์... · การออกแบบสื่ออัตลักษณ แมวไทยเพื่อการเผยแพร

9

ลักษณะแมวใหคุณตามตําราแมวโบราณวา การเลี้ยงแมวตามลักษณะที่ดีตองดูแลอยางดีไมใหดุดา ทําราย

ทุบตีแมว

แมวลักษณะดีในตําราแมวโบราณมีทั้งหมด 17 ชนิด ดังน้ี

1.2.1 นิลรัตน มีสีดําตลอดทั้งตัว รวมถึงเล็บ ลิ้น ฟน ดวงตาและกระดูก หางยาวตวัดไดจนถึงหัว

1.2.2 วิลาศ มีลําตัวสีดําจากคอไปตลอดทอง จากสองหูไปจนถึงหางและขาทั้งสี่มีสีขาว นัยนตาสี

เขียว

1.2.3 ศุภลักษณ หรือทองแดง มีสีขนเปนสีทองแดงตลอดทั้งตัว นัยนตาเปนประกาย

1.2.4 เกาแตม มีสีขาวเปนพ้ืน มีแตมสีดําเกาจุดที่คอ หัว ตนขาหนา ขาหลังทั้งสองขางและที่ทาย

ลําตัว มักทําใหจําสับสนกับแมววิเชียรมาศ เพราะมีจุดเดน 9 อยางเหมือนกัน แตแตกตางกันที่สีและ

ตําแหนง

1.2.5 สีสวาด หรือมาเลศ มีขนสีดอกเลาเปรียบเสมือนกับเมฆฝน นัยนตาสีเขียวกลีบบัว

1.2.6 แซมเศวต มีขนสีดําแซมขาว ขนบางและสั้น รูปรางปราดเปรียว นัยนตาสีเหลืองเหมือน

แสงจากหิ่งหอย

1.2.7 รัตนกัมพล ตัวขาวเหมือนหอยสังข แตรอบตัวตรงสวนอกมีลักษณะคลายสายคาดสีดํา

นัยนตาสีเหลือง

1.2.8 วิเชียรมาศ เมื่อแรกเกิดมีขนสีขาวหมด พอโตข้ึนจะมีสีเปลี่ยนเปนสีครีมออนๆ แตที่ใบหนา

หูทั้ง 2 ขาง เทาทัง้ 4 ขาง หางและที่อวัยวะเพศ รวมเปน 9 อยาง มีสีนํ้าตาลเขม นัยนตาประกายสีฟา

1.2.9 นิลจักร มีลําตัวสีดําสนิท ที่คอมีขนสีขาวอยูลอมรอบเหมือนกับปลอกคอ

1.2.10 มุลิลา มลีําตัวสีดํา หูสองขางมีสีขาว ตามีสีเหลืองเหมือนดอกเบญจมาศ

1.2.11 กรอบแวน หรืออานมา มีปานเปนลักษณะคลายอานมาที่หลัง

1.2.12 ปดเสวตร หรือปดตลอด ลําตัวมีสีดําเปนพ้ืน ต้ังแตจมูกไปตามแนวสันหลังถึงปลายหางมี

สีขาว นัยนตาเหลืองคลายกับพลอย

1.2.13 กระจอก รูปรางกลมและมีลําตัวสีดํา บริเวณรอบปากมีสีขาว นัยนตาสีเหลือง

1.2.14 สิงหเสพย หรือโสงหเสพย มีลําตัวสีดํา บริเวณปาก รอบคอและจมูกมีสีขาว นัยนตาสี

เหลือง ทาทางเดินสงาเหมือนสิงโต

1.2.15 การเวก มีลําตัวสีดํา จมูกสีขาว นัยนตาเปนประกายสีทอง

1.2.16 จตุบท มีลําตัวสีดํา เทาทั้ง 4 ขางมีสีขาว นัยนตาสีเหลืองเหมือนดอกโสน

Page 22: 2559 - ithesis-ir.su.ac.thithesis-ir.su.ac.th/dspace/bitstream/123456789/884/1/57156318 พงษ์... · การออกแบบสื่ออัตลักษณ แมวไทยเพื่อการเผยแพร

10

1.2.17 โกนจา หรือรองมด ลําตัวมีสีดําละเอียด นัยนตาสีดอกบวบแรกแยม หางเรียวยาว ทาทาง

การเดินสงาเหมือนสิงโต

1.3 แมวไทยลักษณะดีที่ยังหลงเหลือทั้ง 5 ชนิด

จากสายพันธุแมวไทยลักษณะดี 17 ชนิด ไดหายสาบสูญไปแลว 13 ชนิด เหลือเพียง 4 ชนิดและ

ไดรวมสายพันธุขาวมณี ไวกับแมวไทยลักษณะดี รวมเปน 5 ชนิด ดังน้ี

ภาพที่ 5 แมวศุภลักษณ

ที่มา : พรนภา ฉ่ํามะนา, แมวพันธุศุภลักษณ, เขาถึงเมื่อ 15 กรกฎาคม 2559, เขาถึงไดจาก

http://lovelovecatcat.blogspot.com/2014/08/blog-post_22. html

1.3.1 แมวศุภลักษณ หรือทองแดง มีขนสีนํ้าตาลเขมคลายสีสนิมตลอดทั้งตัว บริเวณ

สวนหูและใบหนา จะมีสีเขมกวาสวนอ่ืนๆ ขน เล็บและลิ้นมีสีทองแดง ศีรษะมีรูปรางคอนขางกลมและ

กวาง ปลายหางยาวเรียวไดสัดสวนกับลําตัว นัยนตาสีเหลืองอําพัน มีอุปนิสัยที่อยากรูอยากเห็น ชอบผจญ

ภัยและรักอิสระ

Page 23: 2559 - ithesis-ir.su.ac.thithesis-ir.su.ac.th/dspace/bitstream/123456789/884/1/57156318 พงษ์... · การออกแบบสื่ออัตลักษณ แมวไทยเพื่อการเผยแพร

11

ภาพที่ 6 แมวสีสวาด

ที่มา : Jenis-Jenis kuicng RAS (Shorthair),The Complete Cat Breed Book(DK_Publishing),

เขาถึงเมื่อ 23 พฤศจิกายน 2559, เขาถึงไดจาก https://www.facebook.com/pg/merawatkucing/

photos/ ?tab=album&album_id=1623927064575082

1.3.2 แมวมาเลศ หรือ ดอกเลา ปจจุบันคือ แมวสายพันธุโคราช หรือที่คนไทยเรียกวา

แมวสีสวาด มีขนสั้นแนน สีตัวเปนสีเทาอมนํ้าเงินหรือสีดอกเลา เล็บ ขนขางในใบหูและหนวดมีสีขาว

ศีรษะเปนรูปรางกลมใหญคลายหัวใจ นัยนตาสีเขียวใบไมหรือสีเหลืองอําพัน มีอุปนิสัยกระตือรือรน แสนรู

และปองกันตัวจากแมวตางถิ่นไดอยางดี

Page 24: 2559 - ithesis-ir.su.ac.thithesis-ir.su.ac.th/dspace/bitstream/123456789/884/1/57156318 พงษ์... · การออกแบบสื่ออัตลักษณ แมวไทยเพื่อการเผยแพร

12

ภาพที่ 7 แมววิเชียรมาศ

ที่มา : Jenis-Jenis kuicng RAS (Shorthair),The Complete Cat Breed Book(DK_Publishing),

เขาถึงเมื่อ 23 พฤศจิกายน 2559, เขาถึงไดจาก https://www.facebook.com/pg/merawatkucing/

photos/ ?tab=album&album_id=1623927064575082

1.3.3. แมววิเชียรมาศ มีขนสั้นแนน ลําตัวสีขาวนวลหรือนํ้าตาลออน มีแตมสีคร่ังหรือสี

นํ้าตาลไหม รวมทั้งหมด 9 แหง ในตอนที่ยังไมโตเต็มที่ ลําตัวจะมีสีขาวนวลและคอยๆ เปลี่ยนเปนสี

นํ้าตาลออน ศีรษะมีรูปรางคอนขางกลม หนาผากใหญและแบน จมูกและหูมีขนาดใหญ นัยนตาสีฟาใส มี

อุปนิสัยที่ชอบสงเสียงรอง เลี้ยงงาย ติดบานและเจาของ

Page 25: 2559 - ithesis-ir.su.ac.thithesis-ir.su.ac.th/dspace/bitstream/123456789/884/1/57156318 พงษ์... · การออกแบบสื่ออัตลักษณ แมวไทยเพื่อการเผยแพร

13

ภาพที่ 8 แมวโกนจา

ที่มา : poneak, แมวโกนจา, เขาถึงเมื่อ 1 กรกฎาคม 2559,เขาถึงไดจากhttp://www.bloggang

.com/viewdiary.php?id=poneak&month=09-2013&date=%2030&% 20group=7&gblog=14

1.3.4. แมวโกนจา หรือรองมด เปนแมวสีดําสนิททั้งตัว มีรองสีขาวยาวจากใตคางไปตาม

ทองจนสุดทวาร นัยนตา สีเหลืองดอกบวบ ปากแหลม หางเรียวงาม มักเดินทอดนอง เทาคลายสิงห

Page 26: 2559 - ithesis-ir.su.ac.thithesis-ir.su.ac.th/dspace/bitstream/123456789/884/1/57156318 พงษ์... · การออกแบบสื่ออัตลักษณ แมวไทยเพื่อการเผยแพร

14

ภาพที่ 9 แมวขาวมณี

ที่มา : Jenis-Jenis kuicng RAS (Shorthair),The Complete Cat Breed Book(DK_Publishing),

เขาถึงเมื่อ 23 พฤศจิกายน 2559, เขาถึงไดจาก https://www.facebook.com/pg/merawatkucing/

photos/ ?tab=album&album_id=1623927064575082

1.3.5. แมวขาวมณี สีขาวปลอดทั้งตัว ขนฟูนุม จมูก ใบหูและอุงเทาเปนสีชมพู ศีรษะ

เปนรูปรางกลมใหญคลายรูปหัวใจ นัยนตาทั้ง 2 ขางมีสีแตกตางกัน โดยจะมีสีฟาขางหน่ึงและสีเหลือง

อําพันอีกขางหน่ึง

Page 27: 2559 - ithesis-ir.su.ac.thithesis-ir.su.ac.th/dspace/bitstream/123456789/884/1/57156318 พงษ์... · การออกแบบสื่ออัตลักษณ แมวไทยเพื่อการเผยแพร

15

1.4 ศูนยอนุรักษแมวไทยโบราณ อ.อัมพวา จ.สมุทรสงคราม

ในประเทศไทย มีเพียงไมกี่แหง ที่จัดทําเปนพิพิธภัณฑหรือศูนยอนุรักษแมวไทยจากการลงพ้ืนที่

ศึกษาเบ้ืองตนพบวา ศูนยอนุรักษแมวไทยโบราณหรือบานแมวไทย ต้ังอยูที่ อ.อัมพวา จ.สมุทรสงคราม

ซึ่งมีการรวบรวมแมวไทยหลากหลายสายพันธุและมีจํานวนมากที่สุด เปนสถานที่ที่เหมาะแกการศึกษาหา

ความรูเรื่องแมวไทย

ภาพที่ 10 บรรยากาศภายในศูนยอนุรักษแมวไทยโบราณ

ที่มา : MGR Online, "บานแมวไทย"อัมพวา อนุรักษแมวไทยเพื่อคนไทย, เขาถึงเมื่อวันที่ 29 มิถุนายน

2559, เขาถึงไดจากhttp://www.manager.co.th/Travel/ViewNews.aspx?NewsID=95000001037

11

กํานันปรีชา พุคคะบุตร เจาของและผูกอต้ังศูนยอนุรักษแมวไทย ไดเปดบานแมวไทยให

นักทองเที่ยวเขามาเยี่ยมชมต้ังแตป พ.ศ. 2544 โดยสรางเปนศูนยการเรียนรูในชุมชน เนนเผยแพรองค

ความรูเกี่ยวกับแมวไทย โดยภายในบานแมวไทยแบงพ้ืนที่เปน 3 สวนไดแก นิทรรศการ รานขายของที่

ระลึกและรานขายอาหารวางและเครื่องด่ืม ในสวนที่เปนนิทรรศการจะเปดเปนพ้ืนที่โลงและนําแมวแตละ

สายพันธุใสไวในกรง มีแมวไทยทั้งหมด 5 ชนิดไดแก แมววิเชียรมาศ แมวสีสวาด แมวศุภลักษณ แมวโกน

จาและแมวขาวมณี ในสวนน้ีมีตําราแมวไทยจากสมุดขอยนํามาใสกรอบรูปไว เพ่ือใหความรูเกี่ยวกับแมว

ไทยชนิดตางๆ

Page 28: 2559 - ithesis-ir.su.ac.thithesis-ir.su.ac.th/dspace/bitstream/123456789/884/1/57156318 พงษ์... · การออกแบบสื่ออัตลักษณ แมวไทยเพื่อการเผยแพร

16

ภาพที่ 11 กํานันปรีชา พุคคะบุตร เจาของและผูกอต้ังศูนยอนุรักษแมวไทยโบราณ

ภาพที่ 12 แมวโกนจา ที่ศูนยอนุรักษแมวไทยโบราณ

Page 29: 2559 - ithesis-ir.su.ac.thithesis-ir.su.ac.th/dspace/bitstream/123456789/884/1/57156318 พงษ์... · การออกแบบสื่ออัตลักษณ แมวไทยเพื่อการเผยแพร

17

1.4 แมวไทยกับเหตุการณสําคัญตางๆ

แมวไทยซึ่งมีทั้งความสวยงาม และมีเอกลักษณที่ไมมีแมวพันธุใดเหมือน ทําใหแมวไทยโดงดังไป

ทั่วโลก โดยในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ 5 ไดพระราชทานแมววิเชียรมาศคู

หน่ึงใหแก นายโอเวน กูลด กงสุลอังกฤษประจําประเทศไทยเมื่อลากลับไปประเทศอังกฤษในป พ.ศ.2427

ตอมาในป พ.ศ.2428 ที่คริสตันพาเลซ กรุงลอนดอน มีการจัดประกวดแมวโลกขึ้นเปนครั้งแรก แมวคูน้ีถูก

สงเขาประกวดและไดรับรางวัลชนะเลิศ ทําใหชาวอังกฤษพากันต่ืนเตนกับแมวไทยถึงกับมีการจัดต้ัง

สโมสรแมวไทยในป พ.ศ.2443 มีช่ือวา The Siamese Cat Clubs และตอมาในป พ.ศ.2471 มีการต้ัง

สมาคมแมวไทยแหงจักรวรรดิอังกฤษหรือ The Siamese Cat Society of British Empire ทําใหแมว

วิเชียรมาศจดทะเบียนเปนสัตวพันธุแทของโลกโดยใชช่ือวา ไซมิสแคท (Siamese Cat)

นอกจากแมวไทยวิเชียรมาศจะไปโดงดังที่ประเทศอังกฤษแลว แมวไทยอีกสายพันธุหน่ึงที่คนไทย

เรียกวา แมวสีสวาด ก็ไปมีช่ือเสียงไมแพกันที่สหรัฐอเมริกา ในป พ.ศ.2502 นางยีน จอหนสัน ชาว

สหรัฐอเมริกาไดเดินทางเขามาประเทศไทยและไดนําแมวโคราช แมวสีสวาดหรือดอกเลา กลับไป

สหรัฐอเมริกา 2 ตัวช่ือ นาราและดารา ในป พ.ศ.2508 ไดมีการกอต้ังสมาคม ผูเลี้ยงแมวไทยพันธุสีสวาด

ขึ้นในสหรัฐอเมริกาและจดทะเบียนเปนสัตวประจําชาติไทยในป พ.ศ.2552

เรื่องราวของแมวไทยที่ไดไปตางประเทศทําใหชาวตะวันตกไดรูจัก นอกจากที่กลาวมาแลว

ปรากฏวามีแมวไทยอีกตัวหน่ึงที่ไดรับการบันทึกไวใน the Rutherford B. Hayes Presidential Center

ซึ่งเปน Website ทางการของ Rutherford B. Hayes ประธานาธิบดีคนที่ 19 ของสหรัฐ ซึ่งดํารง

ตําแหนงระหวาง พ.ศ.2420-2424 วาไดมีการสงแมวไทยตัวแรกจากประเทศไทยไปยังสหรัฐฯ เพ่ือเปน

ของขวัญใหสุภาพสตรีหมายเลข 1 Lucy Hayes ซึ่งเปนคนรักแมว ในพ.ศ.2421 ตรงกับรัชสมัย

พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ 5

ผูที่สงแมวไทยขามทวีปไป คือ David B. Sickels นักการทูตของกงสุลอเมริกันประจําประเทศ

ไทย ในจดหมายของ David B. Sickels ที่เขียนถึงสุภาพสตรีหมายเลข 1 และยังเก็บรักษาไวเปนอยางดี

แมเวลาจะลวงเลยมาถึง 138 ป ระบุวา แมวที่สงมาน้ีเปนหน่ึงในสายพันธุแมวไทยที่ดีที่สุดที่จะหาไดใน

ประเทศไทยหรือสยามในขณะน้ัน และวาน่ีเปนครั้งแรกที่มีการสงแมวไทยไปยังสหรัฐฯ ขอความใน

จดหมายเขียนไววา

“I have taken the liberty of forwarding you one of the finest specimens of Siamese

cats that I have been able to procure in this country. I am informed that it is the

first attempt ever made to send a Siamese cat to America”

Page 30: 2559 - ithesis-ir.su.ac.thithesis-ir.su.ac.th/dspace/bitstream/123456789/884/1/57156318 พงษ์... · การออกแบบสื่ออัตลักษณ แมวไทยเพื่อการเผยแพร

18

ภาพที ่13 จดหมายของ David B. Sickels สงถึง Lucy Webb Hayes เมื่อวันที่ 1 พ.ย. 2421

ที่มา : Siamese Cat Nation, David B. Sickels’ letter to Lucy Webb Hayes, เขาถึง

เมื่อ 6 สิงหาคม 2559, เขาถึงไดจาก http://siamesecatnation.com/index.php/home/

siamese-letter/

ครอบครัวประธานาธิบดีสหรัฐ ต้ังช่ือแมวไทยตัวน้ีวา สยาม ตามช่ือของประเทศไทยในขณะน้ัน

สยามอยูในทําเนียบขาวอยางสบายใจ มันเดินไปทั่วทั้งสวนที่เปนบานและที่ทํางานอยางเปนทางการของ

ประธานาธิบดี ลูกสาววัย 12 ของทานประธานาธิบดีรักสยามมากและเมื่อมีแขกมาเยือนสุภาพสตรี

หมายเลข 1 สยามก็จะเยื้องยางอยางสงามาชวยตอนรับขับสู

ทําเนียบประธานาธิบดีสหรัฐไมไดมีแคแมวไทย ทานยังเลี้ยงสุนัขอีก 2 ตัว แพะและนกมอกกิ้ง

เบิรด ทาน ถึงกับออกปากวา ถึงจะอยูทําเนียบขาว แตทานรูสึกเหมือนเปน Robinson Crusoe1 เพราะ

รายลอมดวยสัตวหลากหลายสายพันธุ (Give a Robinson Crusoe touch to our mode of life.)

1Robinson Crusoe เปนตัวเอกในนวนิยายอังกฤษที่ตองติดเกาะรางอยู 36 ป โดยใชชีวิตกับธรรมชาติ

และสัตวตางๆ

Page 31: 2559 - ithesis-ir.su.ac.thithesis-ir.su.ac.th/dspace/bitstream/123456789/884/1/57156318 พงษ์... · การออกแบบสื่ออัตลักษณ แมวไทยเพื่อการเผยแพร

19

แมชีวิตแมวไทยในทําเนียบประธานาธิบดีจะสุขสบาย แตเพียงปเดียว สยามปวยก็หนักใน พ.ศ.

2422 (ค.ศ.1879) ในขณะครอบครัวทานประธานาธิบดีไปพักผอนที่ Spiegel Grove ซึ่งเปนบานสวนตัว

ของทานที่เมืองฟรีมอนต รัฐโอไฮโอ มันไมยอมกินอาหาร แมผูดูแลพยายามเอาของที่แมวชอบมาหลอก

ลอใหมันกิน ทั้ง ปลา ไก เปด หอยนางรมรวมทั้งครีม แตมันไมสนใจ เมื่ออาการแยลง เจาหนาที่ทําเนียบ

ขาว ไดเชิญ Dr. J. H. Baxter แพทยประจําตัวของประธานาธิบดีมาดูอาการแมว คุณหมอใหมันกินซุป

เน้ือและนมทุก 3 ช่ัวโมง แตอาการก็ยังไมดีขึ้นคุณหมอตัดสินใจอุมสยามกลับไปรักษาอยางใกลชิดตอที่

บาน แตอีก 5 วันมันก็ตาย

มีบันทึกวา ไดมีการสงศพแมวไทยตัวน้ี ไปใหรัฐมนตรีวาการกระทรวงเกษตร เพ่ือเก็บรักษาไว แต

เมื่อคนหาจากพิพิธภัณฑของกระทรวงเกษตรและสถาบันสมิธโซเนียนก็ไมพบหลักฐานใดๆ

นอกจาก สยาม ยังมีแมวไทยตัวอ่ืนๆ ที่ไดเขาไปยังทําเนียบประธานาธิบดีสหรัฐ ไมวาจะเปน

Misty Malarkey Yin Yang แมวไทยของ Amy ลูกสาวประธานาธิบดี Jimmy Carter และ Shan Shein

แมวไทยของ Susan ลูกสาวประธานาธิบดี Gerald Ford's

ภาพที่ 14 Amy ลูกสาวประธานาธิบดี Jimmy Carter อุม Misty Malarkey Yin Yang

ที่มา : Presidential Pet Museum, Misty Malarky Yin Yang, เขาถึงเมื่อ 7 สิงหาคม 2559, เขาถึง

ไดจาก http://presidentialpetmuseum.com/pets/misty-malarky-ying-yang/

Page 32: 2559 - ithesis-ir.su.ac.thithesis-ir.su.ac.th/dspace/bitstream/123456789/884/1/57156318 พงษ์... · การออกแบบสื่ออัตลักษณ แมวไทยเพื่อการเผยแพร

20

ทั้งน้ีคุณ “ติโต” คือแมวเพศผูที่ทรงเลี้ยงของพระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาภูมิพล อดุลยเดช

มหิตลาธิเบศร รามาธิบดี จักรี นฤบดินทร สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร ระหวางประทับอยูที่

สวิตเซอรแลนด มีสีนํ้าตาลเขมและมีหูกับสวนตางๆ ออกสีเขมกวาตัวอกสีออน ตาสีฟา เปนแมวที่ชอบ

การทองเที่ยวชอบหนีเที่ยวไปขางนอกแลวเขาพระตําหนักไมไดเปนประจํา ทั้งยังชางครวญครางคลายจะ

พูดไดเปนที่สุด คุณติโตเปนแมวเพศผู พันธุวิเชียรมาศที่สมเด็จยาทรงเลี้ยงคูกับ ติตา แมวเพศเมียเมื่อครั้ง

ประทับอยูที่ ตําหนักเมืองโลซาน ประเทศสวิตเซอรแลนด ประมาณป พ.ศ. 2487

ภาพที่ 15 ภาพถายชุด Roi Du Siam ถายเมื่อวันที่ 12 ธ.ค. 2492 โดยชางภาพช่ือวา Dmitri Kessel

ที่มา : ปาลญ ชญา, “คุณติโต” แมวทรงเลี้ยงหนึ่งเดียวของในหลวงรชักาลที ่9, เขาถึงเมื่อ

11 พฤศจิกายน 2559, เขาถึงไดจาก http://news.mthai.com/general-news/525561.html

สวนที่มาของช่ือ “ติโต” คือ ช่ือแฝงของ อดีตประธานาธิบดีแหงยูโกสลาเวีย “ยอซีป บรอซ

ตีโต” (Josip Broz) เปนรัฐบุรุษและนักตอสู ผูกลาหาญ และมคีวามรกัชาติอยางมาก ทั้งยังผูหาญสูกับ

ฮิตเลอรในสงครามโลกครั้งที่ 2 และรักษาประเทศใหพนจากอํานาจของสหภาพโซเวียตในอดีต

Page 33: 2559 - ithesis-ir.su.ac.thithesis-ir.su.ac.th/dspace/bitstream/123456789/884/1/57156318 พงษ์... · การออกแบบสื่ออัตลักษณ แมวไทยเพื่อการเผยแพร

21

ในหลวงทรงประทับใจ ในตัวของ “ติโต” มาก พระองคทรงแปล “Tito” เรื่องราวชีวประวัติของ

‘ยอซีป บรอซ ตีโต’ เปนพระราชนิพนธ “นายอินทรผูปดทองหลังพระ” ใหพสกนิกรคนไทยไดประจักษถึง

วีรกรรมที่ควรจะจดจําของ “ติโต”

ภาพที่ 16 ติโต จากภาพถายชุด Roi Du Siam ถายเมื่อวันที่ 12 ธ.ค. 2492 โดยชางภาพช่ือวา

Dmitri Kessel

ที่มา : ปาลญ ชญา, “คุณติโต” แมวทรงเลี้ยงหนึ่งเดียวของในหลวงรชักาลที ่9, เขาถึงเมื่อ

11 พฤศจิกายน 2559, เขาถึงไดจาก http://news.mthai.com/general-news/525561.html

2. ขอมูลเก่ียวกับอัตลักษณและเอกลักษณ

ความหมายของอัตลักษณ ตามความหมายของคณะกรรมการบัญญัติศัพทของราชบัณฑิตยสถาน

ไดบัญญัติ คําวา อัตลักษณ (อานวา อัด-ตะ-ลัก) ประกอบดวยคําวา อัต (อัด-ตะ) ซึ่งหมายถึง ตน หรือ

ตัวเอง กับ ลักษณ ซึ่งหมายถึง สมบัติเฉพาะตัว คําวา อัตลักษณ ตรงกับคําภาษาอังกฤษวา identity

(อานวา ไอ-เด็น-ติ-ต้ี) หมายถึง ผลรวมของลักษณะเฉพาะของสิ่งใดสิ่งหน่ึงซึ่งทําใหสิ่งน้ันเปนที่รูจักหรือ

จดจําได

หากดูจากอีกแหลงที่มาจะมีความหมายที่คลายๆ กันคือ อัตลักษณ (อานวา อัด-ตะ-ลัก)

ประกอบดวยคําวา อัต กับคําวา ลักษณ อัต มาจากคําวา อตฺต แปลวา ตน ตัวเอง อัตลักษณ จึงแปลวา

ลักษณะของตนเอง ลักษณะของตัวเอง เปนศัพทที่คณะกรรมการบัญญัติศัพทของราชบัณฑิตยสถานได

บัญญัติใหตรงกับคํา ภาษาอังกฤษวา character เปนลักษณะเฉพาะของบุคคลซึ่งรวมสติปญญา คุณธรรม

Page 34: 2559 - ithesis-ir.su.ac.thithesis-ir.su.ac.th/dspace/bitstream/123456789/884/1/57156318 พงษ์... · การออกแบบสื่ออัตลักษณ แมวไทยเพื่อการเผยแพร

22

จริยธรรม ความประพฤติที่แสดงออกเปนลักษณะนิสัยของบุคคลน้ัน แตปจจุบัน มีการนําคําวาอัตลักษณ

ไปใชแทนคําวา ตน ตัว เชน หนังสือเร่ืองน้ีปรากฏอัตลักษณของนักเขียนแจมแจงทีเดียว ครูควรชวย

นักเรียนใหพัฒนาอัตลักษณของเขาไดอยางเหมาะสมน้ันเอง

คําวา “เอกลักษณ” มีความหมายตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2542 วา

ลักษณะที่เหมือนกันหรือมีรวมกัน เชน ชุมชนน้ีมีเอกลักษณอยูที่การทอผาจก หมายความวาคนในชุมชนน้ี

มีอาชีพทอผาจกเหมือนๆ กันหมด อยางไรก็ดี คนไทยสวนใหญนิยมใชคําวา “เอกลักษณ” ในความหมาย

วาลักษณะอันเปนเฉพาะ มีหน่ึงเดียวของสิ่งๆ หน่ึงดังที่ผมกลาวไปแลวขางตน เชน ภาษาไทยเปน

เอกลักษณของชาติไทย

ตําราหลายเลมใหความหมายคําวา “อัตลักษณ” ไววาคุณลักษณะเฉพาะตัว ซึ่งเปนตัวบงช้ีของ

ลักษณะเฉพาะของบุคคล องคกร สังคม ชุมชน หรือประเทศน้ันๆ เชน เช้ือชาติ ภาษา วัฒนธรรมทองถิ่น

และศาสนา ฯลฯ ซึ่งมีคุณลักษณะที่ไมทั่วไปหรือสากลกับสังคม อ่ืนๆ พูดงายๆ คือลักษณะที่ไมเหมือนกับ

ของคนอ่ืนๆ

อัตลักษณ หมายถึง สมบัติเฉพาะตัว หากมองเพียงแครูปศัพท “อัตลักษณ” จึงเหมาะจะนํามาใช

หมายถึงลักษณะเฉพาะตัวของสิ่งใดสิ่งหน่ึงมากกวา สวนคําวา “เอกลักษณ” มีคําวา “เอก” ซึ่งหมายถึง

หน่ึงเดียว จึงนาจะหมายความวาลักษณะหน่ึงเดียว (ของหลายๆ สิ่ง) หรือลักษณะที่ของหลายๆ สิ่งมี

รวมกัน ซึ่งเปนความหมายแรกตามพจนานุกรมน่ันเอง

อยางไรก็ดี คนไทยโดยสวนใหญยังนิยมใชคําวา “เอกลักษณ” ในความหมายวาลักษณะเฉพาะตัว

ที่ไมเหมือนใครอยางกวางขวาง สวนคําวา “อัตลักษณ” น้ันมักจะใชในวงแคบๆ เชนแวดวงวิชาการเทาน้ัน

และบางครั้งก็ใชแบบมีความหมายโดยนัย (แฝง) เชน “เอกลักษณ” เปนสิ่งตายตัวไมสามารถเปลี่ยนแปลง

ไดสวน “อัตลักษณ” สามารถเปลี่ยนแปลงได มีหลายสิ่งตามความจริงที่ปรากฏ

สวน เอกลักษณ (Uniqueness) หมายถึง ความสําเร็จตามจุดเนนและจุดเดนที่สะทอนใหเห็น

เปนลักษณะโดดเดนเปนหน่ึง ของสถานศึกษาหรือความสําเร็จของสถาบัน ดังน้ันอัตลักษณและเอกลักษณ

จึงไมเหมือนกัน แตสําหรับระดับอุดมศึกษาเอกลักษณกับอัตลักษณของสถาบันกับคณะ จะเหมือนกันหรือ

ตางกัน หรือสงผลถึงกันก็ได ยกตัวอยาง เอกลักษณของคณะตางๆในจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย เชน

วิศวกรรมศาสตร ครุศาสตรสถาปตยกรรมศาสตร อักษรศาสตรจะมีเอกลักษณที่แตกตางกันแตเอกลักษณ

ในภาพรวมของจุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัยจะตองเหมือนกัน

Page 35: 2559 - ithesis-ir.su.ac.thithesis-ir.su.ac.th/dspace/bitstream/123456789/884/1/57156318 พงษ์... · การออกแบบสื่ออัตลักษณ แมวไทยเพื่อการเผยแพร

23

3. ขอมูลเก่ียวกับทฤษฎีการเผยแพร

การเผยแพร (Diffusion) หมายถึงกระบวนการที่ทําใหนวัตกรรมไดรับการยอมรับและถูก

นําไปใชโดยสมาชิกของชุมชนเปาหมาย ฉะน้ันการเผยแพรจึงเปนกระบวนการซึ่งนวัตกรรม (Innovation)

จะถูกนําไปถายทอดผานชองทางของการสื่อสาร (Communication) ในชวงเวลาหน่ึง (Time) กับ

สมาชิกที่อยูในระบบสังคมหน่ึง (Social System) ใหเกิดการยอมรับ (Adoption) จากการวิเคราะห

ลักษณะของการเผยแพร พบวามีสิ่งที่มีอิทธิพลในการดําเนินการของกระบวนการเผยแพรอยู 5 ประการ

ไดแก ตัวนวัตกรรมเอง สารสนเทศหรือขอมูลที่นําไปใชในการสื่อสารของนวัตกรรมน้ัน เง่ือนไขดานเวลา

ธรรมชาติของระบบสังคมหรือชุมชนที่นวัตกรรมจะนําไปเผยแพรการยอมรับ

การแพรกระจายหรือการเผยแพรนวัตกรรม เปนกระบวนการในการถายเทความคิด การปฏิบัติ

ขาวสาร หรือพฤติกรรมไปสูที่ตางๆ จากบุคคลหรือกลุมบุคลไปสูกลุมบุคคลอ่ืน โดยกวางขวางจนเปนผล

ใหเกิดการยอมรับความคิดและการปฏิบัติเหลาน้ัน อันมีผลตอโครงสรางและวัฒนธรรมและการเปลี่ยน

แปลงทางสังคมในที่สุด

Everette M. Rogers ไดใหความหมาย คําวา การเผยแพร (การแพรกระจาย) หรือ "Diffusion"

ดังตอไปน้ี การเผยแพร คือ กระบวนการซึ่งนวัตกรรมถูกสื่อสารผานชองทางในชวงเวลาหน่ึงระหวาง

สมาชิกตางๆ ที่อยูในระบบสังคม (Diffusion is the process by which an innovation is

communicated through certain channels overtime among the members of a social

systems) ตามความหมายขางตน Rogers ไดอธิบายสวนประกอบของการเผยแพร นวัตกรรมไว 4

ประการ ดังน้ี มีนวัตกรรมเกิดขึ้น ใชสื่อเปนชองทางในการสงผานนวัตกรรมน้ัน ชวงระยะเวลาที่เกิด

แพรกระจายและผานไปยังสมาชิกในระบบสังคมหน่ึง

ปจจุบันเรากําลังอยูที่จุดของการเปลี่ยนแปลง ยุคของการเกิดสิ่งใหมๆ ความคิดใหมๆ ซึ่งในตัว

ของมันเองก็เปนสิ่งที่แปลกไปจากความเคยชินของคนโดยทั่วไปในสังคมอยูแลวและสิ่งใหมๆ ความคิด

ใหมๆ เหลาน้ี ยังกอใหเกิดความเปลี่ยนแปลงอันเปนผลกระทบตอสังคม หลังจากที่คนในสังคมยอมรับเอา

สิ่งใหมๆ เหลาน้ีมาปฏิบัติใชอีกดวย

อยางไรก็ตามไมวาสิ่งใหมๆ หรือความคิดใหมๆ ที่เกิดข้ึนทุกอยางจะเปนที่ยอมรับใชในสังคมหรือ

มีอิทธิพลทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงในสังคมไดเสมอไป ในสิ่งใหมๆ สิบอยางอาจมีอยางเดียวที่ประสบ

ผลสําเร็จในการที่เปนที่ยอมรับ อีกเกาอยางอาจจะถูกมองขามไปอยางนาเสียดายและสิ่งใหมๆ อยางเดียว

ที่ประสบผลสําเร็จน้ัน ก็อาจเปนที่ยอมรับในสังคมเพียงชวงเดียวเทาน้ัน ปญหาจึงอยูที่วา ทําอยางไรจึง

จะสามารถทําใหสมาชิกในสังคมตระหนักถึงความจําเปนของการยอมรับสิ่งใหมๆ เหลาน้ีและที่ไมควรลืมก็

Page 36: 2559 - ithesis-ir.su.ac.thithesis-ir.su.ac.th/dspace/bitstream/123456789/884/1/57156318 พงษ์... · การออกแบบสื่ออัตลักษณ แมวไทยเพื่อการเผยแพร

24

คือ ทําอยางไรจึงจะสามารถใหสมาชิกในสังคมรูจักการตัดสินใจยอมรับสิ่งใหมอยางมีเหตุผลและสามารถ

ใครครวญถึงผลกระทบที่อาจเกิดขึ้น จากการยอมรับสิ่งใหมๆ ประการสุดทายก็คือ เมื่อเกิดการยอมรับขึ้น

ในสังคมแลวจะทําอยางไรจึงจะทําใหสิ่งใหมๆ น้ันผสมผสานกลมกลืนกับชีวิตความเปนอยูของคนในสังคม

ชวยใหการดําเนินชีวิตของเขาเหลาน้ีเปนไปอยางมีประสิทธิภาพและสมบูรณพูนสุขขึ้น

กระบวนการเผยแพรนวัตกรรม นับวามีบทบาทเปนอยามากและไดมีนักทฤษฎี ตลอดจน

นักวิจัย ไดพยายามทําการคนควาหาความจริงเกี่ยวกับกระบวนการเผยแพรในหลาย ๆ สาขาวิชา

ดวยกันที่เดน ๆ ก็มี สาขามานุษยวิทยา (Anthropology) สาขาสังคมวิทยายุคตน (Early Sociology)

สังคมวิทยาวาดวยเร่ืองชนบท (Rural Sociology) สาขาการศึกษา (Education) สาขาการแพทย

(Medical Sociology) สาขาการสื่อสาร (Communication) และสาขาการตลาด (Marketing)

ถึงแมวางานที่เกี่ยวกับการเผยแพรนวัตกรรมน้ี จะเปนอิสระจากกันแตก็เปนที่นาสังเกตวา ผลการศึกษา

คนควาจะออกมาในแนวเดียวกันเปนสวนใหญ

การวิจัยทางดานการเผยแพรนวัตกรรมจะเปนการศึกษาปจจัย 5 ประการน้ีวา มีผลอยางไรและ

มีปฏิสัมพันธกันอยางไร ในการสงเสริมใหมกีารยอมรับและใชผลผลิตของเทคโนโลยีการศึกษา

3.1 Innovation หมายถึง ความคิดใหมเทคนิควิธีการใหมหรือสิ่งใหมที่สามารถนํามาใชใหเกิด

ประโยชนได นวัตกรรมน้ันเปนสิ่งที่สรางความรูเปนของใหมสําหรับกลุมผูมีศักยภาพในการยอมรับ

3.2 Communication channels ชองทางในการสื่อสารที่ใชมากคือ การใชสื่อสาร มวลชน แต

การสื่อสารระหวางบุคคลแบบปากตอปากยังเปนที่ยอมรับและใชไดดีอยู ปญหาคือการประเมินผลการใช

ชองหรือสื่อเพ่ือการเผยแพรน้ัน ยังไมมีการศึกษาผลของการใชอยางมีระบบมากนัก สวนมากยังใชการ

สํารวจความคิดเห็นจากผูใชอยู

3.3 Time เวลาหรือเง่ือนไขของเวลาในแตละขั้นตอนของการเผยแพรและยอมรับอาจมีชวงของ

เวลาในแตละขัน้แตกตางกัน จําเปนตองมีการศึกษาและคาดการณไวสําหรับงานการเผยแพรนวัตกรรม

และเทคโนโลยกีารศึกษา

3.4 Social System เปนระบบสังคมที่มีธรรมชาติ วัฒนธรรมของคนในสังคมที่จะนํานวัตกรรม

และเทคโนโลยีไปใช ฐานะทางเศรษฐกิจของคนในสังคมโดยรวมและกลุมคนที่มีฐานะทางเศรษฐกิจสังคม

ที่แตกตางกัน สามารถยอมรับนวัตกรรมไดแตกตางกัน การเมือง การปกครอง มีอํานาจตอการยอมรับ

นวัตกรรมเปนอยางมาก การศึกษาถึงอิทธิพลของระบบสังคมจะชวยใหเขาใจและหาวิธีการที่เหมะสมใน

การเผยแพรนวัตกรรมได

Page 37: 2559 - ithesis-ir.su.ac.thithesis-ir.su.ac.th/dspace/bitstream/123456789/884/1/57156318 พงษ์... · การออกแบบสื่ออัตลักษณ แมวไทยเพื่อการเผยแพร

25

3.5 Adoption เปนกระบวนการที่เกี่ยวของกับมนุษยในการยอมรับหรือปฎิเสธนวัตกรรมและ

เทคโนโลยี โดยมีพ้ืนฐานทางดานจิตวิทยาและสังคมวิทยา เปนองคความรูสําคัญในการอธิบายกระบวน

การในการยอมรับ (หรือไมยอมรับ)

ทฤษฎีการเผยแพรน้ัน เกิดจากการผสมผสานทฤษฎี หลักการและความรู ความจริงจากหลาย

สาขาวิชาที่มีศาสตรเกี่ยวกับการเผยแพร แตละศาสตรจะมีสวนประกอบเฉพาะในสวนที่เปนนวัตกรรม

ของศาสตรน้ัน ๆ ผลจากการรวบรวมกระบวนการ วิธีการ ทฤษฎีและการเผยแพรของศาสตรตางๆ

นําไปสูการสรางทฤษฎีการเผยแพรขึ้นและเปนทฤษฎีที่ไมบงช้ีเฉพาะวา ใชสําหรับการเผยแพรนวัตกรร

รมของสาขาวิชาหรือศาสตรใดศาสตรหน่ึงโดยเฉพาะ เหตุผลที่วาทําไมทฤษฎีการเผยแพรถึงไมมีความ

เฉพาะ เน่ืองจากการเผยแพรนวัตกรรมน้ันมีในทุกสาขาวิชาและทุกศาสตร Rogers (1995) ไดอางผล

การศึกษาในป ค.ศ. 1943 โดย Ryan และ Gross ที่มหาวิทยาลัย Lowa State (Lowa State

University) ที่ไดใหตนกําเนิดของการวิจัยดานการเผยแพรแนวใหม Ryan และ Gross (1943) ได

ทําการศึกษาจากสาขาวิชาดานสังคมชนบท โดยการใชการสัมภาษณผูยอมรับและการใชนวัตกรรมและทํา

การตรวจสอบกับปจจัยที่ทําใหเกิดการยอมรับและใชนวัตกรรมศึกษา กระบวนการสัมภาษณที่ Ryan

และ Gross ใชในการศึกษา จึงเปนแบบแผนที่ใชเปนแบบอยางของการศึกษาวิจัยเรื่องการเผยแพร

นวัตกรรมต้ังแตน้ันเปนตนมา

นอกจากน้ีสังคมออนไลนไดเขามามีบทบาทกับชีวิตประจําวันของผูคนมากขึ้น แมวกลายเปนที่รัก

และนิยมชมชอบแมวกลายเปนที่รักและนิยมชมชอบ ทําใหเกิดสังคม Facebook2 จอนน่ีแมวศุภลักษณ มี

คนติดตาม 409,175 คน (เขาถึงขอมูล ณ วันที่ 17 พฤศจิกายน 2559) ทูนหัวของบาว ซึ่งรวบรวมแมวที่

เลี้ยงไวหลากหลายพันธุ มีคนติดตามเกือบ 3 ลานคน (2,995,803 คน เขาถึงขอมูล ณ วันที่ 17

พฤศจิกายน 2559)

2บริการบนอินเทอรเน็ตบริการหนึ่ง ที่จะทําใหผูใชสามารถติดตอส่ือสารและรวมทํากิจกรรมใดกิจกรรม

หนึ่งหรือหลายๆ กิจกรรมกับผูใช Facebook คนอื่นๆ ได กอตั้งโดย Mark Zuckerburg เมื่อวันที่ 4 กุมภาพันธ

พ.ศ. 2548

Page 38: 2559 - ithesis-ir.su.ac.thithesis-ir.su.ac.th/dspace/bitstream/123456789/884/1/57156318 พงษ์... · การออกแบบสื่ออัตลักษณ แมวไทยเพื่อการเผยแพร

26

4. ขอมูลที่ใชในการออกแบบ

4.1 การสรางสรรคผลงานโดยใชภาพประกอบ

ในอดีตที่ผานมาภาพประกอบถูกนํามาใชเพ่ือใชในการตกแตง อธิบายและเปน

เอกสารอางอิง ความสําคัญของภาพประกอบคือ ใชอธิบายภาษาเขียนออกมาเปนภาษาพูดและใชสื่อสาร

ขอมูลแทนภาษาเขียน ปจจุบันภาพประกอบน้ันกลายเปนสวนหน่ึงในชีวิตประจําวันของผูคน เพราะทุกสิ่ง

ทุกอยางไมวาจะเปนหนังสือพิมพ นิตยสาร หนังสือทั่วไป บรรจุภัณฑ ปกเทป แผนพับ แผนปลิว ฯลฯ

ลวนตองใชภาพประกอบทั้งสิ้น เริ่มต้ังแตภาพประกอบที่ใชในหนังสือสําหรับเด็ก จนถึงภาพประกอบที่

แปลกแหวกแนว ใชแสดงออกเพ่ือสื่ออารมณของศิลปนและสรางสรรคผลงานไดดวยเทคนิคหลากหลาย

ชนิด ภาพประกอบมีวัตถุประสงคหลักเพ่ือใชในการสื่อสาร ดังน้ี

4.1.1 ใชสรางความเขาใจ บางครั้งการอธิบายถึงสิ่งหน่ึงสิ่งใด ตัวอักษรมีขอ

จํากัดที่จะบงบอกถึงสิ่งที่อธิบายน้ันวาเปนอยางไร ในบางกรณีแมวาผูบรรยายจะมีความสามารถในการใช

ถอยคํา ก็ไมอาจทําใหเกิดความเขาใจไดโดยงาย เชน การจะอธิบายความแตกตางระหวางมากับลา ใหกับ

คนที่ไมเคยเห็นสัตวทั้งสองชนิดน้ีคงเปนเรื่องที่ลําบากมาก

4.1.2 .ใชเสริมความเขาใจ ในกรณีที่ขอความสามารถสรางความเขาใจไดระดับ

หน่ึงแลวแตยังไมชัดเจน จึงจําเปนตองใชภาพประกอบเพ่ือเสริมความเขาใจใหชัดเจนย่ิงขึ้น เชน การ

อธิบายพุทธลักษณะ ของพระพุทธรูปสมัยตางๆ ถามีภาพประกอบเพ่ือเสริมความเขาใจในรายละเอียด

เพ่ิมเติม ก็จะทําใหเขาใจมากย่ิงขึ้น

4.1.3 ใชเปนหลักฐานเพ่ือบงบอกบุคคล การนําเสนอภาพเพ่ือบงบอกถึงตัว

บุคคล ไมอาจใชขอความอธิบายใหเห็นไดวา บุคคลผูน้ีมีหนาตาเปนอยางไร แตถาพิมพภาพลงแลวบอก

ย่ิงขึ้น เทคโนโลยีการถายภาพ ตกแตงภาพและการพิมพในปจจุบัน เอ้ืออํานวยใหการทํางานกับภาพ

ประกอบสะดวกย่ิงขึ้น การถายภาพทําไดงายขึ้น ลดขั้นตอนการตกแตงภาพลง ใชเวลานอยลง การจําลอง

ภาพอยางการถายเอกสารหรือการกราดภาพ (scan) ก็ทําไดคุณภาพดีและสะดวกรวดเร็ว อีกทั้ง

เทคโนโลยี ดานคอมพิวเตอร ยังชวยใหตกแตงดัดแปลงภาพทําไดหลายรูปแบบ

ช่ือ ผูที่เห็นก็จะรูจักและจดจําไดทันที

4.1.4 ใชตกแตงหนาสิ่งพิมพ ภาพประกอบชวยใหงานพิมพสวยงามนาอานมาก

ประเภทของภาพประกอบงานพิมพ การใชภาพประกอบงานพิมพน้ันอาจกลาวไดวาใชภาพไดทุกประเภท

เพราะเทคโนโลยีทางการพิมพสามารถถายทอดภาพประเภทใดๆ ก็ได

Page 39: 2559 - ithesis-ir.su.ac.thithesis-ir.su.ac.th/dspace/bitstream/123456789/884/1/57156318 พงษ์... · การออกแบบสื่ออัตลักษณ แมวไทยเพื่อการเผยแพร

27

ภาพประกอบที่สรางสรรคโดยการวาดลายเสนเปนภาพที่ใชประกอบงานพิมพมาต้ังแตยุคแรกๆ

และยังคง ไดรับความนิยมอยูจนถึงปจจุบัน มีการใชเทคนิคการวาดภาพผสมผสานกันหลายอยาง เชน

การวาดลายเสนแบบภาพการตูนโดยการใชดินสอ พูกัน ปากกาหมึกดํา หรือการสรางพ้ืนผิวลวดลายตางๆ

รวมกับภาพลายเสนดวย ทั้งน้ีภาพวาดนํ้าหนักสีตอเน่ืองและภาพระบายสีมีเทคนิคการสรางสรรคผลงานที่

คลายคลึงกันและเลือกใชสีไดหลากหลายประเภท เชน สีไม สีเทียน สีนํ้า สีเมจิคบางชนิดที่สามารถไล

ระดับนํ้าหนักออนแกภายในภาพได

4.2 เทคนิคสีนํ้า

สีนํ้า เปนสีที่ใชกันมาต้ังแตโบราณ ทั้งในแถบยุโรปและเอเชีย โดยเฉพาะจีนและญี่ปุน ซึ่งมี

ความสามารถในการระบายสีนํ้า แตในอดีตการระบายสีนํ้ามักใชเพียงสีเดียวคือ สีดํา ผูที่จะระบายไดอยาง

สวยงามจะตองมีทักษะการใชพูกันที่สูงมาก การระบายสีนํ้าจะใชนํ้า เปนสวนผสมและทําละลายใหเจือ

จาง ในการใชสีนํ้า ไมนิยมใชสีขาวผสมเพ่ือใหมีนํ้าหนักออนลงและไมนิยมใชสีดําผสมใหมีนํ้าหนักเขมขึ้น

เพราะจะทําใหเกิดนํ้าหนักมืดเกินไป แตจะใชสีกลางหรือสีตรงขามผสมแทน ลักษณะของภาพวาดสีนํ้าจะ

มีลักษณะใส บางและสะอาด การระบายสีนํ้าตองใชความชํานาญสูง เพราะผิดพลาดแลวจะแกไขยาก จะ

ระบายซ้ําๆ ทับกันมากๆ ไมไดจะทําใหภาพออกมามีสีขุนๆ ไมนาดู

ปจจุบันเรานิยมเขียนภาพสีนํ้ากันอยางแพรหลาย ความนิยมในการเขียนภาพสีนํ้า เพราะความ

งดงามของสีนํ้าที่แสดงใหเห็นถึง มิติของสี ความซับซอนของพ้ืนภาพและประกายแสง ลักษณะพิเศษ

เหลาน้ี เกิดจากการระบายที่ประณีตซับซอน นอกจากน้ันแลว สีนํ้ายังมีเสนหในการนําออกไประบายยัง

สถานที่ตางๆ เราเพียงแตมีกลองใสสีนํ้าหรืออาจจะใชสีนํ้าชวยระบายเปนภาพรางสําหรับการเขียนภาพสี

นํ้ามันหรือสีอะคริลิค

อัลเบรชท ดู เรอร (Albrecht Dürer) เปนศิลปนคนแรกที่ใชสีนํ้าเปนสื่อในการแสดงออกเพ่ือ

เขียนภาพสัตวและภาพภูมิทัศน ในชวงตนคริสตศตวรรษที่ 16 เมื่อถึงตนคริสตศตวรรษที่ 19 โจเซฟ มัลล

อรด วิลเลียม เทอรเนอร (Joseph Mallord William Turner) เปนศิลปนคนแรกในการระบายสีนํ้าตาม

แนวทางศิลปะสมัยใหม

ปคริสตศักราช 1832 นักเคมีและจิตรกร วิลเลียม วินเซอร (William Winsor) และเฮนรี่ นิวตัน

(Henry Newton) ไดเริ่มตนธุรกิจ ประดิษฐคิดคนสีนํ้า ซึ่งเปนที่รูจักกันในปจจุบันคือ สีนํ้าบรรจุกลอง

แลวจึงตามมาดวย สีนํ้าชนิดบรรจุหลอดโลหะในป ค.ศ.1841

Page 40: 2559 - ithesis-ir.su.ac.thithesis-ir.su.ac.th/dspace/bitstream/123456789/884/1/57156318 พงษ์... · การออกแบบสื่ออัตลักษณ แมวไทยเพื่อการเผยแพร

28

4.3 เทคนิคตกแตงที่ใชในกรรมวิธีผลิตเครื่องเคลือบดินเผา

การตกแตงเคร่ืองปนดินเผาในยุคปจจุบันมีการพัฒนาเทคนิคการตกแตงมากมายหลายวิธีดวยกัน

ซึ่งสามารถแบงเทคนิคการตกแตงเครื่องปนดินเผาได 6 สภาวะดวยกัน ไดแก การตกแตงเครื่องปนดินเผา

ในสภาวะการเตรียมดิน การตกแตงเครื่องปนดินเผาในสภาวะดินแหง การตกแตงเครื่องปนดินเผาใน

สภาวะผานการเผาดิบและการตกแตงเครื่องปนดินเผาในสภาวะผานการเผาเคลือบแลว ซึ่งการตกแตง

เครื่องปน ดินเผาดวยรูปลอกเซรามิค (Decal) ก็ เปนอีกวิ ธีหน่ึงที่สามารถนํามาตกแตงลงบน

เครื่องปนดินเผาทั้งที่อยูในสภาวะดินแหง ในสภาวะผานการเผาดิบและในสภาวะผานการเผาเคลือบแลว

การตกแตงเครื่องปนดินเผาดวยรูปลอกเซรามิค นับวามีบทบาทเปนอยางมาก โดยเฉพาะโรงงาน

อุตสาหกรรม เพราะสามารถผลิตไดจํานวนมาก สะดวก รวดเร็ว มีคุณภาพสวยงาม ประณีตและ

ประหยัดเวลาในการตกแตง ในขณะเดียวกันก็เปนเทคนิคที่พัฒนาข้ึนมาเพ่ือชวยในการแกปญหา

ผลิตภัณฑบางรูปรางที่ไมสามารถใชวิธีการพิมพลวดลายโดยตรงได

รูปลอกเซรามิค หมายถึง สิ่งพิมพซึ่งพิมพดวยสวนผสมพิเศษของอนินทรียออกไซด ซึ่งจะหลอม

เปนแกวติดกับผิวผลิตภัณฑที่อุณหภูมิสูงผงสีจะพิมพลงบนกระดาษพิเศษและปองกันการเสียหายของรูป

ลอก โดยการพิมพทับดวยนํ้ามันวานิช แล็กเกอรหรือวัสดุอ่ืนๆ ที่คลายกัน ผลิตภัณฑอาจเปนแกว เครื่อง

ถวยจาน พวกผลิตภัณฑเน้ือเนียน หรือพวกเอิรทเทนแวร 2 3 (Earthenware clays) กระเบ้ืองหรือโลหะ

เคลือบ อุณหภูมิที่ใชในการเผารูปลอก ข้ึนอยูกับอุณหภูมิที่ผลิตภัณฑจะสามารถรักษารูปรางและ

สวนประกอบของผลิตภัณฑไวได ออกไซดที่ทําใหเกิดสี ที่ใชในการผลิตรูปลอกจะตองหลอมตัวที่อุณหภูมิ

ตํ่ากวาอุณหภูมิที่จะทําใหผลิตภัณฑเสียหาย คือ ตองทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงสี ความละเอียดของเน้ือ

เคลือบหรือรูปรางซึ่งอาจเกิดจากการออนตัว การหลอมหรือรูปรางเปลี่ยนแปลงไปจากรูปรางที่ตองการ

นอกจากน้ีการตกแตงเครื่องเคลือบดินเผาดวยรูปลอกเซรามิค อาจพิมพสีเดียวหรือหลายสี โดยไดแบง

ชนิดของรูปลอกเซรามิคเปน 3 ชนิด ดังน้ี

4.3.1 รูปลอกเซรามิคชนิดใตเคลือบ หมายถึง รูปลอกที่ใชติดบนผลิตภัณฑที่เปนดินดิบ

หรือเปนผลิตภัณฑที่ผานการเผาดิบมาแลวและนําไปชุบเคลือบและเผาเคลือบที่อุณหภูมิประมาณ 900-

1,300 องศาเซลเซียส เพ่ือใหเคลือบสุกตัวและปดทับเน้ือสี

3เปนดินที่มีเหล็กและแรตางๆ ในปริมาณสูง ทนไฟต่ํา ในชวง 950-1,100 องศาเซลเซียส สีของดินมี

ตั้งแตสีแดง น้ําตาล เขียว หรือเทา ซึ่งเปนผลจากเหล็กออกไซด ดินหลังเผามีสีแดง เหลืองออน น้ําตาล หรือดํา

ดินเอิรทเทนแวรที่มีสีแดง มักมีความเหนียวสูง ซึ่งสามารถลดความเหนียวได โดยผสมทรายหรือหิน เพื่อให

เหมาะสมตอการขึ้นรูป

Page 41: 2559 - ithesis-ir.su.ac.thithesis-ir.su.ac.th/dspace/bitstream/123456789/884/1/57156318 พงษ์... · การออกแบบสื่ออัตลักษณ แมวไทยเพื่อการเผยแพร

29

4.3.2 รูปลอกเซรามิคชนิดบนเคลือบ หมายถึง รูปลอกที่ใชติดบนผิวผลิตภัณฑที่ผานการ

เผาเคลือบแลวหรือเน้ือดินผานการเผาจนสุกตัวแลวและนําไปเผาอีกครั้งที่อุณหภูมิประมาณ 700-900

องศาเซลเซียส เพ่ือใหสีหลอมละลายติดกับผิวเคลือบ

4.3.3 รูปลอกเซรามิคชนิดในเคลือบ หมายถึง รูปลอกที่ใชติดบนผิวผลิตภัณฑที่ผานการ

ชุบเคลือบเสร็จแลว หรือผานการเผาเคลือบเสร็จแลวและนําไปเผาตอที่อุณหภูมิประมาณ 1,100-1,230

องศาเซลเซียส เพ่ือใหสีสุกตัวและจมตัวลงสูช้ันของนํ้าเคลือบ

4.4 อิทธิพลทางศิลปะที่ไดรับจากศิลปนไทยและศิลปนตางชาติ

ฮิงุจิ ยูโกะ (Higuchi Yuko) เปนศิลปนนักวาดภาพประกอบชาวญี่ปุน โดยผลงานสวนใหญไดรับ

แรงบันดาลใจมาจากความช่ืนชอบสัตวเลี้ยงชนิดตางๆ เชน แมว กระตาย กระรอก นก และองคประกอบ

ตางๆ ที่มีอยูธรรมชาติ นํามาสรางสรรคผลงานภาพประกอบในแนว Surrealism หรือศิลปะลัทธิเหนือจริง

ซึ่งอยูในลัทธิศิลปะสมัยใหม (Modern Art)

ภาพที่ 17 ผลงานช่ือ Cat and Flowers, เทคนิคสีไมและสีอะคริลิก

ที่มา : Krista Rogers, Welcome to the whimsical world of Yuko Higuchi, เขาถึงเมื่อ

11 สิงหาคม 2559, เขาถึงไดจาก http://en.rocketnews24.com/2014/03/10/welcome-

to-the-whimsical-world-of-yuko-higuchi/

Page 42: 2559 - ithesis-ir.su.ac.thithesis-ir.su.ac.th/dspace/bitstream/123456789/884/1/57156318 พงษ์... · การออกแบบสื่ออัตลักษณ แมวไทยเพื่อการเผยแพร

30

จนกระทั่งแมวเหลาน้ีจะถูกนํามาจัดองคประกอบ โดยเก็บสวนของหัวที่คงความเปนแมวไว แต

รางกายถูกปรับเปลี่ยนและใหสวมใสเสื้อผาเหมือนคน ในบางภาพที่มีสัตวชนิดอ่ืนๆ และธรรมชาติ

ประกอบอยูดวย องคประกอบเหลาน้ันกลับสรางความรูสึกหดหู ขนลุก เหมือนสะทอนจิตใตสํานึกของผู

วาด และชักนําใหผูดูหลุดพนออกมาจากความเปนจริง ซึ่งในแตละผลงานมีความงามแตกตางในแงของ

อารมณ ความรูสึก การใชสีและการจัดวางองคประกอบ รวมไปถึงการนํามาตอยอดในสื่อแขนงตางๆ ใน

เชิงออกแบบนิเทศศิลปที่มีความนาสนใจ

ภาพที่ 18 ผลงานของฮิงูจิ ยูโกะที่ออกแบบลวยลายและบรรจุภัณฑใหกบัแบรนดเครื่องสําอางช้ันนํา

ที่มา : Krista Rogers, Welcome to the whimsical world of Yuko Higuchi, เขาถึงเมื่อ

11 สิงหาคม 2559, เขาถึงไดจาก http://en.rocketnews24.com/2014/03/10/welcome-

to-the-whimsical-world-of-yuko-higuchi/

จากการศึกษาผลงานของฮิงุจิ ยูโกะ พบวาสวนใหญใชการวาดและลงสีดวยมือ โดยเนนแมวเปน

ตัวละครหลักในการดําเนินเรื่อง เพราะแมวคือสัตวเลี้ยงที่ใกลชิดที่สุดของเธอและเปนแรงบันดาลใจสําคัญ

ในการสรางสรรคผลงาน ศิลปนสามารถดึงบุคลิค ลักษณะเดนของแมวแตละสายพันธุออกมาไดอยาง

ชัดเจน ลงรายละเอียดของเสนขนและสีตาไดอยางสมจริง มีความพลิ้วไหว ออนนุม จึงไมแปลกเลยที่

ผลงานของฮิงุจิ ยูโกะจะไดรับความนิยมทั้งในญี่ปุนและญี่ปุนและตางประเทศ

Page 43: 2559 - ithesis-ir.su.ac.thithesis-ir.su.ac.th/dspace/bitstream/123456789/884/1/57156318 พงษ์... · การออกแบบสื่ออัตลักษณ แมวไทยเพื่อการเผยแพร

31

บทท่ี 3

วิธีดําเนินการวิจัย

กระบวนการศกึษาวิจัย

งานวิจัยครั้งน้ีมุงเนนการวิจัยในเชิงสรางสรรค สืบคนหาอัตลักษณแมวไทยสูการออกแบบ

เพ่ือสื่อสารอัตลักษณและสรางสรรคผลิตภัณฑ โดยนําการออกแบบนิเทศศิลปมาบูรณาการกับเครื่อง

เคลือบดินเผา มีกระบวนการศึกษาวิจัย ดังน้ี

ภาพที่ 19 กระบวนการศึกษาวิจัย

Page 44: 2559 - ithesis-ir.su.ac.thithesis-ir.su.ac.th/dspace/bitstream/123456789/884/1/57156318 พงษ์... · การออกแบบสื่ออัตลักษณ แมวไทยเพื่อการเผยแพร

32

การรวบรวมขอมูล

1. แหลงขอมูลทุติยภูมิ

1.1 รวบรวมขอมูลจากการทบทวนวรรณกรรม (Literature Review) ภาคเอกสาร

ที่เกี่ยวของกับแมวไทยโดยละเอียด รวบรวมและจําแนกความตางระหวางประเภทแมวไทย และแมว

สายพันธุอ่ืนๆ เพ่ือนํามาซึ่งการจัดระบบกําหนดลักษณะเดนของแมวไทย 5 ชนิด ในรูปแบบบรรทัด

ฐาน เปนแนวทางในการออกแบบ

2. แหลงขอมูลปฐมภูมิ ประกอบดวย

2.1 ลงพ้ืนที่ เพ่ือทําการสํารวจและสังเกตการณแบบมีสวนรวมอยางใกลชิด

(Participant Observation) กลาวคือ ผูสังเกตการณ (Observer) รวบรวมขอมูลดวยการจดบันทึก

ถายภาพน่ิงและภาพเคลื่อนไหว วาดภาพราง (Sketching) บันทึกเสียง แมวไทยที่อยูภายใตการดูแล

ของศูนยอนุรักษแมวไทยโบราณ อ.อัมพวา จ.สมุทรสงคราม เพ่ือนํามาวิเคราะหสรุปขอมูล ซึ่งจะ

กลาวถึงในบทถัดไป

2.2 รวบรวมขอมูลจากการสัมภาษณ ผู เ ช่ียวชาญอยางเจาะลึก (In-Depth

Interview) โดยผูวิจัยบันทึกเสียงการสัมภาษณ กํานันปรีชา พุคคะบุตร เจาของและผูกอต้ังศูนย

อนุรักษแมวไทยโบราณหรือบานแมวไทย แลวถอดความแบบคําตอคํา (Verbatim)

2.3 รวมรวมขอมูลโดยการใชเครื่องมือแบบสอบถาม

เปนการประมวล และรวบรวมขอมูลจากภาคเอกสาร สูการสรางเครื่องมือในการ

เก็บขอมูล คือ “แบบสอบถาม” ซึ่งจะใชในการสํารวจขอมูลจากกลุมตัวอยาง (Sampling) จํานวน 50

คน โดยแบบสอบถามน้ีแบงเปน 3 สวน

สวนที่ 1 ขอมูลของผูทําแบบสอบถาม (กลุมตัวอยาง) ใชขอคําถามแบบตรวจสอบ

รายการ (Check List)

สวนที่ 2 ขอมูลการรับรู และความคิดเห็นเกี่ยวกับอัตลักษณแมวไทยทั้งดาน

กายภาพ และอุปนิสัย โดยวัดคาการรับรู และความคิดเห็นในความเหมาะสม ชัดเจนของอัตลักษณ

ดานตาง ๆ แบบ “มาตราสวนประเมินคา 3 ระดับ” (Rating Scale) ผูตอบแสดงความคิดเห็น 3

ระดับ มีเกณฑการใหคะแนน ดังน้ี

1 หมายถึง ระดับการรับรูและเขาใจ นอยที่สุด

2 หมายถึง ระดับการรับรูและเขาใจ ปานกลาง

3 หมายถึง ระดับการรับรูและเขาใจ มากที่สุด

Page 45: 2559 - ithesis-ir.su.ac.thithesis-ir.su.ac.th/dspace/bitstream/123456789/884/1/57156318 พงษ์... · การออกแบบสื่ออัตลักษณ แมวไทยเพื่อการเผยแพร

33

เกณฑการแปลความหมายของคะแนนเฉลี่ยขอมูลการรับรู และความคิดเห็น

เกี่ยวกับอัตลักษณแมวไทยเปน 3 ระดับ ดังน้ี

คะแนนเฉลี่ย 2.34 - 3.00 หมายถึง มีระดับการรับรูและเขาใจอยูในระดับมากที่สุด

คะแนนเฉลี่ย 1.67 - 2.33 หมายถึง มีระดับการรับรูและเขาใจอยูในระดับปานกลาง

คะแนนเฉลี่ย 1.00 - 1.66 หมายถึง มีระดับการรับรูและเขาใจอยูในระดับนอยที่สุด

สวนที่ 3 ขอมูลสํารวจความคิดเห็นเกี่ยวกับพฤติกรรมการเลือกซื้อสินคาเซรามิค

โดยรูปแบบคําถามสวนน้ีจะอยูในลักษณะของคําถามแบบ “มาตราสวนประเมินคา 3 ระดับ” (Rating

Scale) ผูตอบแสดงความคิดเห็น 3 ระดับ มีเกณฑการใหคะแนน ดังน้ี

1 หมายถึง ระดับความนิยมและพึงพอใจ นอยที่สุด

2 หมายถึง ระดับความนิยมและพึงพอใจ ปานกลาง

3 หมายถึง ระดับความนิยมและพึงพอใจ มากที่สุด

เกณฑการแปลความหมายของคะแนนเฉลี่ยขอมูลสํารวจความคิดเห็นเกี่ยวกับ

พฤติกรรมการเลือกซื้อสินคาเซรามิกเปน 3 ระดับ ดังน้ี

คะแนนเฉลี่ย 2.34 - 3.00 หมายถึง มีระดับความนิยมและพึงพอใจอยูในระดับ

มากที่สุด

คะแนนเฉลี่ย 1.67 - 2.33 หมายถึง มีระดับความนิยมและพึงพอใจ อยูในระดับ

ปานกลาง

คะแนนเฉลี่ย 1.00 - 1.66 หมายถึง มีระดับความนิยมและพึงพอใจ อยูในระดับ

นอยที่สุด

การวิเคราะหขอมูล

การวิเคราะหขอมูล เพ่ือสรางแนวทางการออกแบบ ผูวิจัยวิเคราะหจากขอมูลภาคเอกสารและ

ขอมูลที่ไดจากการสอบถามผูเช่ียวชาญและกลุมตัวอยาง โดยรวบรวมขอมูลทั้งหมดที่ไดมาพัฒนา

แนวความคิดและกําหนดทิศทางการสรางสรรคอัตลักษณ และผลิตภัณฑเซรามิกแมวไทย เพ่ือเปนสวน

หน่ึงในการชวยรณรงค จูงใจใหคนทั่วไปไดตระหนักและเห็นความสําคัญของแมวไทยที่ใกลสูญพันธุ

ซึ่งผูวิจัยแยกประเด็นการวิเคราะหออกเปนสวนตางๆ ดังน้ี

1. วิเคราะหฐานขอมูลสายพันธุแมวไทยทั้ง 5 สายพันธุ ไดแก

1.1 แมวสีสวาด

1.2 แมวศุภลักษณ

1.3 แมววิเชียรมาศ

Page 46: 2559 - ithesis-ir.su.ac.thithesis-ir.su.ac.th/dspace/bitstream/123456789/884/1/57156318 พงษ์... · การออกแบบสื่ออัตลักษณ แมวไทยเพื่อการเผยแพร

34

1.4 แมวขาวมณี

1.5 แมวโกนจา

โดยฐานขอมูลดังกลาว จะครอบคลุมเน้ือหาเกี่ยวกับความเปนมา ลักษณะทางกายภาพ

และอุปนิสัยทาทาง เปนตน เพ่ือเปนบรรทัดฐาน หรือแนวคิดในการออกแบบ

2. วิเคราะหกลุมเปาหมาย พฤติกรรมการเลือกซื้อสินคาเซรามิก ซึ่งจะสงผลตอรูปแบบ

สินคา ที่จูงใจในการเลือกซื้อ

3. วิเคราะหกระบวนการสรางสรรคในศาสตรของเซรามิก

จากกระบวนการรวบรวมขอมูลใหขอกอนหนาน้ี นอกเหนือจากการวิเคราะหเชิงพรรณนาใน

สวนของขอมูลภาคเอกสารและการสัมภาษณแลว เครื่องมือการวิจัยประเภทแบบสอบถาม ผูวิจัยใชสถิติ

ในการวิเคราะหขอมูลพ้ืนฐาน ประกอบดวย

3.1 คาความถี่และคารอยละ

3.2 คาเฉลี่ย (Mean)

3.3 คาสวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation)

เมื่อไดผลการวิเคราะหดังกลาว จะไดชุดองคความรู เปนฐานเขาสูกระบวนการ

ออกแบบสรางสรรคถัดไป

ดําเนินการออกแบบสรางสรรค

การออกแบบผลงานภายใตหัวขอวิจัยน้ี ผูวิจัยแบงสวนการออกแบบเปน 2 สวน

สวนที่ 1 อัตลักษณองคกร

สวนที่ 2 ผลิตภัณฑเซรามิก สินคาภายใตองคกรธุรกิจในสวนที่ 1

ในกระบวนการน้ี แบงเปนสวนของการออกแบบตามขอบเขตงานวิจัยที่ไดกําหนดและการ

พัฒนาผลงานการออกแบบตามคําแนะนําของผูเช่ียวชาญ หรือเปนไปตามการประเมินผลงานของกลุม

ตัวอยางที่กําหนดไว

สรุปผลการศึกษาและขอเสนอแนะ

ในสาระของการสรุปผลการศึกษา ผูวิจัยจะสรุปการดําเนินการวิจัย ปญหาที่เกิดขึ้นในการ

ดําเนินงาน ผลวิเคราะหการสืบคนขอมูลภาคเอกสารและการสํารวจขอมูลภาคสนาม โดยการใช

เครื่องมือในการวิจัยตางๆ ทั้งการสัมภาษณและแบบสอบถาม รวมถึงผลของการสังเคราะหขอมูลที่

รวบรวมไดสูการออกแบบ พรอมสรุปการประเมินและขอเสนอแนะรวมที่มีตองานวิจัยในครั้งน้ี

Page 47: 2559 - ithesis-ir.su.ac.thithesis-ir.su.ac.th/dspace/bitstream/123456789/884/1/57156318 พงษ์... · การออกแบบสื่ออัตลักษณ แมวไทยเพื่อการเผยแพร

35

บทท่ี 4

ผลการวิเคราะหขอมูล

การวิจัยเร่ืองแนวทางการออกแบบสื่ออัตลักษณแมวไทยเพ่ือการเผยแพร ไดศึกษาขอมูลอัต

ลักษณของแมวไทย ใชแบบสอบถามโดยการสุมตัวอยาง เปนการเลือกกลุมแบบโควตา โดยคํานึงถึง

สัดสวนองคประกอบของประชากร จํานวน 50 คน ไมจํากัดชวงอายุ จากผลการวิเคราะหขอมูลทั้งจาก

รวบรวบขอมูลเกี่ยวกับแมวไทย แบบสอบถามเพ่ือคนหาแนวทางในการออกแบบ ตลอดจนการสัมภาษณ

เชิงลึกในการลงพ้ืนที่ ผูวิจัยไดแบงแนวทางในการออกแบบและสรางสรรคเปน 2 สวน ดังน้ี

สวนที่ 1 การวิเคราะหขอมูล

1.1 วิเคราะหขอมูลภาคเอกสารและภาคสนาม

เพ่ือนําไปสูการสรางเคร่ืองมือวิจัยออกแบบแบบประเมินปลายปดและรวบรวมขอมูลจากการสัมภาษณ

เพ่ือคนหาอัตลักษณแมวไทย

1.2 วิเคราะหแนวคิดในการออกแบบ

1.2.1 หลักการออกแบบลวดลาย

1.2.2 เทคนิคตางๆ ที่ใชในการสรางสรรคผลงาน

สวนที่ 2 ผลงานออกแบบ ผูวิจัยไดแบงออกเปน 2 สวน ดังน้ี

2.1 การออกแบบนิเทศศิลป

2.2 เครื่องเคลือบดินเผา

สวนที่ 3 การประเมินผล แบงออกเปน 2 สวน ดังน้ี

3.1 ขอเสนอแนะของผูเช่ียวชาญดานการออกแบบ

3.2 แบบสอบถามในลักษณะคําถามปลายปดที่ใชกับกลุมเปาหมาย

Page 48: 2559 - ithesis-ir.su.ac.thithesis-ir.su.ac.th/dspace/bitstream/123456789/884/1/57156318 พงษ์... · การออกแบบสื่ออัตลักษณ แมวไทยเพื่อการเผยแพร

36

สวนที่ 1 การวิเคราะหขอมูล

1.1 วิเคราะหขอมูลภาคเอกสารและภาคสนาม

ผลการวิเคราะหขอมูลจากแบบสอบถามกลุมเปาหมายผูที่ช่ืนชอบแมวไทยจากแฟนเพจตางๆ ใน

ระยะ เวลา 1 เดือน ต้ังแตวันที่ 22 มิ.ย. 59 - 22 ก.ค. 59 โดยมีผูตอบแบบสอบถามทั้งหมด 50 คนและ

เก็บขอมูลออนไลนผาน https://docs.google.com/forms/ โดยแบงคําถามออกเปน 3 สวน ดังน้ี

สวนที่ 1 ขอมูลทั่วไปของผูตอบแบบสอบถาม

ตารางที่ 1 แสดงเพศของกลุมเปาหมาย

เพศ จํานวน (คน) รอยละ (Percentage)

ชาย 19 38.00

หญิง 31 62.00

ตารางที่ 2 แสดงอายุของผูใชกลุมเปาหมาย

อายุ จํานวน (คน) รอยละ (Percentage)

ตํ่ากวา 15 ป 7 14.00

15-24 ป 13 26.00

25-34 ป 20 40.00

35-44 ป 1 2.00

45-64 ป 4 8.00

65 ป ขึ้นไป 5 10.00

ตารางที่ 3 แสดงอาชีพของผูใชกลุมเปาหมาย

อาชีพ จํานวน (คน) รอยละ (Percentage)

นักเรียน นักศกึษา 2 4.00

รับราชการ รัฐวิสาหกิจ 9 18.00

พนักงานบริษัทเอกชน 8 16.00

ธุรกิจสวนตัว คาขาย 10 20.00

รับจางทั่วไป 7 14.00

อาชีพอิสระ 14 28.00

Page 49: 2559 - ithesis-ir.su.ac.thithesis-ir.su.ac.th/dspace/bitstream/123456789/884/1/57156318 พงษ์... · การออกแบบสื่ออัตลักษณ แมวไทยเพื่อการเผยแพร

37

ตารางที่ 4 แสดงระดับการศึกษาของผูใชกลุมเปาหมาย

ระดับการศึกษา จํานวน (คน) รอยละ (Percentage)

ประถมศึกษา 3 6.00

มัธยมตน 16 32.00

มัธยมปลายหรอื ปวช. 27 54.00

ปริญญาตรีหรอืเทียบเทา 3 6.00

มัธยมตน 16 32.00

มัธยมปลายหรอื ปวช. 27 54.00

ปริญญาตรีหรอืเทียบเทา 3 6.00

ปริญญาโท 1 2.00

ปริญญาเอก 0 0.00

ตารางที่ 5 แสดงรายไดโดยเฉลี่ยตอเดือนของกลุมเปาหมาย

รายไดเฉลี่ย/เดือน จํานวน (คน) รอยละ (Percentage)

นอยกวา 5,000 บาท 4 8.00

5,001-15,000 บาท 9 18.00

15,001-25,000 บาท 26 52.00

25,000-45,000 บาท 11 22.00

มากกวา 45,000 บาท 0 0.00

ตารางที่ 6 แสดงลักษณะที่อยูอาศัยของผูใชกลุมเปาหมาย

ลักษณะที่อยูอาศัย จํานวน (คน) รอยละ (Percentage)

บานเด่ียว 3 6.00

ทาวนเฮาสหรือทาวนโฮม 17 34.00

ตึกแถวหรืออาคารพาณิชย 8 16.00

อพารทเมนท 13 26.00

คอนโดมีเนียม 3 6.00

หอพัก 6 12.00

Page 50: 2559 - ithesis-ir.su.ac.thithesis-ir.su.ac.th/dspace/bitstream/123456789/884/1/57156318 พงษ์... · การออกแบบสื่ออัตลักษณ แมวไทยเพื่อการเผยแพร

38

สวนที่ 2 สํารวจความรับรูเกี่ยวกับแมวไทย

โดยใหคา X หมายถึงคาเฉลี่ยและ S.D. หมายถึงสวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน

ตารางที่ 7 แสดงสายพันธุแมวไทยที่เปนที่รูจัก

ช่ือสายพันธุ X S.D.

แมวสีสวาด

2.44 0.54

แมววิเชียรมาศ

2.18 0.39

แมวศุภลักษณ

2.00 0.45

แมวขาวมณ ี

2.26

0.44

Page 51: 2559 - ithesis-ir.su.ac.thithesis-ir.su.ac.th/dspace/bitstream/123456789/884/1/57156318 พงษ์... · การออกแบบสื่ออัตลักษณ แมวไทยเพื่อการเผยแพร

39

ช่ือสายพันธุ X S.D.

แมวโกนจา

2.24 0.52

ตารางที่ 8 แสดงเอกลักษณของแมวไทยแตละชนิด

การรับรูเอกลักษณของแมวไทยแตละชนิด X S.D.

สีขน 2.42 0.57

ดวงตา 2.12 0.39

รูปราง 2.58 0.54

อุปนิสัย 2.82 0.59

สวนที่ 3 ความคิดเห็นเกี่ยวกับผลิตภัณฑ (เครื่องเคลือบดินเผา)

ตารางที่ 9 แสดงสํารวจความนิยมของผลิตภัณฑประเภทตางๆ

ประเภทของผลิตภัณฑ X S.D.

เครื่องใชบนโตะอาหาร 2.14 0.40

ของใชในชีวิตประจําวัน 2.74 0.44

ของที่ระลึกขนาดเล็ก 2.58 0.54

ตารางที่ 10 แสดงวัตถุประสงคในการเลือกซื้อของกลุมเปาหมาย

วัตถุประสงคในการเลือกซื้อ X S.D.

เพ่ือเปนของใชสวนตัว 2.32 0.55

เพ่ือเปนของที่ระลึก ของฝาก 2.28 0.50

เพ่ือเปนของขวัญในชวงเทศกาลตางๆ 2.62 0.49

เพ่ือรวมเปนสวนหน่ึงในการอนุรักษแมวไทย 2.66 0.48

Page 52: 2559 - ithesis-ir.su.ac.thithesis-ir.su.ac.th/dspace/bitstream/123456789/884/1/57156318 พงษ์... · การออกแบบสื่ออัตลักษณ แมวไทยเพื่อการเผยแพร

40

ตารางที่ 11 แสดงรูปแบบของผลิตภัณฑเครื่องเคลือบดินเผา

รูปแบบ X S.D.

เรียบงาย 2.43 0.54

มีลูกเลนหลากหลาย 2.58 0.50

รูปทรงอิสระ 2.42 0.73

สีสันที่ดึงดูดใจ 2.52 0.61

1.2 วิเคราะหแนวคิดในการออกแบบ

1.2.1 หลักการออกแบบลวดลาย

1.2.2 เทคนิคตางๆ ที่ใชในการสรางสรรคผลงาน

ภาพที่ 20 ผลงานเทคนิคสีนํ้า ในการสอบความคืบหนาครั้งที่ 1 รูปแบบที่ 1

Page 53: 2559 - ithesis-ir.su.ac.thithesis-ir.su.ac.th/dspace/bitstream/123456789/884/1/57156318 พงษ์... · การออกแบบสื่ออัตลักษณ แมวไทยเพื่อการเผยแพร

41

ภาพที ่21 ตัวอยางผลิตภัณฑแบบจําลอง ในการสอบความคืบหนาครั้งที่ 1 รูปแบบที่ 1

Page 54: 2559 - ithesis-ir.su.ac.thithesis-ir.su.ac.th/dspace/bitstream/123456789/884/1/57156318 พงษ์... · การออกแบบสื่ออัตลักษณ แมวไทยเพื่อการเผยแพร

42

ภาพที่ 22 ตัวอยางผลิตภัณฑแบบจําลอง ในการสอบความคืบหนาครั้งที่ 1 รูปแบบที่ 2

ในการสอบความคืบหนาครั้งที่ 1 ไดรับขอเสนอแนะจากผูเช่ียวชาญดานการออกแบบ ดังน้ี

ตารางที่ 12 แสดงการปรับแกผลงานออกแบบ ในการเสนอความคืบหนาครั้งที่ 1

ขอเสนอในการปรับแกไขผลงานครั้งที่ 1 วิธีการดําเนินการแกไข

1. ควรมีลกัษณะทางดานอุปนิสัยแสดงออกมากวา

น้ี

2. สีที่เลือกใชยังไมตรงกับสีของแมวไทยบางสาย

พันธุ

3. ลักษณะเดนทางกายภาพถายทอดมาไมชัดเจน

1. ลงพ้ืนที่เปนครั้งที่ 2 เปรียบเทียบสีของแมวไทย

ใหมีความใกลเคียงกับเทคนิคสีนํ้าที่ใชใหมากที่สุด

2. จดบันทึกลักษณะอุปนิสัยเดนของแตละสายพันธุ

และสัมภาษณเจาของศูนยอนุรักษแมวไทยโบราณ

อ.อัมพวา จ.สมุทรสงคราม เพ่ือใหไดขอมูลอัต

ลักษณแมวไทยมากยิ่งขึ้น

Page 55: 2559 - ithesis-ir.su.ac.thithesis-ir.su.ac.th/dspace/bitstream/123456789/884/1/57156318 พงษ์... · การออกแบบสื่ออัตลักษณ แมวไทยเพื่อการเผยแพร

43

ภาพที่ 23 โทนสีของแมวไทยที่ไดมาจากการลงพ้ืนที่และเก็บรวบรวมขอมูลอางอิงจากตําราแมว

ไทยในสมุดขอยโบราณ

Page 56: 2559 - ithesis-ir.su.ac.thithesis-ir.su.ac.th/dspace/bitstream/123456789/884/1/57156318 พงษ์... · การออกแบบสื่ออัตลักษณ แมวไทยเพื่อการเผยแพร

44

แมวไทยแตละชนิด นอกจากจะแตกตางกันดวยลักษณะเดนอุปนิสัยแลว ทางกายภาพก็เชนกัน

ผูวิจัยจึงไดจําแนกความแตกตางของแมวแตละชนิด ทั้งน้ีไดอางอิงจากตําราแมวไทยในสมุดขอยโบราณ

เปรียบเทียบกับแมวไทยในปจจุบัน พบวามีลักษณะดีตามตําราทั้งหมด 4 สายพันธุ มีเพียงแมวขาวมณี

เทาน้ันที่ไมไดมีการบันทึกไวในสมุดขอยโบราณ เน่ืองจากเปนสายพันธุที่เพาะพันธุไดในภายหลัง

กํานันปรีชา พุคคะบุตร เจาของและผูกอต้ังศูนยอนุรักษแมวไทยโบราณ อ.อัมพวา จ.สมุทรสาคร

ใหขอมูลเพ่ิมเติมวาแมวขาวมณีน้ันเกิดจากพันธุกรรมดอยของเสนขน ที่ไมมีสีอ่ืนๆ เจือปนเลย จึงนิยม

เรียกกันวาเปนแมวขาวปลอดและมีดวงตาอันเปนเอกลักษณโดดเดน สีไมเหมือนกันทั้งสองขาง มีเสนขน

นุมสั้นกวาแมวสายพันธุอ่ืนๆ

ในการสงความคืบหนาครั้งที่ 2 ผูวิจัยไดแบงการนําเสนอผลงานออกเปน 2 สวน สวนที่ 1 คือการ

ออกแบบนิเทศศิลปที่จะตองมีการสรางแบรนด (Branding) และบรรจุภัณฑ (Packaging) ตลอดจน

ผลิตภัณฑเครื่องเคลือบดินเผาและอ่ืนๆ ที่สนับสนุนและสงเสริมการเผยแพร ใหขอมูลเกี่ยวกับแมวไทย

Page 57: 2559 - ithesis-ir.su.ac.thithesis-ir.su.ac.th/dspace/bitstream/123456789/884/1/57156318 พงษ์... · การออกแบบสื่ออัตลักษณ แมวไทยเพื่อการเผยแพร

45

ภาพที่ 24 การออกแบบตราสัญลักษณ ในการสอบความคืบหนาครั้งที่ 2 รูปแบบที่ 1

Page 58: 2559 - ithesis-ir.su.ac.thithesis-ir.su.ac.th/dspace/bitstream/123456789/884/1/57156318 พงษ์... · การออกแบบสื่ออัตลักษณ แมวไทยเพื่อการเผยแพร

46

ภาพที่ 25 ตัวอยางผลิตภัณฑแบบจําลอง ในการสอบความคืบหนาครั้งที่ 2 รูปแบบที่ 1

Page 59: 2559 - ithesis-ir.su.ac.thithesis-ir.su.ac.th/dspace/bitstream/123456789/884/1/57156318 พงษ์... · การออกแบบสื่ออัตลักษณ แมวไทยเพื่อการเผยแพร

47

ไดรับขอเสนอแนะจากผูเช่ียวชาญดานการออกแบบในการสงความคืบหนาครั้งที่ 2 ดังน้ี

ตารางที่ 13 แสดงปรับแกผลงานออกแบบในการเสนอความคืบหนาครั้งที่ 2

ขอเสนอในการปรับแกไขผลงานครั้งที่ 2 วิธีการดําเนินการแกไข

1. เสนที่ใชในการออกแบบตราสัญลักษณมีความ

แหลมคม ไมเขากันกับลายเสนสีนํ้า

2. เสนอใหมีการปรับเปลี่ยนช่ือของแบรนดใหมี

ความนาสนใจ สื่อถึงความเปนแมวไทยมากกวาน้ี

1. ปรับแกตราสัญลักษณรูปแบบใหม โดยใช

หลักการคลายๆ กันกับเทคนิคสีนํ้า เพ่ือใหการ

ออกแบบไปในทิศทางเดียวกัน

2. สืบคนขอมลูเพ่ิมเติมเกี่ยวกับช่ือของแบรนดที่

สามารถนํามาใชไดและมีความหมายเกี่ยวกับแมว

เพ่ือสรางความจดจําแกกลุมเปาหมาย

ภาพที่ 26 ผลงานเทคนิคสีนํ้า ในการสอบความคืบหนาครั้งที่ 2 รูปแบบที่ 2

Page 60: 2559 - ithesis-ir.su.ac.thithesis-ir.su.ac.th/dspace/bitstream/123456789/884/1/57156318 พงษ์... · การออกแบบสื่ออัตลักษณ แมวไทยเพื่อการเผยแพร

48

ภาพที่ 27 ตัวอยางผลิตภัณฑแบบจําลอง ในการสอบความคืบหนาครั้งที่ 2 รูปแบบที่ 2

ภาพที่ 28 ตัวอยางผลิตภัณฑแบบจําลอง ในการสอบความคืบหนาครั้งที่ 2 รูปแบบที่ 3

Page 61: 2559 - ithesis-ir.su.ac.thithesis-ir.su.ac.th/dspace/bitstream/123456789/884/1/57156318 พงษ์... · การออกแบบสื่ออัตลักษณ แมวไทยเพื่อการเผยแพร

49

ภาพที่ 29 ตัวอยางผลิตภัณฑแบบจําลอง ในการสอบความคืบหนาครั้งที่ 2 รูปแบบที่ 4

ภาพที่ 30 แบบรางตราสัญลักษณ ในการสอบความคืบหนาครั้งที่ 2 รูปแบบที่ 2

Page 62: 2559 - ithesis-ir.su.ac.thithesis-ir.su.ac.th/dspace/bitstream/123456789/884/1/57156318 พงษ์... · การออกแบบสื่ออัตลักษณ แมวไทยเพื่อการเผยแพร

50

ในการสอบความคืบหนาครั้งที่ 2 ไดรับขอเสนอแนะจากผูเช่ียวชาญดานการออกแบบ ดังน้ี

ตารางที่ 14 แสดงการปรับแกผลงานออกแบบในการเสนอความคืบหนาครั้งที่ 3

ขอเสนอในการปรับแกไขผลงานครั้งที่ 3 วิธีการดําเนินการแกไข

1. ผลิตภัณฑเครื่องเคลือบดินเผาควรมีรูปทรงที่

หลากหลายหรอืเปนรูปทรงอิสระสอดคลองกับ

ลวดลายที่นํามาใช

2. ลักษณะเดนทางกายภาพมีความชัดเจนมากขึ้น

ใหเพ่ิมเติมในสวนของอิริยาบถตางๆ ที่แสดง

อุปนิสัยของแมวไทย

3. ปรับแกไขตราสัญลักษณใหมีลูกเลนของแมวมาก

ขึ้น

1. จัดหมวดหมูของผลิตภัณฑเครื่องเคลือบดินเผา

และสรางตนแบบ 3 มิติ เพ่ือดูความเหมาะสมของ

ผลิตภัณฑแตละชนิด

2. ศึกษาทาทางตางๆ ของแมวเพ่ิมเติม ดวยการราง

แบบ 2 มิติจากการลงพ้ืนที่และสังเกตการณแมว

ไทยอยางใกลชิด เพ่ือคนหาอัตลักษณที่ชัดเจน

3. ออกแบบสัญลักษณใหม

ภาพที่ 31 แกะสลักตราประทับจากยางลบ เพ่ือนํามาใชทดลองเทคนิคอ่ืนๆ ทางกระบวนการผลิตเครื่อง

เคลือบดินเผา รูปแบบที่ 1

Page 63: 2559 - ithesis-ir.su.ac.thithesis-ir.su.ac.th/dspace/bitstream/123456789/884/1/57156318 พงษ์... · การออกแบบสื่ออัตลักษณ แมวไทยเพื่อการเผยแพร

51

ภาพที ่32 แกะสลักตราประทับจากยางลบ เพ่ือนํามาใชทดลองเทคนิคอ่ืนๆ ทางกระบวนการผลิตเครื่อง

เคลือบดินเผา รูปแบบที่ 2

ภาพที่ 33 ทดลองนําไปกดเปนภาพนูนตํ่าบนเน้ือดินเซรามิค เพ่ือคนหาเทคนิคตกแตงอ่ืนๆ ที่มีความ

เหมาะสมกับผลิตภัณฑ

Page 64: 2559 - ithesis-ir.su.ac.thithesis-ir.su.ac.th/dspace/bitstream/123456789/884/1/57156318 พงษ์... · การออกแบบสื่ออัตลักษณ แมวไทยเพื่อการเผยแพร

52

ภาพที่ 34 ตราสัญลักษณที่ไดรับการปรับแกไข ในการสอบความคืบหนาในครั้งที่ 3 รูปแบบที่ 1

Page 65: 2559 - ithesis-ir.su.ac.thithesis-ir.su.ac.th/dspace/bitstream/123456789/884/1/57156318 พงษ์... · การออกแบบสื่ออัตลักษณ แมวไทยเพื่อการเผยแพร

53

ภาพที่ 35 ตัวอยางผลิตภัณฑแบบจําลอง ในการสอบความคืบหนาครั้งที่ 3 รูปแบบที่ 1

ภาพที่ 36 ตัวอยางผลิตภัณฑแบบจําลอง ในการสอบความคืบหนาครั้งที่ 3 รูปแบบที่ 2

Page 66: 2559 - ithesis-ir.su.ac.thithesis-ir.su.ac.th/dspace/bitstream/123456789/884/1/57156318 พงษ์... · การออกแบบสื่ออัตลักษณ แมวไทยเพื่อการเผยแพร

54

ภาพที่ 37 รูปแบบบรรจุภัณฑที่จะนํามาใชกับผลิตภัณฑเครื่องเคลือบดินเผา

Page 67: 2559 - ithesis-ir.su.ac.thithesis-ir.su.ac.th/dspace/bitstream/123456789/884/1/57156318 พงษ์... · การออกแบบสื่ออัตลักษณ แมวไทยเพื่อการเผยแพร

55

ไดรับขอเสนอแนะจากผูเช่ียวชาญดานการออกแบบในการสงความคืบหนาครั้งที่ 3 ดังน้ี

ตารางที่ 15 แสดงการปรับแกผลงานออกแบบในการเสนอความคืบหนาครั้งที่ 4

ขอเสนอในการปรับแกไขผลงานครั้งที่ 4 วิธีการดําเนินการแกไข

1. ควรจัดหมวดหมูของผลิตภัณฑใหมีความชัดเจน

สอดคลองแกกลุมเปาหมาย

2. ปรับแกไขบรรจุภัณฑใหมีความคงทน เหมาะสม

กับผลิตภัณฑเครื่องเคลือบดินเผา

3. การแกะสลักตราประทับควรเลือกใชวัสดุอ่ืนๆ ที่

ใหแรงกดมากกวายางลบ อาจสรางเปนเสนหรือ

พ้ืนผิวที่ใหอารมณ ความรูสึกของแมว

1. กําหนดหมวดหมูใหเปนผลิตภัณฑที่สอดแทรก

อยูในชีวิตประจําวัน เพ่ิมความรับรูเกี่ยวกับแมวไทย

2. หาขอมูลเพ่ิมเติมเกี่ยวกับบรรจุภัณฑสําหรับ

เครื่องเคลือบดินเผาที่รองรับตอการขนสง สามารถ

มอบใหในโอกาสตางๆ และอํานวยความสะดวกใน

การใชงาน

3. ทดลองแกะสลักวัสดุอ่ืนๆ เชน ไม ดิน ปูน

ภาพที่ 38 ขั้นตอนการทําเทคนิครูปลอกเซรามิค รูปแบบที่ 1

Page 68: 2559 - ithesis-ir.su.ac.thithesis-ir.su.ac.th/dspace/bitstream/123456789/884/1/57156318 พงษ์... · การออกแบบสื่ออัตลักษณ แมวไทยเพื่อการเผยแพร

56

ภาพที่ 39 ขั้นตอนการทําเทคนิครูปลอกเซรามิค รูปแบบที่ 2

ภาพที่ 40 ขั้นตอนการทําเทคนิครูปลอกเซรามิค รูปแบบที่ 3

Page 69: 2559 - ithesis-ir.su.ac.thithesis-ir.su.ac.th/dspace/bitstream/123456789/884/1/57156318 พงษ์... · การออกแบบสื่ออัตลักษณ แมวไทยเพื่อการเผยแพร

57

ภาพที่ 41 ขั้นตอนการทําเทคนิครูปลอกเซรามิค รูปแบบที่ 4

ภาพที่ 42 ขั้นตอนการทําเทคนิครูปลอกเซรามิค รูปแบบที่ 5

Page 70: 2559 - ithesis-ir.su.ac.thithesis-ir.su.ac.th/dspace/bitstream/123456789/884/1/57156318 พงษ์... · การออกแบบสื่ออัตลักษณ แมวไทยเพื่อการเผยแพร

58

ภาพที่ 43 ขั้นตอนการทําเทคนิครูปลอกเซรามิค รูปแบบที่ 6

ภาพที่ 44 ขั้นตอนการทําเทคนิครูปลอกลายเซรามิค รูปแบบที่ 7

Page 71: 2559 - ithesis-ir.su.ac.thithesis-ir.su.ac.th/dspace/bitstream/123456789/884/1/57156318 พงษ์... · การออกแบบสื่ออัตลักษณ แมวไทยเพื่อการเผยแพร

59

ภาพที่ 45 ขั้นตอนการทําเทคนิครูปลอกเซรามิค รูปแบบที่ 8

ภาพที่ 46 ผลงานสําเร็จในวันสอบจบวิทยานิพนธ รูปแบบที่ 1

Page 72: 2559 - ithesis-ir.su.ac.thithesis-ir.su.ac.th/dspace/bitstream/123456789/884/1/57156318 พงษ์... · การออกแบบสื่ออัตลักษณ แมวไทยเพื่อการเผยแพร

60

ภาพที่ 47 ผลงานสําเร็จในวันสอบจบวิทยานิพนธ รูปแบบที่ 2

ภาพที่ 48 ผลงานสําเร็จที่นํามาเผยแพรผลงานในรูปแบบของการจัดนิทรรศการ รูปแบบที่ 1

Page 73: 2559 - ithesis-ir.su.ac.thithesis-ir.su.ac.th/dspace/bitstream/123456789/884/1/57156318 พงษ์... · การออกแบบสื่ออัตลักษณ แมวไทยเพื่อการเผยแพร

61

ภาพที่ 49 ผลงานสําเร็จที่นํามาเผยแพรผลงานในรูปแบบของการจัดนิทรรศการ รูปแบบที่ 2

ภาพที่ 50 ผลงานสําเร็จที่นํามาเผยแพรผลงานในรูปแบบของการจัดนิทรรศการ รูปแบบที่ 3

Page 74: 2559 - ithesis-ir.su.ac.thithesis-ir.su.ac.th/dspace/bitstream/123456789/884/1/57156318 พงษ์... · การออกแบบสื่ออัตลักษณ แมวไทยเพื่อการเผยแพร

62

บทท่ี 5

สรุปและขอเสนอแนะ

จากการศึกษาและออกแบบสื่ออัตลักษณแมวไทย เพ่ือการเผยแพร สรุปผลและมีขอเสนอแนะ

ดังตอไปน้ี

1. สรุปผลงานวิจัย

2. ขอเสนอแนะ

1. สรุปผลการวิจัย

1.1 วิเคราะหขอมูลภาคเอกสารและภาคสนามเพ่ือนําไปสูการสรางเครื่องมือวิจัยออก

แบบแบบประเมินปลายปด คนหาอัตลักษณของแมวไทยและผลิตภัณฑที่มีความเหมาะสมกับกลุม

เปาหมาย

สรุปผลจากแบบสอบถามการออกแบบผลิตภัณฑที่เผยแพรขอมูลเกี่ยวกบัแมวไทยและทําให

ตระหนักเห็นถึงความสําคัญของแมวไทย โดยกลุมตัวอยาง 50 คน สรุปไดดังน้ี

1.1.1 จากแบบสอบถามในสวนที่ 1 ที่เปนขอมูลสวนตัวของกลุมเปาหมาย

ทั้งหมด 50 คน เปนเพศชาย 19 คนและเพศหญิง 31 คน ในชวงอายุ 25-34 ปและ 15-24 ป

วุฒิการศึกษาอยูระหวางระดับมัธยมปลายและปริญญาตร ีเปนตัวแทนของคนรุนใหม ที่พรอมเปดรับ

องคความรูตางๆ มีความสนใจที่จะไดเรียนรูสิ่งตางๆ ดวยตัวเองและใหคุณคากับงานศิลปะประเภทงาน

ฝมือ (Handicraft) ซึ่งในปจจุบันมีอาชีพอิสระเกิดขึ้นมากมายและมีสื่อออนไลนรองรับจนสามารถตอยอด

กลายเปนอาชีพหลักเพ่ือหาเลี้ยงชีพได

1.1.2 จากแบบสอบถามในสวนที่ 2 สํารวจความรับรูเกี่ยวกับแมวไทย

แมววิเชียรมาศจัดวาเปนแมวที่ผูคนทั่วไปรูจกัมากที่สุด เรียงลําดับจากมากที่สุดไปหานอยที่สุดได ดังน้ี

แมววิเชียรมาศ แมวขาวมณ ีแมวสีสวาด แมวศุภลักษณและแมวโกนจา

Page 75: 2559 - ithesis-ir.su.ac.thithesis-ir.su.ac.th/dspace/bitstream/123456789/884/1/57156318 พงษ์... · การออกแบบสื่ออัตลักษณ แมวไทยเพื่อการเผยแพร

63

เน่ืองจากแมวโกนจาหรือแมวรองมด ซึ่งมีสีดําสนิทตลอดลําตัว เปนแมวไทยสายพันธุด้ังเดิมที่เคย

สูญพันธุและสูญหายไปแลวในชวงระยะยาวนาน จึงทําใหคนรุนใหมไมทราบขอมูลเกี่ยวกับแมวไทยสาย

พันธุน้ีมากอน กํานันปรีชา พุคคะบุตร เจาของและผูกอต้ังศูนยอนุรักษแมวไทยโบราณ จึงไดรวบรวม

ขอมูลและใชเวลายาวนานหลาย 10 ปเพ่ือจะเพาะพันธุแมวโกนจาสายพันธุแทใหสําเร็จ ในปจจุบันศูนย

อนุรักษแมวไทยโบราณมีแมวโกนจามากกวา 30 ตัวและไดขึ้นทะเบียนเปนมรดกสําคัญของชาติ

นอกจากน้ีอัตลักษณและจุดเดนของแมวไทยที่เดนชัดมากที่สุดคือสีของเสนขน เพราะแมวทั่วไปที่

ไมใชแมวไทยสายพันธุแท จะไมมีอัตลักษณที่ชัดเจน อาจจะมีสีเขมหรือสีปลอดทั้งตัว แตมีเสนขนหรือ

ลักษณะดอยอ่ืนๆ แทรกอยู เกิดจากการผสมกันระหวางสายพันธุมากเกินไป บางครั้งผสมกับแมวสายพันธุ

ตางประเทศ จึงทําใหลักษณะทางกายภาพของแมวบานมีความผิดเพ้ียน แตดวยความที่แมวอยูคูกับวิถี

ชีวิตของคนไทยมายาวนาน ทําใหความช่ืนชอบและทัศนคติในดานดีที่มีตอสัตวเลี้ยงคลายเหงาชนิดน้ีไม

เคยจางหายไป การเผยแพรและใหขอมูลแมวไทยอยางรอบดานหรือสอดแทรกแงมุมผานผลิตภัณฑที่

บูรณาการศาสตรระหวางการออกแบบนิเทศศิลปและเครื่องเคลือบดินเผา จะเปนสวนหน่ึงที่ใหขอมูลและ

ทําใหตระหนักเห็นความสําคัญของปญหา กระตุนความรูสึกใหอยากเปนสวนหน่ึงในการอนุรักษแมวไทย

และอาจตอยอดเพ่ืออนุรักษสัตวเลี้ยงชนิดอ่ืนๆ อีกทั้งยังเปนแรงสนับสนุนใหศูนยอนุรักษแมวไทยโบราณ

ไดดํารงอยูตอไป

1.1.3 จากแบบสอบถามในสวนที่ 3 ความคิดเห็นเกี่ยวกับผลิตภัณฑเครื่องดินเผาใน

ปจจุบันกรรมวิธีผลิตเคร่ืองเคลือบดินเผาหรือการเทคนิคตกแตงบางรูปแบบ ไดถูกจัดเขามาอยูในหมวด

ของงานฝมือ จึงทําใหเคร่ืองเคลือบดินเผากลายเปนผลิตภัณฑที่เขาถึงไดจากบุคคลทั่วไป ไดรับความนิยม

ดวยความที่สามารถใชงานไดจริง มีคุณสมบัติที่ทนทานและสอดคลองกับวิถีชีวิตของสังคมเมือง เมื่อเพ่ิม

เน้ือหาหรือลวดลายที่เกี่ยวกับแมวเขาไป ทําใหเกิดความนาสนใจย่ิงขึ้น

2. ขอเสนอแนะ

ขอเสนอแนะจากผูเช่ียวชาญดานการออกแบบ

2.1 ควรมีการนําเสนอรูปแบบทาทาง อุปนิสัยของแมวไทยใหมีความหลากหลาย เพ่ือ

สะทอนอัตลักษณของแมวไทยใหเดนชัดมากย่ิงขึ้น

2.2 ผลิตภัณฑเครื่องเคลือบดินเผา ลวดลายสีนํ้าที่ใชเทคนิครูปลอกเซรามิค ควรมีความ

สอดคลองกับรูปทรงของผลิตภัณฑและเพ่ิมลูกเลนระหวางลวดลายกับผลิตภัณฑ เพ่ือใหเกิดความแปลก

ใหม รวมไปถึงการจัดวางตําแหนงของลวดลายที่อยูบนผลิตภัณฑ

Page 76: 2559 - ithesis-ir.su.ac.thithesis-ir.su.ac.th/dspace/bitstream/123456789/884/1/57156318 พงษ์... · การออกแบบสื่ออัตลักษณ แมวไทยเพื่อการเผยแพร

64

ภาพที่ ผลิตภัณฑเครื่องเคลือบดินเผาที่ไดมีการปรับแกไข รูปแบบที ่1

2.3 ควรเพ่ิมเน้ือหาในสวนของขอมูลของแมวไทย ธรรมชาติและอุปนิสัยของแมวใหปรากฏใน

ผลงานการออกแบบมากย่ิงขึ้น ซึ่งในสวนของการออกแบบนิเทศศิลปน้ัน จะตองเนนการสื่อสารและเผยแพร

ขอมูลใหเกิดความเขาใจเปนหลัก

Page 77: 2559 - ithesis-ir.su.ac.thithesis-ir.su.ac.th/dspace/bitstream/123456789/884/1/57156318 พงษ์... · การออกแบบสื่ออัตลักษณ แมวไทยเพื่อการเผยแพร

65

ภาพที่ ผลิตภัณฑเครื่องเคลือบดินเผาที่ไดมีการปรับแกไข รูปแบบที ่2

2.4 การเลือกวัสดุที่ใชในการผลิตของที่เปนระลึกขนาดเล็ก ไมไดเลือกการผลิตทาง

เครื่องเคลือบดินเผา เน่ืองจากไมเหมาะสมกับลักษณะการใชงาน เชน เข็มกลัดติดเสื้อ แมเหล็กติดตูเย็น

เพราะเสี่ยงตอการแตกหักและอาจกอใหเกิดอันตรายตอผูใชได

Page 78: 2559 - ithesis-ir.su.ac.thithesis-ir.su.ac.th/dspace/bitstream/123456789/884/1/57156318 พงษ์... · การออกแบบสื่ออัตลักษณ แมวไทยเพื่อการเผยแพร

64

รายการอางอิง

ดนุพล เขียวสาคู. รูเรื่องแมวเมืองไทย. กรุงเทพฯ: โหลทอง มาสเตอรพริ้นท จํากัด, 2548.

ปรีดา ปญญาจนัทร และสุดไผท เมืองไทย. การเขียนภาพประกอบสําหรับเด็ก. กรุงเทพฯ: อมรินทร,

2557

พีระพล อยูสวัสด์ิ. “แมวไทยวันน้ี.” วารสารสัตวแพทย คณะสัตวแพทยศาสตร

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร (2543): 50-56.

วิชิต สิงหทอง. สารคดีชุดสัตวเลี้ยงไทย แมวไทย. กรุงเทพฯ: เลิฟแอนดลิพเพรส จํากดั, 2540.

Dorling Kinderley. The Cat Encyclopedia. New York : DK Publishing, 2014

Dorling Kinderley . The Complete Cat Breed Book. New York : DK Publishing, 2013

พิธีประกาศขึ้นทะเบียน มรดกภูมิปญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ประจําป พ.ศ. 2557. แมวไทย.

http://www.m-culture.go.th/ : สืบคนเมื่อ 30 กันยายน พ.ศ. 2558

MGR Online, วิเคราะหดีเอ็นเอสืบบรรพบุรุษเหมียวบานที่แทคือแมวปาตะวันออกกลาง,

http://www.manager.co.th/science/ViewNews. aspx?NewsID=9500000076707 :

สืบคนเมื่อ 29 มกราคม 2559

มติชนออนไลน, ยอนชมสมุดขอย “ตําราแมวไทย” หลังถูกตางชาติชิงอางสิทธิ์เกลี้ยง เหลือแค

‘ศุภลักษณ’ http://www.matichon.co.th/news/ 314134 : สืบคนเมื่อ 21 ธันวาคม

2559

DNA shows domestic cat had origins in Near East, Accessed January 10, 2016, Available

from https://www.newscientist.com/article/dn12153-dna-shows-domestic-cat-

had-origins-in-near-east/

Page 79: 2559 - ithesis-ir.su.ac.thithesis-ir.su.ac.th/dspace/bitstream/123456789/884/1/57156318 พงษ์... · การออกแบบสื่ออัตลักษณ แมวไทยเพื่อการเผยแพร

ภาคผนวก

Page 80: 2559 - ithesis-ir.su.ac.thithesis-ir.su.ac.th/dspace/bitstream/123456789/884/1/57156318 พงษ์... · การออกแบบสื่ออัตลักษณ แมวไทยเพื่อการเผยแพร

66

ตัวอยางแบบสอบถาม

แบบสอบถามผูใชกลุมเปาหมายกอนการออกแบบและพัฒนารูปแบบของผลงาน

แบบสอบถามผูใชกอนการออกแบบและพัฒนารูปแบบของผลงาน

แบบสอบถามฉบับน้ีเปนสวนหน่ึงของการออกแบบสื่ออัตลักษณแมวไทยเพ่ือการเผยแพร ระดับปริญญา

มหาบัณฑิต สาขาวิชาศิลปะการออกแบบ คณะมัณฑนศิลป มหาวิทยาลัยศิลปากร

จัดทําโดย นางสาวพงษพิสุทธ์ิ ศรีสด

สวนที่1 ขอมูลทั่วไปของผูตอบแบบสอบถาม

1. เพศ

[ ] ชาย [ ] หญิง

2. อายุ

[ ] ตํ่ากวา 15 ป [ ] 15-24 ป [ ] 25-34 ป

[ ] 35-44 ป [ ] 45-64 ป [ ] 64 ปขึ้นไป

3. อาชีพ

[ ] นักเรียน นักศึกษา [ ] รับราชการ รัฐวิสาหกิจ [ ] พนักงานบริษัทเอกชน

[ ] ธุรกิจสวนตัว [ ] รับจาง [ ] อาชีพอิสระ

4. ระดับการศึกษา

[ ] ตํ่ากวาประถมศึกษา [ ] ประถมศึกษา

[ ] มัธยมตน [ ] มัธยมปลายหรือเทียบเทา

[ ] ปริญญาตรีหรือเทียบเทา [ ] ปริญญาโท

[ ] สูงกวาปริญญาโท

Page 81: 2559 - ithesis-ir.su.ac.thithesis-ir.su.ac.th/dspace/bitstream/123456789/884/1/57156318 พงษ์... · การออกแบบสื่ออัตลักษณ แมวไทยเพื่อการเผยแพร

67

5. รายไดเฉลี่ย

[ ] นอยกวา 5,000 บาท/เดือน [ ] 5,001-15,000 บาท/เดือน

[ ] 15,001-25,000 บาท/เดือน [ ] 25,001-45,000 บาท/เดือน

[ ] มากกวา 45,000 บาท/เดือน

6. ลักษณะที่อยูอาศัย

[ ] บานเด่ียว [ ] ทาวเฮาส/ทาวนโฮม [ ] ตึกแถว/อาคารพานิช

[ ] อพารทเมนท [ ] คอนโดมิเนียม [ ] หอพัก

สวนที่ 2 สํารวจความรับรูเกี่ยวกับแมวไทย

สายพันธุแมวไทยที่เปนที่รูจัก มากที่สุด > นอยที่สุด

3 2 1

แมวสีสวาด

แมววิเชียรมาศ

แมวศุภลักษณ

แมวโกนจา

แมวขาวมณี

การรับรูเอกลักษณของแมวไทยแตละชนิด มากที่สุด > นอยที่สุด

3 2 1

สีขน

ดวงตา

รูปราง

อุปนิสัย

Page 82: 2559 - ithesis-ir.su.ac.thithesis-ir.su.ac.th/dspace/bitstream/123456789/884/1/57156318 พงษ์... · การออกแบบสื่ออัตลักษณ แมวไทยเพื่อการเผยแพร

68

สวนที่ 3 ความคิดเห็นเกี่ยวกับผลิตภัณฑ (เครื่องเคลือบดินเผา)

สํารวจความนิยมของผลิตภัณฑประเภทตางๆ

มากที่สุด > นอยที่สุด

3 2 1

เครื่องใชบนโตะอาหาร

ของใชในชีวิตประจําวัน

ของที่ระลึกขนาดเล็ก

เครื่องใชบนโตะอาหาร

ของใชในชีวิตประจําวัน

วัตถุประสงคในการเลือกซื้อ

มากที่สุด > นอยที่สุด

3 2 1

เพ่ือเปนของใชสวนตัว

เพ่ือเปนของที่ระลึก ของฝาก

เพ่ือเปนของขวัญในชวงเทศกาลตางๆ

เพ่ือรวมเปนสวนหน่ึงในการอนุรักษแมวไทย

เพ่ือเปนของใชสวนตัว

รูปแบบของผลติภัณฑเครื่องเคลือบดินเผา มากที่สุด > นอยที่สุด

3 2 1

เรียบงาย

มีลูกเลนหลากหลาย

รูปทรงอิสระ

สีสันที่ดึงดูดใจ

เรียบงาย

Page 83: 2559 - ithesis-ir.su.ac.thithesis-ir.su.ac.th/dspace/bitstream/123456789/884/1/57156318 พงษ์... · การออกแบบสื่ออัตลักษณ แมวไทยเพื่อการเผยแพร

69

ประวตัิผูวิจยั

ชื่อ – สกุล นางสาวพงษพิสุทธ์ิ ศรสีด

วันเดือนปเกิด 19 มิถุนายน พ.ศ. 2530

ที่อยู 35/327 ซ.ศูนยวิจัย ถ.พระราม 9 แขวงบางกะป เขตหวยขวาง

กทม. 10310

ประวัติการศึกษา

พ.ศ. 2553 สําเร็จการศึกษาศิลปบัณฑิต สาขาวิชาเครื่องเคลือบดินเผา

คณะมัณฑนศลิป มหาวิทยาลัยศิลปากร

พ.ศ. 2557 ศึกษาตอปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาศิลปะการออกแบบ

คณะมัณฑนศลิป มหาวิทยาลัยศิลปากร