อนาคตการลงทุนเพื่อสังคมอย่างยั่งยืนของไทย...

5
อนาคตการลงทุนเพื่อสังคมอยางยั่งยืนของไทย โดยภาคเอกชนและประชาชน : บทเรียนจากตลาดการลงทุนในกิจการเพื่อสังคมในประเทศสวิสเซอรแลนด สุนิตย เชรษฐา ChangeFusion 15 กันยายน 2551 บทความชิ้นนี้ไมไดตองการจะนำเสนอประเด็นการลงทุนเพื่อสังคมในลักษณะวิชาการที่สมบูรณพรอม แตเปนสิ่ง ที่ทีมงานของเราไดเรียนรูจากการที่ไดมีโอกาสเดินทางไปยังประเทศสวิสฯ หลายครั้งในชวงปสองปนี้อันเกี่ยวเนื่อง ดวยประเด็นการพัฒนาตลาดทุนเพื่อสังคมที่ตองการเชื่อมโยงทุนและองคความรูจากสวิสฯมายังภูมิภาคของเรา ในชวงราวสามปที่ผานมานั้นองคกรของเรา (ซึ่งเพิ่งเปลี่ยนชื่อจาก TRN มาเปน Change Fusion เพื่อใหตรงกับ ลักษณะงานมากขึ้น) ไดรวมกับภาคีจากอินเดียและฟลิปปนสในการตั้งกองทุนเล็กๆในภูมิภาคที่ชื่อ Youth Social Enterprise Initiative (YSEI) หรืออาจจะพอแปลไดวา โครงการสนับสนุนกิจการเพื่อสังคมของคนรุนใหมซึ่ง มีหนาที่เขาไปสนับสนุนองคกรเกิดใหมดานสังคม (social startups) ที่ตองการแกปญหาสังคมหรือสิ่งแวดลอมได อยางยั่งยืน โดยเฉพาะในดานความยั่งยืนทางการเงิน กลาวคือองคกรเหลานี(ทั้งที่เปนธุรกิจหรือองคกรไม แสวงหาผลกำไร) สุดทายก็ตองมีระบบที่นำมาซึ่งรายไดอยางตอเนื่องและมากพอที่จะขยายผลงานของตนไดโดย ไมตองพึ่งแหลงทุนใหเปลาตลอดไป โดยในปที่แลวเราสนับสนุนไป 9 รายจากอินเดีย บังคลาเทศ ติมอรตะวันออก และฟลิปปนส ซึ่งเปนกิจการเพื่อ สังคมทีีแตกตางกันออกไป เชน กลุมที่หาของหัตกรรมจากหมูบานยากจนในอินเดียที่มีผลงานที่ละเอียดแตกตาง ไปขายที่สหรัฐฯผานระบบ e-commerce และการขายสง หรือกลุมที่ตั้งทีมงานสื่อสารประชาสัมพันธให NGO และองคกรเพื่อการพัฒนาทั้งหลายในฟลิปปนส โดยใชเทคนิควิธีการใหมๆ เชน อนิเมชั่น เว็บเคมเปญ ฯลฯ มา ชวยสื่อสารประเด็นทางสังคมตางๆใหนาสนใจ และเขาถึงกลุมเปาหมายไดดีขึ้น โดยการนำเอารายไดจากลูกคา ใหญๆมาชดเชยลูกคา NGO เล็กๆที่อาจจะไมมีเงินจายคางานสื่อสารประชาสัมพันธเปนตน และคาดวาปนี้เรา จะสามารถสนับสนุนไดอีก 10 รายในเอเชียตะวันออกเฉียงใต และเอเชียใต แหลงทุนหลักๆที่สนับสนุน YSEI ก็คือ Swiss Agency for Development and Cooperation (SDC) ซึ่งเปนสวน งานอิสระภายใตกระทรวงตางประเทศของสวิสฯมีหนาที่สนับสนุนทุนใหเปลาสำหรับประเทศที่กำลังพัฒนา โดย ผูที่เปนตัวตั้งตัวตีที่หนุนเรามาโดยตลอดก็คือ Mr. Walter Fust ซึ่งตอนนั้นดำรงตำแหนงเปนประธานบริหารของ SDC (ตอนนี้เพิ่งเกษียณจาก SDC แลวมาเปนประธานของ Global Humanity Forum รวมกับนายโคฟ อานัน แทน) Mr. Fust ไมเพียงแคตอกย้ำความเชื่อของผมวากิจการเพื่อสังคม (social enterprise) คือวิถีทางของ อนาคตเพราะเปนการเชื่อมโยงสิ่งที่ดีที่สุดจากทั้งธุรกิจและ NGO เขาดวยกัน แตเขายังทำใหผมไดเรียนรูวาโลก ของการลงทุนเพื่อสังคมในเชิงนวัตกรรมและความยั่งยืนนั้นกวางขวางและนาสนใจดวยแงมุมใหมๆมากมาย ในโลกขององคกรพัฒนาเอกชนแบบดั้งเดิมนั้น ไมวาจะทำงานไดดีสักเพียงใด ก็ยอมมักจะพึ่งพารายไดจากแหลง ทุนใหเปลาทั้งหลายทั้งจากรัฐและเอกชน ซึ่งมีความเสี่ยงมากเพราะแหลงทุนตางๆก็มักจะเปลี่ยนผูบริหารหรือ เปลี่ยนนโยบายตางๆอยูตลอด รวมถึงยังเปลี่ยนประเด็นที่ใหความสนับสนุนอีกดวย แมในประเทศไทยยุคกอนๆ ซึ่งดอกเบี้ยสูง NGO จะสามารถระดมทุนกอนใหญมาฝากธนาคารแลวเอาดอกเบี้ยมาใชทำงานตางๆนั้น ปจจุบัน ไมสามารถทำไดอีกตอไปเพราะอัตราดอกเบี้ยนั้นนอยมาก ซึ่งทางแกของเรื่องนี้ทำไดไมกี่ทาง

Upload: sunitshrestha

Post on 14-Nov-2014

177 views

Category:

Documents


0 download

DESCRIPTION

บทความชิ้นนี้ไม่ได้ต้องการจะนำเสนอประเด็นการลงทุนเพื่อสังคมในลักษณะวิชาการที่สมบูรณ์พร้อม แต่เป็นสิ่งที่ทีมงานของเราได้เรียนรู้จากการที่ได้มีโอกาสเดินทางไปยังประเทศสวิสฯ หลายครั้งในช่วงปีสองปีนี้อันเกี่ยวเนื่องด้วยประเด็นการพัฒนาตลาดทุนเพื่อสังคมที่ต้องการเชื่อมโยงทุนและองค์ความรู้จากสวิสฯมายังภูมิภาคของเรา

TRANSCRIPT

Page 1: อนาคตการลงทุนเพื่อสังคมอย่างยั่งยืนของไทย บทเรียนจากสวิสฯ

อนาคตการลงทุนเพื่อสังคมอยางยั่งยืนของไทย โดยภาคเอกชนและประชาชน :

บทเรียนจากตลาดการลงทุนในกิจการเพื่อสังคมในประเทศสวิสเซอรแลนด

สุนิตย เชรษฐา ChangeFusion 15 กันยายน 2551

บทความชิ้นนี้ไมไดตองการจะนำเสนอประเด็นการลงทุนเพื่อสังคมในลักษณะวิชาการที่สมบูรณพรอม แตเปนสิ่ง

ที่ทีมงานของเราไดเรียนรูจากการที่ไดมีโอกาสเดินทางไปยังประเทศสวิสฯ หลายครั้งในชวงปสองปนี้อันเกี่ยวเนื่อง

ดวยประเด็นการพัฒนาตลาดทุนเพื่อสังคมที่ตองการเชื่อมโยงทุนและองคความรูจากสวิสฯมายังภูมิภาคของเรา

ในชวงราวสามปที่ผานมานั้นองคกรของเรา (ซึ่งเพิ่งเปลี่ยนชื่อจาก TRN มาเปน Change Fusion เพื่อใหตรงกับ

ลักษณะงานมากขึ้น) ไดรวมกับภาคีจากอินเดียและฟลิปปนสในการตั้งกองทุนเล็กๆในภูมิภาคที่ชื่อ Youth Social

Enterprise Initiative (YSEI) หรืออาจจะพอแปลไดวา “โครงการสนับสนุนกิจการเพื่อสังคมของคนรุนใหม” ซึ่ง

มีหนาที่เขาไปสนับสนุนองคกรเกิดใหมดานสังคม (social startups) ที่ตองการแกปญหาสังคมหรือสิ่งแวดลอมได

อยางยั่งยืน โดยเฉพาะในดานความยั่งยืนทางการเงิน กลาวคือองคกรเหลานี้ (ทั้งที่เปนธุรกิจหรือองคกรไม

แสวงหาผลกำไร) สุดทายก็ตองมีระบบที่นำมาซึ่งรายไดอยางตอเนื่องและมากพอที่จะขยายผลงานของตนไดโดย

ไมตองพึ่งแหลงทุนใหเปลาตลอดไป

โดยในปที่แลวเราสนับสนุนไป 9 รายจากอินเดีย บังคลาเทศ ติมอรตะวันออก และฟลิปปนส ซึ่งเปนกิจการเพื่อ

สังคมที่ีแตกตางกันออกไป เชน กลุมที่หาของหัตกรรมจากหมูบานยากจนในอินเดียที่มีผลงานที่ละเอียดแตกตาง

ไปขายที่สหรัฐฯผานระบบ e-commerce และการขายสง หรือกลุมที่ตั้งทีมงานสื่อสารประชาสัมพันธให NGO

และองคกรเพื่อการพัฒนาทั้งหลายในฟลิปปนส โดยใชเทคนิควิธีการใหมๆ เชน อนิเมชั่น เว็บเคมเปญ ฯลฯ มา

ชวยสื่อสารประเด็นทางสังคมตางๆใหนาสนใจ และเขาถึงกลุมเปาหมายไดดีขึ้น โดยการนำเอารายไดจากลูกคา

ใหญๆมาชดเชยลูกคา NGO เล็กๆที่อาจจะไมมีเงินจายคางานสื่อสารประชาสัมพันธเปนตน และคาดวาปนี้เรา

จะสามารถสนับสนุนไดอีก 10 รายในเอเชียตะวันออกเฉียงใต และเอเชียใต

แหลงทุนหลักๆที่สนับสนุน YSEI ก็คือ Swiss Agency for Development and Cooperation (SDC) ซึ่งเปนสวน

งานอิสระภายใตกระทรวงตางประเทศของสวิสฯมีหนาที่สนับสนุนทุนใหเปลาสำหรับประเทศที่กำลังพัฒนา โดย

ผูที่เปนตัวตั้งตัวตีที่หนุนเรามาโดยตลอดก็คือ Mr. Walter Fust ซึ่งตอนนั้นดำรงตำแหนงเปนประธานบริหารของ

SDC (ตอนนี้เพิ่งเกษียณจาก SDC แลวมาเปนประธานของ Global Humanity Forum รวมกับนายโคฟ อานัน

แทน) Mr. Fust ไมเพียงแคตอกย้ำความเชื่อของผมวากิจการเพื่อสังคม (social enterprise) คือวิถีทางของ

อนาคตเพราะเปนการเชื่อมโยงสิ่งที่ดีที่สุดจากทั้งธุรกิจและ NGO เขาดวยกัน แตเขายังทำใหผมไดเรียนรูวาโลก

ของการลงทุนเพื่อสังคมในเชิงนวัตกรรมและความยั่งยืนนั้นกวางขวางและนาสนใจดวยแงมุมใหมๆมากมาย

ในโลกขององคกรพัฒนาเอกชนแบบดั้งเดิมนั้น ไมวาจะทำงานไดดีสักเพียงใด ก็ยอมมักจะพึ่งพารายไดจากแหลง

ทุนใหเปลาทั้งหลายทั้งจากรัฐและเอกชน ซึ่งมีความเสี่ยงมากเพราะแหลงทุนตางๆก็มักจะเปลี่ยนผูบริหารหรือ

เปลี่ยนนโยบายตางๆอยูตลอด รวมถึงยังเปลี่ยนประเด็นที่ใหความสนับสนุนอีกดวย แมในประเทศไทยยุคกอนๆ

ซึ่งดอกเบี้ยสูง NGO จะสามารถระดมทุนกอนใหญมาฝากธนาคารแลวเอาดอกเบี้ยมาใชทำงานตางๆนั้น ปจจุบัน

ไมสามารถทำไดอีกตอไปเพราะอัตราดอกเบี้ยนั้นนอยมาก ซึี่งทางแกของเรื่องนี้ทำไดไมกี่ทาง

Page 2: อนาคตการลงทุนเพื่อสังคมอย่างยั่งยืนของไทย บทเรียนจากสวิสฯ

หากจะพึ่งแหลงทุนใหเปลาตอไปก็ตองทำงานที่มีความสำคัญกับแหลงทุนนั้นๆเปนพิเศษ จนเรียกไดวาแหลงทุน

นั้นๆเปนลูกคาในทางหนึ่ง เพราะสามารถตอบสนองความตองการของแหลงทุนนั้นๆในการบรรลุพันธกิจหรือเปา

หมายสำคัญของแหลงทุนนั้นๆได หรือไมก็ตองสรางกลไกแหลงทุนใหเปลาในลักษณะรายยอย (retail grant

strategy) เชนที่ UNICEF หรือ Green Peace ไดดำเนินการมาตลอดชวงทศวรรษที่ผานมา โดยเมื่อมีผูใหจำนวน

มากแมจะไมไดใหมากในแตละรายแตเมื่อรวมกันแลวก็มากพอที่จะไปดำเนินกิจกกรรมตางๆได และบริหาร

ความเสี่ยงไดมากขึ้นเพราะไมไดขึ้นกับคนไมกี่คนเหมือนการพึ่งพาแหลงทุนรายใหญ แตก็มีปญหาวาคาใชจาย

และความสามารถในการสรางกลไกแหลงทุนใหเปลารายยอยนั้นคอนขางสูง ไมใชวาใครๆก็ทำได หากทำไมดีก็

อาจจะไดไมคุมเสียอีกดวย

อีกทางหนึ่งก็คือการไมพึ่งแหลงทุนใหเปลาแตอยางเดียว แตเนนสรางรายไดใหมาชวยเหลือกิจกรรมเพื่อสังคมให

สามารถขยายผลไดอยางตอเนื่อง ซึ่งแนวทางของกิจการเพื่อสังคมนั้นจะเนนหนทางนี้ เปนการแกปญหาและ

พัฒนาโอกาสทางสังคม-สิ่งแวดลอมโดยการออกแบบกิจกรรมที่สามารถสรางรายไดไปพรอมๆกับการสรางผลกระ

ทบเชิงบวกดานสังคมและสิ่งแวดลอมดังเชนตัวอยางที่กลาวมาขางตน ดังนั้นกิจการเพื่อสังคมเหลานี้ (ซึ่งอาจจด

ทะเบียนเปนองคกรไมแสวงหาผลกำไร หรือเปนธุรกิจเอกชนธรรมดาก็ได) จะตองเนนที่การสรางองคกรที่สามารถ

สรางสินคาและบริการที่มีประสิทธิภาพและขยายตัวได ไมตางกับธุรกิจที่ตองสรางความแข็งแรงของทีมงาน

มากกวาที่จะไปทุมเทกับสินคาหรือบริการใดบริการหนึ่งแตอยางเดียว แตความแตกตางที่สำคัญขององคกรเหลา

นี้จากภาคธุรกิจทั่วไปก็คือความมุงหมายในการตั้งองคกรเหลานี้เปนไปเพื่อการแกปญหาและพัฒนาโอกาสทาง

สังคมและสิ่งแวดลอม สวนเรื่องเปาหมายทางการเงินนั้นเปนเรื่องตามมาและเนนการสรางรายไดเพื่อนำไปลงทุน

ทางสังคมตอเปนหลัก

ซึ่งหากแปลความตองการขององคกรเหลานี้ออกมาเปนลักษณะการสนับสนุนทุนแลว ดังเชนในองคกรธุรกิจตั้ง

ใหมที่ทุนเริ่มตนหรือทุนขยายผลนั้นสวนสำคัญไมใชไปลงทุนที่การสรางเครื่องจักรหรืออุปกรณตางๆทั้งหมด แต

เปนการลงทุนเพื่อพัฒนาศักยภาพองคกรใหสามารถแขงขันไดอยางแตกตางและยั่งยืน จึงเรียกการลงทุน

ลักษณะนี้วา Venture Capital (VC) หรือการรวมทุนในองคกร (venture แปลวาองคกร) ไมใชลักษณะการลงทุน

เปนรายโปรเจ็ค (Project Financing) ซึ่งมีความสำคัญรองลงมา

หากเรามองกลับมาที่โลกขององคกรดานสังคมและสิ่งแวดลอมนั้น ทุนสวนใหญจะผูกกับโปรเจ็คเปนหลัก นอย

มากที่แหลงทุนจะสนใจหรืออนุญาตใหไปพัฒนาศักยภาพองคกรโดยตรง กลาวคือเปน project financing ไปเสีย

แทบทั้งหมด จนหลายครั้งองคกรพัฒนาเอกชนตางๆเมื่อทำโครงการเสร็จก็แทบไมเหลือเงินเอาไวใชพัฒนา

องคกร ทำใหตองหาเงินโปรเจ็คมากขึ้น สุดทายก็ทำโปรเจ็คเต็มไปหมดแตศักยภาพองคกรก็แทบจะไมกาวไป

ไหน กลายเปนวงจรอุบาทวชนิดหนึ่ง จะเห็นไดวาสวนหนึ่งของปญหาก็คือการขาดการลงทุนในองคกรโดยตรง

คลายกับ VC investment ในภาคธุรกิจการเงิน

Mr. Fust ไดแนะนำใหเราไปรูจักกับมูลนิธิหนึ่งที่นาสนใจและมีลักษณะการลงทุนในองคกรดานสังคมและสิ่ง

แวดลอมในลักษณะคลาย VC แตปรับมาใชกับการลงทุนใหเปลาเพื่อสังคม ซึ่งอาจจะเรียกวา “การรวมลงทุนเชิง

องคกรเพื่อสังคม” (venture philanthropy) ซึ่งเนนการลงทุนเพื่อการสรางศักยภาพองคกรใหทำงานที่มีคุณคาสูง

ขึ้นเรื่อยๆได และเกิดผลกระทบในเชิงสังคมที่ชัดเจนในระยะยาวมากกวาการสนับสนุนเชิงโครงการแตอยางเดียว

Page 3: อนาคตการลงทุนเพื่อสังคมอย่างยั่งยืนของไทย บทเรียนจากสวิสฯ

โดยมีลักษณะการบริหารการลงทุนคลาย VC คือทางมูลนิธิจะสงคนมารวมพัฒนาแผนและทิศทางขององคกร

นอกจากนั้นยังมีการสนับสนุนศักยภาพในทุกๆดานที่่สำคัญขององคกรอีกดวย

มูลนิธิที่วาคือ LGT Foundation ซึ่งเปนมูลนิธิของธนาคาร LGT แหงราชอาณาจักรลิคชเต็นสไตนในยุโรป โดยมี

เจาชาย แม็คซ แหงลิคชเต็นสไตนเปนกรรมการมูลนิธิรวมกับ Mr. Fust ซึ่งแมมูลนิธินี้จะตั้งมาไมนาน แตก็มี

ลักษณะการลงทุนแบบ venture philanthropy ที่นาสนใจมากเปนที่แรกๆในยุโรป (ในสหรัฐอเมริกานั้นมีการใช

แนวทางแบบ Venture Philanthropy มาจนแพรหลายในระดับหนึ่งแลว) โดยทางมูลนิธิจะมีเจาหนาที่ซึ่งมีความ

เชี่ยวชาญเกี่ยวกับการลงทุนเพื่อสังคมในหลากหลายลักษณะทั้งเงินใหเปลา เงินกู และการเงินลงทุนในหุน ซึ่ง

ยอมเปนการใชเครื่องมือทางการเงินใหมๆสำหรับการลงทุนในกิจการเพื่อสังคมที่อยูในลักษณะที่สามารถคืน

เงินได และเปนธุรกิจเพื่อสังคมซึ่ง LGT Foundation เขามารวมถือหุนได เมื่อเงินมาเปนเงินสำหรับหุนก็ยอม

สามารถนำไปลงทุนกับการพัฒนาศักยภาพองคกรไดอยางเต็มที่ ซึีงการลงทุนทั่วไปจะอยูที่ประมาณ 500,000 -

1,000,000 เหรียญสหรัฐฯ จึงยอมจะนำไปสูการลงทุนเพื่อการขยายผลไดโดยไมตองพึ่งเงินใหเปลาตลอดไป ซึ่ง

เรื่องเหลานี้เปนเรื่องที่ใหมมากทั้งในประเทศไทยและภูมิภาค (หากพิจารณาดูแลว ก็จะคลายๆกับที่ อ. ไพบูลย

วัฒนศิริธรรม เคยตั้งบริษัทรวมทุนชนบทไวเมื่อป 2532 นั้นเอง)

สิ่งหนึ่งที่ผมประทับใจกับมูลนิธิก็คือทีมงานของเขาซึ่งไมไดเปนคนที่เคยทำงานดานทุนใหเปลาหรือองคกรพัฒนา

เอกชนแตอยางเดียว แตยังเปนผูที่มีความรูความเขาใจอยางกวางขวางเกี่ยวกับการลงทุนเพื่อสังคมในเชิงการเงิน

การลงทุนจริงๆ เชนเจาหนาที่ซึ่งผมคุยดวยนั้นมีประสบการณทำงานกับตลาดหลักทรัพยดาวโจนสในการสราง

ดรรชนีชี้วัดความยั่งยืนของธุรกิจแหงดาวโจนส (Dow Jones Sustainability Index) ซึ่งเปนดรรชนีซึ่งนำไปสูการ

ลงทุนที่รับผิดชอบตอสังคม (Socially responsible investment -SRI) โดยเปนการสรางกลไกสำคัญที่เชื่อมนัก

ลงทุนที่ใสใจสังคมสิ่งแวดลอมไปสูบริษัทจดทะเบียนซึ่งมีความชัดเจนในการรวมรับผิดชอบตอสังคม (Corporate

social responsibility -CSR) อยางเปนระบบและวัดผลได ผมอยากเห็นคนในวงการการเงินการลงทุนเพื่อสังคม

ที่มีความเขาใจอยางลึกซึ้งทั้งในสายการพัฒนาประชาสังคมและชุมชนอยางยั่งยืน พรอมๆกัับความเขาใจในดาน

เศรษฐศาสตรการลงทุนเพื่อสังคมอยางเปนระบบดังที่อาจารย ปวย อึ๊งภากรณเคยกลาวเอาไว ซึ่งปจจุบันใน

ประเทศไทยคนในวงการพัฒนาและคนในวงการเศรษฐศาสตรการเงินการลงทุนนั้นเกิดชองวางมากขึ้นเรื่อยๆ จุด

เชื่อมโยงที่เห็นอยูบางก็ไมคอยเปนเรื่องการลงทุนเพื่อความยั่งยืน แตเปนเพียงแตการบริจาคเล็กๆนอยๆที่ไม

สามารถขยายผลไดเพราะไมมีระบบใดๆรองรับนอกจากความใจดี การอยากทำบุญ หรือการตองการหนาตาจาก

การทำ CSR แบบเปลือกๆเปนสวนใหญเทานั้น แตสิ่งที่เราเห็นในมูลนิธินี้แสดงใหเห็นวาความรูเรื่องการเงิน

การลงทุนที่ผสมผสานกับการพัฒนาอยางยั่งยืนนั้นยอมนำไปสูความสามารถใหมๆของแหลงทุนในการลงทุนเพื่อ

สังคมที่มีประสิทธิภาพและมีเครื่องมือใหมๆในการเรงรัดนวัตกรรมเพื่อสังคมมากขึ้น

หากจะเจาะลงไปเฉพาะในสวนของการลงทุนเพื่อสังคมที่ไมใชเงินใหเปลานั้น หากตัดการลงทุนของกองทุน SRI

ทั้งหลายที่มักจะลงไปกับบริษัทจดทะเบียนที่เขาเกณฑการรวมรับผิดชอบตอสังคมแลวนั้น สิ่งที่เหลืออยูก็คือการ

ลงทุนโดยตรงกับองคกรเพื่อสังคมผานเครื่องมือทางการเงินตางๆเชน เงินกู เงินลงทุนในหุน หรือแมแตการค้ำ

ประกันการลงทุน ซึ่งรวมๆแลวมักจะเรียกวาการลงทุนเพื่อสังคมที่ไมไดใหเปลา (Non-grant social

investments)

Page 4: อนาคตการลงทุนเพื่อสังคมอย่างยั่งยืนของไทย บทเรียนจากสวิสฯ

ที่สวิสฯนั้น Mr. Fust ยังไดเชื่อมโยงทีมงานของเราใหไดมีโอกาสรูจักและแลกเปลี่ยนแนวคิดตางๆกับสององคกรที่

เชี่ยวชาญเฉพาะดานการลงทุนเพื่อสังคมที่ไมไดใหเปลา ที่แรกนั้นเปนสถาบันการเงินที่เรียกวา Bamboo

Finance ซึ่งตั้งขึ้นมาเพื่อลงทุนทั้งในหุนและ/หรือการปลอยกูใหกับกิจการเพื่อสังคมที่ตองการขยายกิจการ (สนใจ

ลงทุนราว 500,000 เหรียญขึ้นไป) เชน กลุมกิจการเพื่อสังคมในกัมพูชาที่สรางงานใหกับผูยากไร ขาดโอกาส และ

เปนเหยื่อความรุนแรงผานกิจกรรมธุรกิจตางๆในลักษณะตางๆไมวาจะเปนการทำกระเปารีไซเคิลหรือแมแตธุรกิจ

อาหารเปนตน หรือกลุม micro-finance ระดับ SMEs ที่มีผลกระทบในเชิงบวกตอสังคมสูงในอินเดีย

Bamboo Finance เองเปนสถาบันการเงินที่เชื่อมโยงกับกลุม Blue Orchard ซึ่งเปนกองทุนที่ไปลงทุนในกองทุน

ยอยๆที่เนนการแกไขปญหาความยากจนในระดับรากหญาโดยรากหญาเองผาน micro finance institutions

(MFIs) ทั่วโลกและมีเงินบริหารจัดการในกองทุนทั้งหมดกวาสองรอยลานเหรียญสหรัฐ

อีกกลุมหนึ่งซึ่งมีความนาสนใจมากก็คือ ResponsAbility ซึ่งเปนสถาบันการเงินที่ลงทุนเพื่อสังคมแบบไมใหเปลา

ผานเครื่องทางการเงินที่หลากหลายมาก ไมวาจะเปนการตั้งกองทุนตางๆ การทำ private equity การออก

bond-like instrument ฯลฯ สิ่งที่นาสนใจอยางยิ่งยวดของ ResponsAbility ก็คือธุรกิจจัดการดานการลงทุนเพื่อ

สังคมของสถาบันการเงินในสวิสฯ ซึ่งยอมมีลูกคาทั้งในเชิงลูกคาสถาบันและผูมีมูลคาทรัพยสินมาก (High net-

worth individuals -HNWIs) ที่ตองการลงทุนโดยตรงกับกิจการเพื่อสังคมในลักษณะตางๆ ไมวาจะเปนในประเด็น

micro-finance / micro-social venture capital ความยากจน หรือแมแตสื่อเสรีก็ตาม โดยสามารถที่จะให

บริการในการพัฒนาเครื่องมือการลงทุนที่หลากหลายและเหมาะสมกับความตองการและลักษณะการลงทุนของ

ลูกคาได โดย ResponsAbility นั้นมีจำนวนมูลคาการจัดการการลงทุนเพื่อสังคมรวมถึงกวา 500 ลานเหรียญ

สหรัฐ

กระแสการลงทุนเพื่อสังคมแบบไมใหเปลานั้น แมจะเปนเงินที่มีดอกเบี้ยหรือมีตองมีผลตอบแทน แตก็มักจะมี

อัตราต่ำกวาตลาดเสมอ เพราะเปนตลาดการลงทุนที่ไมไดมุงหวังผลตอบแทนเปนหลัก แตเนนผลทางสังคมและ

สิ่งแวดลอมเปนสำคัญ นักลงทุนในตลาดนี้จึงมักเปนนักลงทุนสถาบันและผูมีมูลคาสินทรัพยสูงที่ตองการแบงสวน

หนึ่งของ portfolio ตนเองมาลงทุนเฉพาะสวนเพื่อแสดงความรับผิดชอบตอสังคมและสิ่งแวดลอม ซึ่งเปนตลาด

การลงทุนที่เติบโตรวดเร็วมากที่สุดตลาดหนึ่ง โดยการศึกษาลาสุดของ European Social Investment Forum

(EUROSIF) รวมกับ Bank Sarasin และ KPMG นั้นคาดการณวาตลาดการลงทุนเพื่อความยั่งยืนโดยผูมีมูลคา

ทรัพยสินมากในยุโรป (HNWIs) จะขยายจาก 8% ของ portfolio การลงทุนในปจจุบันไปเปน 12% ในป 2012 ซึ่ง

จะรวมแลวมากกวา 1 ลานลานยูโร

ผมเชื่อวาแนวทางการลงทุนเพื่อสังคมเชิงนวัตกรรมทั้งในลักษณะใหเปลาและไมใหเปลาทั้งหลายที่กำลังผุด

บังเกิดขึ้นในประเทศสวิสเซอรแลนดนั้นแมจะเปนเรื่องใหมมาก แตก็เริ่มเกิดขึ้นอยางเปนกิจลักษณะแลวใน

สหรัฐอเมริกา อังกฤษ หรือแมแตในอินเดีย และภูมิภาคของเราไมวาจะเปนในฮองกงหรือสิงคโปรก็ตาม ใน

ประเทศไทยนั้นทีมงานของ Change Fusion ไดเริ่มพูดคุย และคอยๆพัฒนาความรวมมือกับสถาบันการเงินและผู

เชี่ยวชาญจากวงการวาณิชยธนกิจจำนวนหนึ่งและมีความเชื่ออยางยิ่งวาการลงทุนเพื่อสังคมในลักษณะดังกลาว

นาจะเกิดขึ้นในประเทศไทยไดในเวลาอันไมนาน ทั้งที่มีที่มาของเงินลงทุนจากในประเทศเองและตางประเทศ

นวัตกรรมการลงทุนเพื่อสังคมยอมจะนำไปสูการเกิดขึ้นขององคกรเพื่อสังคมใหมๆ โดยเฉพาะองคกรในลักษณะที่

เรียกวากิจการเพื่อสังคมและสิ่งแวดลอมซึ่งอาจจะกลายเปนกำลังสำคัญยิ่งในการเชื่อมโยงวิธีคิดและวิธีทำงานที่

Page 5: อนาคตการลงทุนเพื่อสังคมอย่างยั่งยืนของไทย บทเรียนจากสวิสฯ

ดีที่สุดของทั้งโลกของธุรกิจและองคกรพัฒนาเอกชนเขาดวยกัน จนอาจเปนเครื่องมือใหมที่จะชวยทำให

ประเทศไทยและโลกเกิดการพัฒนาที่ยั่งยืนมากขึ้นไดอยางกวางขวาง อีกสิ่งหนึ่งที่สำคัญก็คือบทบาทที่เขมแข็ง

ขึ้นของกลุมการลงทุนเพื่อสังคมที่มาจากภาคเอกชนและประชาชน ซึ่งยอมตอบสนองความตองการของสังคมได

อยางมีประสิทธิภาพ มีความหลากหลายไดมากขึ้น และหากสามารถเติบโตไดพอสมควรก็จะทำใหโครงสรางทุน

ในภาคการพัฒนานั้นเปนอิสระมากขึ้นตอความซับซอนทางการเมืองที่กองทุนตางๆของรัฐประสบอยูตลอดเวลา

แนนอนวากอนจะถึงวันนั้นประเทศไทยเองก็จำเปนตองเกิดความรวมมือระหวางภาคการเงินการลงทุน วิชาการ

และภาคประชาสังคมในการสรางองคความรูและตนแบบการลงทุนเพื่อสังคมในลักษณะดังกลาว สุดทายนี้ผม

หวังวาเรื่องเลาจากสวิสฯนี้นาจะเปนประโยชนกับผูที่สนใจการพัฒนาที่ยั่งยืน โดยเฉพาะในดานการเงินการลงทุน

เพื่อนวัตกรรมทางสังคมบางไมมากก็นอย