บทความวิชาการ ประชุม ปอมท. 2550 (หน้า249 274)...

26
249 บทคัดยอ การดูแลสุขภาพโดยวิธีการยางไฟกระทำโดยหมอพื้นบาน หรือผูมีความรูและประสบการณเรื่องการยางไฟ ซึ่งไดรับ การถายทอดการยางไฟจากบรรพบุรุษ มีอุปกรณที่ใชในการยางไฟ ไดแก แครไมไผ สมุนไพร 6 ชนิด (เปลาใหญ หนาด พลับพลึง กระดูกสัตว ขี้หมาขาว และไมแดง) และผาหม โดยมีญาติหรือเพื่อนบานชวยกันหามา ในการยางไฟแตละครั้งใช ระยะเวลาประมาณ 3 วัน มีญาติพี่นองของผูปวยมาชวยเติมไฟและคอยเปลี่ยนสมุนไพร คำสำคัญ : การยางไฟ การดูแลสุขภาพ Abstract The Yang Fei was a traditional healthcare provided by local healers. The Yang Fei was a treatment for patients having car or motorcycle accidents, including falling down. The healers were taught by their forefathers as a local tradition or culture. The equipment used for the Yang Fei was a litter bamboo, medicinal plants of 6 species (Croton oblongifolius Roxb., Blumea balsamifera ( L.) DC., Crinum asiaticum Linn., Bone, Kemakao and Xylia xylocarpa Taub.var.) and a blanket, provided by relatives or neighbours. The duration for the Yang Fei was 3 days, and medicinal plants and fire were changed by their relatives. Keywords : The Yang Fei, Healthcare (or health-care) บทนำ การดูแลสุขภาพเปนสวนหนึ่งของประเพณีและวัฒนธรรม ที่ดำรงอยูในวิถีชีวิตของคนไทยมาเปนเวลาชานาน การดูแลสุขภาพเกิดจากความรู ประสบการณ แนวคิดที่สังคมหรือชุมชนไดถายทอดสืบตอกันมา มนุษยในสมัยโบราณยังไมมี ความรูทางดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีที่กาวหนาเทาในปจจุบัน การจะดำรงชีวิตใหอยูรอดจึงตองอาศัยธรรมชาติและการ ปรับตัวใหเขากับธรรมชาติ ทำใหเกิดการนำเอาทรัพยากรที่มีอยูใกลตัวมาใชประโยชนในดานตาง เพื่อเอื้อเฟอตอการดำรง ชีวิตอยู การดูแลสุขภาพคือการดูแลรักษาสุขภาพแบบดั้งเดิม ไมวาจะเปนการแพทยพื้นบาน การดูแลสุขภาพทางกายหรือทาง ใจ มีการนำเอาทรัพยากรตาง ในทองถิ่นนั้น มาใชจนสั่งสมเปนประสบการณและพัฒนาใหมีคุณภาพยิ่งขึ้น ตกทอดกันมา จนถึงปจจุบัน เชน การอาบน้ำสมุนไพร การอยูไฟ การอบสมุนไพร การเขากระโจม และการยางไฟ เปนตน ประชาชนชาวอีสานโดยเฉพาะในเขตจังหวัดมหาสารคาม รอยเอ็ด ขอนแกน และกาฬสินธุ มีการดูแลสุขภาพผูปวย ที่ประสบอุบัติจากรถยนต รถจักรยานยนต หกลม และตกจากที่สูงโดยวิธียางไฟมานานแลว พอใหญ คำกอง ทาบรรหาร [1] กลาวถึงการยางไฟวาเปนการดูแลสุขภาพแบบดั้งเดิม มีมาตั้งแตปู ยา ตา ยาย ถือวาเปนวิธีการที่บรรพบุรุษสืบทอดไวใหลูกหลาน ซึ่งถือวาเปนประเพณีและวัฒนธรรมไปแลว เพราะเมื่อลูกหลานประสบ

Upload: -

Post on 22-Jan-2017

186 views

Category:

Education


1 download

TRANSCRIPT

Page 1: บทความวิชาการ ประชุม ปอมท. 2550  (หน้า249 274) 2

249

บทคัดยอ การดูแลสุขภาพโดยวิธีการยางไฟกระทำโดยหมอพื้นบาน หรือผูมีความรูและประสบการณเรื่องการยางไฟ ซึ่งไดรับการถายทอดการยางไฟจากบรรพบุรุษ มีอุปกรณที่ใชในการยางไฟ ไดแก แครไมไผ สมุนไพร 6 ชนิด (เปลาใหญ หนาด พลับพลึง กระดูกสัตว ขี้หมาขาว และไมแดง) และผาหม โดยมีญาติหรือเพื่อนบานชวยกันหามา ในการยางไฟแตละครั้งใชระยะเวลาประมาณ 3 วัน มีญาติพี่นองของผูปวยมาชวยเติมไฟและคอยเปลี่ยนสมุนไพร

คำสำคัญ : การยางไฟ การดูแลสุขภาพ

Abstract The Yang Fei was a traditional healthcare provided by local healers. The Yang Fei was a treatment for patients having car or motorcycle accidents, including falling down. The healers were taught by their forefathers as a local tradition or culture. The equipment used for the Yang Fei was a litter bamboo, medicinal plants of 6 species (Croton oblongifolius Roxb., Blumea balsamifera ( L.) DC., Crinum asiaticum Linn., Bone, Kemakao and Xylia

xylocarpa Taub.var.) and a blanket, provided by relatives or neighbours. The duration for the Yang Fei was 3 days, and medicinal plants and fire were changed by their relatives.

Keywords : The Yang Fei, Healthcare (or health-care)

บทนำ การดูแลสุขภาพเปนสวนหนึ่งของประเพณีและวัฒนธรรม ที่ดำรงอยูในวิถีชีวิตของคนไทยมาเปนเวลาชานาน การดูแลสุขภาพเกิดจากความรู ประสบการณ แนวคิดที่สังคมหรือชุมชนไดถายทอดสืบตอกันมา มนุษยในสมัยโบราณยังไมมีความรูทางดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีที่กาวหนาเทาในปจจุบัน การจะดำรงชีวิตใหอยูรอดจึงตองอาศัยธรรมชาติและการปรับตัวใหเขากับธรรมชาติ ทำใหเกิดการนำเอาทรัพยากรที่มีอยูใกลตัวมาใชประโยชนในดานตาง ๆ เพื่อเอื้อเฟอตอการดำรง

ชีวิตอยู การดูแลสุขภาพคือการดูแลรักษาสุขภาพแบบดั้งเดิม ไมวาจะเปนการแพทยพื้นบาน การดูแลสุขภาพทางกายหรือทางใจ มีการนำเอาทรัพยากรตาง ๆ ในทองถิ่นนั้น ๆ มาใชจนสั่งสมเปนประสบการณและพัฒนาใหมีคุณภาพยิ่งขึ้น ตกทอดกันมาจนถึงปจจุบัน เชน การอาบน้ำสมุนไพร การอยูไฟ การอบสมุนไพร การเขากระโจม และการยางไฟ เปนตน

ประชาชนชาวอีสานโดยเฉพาะในเขตจังหวัดมหาสารคาม รอยเอ็ด ขอนแกน และกาฬสินธุ มีการดูแลสุขภาพผูปวยที่ประสบอุบัติจากรถยนต รถจักรยานยนต หกลม และตกจากที่สูงโดยวิธียางไฟมานานแลว

พอใหญ คำกอง ทาบรรหาร [1] กลาวถึงการยางไฟวาเปนการดูแลสุขภาพแบบดั้งเดิม มีมาตั้งแตปู ยา ตา ยาย ถือวาเปนวิธีการที่บรรพบุรุษสืบทอดไวใหลูกหลาน ซึ่งถือวาเปนประเพณีและวัฒนธรรมไปแลว เพราะเมื่อลูกหลานประสบ

Page 2: บทความวิชาการ ประชุม ปอมท. 2550  (หน้า249 274) 2

250

อุบัติเหตุ ไมวาจะเปน รถคว่ำ ตกจักรยาน ตกตนไม ตกบาน ตกบันได หกลม และโดยสาเหตุอื่น ๆ ทุกคนจะตองไดรับการรักษาโดยวิธีการยางไฟกันทุกคน เพราะเชื่อวาจะทำใหเลือดไมตกคางในตัว ชวยใหเลือดกระจายตัวไมเปนกอน และบางรายอาจมีการใหกินเหลาขาวผสมน้ำตาลรวมดวย พอใหญ วัน อาสาพนม [2] เปนอีกผูหนึ่งที่ไดกลาวถึงการดูแลสุขภาพโดยวิธีการยางไฟวา ตั้งแตจำความได ก็พบวา การยางไฟใชรักษาผูปวยที่ไดรับอุบัติเหตุ ซึ่งในสมัยกอนเปนการเกิดอุบัติเหตุที่เกิดจากการตกจากที่สูง เชน ตกตนไม ตกบันได จะตองไดรับการรักษาโดยวิธีการยางไฟเหมือนกัน ซึ่งการยางไฟแตละครั้ง จะตองประกอบดวยสมุนไพรทั้งหมด 6 ชนิด บางครั้งอาจจะขาดสมุนไพรบางตัว ขาดตัวใดตัวหนึ่งบางก็ไมเปนไร เพราะสรรพคุณรวมทั้งหมดคือเพื่อใหเกิดการกระจายตัวของเลือด ทำใหเลือดไมแข็งตัว ลดอาการฟกช้ำ ดำเขียว และลดอาการปวดบวม ปจจุบันนี้ การยางไฟอาจมีการเปลี่ยนแปลงจากเดิมตามวิถีชีวิตที่เปลี่ยนไป

หมอพื้นบานผูทำการรักษาโดยวิธีการยางไฟ จงกล พูลสวัสดิ์ [3] ไดศึกษาการดูแลสุขภาพโดยวิธีการยางไฟของประชาชนชาวกมลาไสย จังหวัดกาฬสินธุ พบวา หมอพื้นบานผูทำการรักษาคือแมใหญจันทร ประชุมแสง อายุ 84 ป เปนหมาย มีลูก 7 คน การศึกษาชั้นประถมศึกษาปที่ 4 อาชีพทำนา อยูบานเลขที่ 129 หมูที่ 16 ตำบลกมลาไสย อำเภอกมลาไสย จังหวัดกาฬสินธุ แมใหญจันทร ไดทำการรักษา ผูปวยที่ประสบอุบัติเหตุจากรถจักรยานยนต รถยนต หกลม ตกจากที่สูง มาเปนเวลา 25 ป แมใหญจันทรไดรับการถายทอดการยางไฟจากบรรพบุรุษ ทรงศักดิ์ สอนจอย [4] ไดศึกษาการยางไฟภูมิปญญาการรักษาตนเองดวยวิธีพื้นบานของชาวอีสาน พบวา ผูทำการรักษามี 3 กลุม กลุมแรกเปนชาวบานกลุมผูรู สวนใหญเปนหมอพื้นบานและผูนำทางศาสนา อายุตั้งแต 60 ปขึ้นไป เคยรวมในพิธีกรรมและถูกเชิญใหเขารวมในกระบวนการยางไฟ กลุมที่สองเปนชาวบานทั่วไปกลุมผูสูงอายุที่มีอายุตั้งแต 50 ปขึ้นไปและมีประสบการณการรักษาดวยวิธีการยางไฟ กลุมที่สามเปนกลุมแมบานและพอบานหรือผูมีประสบการณการรักษาดวยวิธีการยางไฟที่มีอายุตั้งแต 20 – 49 ป

ผูปวยที่รับการรักษาโดยวิธีการยางไฟ ผูปวยที่รับการรักษาโดยวิธีการยางไฟสวนใหญเปนผูปวยที่ประสบอุบัติจากรถยนต รถจักรยานยนต หกลม และตกจากที่สูง

องคความรูการยางไฟ แมใหญจันทร ประชุมแสง [5] ไดกลาววา เริ่มจากการไหวครู โดยที่คาไหวครูจะเริ่มตั้งแต 2 บาทขึ้นไป พรอมกับดอกไมและเทียน จะทำแบบนี้กับผูปวยที่อาการหนัก สำหรับผูปวยที่อาการไมหนักมากก็จะทำการยางไฟอยางเดียว แมใหญไมเคยเรียกรองเอาเงินกับผูปวย เปนการชวยเหลือดวยความเต็มใจ ในสวนของการยางไฟ แมใหญจันทร ไดพูดถึงการยางไฟรักษาผูปวยที่ประสบอุบัติเหตุวาเปนการสืบทอดกันมาตั้งแต

บรรพบุรุษ ตั้งแตจำความไดก็เห็นการรักษาแบบนี้แลว ทำสืบตอกันมาจนเกิดเปนประเพณี เพราะเกือบทุกคนในบานจะทำการยางไฟทั้งหมด ถาเกิดอุบัติเหตุขึ้นก็จะมีการเตรียมอุปกรณและการเตรียมสมุนไพรเพื่อทำการยางใหผูปวยในบาน ถึงแมวาอุปกรณในบานจะไมมี แตก็มีญาติหรือเพื่อนบานชวยกันจัดหามา บางครั้งเจาของบานเตรียมแครยังไมเสร็จ ชาวบานก็หาสมุนไพรมาเต็มแครแลว ซึ่งถือไดวาเปนการเกื้อกูลกันในชุมชนและเปนการรวมตัวกันของญาติเพื่อใหกำลังใจผูปวย

อุปกรณในการยางไฟ 1. แครไมไผ 2. สมุนไพร แมใหญจันทร [5] ไดพูดถึงสมุนไพรที่นำมาใชทำการยางไฟทั้ง 6 ชนิด ดังนี้

- ใบเปลาใหญ สรรพคุณ ลดอาการชอกช้ำ ลดปวด

Page 3: บทความวิชาการ ประชุม ปอมท. 2550  (หน้า249 274) 2

251

- ใบหนาด สรรพคุณ ชวยระบบไหลเวียนเลือดใหดีขึ้น - ใบพลับพลึง สรรพคุณ แกอาการเคล็ด ขัด ยอก ฟกช้ำ - กระดูกสัตว (วัว, ควาย) สรรพคุณ บำรุงกระดูก - ขี้หมาขาว สรรพคุณ กระจายเลือดลม - ไมแดง สรรพคุณ บำรุงเลือด กระจายเลือดลม 3. ผาหม สมุนไพรบางชนิดหาไมไดในทองถิ่น การยางไฟในแตละครั้งสมุนไพรอาจจะไมครบทุกตัวก็ได สรรพคุณทั้งหมดของสมุนไพรไมไดพิสูจน หรือหาขอมูลทางวิทยาศาสตรเพิ่มเติม เนื่องจากทำติดตอกันมานาน และเปนผลดีตอสุขภาพ ทุก ๆ คนพอใจกับการยางไฟ อาจจะมีบางที่มีเด็ก ๆ รุนใหมยังไมเขาใจ หรือไมไดทำการศึกษาอยางถองแท ก็จะเห็นวาเปนเรื่องที่ลาหลัง เพราะสมัยนี้เจ็บปวยก็เขาโรงพยาบาลกันหมด แตถานอนโรงพยาบาลเย็บแผลเสร็จก็กลับมายางไฟตอที่บาน ในสวนของขี้หมาขาวแมใหญจันทร [5] ไดกลาววาเปนตัวยาที่หายากที่สุด แตก็ยังพอหาไดอยู ใชกันตามพอแม โดยไมไดถามกันวาขี้หมาขาวเปนตนไมหรือไม แตที่ทำมาติดตอกันก็คือการไปเก็บเอามูลของสุนัขที่เปนกอนเล็ก ๆ สีขาวเอาไปเผาไฟจะทำใหไมมีกลิ่นเหม็น ทายที่สุดแมใหญจันทรไดบอกวา สมุนไพรทั้งหมดที่ใชถึงแมจะไมไดมีการพิสูจนวาใชไดจริงหรือไมจริง แตก็มีการใชติดตอกันเปนเวลายาวนาน และเปนที่ยอมรับก็เลยใชสืบตอกันมาจนถึงปจจุบัน

ขั้นตอนการทำการยาง นำแครไมไผมาตั้งในบริเวณที่อากาศถายเทไดสะดวก กอไฟใตแคร ในสมัยกอนชาวบานจะใชฟนไมแดงเปนฟน แตปจจุบันนี้ไมแดงหายากจึงใชไมอะไรแทนก็ได ที่หาไดงายในทองถิ่นเติมไฟใหพออุนอยูตลอดเวลา โดยจะมีผูที่คอยดูแลไฟใหตลอดเวลาที่ทำการยาง อาจจะเปนญาติหรือผูใกลชิดที่เคารพนับถือที่แวะมาเยี่ยมผูปวย เชื้อไฟที่เติมนอกจากจะใชฟนแลว (ไมแดง) ยังมีใบหนาด ขี้หมาขาว และกระดูกสัตว (วัว, ควาย) เติมจนไฟพอเหมาะ เอาสมุนไพร ซึ่งประกอบดวยใบเปลาใหญ ใบพลับพลึง วางบนแครไมไผ จากนั้นใหผูปวยขึ้นไปนอนบนแครไมไผ โดยใหผูปวยสวมเสื้อผาเนื้อหยาบ และใชผาหม ๆ ทับลงไป การยางในแตละครั้ง จะมีผูที่เปนญาติพี่นองมาชวยเติมไฟและควบคุมไฟใหตลอดเวลา และคอยเปลี่ยนสมุนไพรบนแครให ผูปวยจะไมไดยางไฟอยูคนเดียว จะมีคนเฝาที่เปนญาติพี่นองคอยถามอาการอยูตลอดวาปวดตรงไหนก็จะใหพลิกดานที่ปวดยางไฟ และคอยชวยพลิกตัวผูปวยดานขาง ดานหลัง รวมทั้งอวัยวะตาง ๆ ใหถูกความรอน ผูที่ชวยควบคุมไฟก็จะชวยดูแลไมใหเกิดความรอนมากเกินไปและเย็นจนเกินไป และยังตองดูแลไมใหเกิดควันมากเกินไป จำนวนวันที่จะทำการยางไฟ ผูปวยจะขึ้นอยูกับอาการของผูปวยวาเปนมากนอยแคไหน จากนั้นก็จะผลัดเปลี่ยนผูดูแลผูปวยในแตละวัน แตถาผูมีอาการหนักมากก็จะมีญาติดูแลอยางใกลชิด และมีกำหนดยางไฟเปนเวลา 3 วัน แตถาอาการเล็กนอยก็จะทำการยางแค 1 – 2 วัน วันละ 2 ครั้ง เชา - เย็น ขั้นตอนการยางไฟและขั้นตอนการเตรียมอุปกรณไมยุงยาก เนื่องจากชาวบานจะคอยชวยเหลือกันตลอดเวลา

บทสรุป 1. การยางไฟ เปนการดูแลสุขภาพแบบดั้งเดิมโดยหมอพื้นบาน หรือผูมีความรูและประสบการณเรื่องการยางไฟ จะใชรักษาผูปวยที่ประสบอุบัติเหตุจากรถยนต รถจักรยานยนต หกลม และตกจากที่สูง ไดรับการถายทอดจากบรรพบุรุษ

ซึ่งถือวาเปนประเพณีและวัฒนธรรมของทองถิ่น [3, 4] 2. องคความรูดานการยางไฟ ประกอบดวย หมอพื้นบานหรือผูมีความรูและประสบการณเรื่องการยางไฟ ผูปวยที่ประสบอุบัติเหตุจากรถยนต รถจักรยานยนต หกลม และตกจากที่สูง และอุปกรณในการยางไฟ ซึ่งประกอบดวย แครไมไผ

สมุนไพร และผาหม [3, 4] 3. การยางไฟเปนการรักษาผูปวยที่อยูในภาวะเสี่ยงอันตราย คนที่เขาสูกระบวนการรักษาจะตองมีความเชื่อ

และเชื่อมั่นในกระบวนการรักษา รวมถึงตองมีความรูดวยเชนกัน โดยสิ่งตาง ๆ เหลานี้สวนใหญจะไดจากความคิดและ

Page 4: บทความวิชาการ ประชุม ปอมท. 2550  (หน้า249 274) 2

252

ประสบการณจากบรรพบุรุษที่เลาและบอกตอกันมา และประสบการณที่เกิดขึ้นกับตนเองหรือเครือญาติที่ทำใหเกิดความเชื่อมั่นในประสิทธิภาพการรักษา โดยเฉพาะในสวนของความรูเกี่ยวกับกระบวนการรักษาใหญซึ่งมีทั้งสวนที่เปนรูปธรรมและนามธรรม ในรูปธรรม เชน ความรูเกี่ยวกับการเลือกใชสมุนไพร สรรพคุณสมุนไพรในการรักษาโรค ความรูในวัสดุอุปกรณที่ใชในการรักษา การวินิจฉัยอาการ และรูปแบบของการรักษาพยาบาล สวนนามธรรม เชน ความเชื่อที่แสดงผานพิธีกรรมตาง ๆ เปนตน [4]

ขอเสนอแนะ ขอเสนอแนะในการนำบทความวิชาการไปใชประโยชน ในการยางไฟจะใชรักษาผูปวยที่ผูประสบอุบัติเหตุจากรถยนตรถจักรยานยนต หกลม และตกจากที่สูงเพื่อรักษาผูปวย ที่มีอาการไมหนักมาก เชน ถลอก ฟกช้ำ แตถาผูปวยอาการหนักตองเขารับการรักษาจากโรงพยาบาลกอน ผูทำการรักษาควรเปนหมอพื้นบาน หรือผูมีความรูและประสบการณเรื่องการยางไฟเทานั้น

เอกสารอางอิง [1] พอใหญ คำกอง ทาบรรหาร. 2549. สัมภาษณ. วันที่ 18 กุมภาพันธ 2549. ที่อยู หมูที่ 16 ตำบลกลมลไสย อำเภอกมลาไสย จังหวัดกาฬสินธุ.

[2] พอใหญ วัน อาสาพนม. 2549. สัมภาษณ. วันที่ 18 กุมภาพันธ 2549. ที่อยู หมูที่ 16 ตำบลกลมลาไสย อำเภอกมลาไสย จังหวัดกาฬสินธุ.

[3] จงกล พูลสวัสดิ์. 2550. “การดูแลสุขภาพโดยวิธีการยางไฟ : กรณีศึกษาประชาชนตำบลกมลาไสย อำเภอกมลาไสย จังหวัดกาฬสินธุ”. Proceedings of the Thirtieth Annual Conference of the Anatomy Society of Thailand. คณะแพทยศาสตร และคณะสัตวแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม รวมกับสมาคม

กายวิภาคศาสตร (ประเทศไทย), หนา 129 – 135. [4] ทรงศักดิ์ สอนจอย. 2548. การยางไฟ : ภูมิปญญาการรักษาตนเองดวยวิธีพื้นบานของชาวอีสาน.

วิทยานิพนธปริญญาโท, มหาวิทยาลัยขอนแกน. ขอนแกน. [5] แมใหญจันทร ประชุมแสง. 2549. สัมภาษณ. วันที่ 18 กุมภาพันธ 2549. ที่อยู 129 หมูที่ 16 ตำบลกลมลไสย อำเภอกมลาไสย จังหวัดกาฬสินธุ.

Page 5: บทความวิชาการ ประชุม ปอมท. 2550  (หน้า249 274) 2

253

บทคัดยอ การแปลงสินทรัพยเปนทุน (ASSET CAPITALLIZATION) ถือเปนโครงการเพิ่มมูลคาในทรัพยสินจากปจจัยทุนเดิม โดยนำระบบกรรมสิทธิ์ (PROPERTY RIGHS) มาใชในการเพิ่มมูลคาสินทรัพยนั้นๆและนโยบายแปลงสินทรัพยเปนทุนเปนเพียงนโยบายเพิ่มรายจายเพื่อกระตุนเศรษฐกิจรากหญา ตะเกียบขาที่ 2 ของรัฐบาลไทย จากผลการศึกษาวิจัย พบวา โครงการแปลงสินทรัพยเปนทุน มีความกาวหนาในการดำเนินการลาชา โดยโครงการแปลงสินทรัพยเปนทุนไมสงผลกระทบตอการขยายตัวใหเกิดการลงทุนเพิ่ม(วิเคราะหจากตัวอยางและชวงที่ทำการศึกษา) กลุมผูเขาถึงแหลงเงินทุน คือ กลุมแมคา พอคา แผงลอย เจาของเดิม ระดับการจางงาน การเคลื่อนยายแรงงาน รายไดภาคครัวเรือน ไมมีการเปลี่ยนแปลง หนี้สินภาคครัวเรือนสำหรับผูรวมโครงการฯ เพิ่มสูงขึ้น ระบบทุนนิยม (CAPITALISM) พัฒนากาวหนาในประเทศตะวันตก แตสำหรับ

ประเทศดอยพัฒนา เมื่อนำนโยบายออกมาประกาศใชแลวก็ไมประสบผลสำเร็จ อันเนื่องมาจากความสำคัญที่จะนำไปสูความสำเร็จ และกาวหนาในการแกไขปญหาความยากจน คือ สถาบันการเมืองและระบบกรรมสิทธิ์ในทรัพยสิน มีความบกพรองในเชิง

กฎหมายและทางการเมืองรวมทั้งการนำไปปฏิบัติของเจาหนาที่รัฐโดยการเลือกปฏิบัตินอกจากนั้น วิทยาศาสตรและเทคโนโลยียังมีความสำคัญตอการแกไขปญหาความยากจนในยุกตปจจุบัน

Abstract Asset Capitalization is a government issue intended to boost value in assets from an original capital using property rights in increasing values of any asset. Asset Capitalization Policy aims to increase expenses in order to encourage the root grass economic which is the second chop stick of current Thai government. According to samples

analysis and research in the study pace, the study revealed that Asset Capitalization Policy has been progressed slowly because the project has not influenced to increase any investment. The groups that can access capital sources are tradeswomen, tradesmen, stand-retailers and original owners. There is no change in the levels of employment, labor displacement and family incomes. The debts of families have been increasing in particular the participating families the project. Even though the capitalism has been advanced in the West, it is not helpful to be applied in

underdeveloped countries. Therefore, the policy was declared to be used, but it cannot succeed. The results showed that the political institutes and property right systems deficit in laws and political including the following rules of the

Page 6: บทความวิชาการ ประชุม ปอมท. 2550  (หน้า249 274) 2

254

officials’ performance causing unsuccessful and undeveloped in solving poverty of population. Moreover, Science and Technology are essential factors to carry out the poverty of population as well.

บทนำ ทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี : แถลงนโยบายตอภา (23 มีนาคม 2548) เรื่อง นโยบายขจัดความยากจนของรัฐบาล จะดำเนินนโยบาย และมาตรการในการขจัดความยากจนของประเทศใหหมดไป โดยปรับปรุงระบบการบริหารจัดการทั้งระบบเชื่อมโยงกับการแกไขปญหาความยากจนทุกระดับ จึงไดมีนโยบายการแปลงสินทรัพยเปนทุนตามแนวคิดของ Hernando de Soto นักเศรษฐศาสตรชาวเปรูจากผลงานเรื่อง The mystery of capital : Why capitalism Triumphs in the west and fails Everywhere Else ผูสรางความสนใจอยางกวางในสังคมไทย The mystery of capital ระบบทุนนิยมใชไดเฉพาะประเทศที่พัฒนาแลวสำหรับประเทศดอยพัฒนา กอใหเกิดวิกฤติและความวุนวายทางสังคมอยูทั่วไป เพราะคนจนไมสามารถเขาถึงแหลงทุนไดขบวนโลกาภิวัฒน (Globalization) ไมชวยคนจนไดเพราะเปนการเปดโลกและสรางเครือขายใหเฉพาะคนสวนนอยที่มั่งคลั่งเทานั้นการประทวงจึงเกิดขึ้นในประเทศดอยพัฒนา เพื่อเปนการแสดงถึงความไมพอใจที่คนสวนใหญใชในปจจุบัน การแปลงสินทรัพยที่ประชาชนครอบครองอยูเดิมโดยไมมีกรรมสิทธิ์ใหมีกรรมสิทธิ์รวมถึงการแปลงทรัพยสินที่เกิดจากการคิดคนของมนุษยที่ไมสามารถจับตองไดแตความคิดนั้นนำไปสูกระบวนการประดิษฐเปนผลิตภัณฑ โดยไดรับกรรมสิทธิ์ อันเกิดจากความคิดคนนั้น หากนำไปประเมินคาสงผลใหเกิดมูลคาเพิ่มตามเอกสารสิทธิ กรรมสิทธิ์ เพื่อใชเปนหลักทรัพยค้ำประกันกูเงินจากแหลงเงินทุนตามนโยบายรัฐ จากความสำคัญดังกลาวจึงจำเปนอยางยิ่งที่จะตองวิเคราะหผลกระทบอันเนื่องมาจากนโยบายแปลงสินทรัพยเปนทุน : กรณีศึกษาจังหวัดอุบลราชธานี เพื่อหาคาตัวทวีตามทฤษฏีของเคนส (Keynes) อันเกิดจากนโยบายแปลงสินทรัพยเปนทุน การเพิ่มขึ้นของการลงทุน /รัฐบาลมีงบประมาณรายจาย เพิ่มขึ้น จะทำใหหนวยธุรกิจภาคครัวเรือนลงทุนเพิ่ม-ลดอยางไร Y= C+S (2.1) โดย Y = Income C = Consumption S= Saving

วิธีการดำเนินการวิจัย การศึกษาวิจัย วิเคราะหผลกระทบอันเนื่องมาจากการใชนโยบายแปลงสินทรัพยเปนทุน กรณีศึกษา จังหวัดอุบลราชธานี เปนการศึกษาตัวทวี เพื่อหาความสัมพันธของตัวแปรเชิงสาเหตุ ที่สงผลกระทบโดยตรงตอตัวแปรผล อันเนื่องมาจากโครงการตามนโยบายแปลงสินทรัพยเปนทุนใน เรื่องดังตอไปนี้

1) การขยายตัวการลงทุนจากตัวทวี อันเนื่องมาจากโครงการตามนโยบายการแปลงสินทรัพยเปนทุน 2) กลุมผูเขาถึงแหลงเงินทุน อันเนื่องจากโครงการตามนโยบายการแปลงสินทรัพยเปนทุน 3) การจางงานเพิ่มขึ้น อันเนื่องมาจากโครงการตามนโยบายการแปลงสินทรัพยเปนทุน 4) การจางงานลดลง อันเนื่องมาจากโครงการตามนโยบายการแปลงสินทรัพยเปนทุน 5) รายไดภาคครัวเรือนเพิ่มขึ้น อันเนื่องจากโครงการตามนโยบายการแปลงสินทรัพยเปนทุน 6) รายไดภาคครัวเรือนลดลง อันเนื่องจากโครงการตามนโยบายการแปลงสินทรัพยเปนทุน 7) หนี้สินภาคครัวเรือนเพิ่มขึ้น อันเนื่องจากโครงการตามนโยบายการแปลงสินทรัพยเปนทุน 8) หนี้สินภาคครัวเรือนลดลง อันเนื่องจากโครงการตามนโยบายการแปลงสินทรัพยเปนทุน

9) การเคลื่อนยายแรง อันเนื่องมาจากโครงการตามนโยบายการแปลงสินทรัพยเปนทุน การศึกษาวิจัยนี้ ผูวิจัยไดนำแบบจำลอง (Model) ในทางเศรษฐศาสตร เปนกรอบวิเคราะหเริ่มตนจากแนวความคิด(Conceptual Framework) ของ เฮอนานโด เดอโซโต นักเศรษฐศาสตรชาวเปรู ในเรื่องระบบกรรมสิทธิ์ และ นำกรอบทฤษฎี Franco Modigliani : (Theory) life-cycle Theory and Permanent-income theory (1985) โดยสาระของทฤษฎีตั้งสมมติฐานของพฤติกรรมการบริโภคในชวงเวลาใดเวลาหนึ่งขึ้นอยูกับรายได สวนทฤษฎี life-cycle Theory มีขอสมมติ

วาปจเจกบุคคลจะวางแผนการบริโภคและการออมระยะยาวไว เพื่อจัดการบริโภคของตัวเองในแนวทางที่ดีที่สุด และแนวทางที่จะเปนไปไดตลอดชวงชีวิตของเขา

Page 7: บทความวิชาการ ประชุม ปอมท. 2550  (หน้า249 274) 2

255

การออม (saving) เกิดจากการที่ ปจเจกบุคคลไมบริโภคในปจจุบัน โดยจะเก็บไวเพื่อเตรียมความพรอมในอนาคต ตามแนวคิดนี้ โครงสรางอายุของประชากรเปนตัวกำหนดที่สำคัญอยางหนึ่งของพฤติกรรมและการออม กลุมตัวอยางที่ใชในการวิจัยครั้งนี้เปนการเลือกแบบเจาะจงแบงออกเปน 2 กลุม 1. กลุมที่สมัครเขารวมโครงการแปลงสินทรัพยเปนทุนประเภทที่สาธารณะใน 2 กลุมตัวอยางประชาชนทั่วไปที่ยังไมเขารวมโครงการแปลงสินทรัพยเปนทุน การเก็บขอมูลในการวิจัยครั้งนี้ ผูวิจัยไดดำเนินการเก็บขอมูลในเชิงคุณภาพ คือ การสัมภาษณ ผูมีสวนไดเสีย สังเกต และเชิงประมาณโดยการสรางแบบสอบถาม ความเขาใจในเรื่องผลกระทบอันเนื่องมาจากนโยบายแปลงสินทรัพยเปนทุนแบงคำถามออกเปน 4 ตอน ตารางที่ 1 กรอบแนวทางการวิเคราะหขอมูลในเชิงคุณภาพ

ผลการวิเคราะหขอมูล (The result of data Analysis) การศึกษาวิจัย วิเคราะหผลกระทบจากการใชนโยบายแปลงสินทรัพยเปนทุน กรณีศึกษา จังหวัดอุบลราชธานี เปนการศึกษาตัวทวี เพื่อหาความสัมพันธของตัวแปรเชิงสาเหตุ ที่สงผลกระทบโดยตรงตอตัวแปรตาม อันเนื่องมาจากนโยบายแปลงสินทรัพยเปนทุนใน การวิเคราะหผลตอบแทนจากการลงทุนอิสระ จากสูตร

โดยที่

Page 8: บทความวิชาการ ประชุม ปอมท. 2550  (หน้า249 274) 2

256

และ

ตารางที่ 2 วิเคราะหรายไดจากการขายกลวยฉาบ

กรณีที่ 1 แสดงวา X1 เพิ่มขึ้น 1 หนวยโดยที่ X2 คงที่ Y จะเพิ่มขึ้น 0.3768 กรณีที่ 2 แสดงวา X2 เพิ่มขึ้น 1 หนวยโดยที่ X1 คงที่ Y จะเพิ่มขึ้น 0.0900 หรือ ตัวแปรอิสระไมสามารถอธิบายตัวแปรตามได และไมสามารถพยากรณผลได

ตารางที่ 3 วิเคราะหรายไดจาการขายลูกชิ้น

Page 9: บทความวิชาการ ประชุม ปอมท. 2550  (หน้า249 274) 2

257

ตารางที่ 4 วิเคราะหรายไดจาการขายตำสม

ตารางที่ 5 วิเคราะหรายไดจาการขายคอหมูยาง

สรุปผลการศึกษา วิจัย (Summary discussion and Recommendation) การศึกษาวิจัยวิเคราะหผลกระทบอันเนื่องมาจากโครงการตามนโยบายการแปลงสินทรัพยเปนทุนกรณีศึกษาจังหวัดอุบลราชธานีเปนการศึกษาวิจัยแบบผสมระหวางการวิจัยชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ พบวานโยบายการแปลงสินทรัพยเปนทุนสงผลกระทบ ตอการขยายตัวตอการลงทุนนอยมากจะเห็นไดจากรอบการหมุนของตัวทวี สำหรับกลุมผูเขาถึงแหลงเงินทุนจะเปนกลุมแมคาพอคาเดิม ระดับการจางงานคงที่รายไดภาคครัวเรือนเปลี่ยนแปลงนอยมาก หนี้สินภาคครัวเรือนเพิ่มขึ้นการ

เคลื่อนยายแรงงานคงที่เพราะเปนแรงงานในครัวเรือน นอกจากนั้นยังพบวากลุมผูเขารวมโครงการแปลงสินทรัพยเปนประเภทสาธารณะจะมีจำนวน 2 กลุมคือ กลุมที่มีปจจัยทุนเหลือเฟอ ไมประสงคจะกูยืมเงินจากแหลงเงินทุนเพียงแตตองการสิทธิในการครอบครองที่สารธารณะเทานั้น นอกจากจะไมกูเงินแลว บางคนยังเปนแหลงเงินทุนนอกระบบใหกับผูรวมโครงการรายอื่น

หรือประชาชนทั่วไปในชุมชน กลุมที่2 เปนกลุมคนจนโดยคนกลุมนี้ มีความประสงคจะกูเงินจากโครงการแปลงสินทรัพยเปนทุนและปจจุบันยังเปนหนี้แหลงเงินทุนคือ ธนาคารชุมชน กองทุนหมูบาน และที่สำคัญเปนหนี้นอกระบบ เสียดอกเบี้ยในอัตรารอยละ 48-200.- บาทตอป สงผลใหรายรับไมเพียงพอกับรายจาย

ขอเสนอแนะ นโยบายการแปลงสินทรัพยเปนทุนถือเปนตะเกียบขาที่ 2 ของรัฐบาลโดยมีวัตถุประสงคเพื่อเพิ่มรายจายภาครัฐและสรางโอกาสใหคนจนนำสิทธิกรรมสิทธิ์อันเกิดจากการครอบครองและสิทธิอันเกิดจากความคิดคนของมนุษยมาประเมินคาตาม

โครงการแปลงสินทรัพยเปนทุน จะนำไปสูความสำเร็จจะตองดำเนินการ ดังนี้

Page 10: บทความวิชาการ ประชุม ปอมท. 2550  (หน้า249 274) 2

258

1) แกไขพฤติกรรมสวนตัวของเจาหนาที่รัฐ เรื่องจริยธรรมในการทำงานโดยใหมองผลประโยชนสวนรวมของประชาชนผูยากจน ใหเปนไดรับประโยชนสูงสุดจากการแปลงสินทรัพยเปนทุน ภายใตกรอบกฎหมายที่เกี่ยวของในรูปบูรณาการ 2) แกไขระบบราชการโดยการปรับปรุงระเบียบ และกฎหมายตาง ๆ ใหสอดคลองกับทองถิ่นในแตละพื้นที่ตามสภาพความเปนจริงและในขณะเดียวกันก็ควรใหผูมีอำนาจจัดเจาหนาที่ใหความรูผูรวมโครงการแปลงสินทรัพยเปนทุนตามความถนัดและความสามารถของผูรวมโครงการแปลงสินทรัพยเปนทุนในแตละกลุมอยางตอเนื่อง พรอมสรุปผลความกาวหนาในการดำเนินการเปนรายเดือน หรือ ไตรมาส ตามแผนงาน 3) ปรับปรุงประสิทธิภาพของระบบราชการ รัฐวิสาหกิจ โดยใหจัดทำขั้นตอนการเขารวมโครงการแปลงสินทรัพยเปนทุนใหสั้นชัดเจนและนำเทคโนโลยีมาใชในการปฏิบัติงานอยางแทจริง 4) ควรเปดโอกาสใหคนทุกกลุมเขาถึงแหลงเงินทุน เชน ครัวเรือน ภาคการเกษตร การคา การบริการ สามารถเขาถึงแหลงเงินทุนได ภายใตกรอบความสามารถของตนเองเปนเกณฑ 5) การประเมินสินทรัพย ของผูกู ควรประเมินราคาใหสอดคลองกับราคาตลาด หรือราคาที่แทจริง บวก ดวยความสามารถของบุคคล จึงประเมินคาออกมาเปนทุน 6) การปลอยเงินกูของธนาคารไมควรปลอยกูครั้งเดียวโดยควรปลอยกูเงินใหเปนงวด ๆ ตามแผนการผลิตที่เสนอไวตอหนวยงานเจาของทรัพยสินหรือธนาคารผูรวมโครงการแปลงสินทรัพยเปนทุน เพราะผูรวมโครงการแปลงสินทรัพยเปนทุนบางรายมิไดนำเงินกูไปลงทุนแตนำเงินกูไปชำระหนี้เดิมหรือไปใชจายเพื่อการบริโภค เปนสำคัญ

แนวทางแกไข 1) ควรมีการพัฒนาทรัพยากรทุนมนุษยโดยใหการศึกษาการฝกอบรมในการประกอบอาชีพตามความถนัดสำหรับผูรวมโครงการแปลงสินทรัพยเปนทุนจากนั้นควรจัดทำแผนการผลิต แผนการจำหนาย การแปรรูผลิตภัณฑเพิ่มมูลคาในการผลิตเพื่อใหเกิดความแข็งแกรงและยั่งยืน 2) ศึกษาความเปนไปไดของโครงการแปลงสินทรัพยเปนทุนประเมินผลตอบแทนความคุมคาที่จะลงทุนเปนรายบุคคลเพื่อมิใหเกิดผลกระทบภายหลังดำเนินโครงการแปลงสินทรัพยเปนทุน แลวเสร็จ 3) กรณีผูรวมโครงการแปลงสินทรัพยเปนทุนมีหนี้กับแหลงเงินทุนหลายแหงควรจัดหาเงินกูอัตราดอกเบี้ยต่ำใหกูยืมโดยการรวมหนี้แลวขยายระยะเวลาการสงชำระใหยาวขึ้นหรือทำโครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผูรวมโครงการแปลงสินทรัพยเปนทุนเพื่อมิใหไปกูเงินทุนนอกระบบในอัตราดอกเบี้ยสูง 4) ควรลงโทษผูมีอำนาจทางการเงินการเมืองที่ทำผิดโดยการปลอยเงินกูอัตราดอกเบี้ยสูงรอยละ 4-20 .-บาทตอเดือนเมื่อนำมาคำนวณจะไดอัตราดอกเบี้ยรอยละ 48-200.- บาท/ป 5) ควรรณรงคสรางจิตสำนึกโดยการใชจายเงินภายใตขอจำกัดของรายไดที่ไดรับตอเดือน/ป เพื่อมิใหเกิดการสั่งสมหนี้เพิ่มขึ้น จะทำใหมีความสุข ความมั่งคั่ง

บรรณานุกรม อุดมศักดิ์ ศีรประชาวงศ . (2542) “หนวยที่ 2 ตลาดผลิตผลกับเสน IS” .ใน ทฤษฎีเศรษฐศาสตร มหภาค. นนทบุรี : สำนักพิมพ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิทยา ปนทอง .(2542) “หนวยที่ 4 ทฤษฎีวงจรชีวิตของการบริโภคและการออม ทฤษฎีรายไดถาวรของการบริโภค” ในทฤษฎีเศรษฐศาสตร มหภาค. นนทบุรี: สำนักพิมพ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

ณรงศักดิ์ ธนวิบูลยชัย. (2542) “หนวนที่ 10 การประมาณคาพารามิเตอรของการถดถอยพหุคูณ”. ใน เศรษฐศาสตรเชิงปริมาณ สำหรับนักเศรษฐศาสตร.นนทบุรี: สำนักพิมพมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. ณรงศักดิ์ ธนวิบูลยชัย.(2542) “หนวนที่ 3 การเปนเจาของและการระบุกรรมสิทธ “ ใน เศรษฐศาสตรสิงแวดลอม.นนทบุรี:

สำนักพิมพมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

Page 11: บทความวิชาการ ประชุม ปอมท. 2550  (หน้า249 274) 2

259

บทคัดยอ การศึกษาวิจัย ผลกระทบอันเนื่องมาจากมาตรการบังคับใชโครงการ GFMIS,e-Auction มีวัตถุประสงค เพื่อศึกษาสภาพปญหาอุปสรรคอันเนื่องมาจากมาตรการบังคับใช Government Fiscas Management Information System : GFMIS,e-Auction โดยเนนการประเมินความคิดเห็นจากกลุมตัวอยาง ผูเขารับการฝกอบรม และสัมภาษณผูมีสวนไดเสีย ระหวางวันที่ 3 กันยายน 2548 ถึงวันที่ 20 พฤษภาคม 2549 จำนวน 495 ชุด ปญหาที่พบในการปฏิบัติจากการใชงานในระบบ GFMIS ดังนี้ 1) ระบบการปฏิบัติงานรูปแบบใหม เปนการประยุกตวิธีการทำงานจากการเขียนดวยมือบนกระดาษเปลี่ยนเปนการทำงานดวยอินเทอรเน็ต (ออนไลน) โดยชวงแรกทำใหผูปฏิบัติงานไมคุนเคยรูสึกยุงยากซับซอนขั้นตอนมากและที่สำคัญคือระบบงานยังไมหยุดนิ่งมีการปรับปรุงและซอมความเขาใจอยางตอเนื่อง

2) ระบบเครือขายมักประสบปญหาขัดของบอยครั้ง จึงนำไปสูการสงขอมูลไมไดตองเสียเวลารอการแกไข โดยเครื่อง Terminal ถือเปนอุปกรณสำคัญในการรับขอมูลของหนวยงานเขาสูระบบ GFMIS แตหนวยงานที่ไดรับจัดสรร เฉพาะสวน

ราชการสวนกลาง คือ หนวยงานระดับ มหาวิทยาลัยฯ เขตพื้นที่การศึกษา และคลังจังหวัด สำหรับสวนราชการประจำจังหวัดที่ไมไดรับจัดสรรเครื่องจะตองเดินทางไปนำสงขอมูล ณ คลังจังหวัด และจะตองรอการใชเครื่อง Terminal เรียงลำดับกอนหลังทำใหเสียเวลา เพิ่มตนทุนในการเดินทางสูงขึ้น 3) ดานการใหบริการ (Help Desk) มีจำนวนนอยเมือเปรียบเทียบกับหนวยงานที่จะตองเขาใชงานในระบบ GFMIS และการตอบขอหารือระหวางปฏิบัติงานบางครั้งไมสามารถตอบคำถามในขณะปฏิบัติงาน ณ เวลานั้นไดทันที อันนำไปสูกระบวนการที่ไมมีประสิทธิภาพสูงสุด 4) การใหบริการทางวิชาการ ผูรับผิดชอบโครงการยังไมสามารถจัดฝกอบรมเชิงปฏิบัติการใหกับผูปฏิบัติงานไดอยางทั่วถึง และควรเนนการฝกอบรมเชิงบูรณาการ (Integration) เชื่อมโยงเกี่ยวเนื่องกันในมิติตาง ๆ เพื่อใหเกิดการคิดวิเคราะหอยางเปนระบบอันนำไปสูประสิทธิภาพ ประสิทธิผลสูงสุดตอประเทศ และหนวยงานไดอยางแทจริง

ผลการศึกษาวิจัยระบบ e-Auction มาใช พบวาระดับพฤติกรรมอันนำไปสูภาคปฏิบัติของเจาหนาที่พัสดุ คณะกรรมการดวยอิเล็กทรอนิกส หัวหนาหนวยงาน และผูคา มีระดับความเขาใจแตกตางกันโดย e-Auction ระเบียบยังไมหยุดนิ่งมีการปรับเปลี่ยนและแกไขเปนระยะ ๆ การบังคับใชมี 2 มาตรฐาน และยังขาดหนวยงานใหความรูทางวิชาการอยางตอเนื่อง กระบวนการจัดหาดวยระบบอิเล็กทรอนิกสไมสามารถปองกันการฮั้วงานได แมวาจะมีคนกลางเขามาจัดการประมูลใหกับหนวยงานก็ตาม e-Marketplace service ในประเทศไทยมีจำนวนนอย ถือวาเปนตลาดผูขายนอยราย ถาเทียบกับหนวยงานที่จะตอง

ถือปฏิบัติตามระเบียบฯ

Page 12: บทความวิชาการ ประชุม ปอมท. 2550  (หน้า249 274) 2

260

Abstract The investigation of impacts of the enforcement measure in using Government Fiscas Management Information System, GFMIS and e-Government Procurement, e-GP or known as e-Auction, is intended to study problems that happen from using the enforcement measure. The processes concerned with evaluation of 495 survey forms collected from trainees’ ideas participating in the training held on September 3rd, 2005 through May 20th, 2006. Problems found in practical use of GFMIS 1. New operation system is that manual work which is written by hand on papers changed to work on-line via internet. The problem was that in the beginning the trainers were confused because they didn’t get used to the new system. The processes were more complicated and had to many steps as well. 2. Since the internet system often encounters with interruptions, the information cannot be sent in the proper time. This causes to waste time for fixing the failure. Terminals are the most important communication devices in the GFMIS. However, only main government organizations such as universities, educational areas and provincial treasures are received terminals. In the other hand, government sub-organizations doesn’t received terminals, so those organizations need to travel to the provincial treasures to send information to the GFMIS by waiting for sequence. The problems cause increase of the operation cost. 3. Help Desk is insufficient when compared to organizations requiring the use of GFMIS. Any time when the users want to communicate information during working, the communication cannot be done immediately. The users cannot receive the answers right away. The communication was ineffective. 4. Academic service, responsible units cannot provide workshops for entire users. The workshops should emphasize on integration linking between different dimensions to create analysis system effectively. The ultimate efficiency benefits to the country and organizations. The results of the study of the e-Auction project showed the behavior levels lead to the performance of procurement officers, electronic committee, head offices, and sellers have differences of understanding levels. The e-Auction regulation does not stop improving, but it has been changed intermittently. The electronic acquiring process cannot prevent illegal cooperation of sellers. There are few e-Marketplace services in Thailand when compared to the government agencies which must obey the regulation.

บทนำ รัฐบาลไทยภายใตการนำของ พ.ต.ท. ดร.ทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี ไดนำวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีสารสนเทศ

มาใชในการบริหารประเทศ อันเปนที่มาของศูนยบัญชาการทางอิเล็กทรอนิกสโครงการบริหารงานการเงินการคลังภาครัฐสูระบบอิเล็กทรอนิกส (Government Fiscas Management Information System :GFMIS ,e-Auction) จากสภาพปญหาการ

บังคับใช GFMIS ,e-Auction กับหนวยงาน สวนราชการ รัฐวิสาหกิจ องคกรอิสระตามมติคณะรัฐมนตรี ระเบียบ คำสั่ง แมวาจะมีความจำเปนอยางยิ่ง สำหรับประเทศกำลังพัฒนาอันนำไปสูความเปนสากลเพื่อใหเกิดความเชื่อมั่นในระดับนานาชาติ โดยเนนใหมีผูรับ ความรับผิดชอบ (Accountability) ประสิทธิภาพ (Efficiency) ความโปรงใส (Transparency) ความคุมคา (Value for Money) และ สรางระบบธรรมาภิบาลในการบริหาร (Good Governance) ทั้งนี้ หากมองในมุมผูที่จะรับปฏิบัติตามนโยบายรัฐ คือ หัวหนาสวนราชการ หัวหนาหนวยงาน ตลอดจนหัวหนาองคกร โดยหนวยงานเหลานี้ไมมีความพรอมทางดานบุคลากรที่จะนำไปปฏิบัติ โดยเฉพาะอยางยิ่งเจาหนาที่ผูไดรับผลกระทบอยางแทจริง คือ เจาหนาที่ปฏิบัติงานดานการจัดหาพัสดุ

เจาหนาที่ปฏิบัติงานดานการเงินและการบัญชี คนสองกลุมนี้ ขาดความเขาใจในแนวปฏิบัติที่ถูกตอง และตองแสวงหาความรูเองในระยะเริ่มตน อันเนื่องมาจากไมมีหนวยงานที่ใหความรูในเบื้องตนอยางเพียงพอโดยรัฐขาดการประชาสัมพันธลวงหนา ทั้งที่เปนการเปลี่ยนวิธีการทำงานจากการเขียนดวยระบบมือบนกระดาษ เปนวิธีการทำงานดวยระบบอิเล็กทรอนิกส (ออนไลน)

Page 13: บทความวิชาการ ประชุม ปอมท. 2550  (หน้า249 274) 2

261

GFMIS เปนระบบฎีกาบัญชีทางอิเล็กทรอนิกส e-Auction เปนธรุกรรมการจัดหาดวยวิธีอิเล็กทรอนิกส จุดเดนของ e-Action เปนการเสนอราคาผานระบบอินเทอรเน็ต (ออนไลน) แทนการยื่นซองเสนอราคาแบบเดิม โดยมีคนกลาง คือผูใหบริการตลาดกลาง (e-Marketplaceservice) เปนผูนำโปรแกรมมาใหบริการแกหนวยงานที่ทำการจัดซื้อ จัดจางผูคา (Supplier) มีหนาที่เสนอราคาผานระบบอิเล็กทรอนิกสภายในระยะเวลา สถานที่ที่ไดกำหนดไวแทนการยื่นซองเสนอราคาแบบเดิม ทั้งสองระบบมีการบันทึกขอมูลทางอิเล็กทรอนิกส (ผานอินเทอรเน็ต) ดังนั้น กระบวนในการทำงาน จึงมีลักษณะเปนแบบจำลอง Dynamic Model โดย ผูคา ที่ไดจากกระบวนการจัดหา e-Auction จะตองเขาไปทำสัญญาทางอิเล็กทรอนิกสออนไลน GFMIS เพื่อตั้งจายกอหนี้ผูกพันตามโครงการที่ไดรับจัดสรรงบประมาณของหนวยงานทางอิเล็กทรอนิกส เมื่อผูบริหารระดับประเทศ ระดับกระทรวง ระดับกรมอยากรูการเคลื่อนไหวตาง ๆ ก็สามารถเรียกดูได จึงสงผลใหเกิดประสิทธิภาพ และประสิทธิผลอยางแทจริง อยางใดก็ตามแมวาระบบสารสนเทศในปจจุบันจะสามารถยอฐานขอมูลของสวนราชการทั้งประเทศใหอยูในคอมพิวเตอรเพียงเครื่องเดียวได ก็มิไดหมายความวาประเทศไทยกาวหนากวาประเทศอื่น อันเนื่องมาจากไมไดเปนผูผลิต Software ใชงานแตเปนการจดัซื้อ/ ผูวาจางทำเพื่อการใชงานระบบ GFMIS จากตางประเทศ การบังคับใช GFMIS , e-Auction กับหนวยงานราชการ รัฐวิสาหกิจ องคการมหาชน และหนวยงานอื่นของรัฐ ที่อยูในสังกัด การบังคับบัญชาหรือการกำกับดูแลของฝายบริหารตามกฎหมายวาดวยระเบียบบริหารราชการแผนดิน หรือกฎหมายจัดตั้งหนวยงานนั้น ๆ แมวา ทั้งสองโครงการดังกลาวขางตน จะเปนแนวคิดที่ดีเพราะเปนหลักสากลทั่วไป แตสิ่งที่ควรกระทำกอนบังคับใช คือการพัฒนาทรัพยากรทุนในตัวมนุษย อันเปนปจจัยทุนที่มีความสำคัญยิ่งกวาปจจัยอื่น เพราะเปนผูที่นำ

นโยบายไปปฏิบัติงานในหนวยงานใหบรรลุวัตถุประสงคตามมาตรการบังคับใช จากความสำคัญดังกลาว จึงมีความจำเปนที่จะตองทำวิจัย ผลกระทบอันเนื่องมาจากมาตรการบังคับใช GFMIS , e- Auction ขึ้นเพื่อทราบถึงปญหาและแนวทางแกไขปญหาที่ถูกตอง อันจะนำไปสูการพัฒนาประเทศ และหนวยงานอยางยั่งยืนในอนาคต

วิธีดำเนินการวิจัย การวิเคราะหผลกระทบอันเนื่องมาจากมาตรการบังคับใช GFMIS, e-Auction เปนการศึกษาวิจัยเชิงสำรวจ ความเขาใจโดยประชากรกลุมตัวอยางไดจาก 2 กลุม คือ ผูเขารับการฝกอบรม และสัมภาษณผูมีสวนไดเสียโดยตรงทางโทรศัพท และนำหลักทฤษฏี Balanced Scorecard : Drs. Robert Kaplan, David Norton. เปนเกณฑประเมินวัดความเขาใจของกลุมตัวอยาง

ตาราง 1 กรอบแนวทางการวิเคราะหขอมูลและเกณฑการประเมิน

Page 14: บทความวิชาการ ประชุม ปอมท. 2550  (หน้า249 274) 2

262

ผลการวิเคราะหขอมูล (The result of data Analysis) การวิเคราะหขอมูล ผูวิจัยไดนำแบบสอบถามความเขาใจจากผูเขารับการฝกอบรมเชิงปฏิบัติการหลักสูตร GFMIS, e- Auction จำนวน 495 ชุดในเชิงปริมาณประมวลผลโดยโปรแกรม SPSS ตามตารางที่ 2-6 กลุมตัวอยางจำนวน 5 กลุม ระหวางวันที่ 3 กันยายน 2548 – 20 พฤษภาคม 2549 ดังนี้

ตารางที่ 2 รุนที่ 1 แสดงความเขาใจโดยคิดเปนรอยละโดยตัวเลข ( / ) คือ N (Population)จาก 103

ตารางที่ 3 รุนที่ 2 แสดงความเขาใจโดยคิดเปนรอยละโดยตัวเลข ( / ) คือ N (Population)จาก 106

ตารางที่ 4 รุนที่ 3 แสดงความเขาใจโดยคิดเปนรอยละโดยตัวเลข (/ ) คือ N (Population) จาก 155

Page 15: บทความวิชาการ ประชุม ปอมท. 2550  (หน้า249 274) 2

263

ตารางที่ 5 รุนที่ 4 แสดงความเขาใจโดยคิดเปนรอยละโดยตัวเลข ( / ) คือ N (Population)จาก 103

ตารางที่ 6 รุนที่ 5 แสดงความเขาใจโดยคิดเปนรอยละโดยตัวเลข (/) คือ N (Population)จาก 120

สรุปผลการศึกษา วิจัย (Summary discussion and Recommendation) ปญหาอุปสรรคของการปฏิบัติงานในระบบ GFMIS ที่พบ คือการทำงานในระบบ GFMIS เปนการเปลี่ยนแปลงวิธีการทำงานแบบใหมโดยเนนกระบวนการทำงานในระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาใชในการปฏิบัติงานผานระบบอินเตอรเน็ต (ออนไลน) เครื่อง Terminal ถือเปนอุปกรณที่สำคัญในการรับ-สงขอมูลเขาสูระบบ GFMIS อันเนื่องมาจากเครื่องTerminal รัฐบาลจัดสรรใหสวนราชการระดับกรมเชน มหาวิทยาลัยฯ คลังจังหวัด เขตพื้นที่การศึกษา ดังนั้น สวนราชการอื่นจึงตองเสียเวลาในการเดินทางไปสงขอมูล ณ คลังจังหวัด ถือเปนการเพิ่มตนทุนคาใชจายในทำงานเพิ่มขึ้น Help Desk ในระบบ GFMIS

มีจำนวนนอยและการตอบขอหารือระหวางผูปฏิบัติงาน ณ หนวยงาน เชน มหาวิทยาลัยอุบลราชธานีในขณะ เกิดปญหาระหวางปฏิบัติงาน ผูตอบปญหาไมสามารถตอบไดในขณะนั้น หรือตอบปญหาไมชัดเจนบางครั้งจะตองรอคำตอบในวันถัดไป ดานการใหบริการทางวิชาการของหนวยงานที่รับผิดชอบไมสอดคลองกับการบังคับใช อันเนื่องมาจากการบังคับใชกับสวนราชการทั่วประเทศ และมีเจาหนาที่ผูปฏิบัติงานเขาไปใชระบบ GFMIS เปนจำนวนมากไมวาจะเปนเจาหนาที่การเงิน เจาหนาที่บัญชี เจาหนาที่พัสดุ และผูบริหารองคกรในระดับตาง ๆ จะมีความสัมพันธในมิติตาง ๆ อยางเกี่ยวเนื่องแตขาดการให

ความรูอยางทั่วถึงนอกจากนั้น ระบบ GFMIS ยังไมหยุดนิ่ง มีการปรับเปลี่ยนและทำความเขาใจเกี่ยวกับการใชงานอยางตอเนื่องในขณะปญหาที่เกิดขึ้นเปนปญหาเฉพาะหนาระหวางปฏิบัติงาน โดยผูปฏิบัติงานใชสถานการณที่เกิดขึ้นจริงเปนจุดศูนยกลางการเรียนรู (Group Center) e-Auction ในชวงเวลาที่ทำการศึกษา พบวา เกิดปญหาความไมเขาใจในแนวทางปฏิบัติของขาราชการกลุม ตาง ๆ แตกตางกันไป อันนำไปสูการปฏิบัติงานยังไมมีประสิทธิภาพอยางแทจริง

1. กลุมขาราชการการเมืองระดับทองถิ่น กลุมนี้โดยเฉพาะผูบริหารองคกร วิตกกังวล ไมเขาใจวิธีประมูลดวยระบบอิเล็กทรอนิกส อันเนื่องมาจาก ผูคา ซึ่งใหการสนับสนุนในขณะเลือกตั้ง จะมีบทบาทสำคัญตอกระบวนการจัดหา 2. กลุมผูนำไปปฏิบัติงาน คือ ระดับเจาหนาที่ปฏิบัติงานพัสดุ ขาดความรูความเขาใจเกี่ยวกับกระบวนการจัดหาพัสดุ

ดวยวิธีทางอิเล็กทรอนิกส จึงสงผลใหเกิดความลังเลไมปฏิบัติตามระเบียบ และไมรูวิธีแกไขปญหา อันนำไปสูการทำงานที่ผิดพลาด และสงใหเกิดปญหาตอเนื่องไปยังคณะกรรมการฯ

Page 16: บทความวิชาการ ประชุม ปอมท. 2550  (หน้า249 274) 2

264

ขอเสนอแนะ e-Auction เปนการประยุกตวิธีการทำงานจากวิธีการประกวดราคาเดิม มาเปนวิธีการเสนอราคาผานระบบอินเทอรเน็ตออนไลนภายในระยะเวลาและสถานที่ที่ไดระบุไวในประกาศโดยสถานที่จะตองไดรับอนุญาติและขึ้นทะเบียนไวกรมบัญชีกลางกำหนดเทานั้น วิธีการทำงานยังคงเปน 2 รูปแบบคูขนาน คือ ระบบเอกสารตามระเบียบฯ และระบบขั้นตอนทางอิเล็กทรอนิกส วิธีการการทางอิเล็กทรอนิกสไมสามารถปองกันการฮั้วงานได ถารัฐตองการใหวิธีการจัดหาดวย e-Auction ปองกันการฮั้วงานได ทุกขั้นตอนควรจะทำงานผานระบบอินเตอรเน็ตออนไลน เชน ยื่นเอกสารผานระบบอินเตอร รับเอกสาร ตรวจเอกสาร ฝกอบรมผูคาผานอินเทอรเน็ต และเสนอราคาผานระบบอินเตอรเน็ตไดทุกสถานที่โดยไมจำกัด อนึ่ง กระบวนการจัดหาดวยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส พ.ศ.2549 ที่บังคับใชเมื่อวันที่ 1 กุมภาพันธ 2549 นั้น แมวาจะไมประกาศรายชื่อผูผานการคัดเลือกคุณสมบัติเบื้องตน และมิใหตลาดกลางจัดอบรมผูคาแตมีการกำหนดสถานที่เสนอราคาโดยผูคาจะตองเดินทางไปเสนอราคา ณ สถานที่ขึ้นทะเบียนไวกับกรมบัญชีกลางกำหนด ซึ่งไมแตกตางกับวิธีการประกวดราคาเดิมที่กำหนดใหใชสถานที่กลาง ยื่นซอง รับซอง เปดซอง เสนอราคา การกำหนดสถานที่ดังกลาวจะสงผลให ตนทุนในการเดินทาง คาใชจายเพิ่มขึ้นและใชเจาหนาที่ประจำหองเสนอราคาเพิ่มขึ้นตามลำดับ สิ่งที่สำคัญคือไมสามารถปองกัน การฮั้วงานได กรณีวงเงินเกิน 50 ลานใหกรมบัญชีกลางเปนผูแตงตั้งคณะกรรมการประกวดราคาทางอิเล็กทรอนิกส มีขั้นตอนการดำเนินงานทางดานเอกสารแบบฟอรมมาก ทำใหเกิดความลาชา จึงไมสอดคลองกับยุทธศาสตรการกระจายอำนาจอยางแทจริง GFMIS, e-Auction ควรมีหนวยงานกลางใหความรูอยางตอเนื่องอันเนื่องมาจากระบบยังไมหยุดนิ่ง เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ศักยภาพในการทำงานใหกับเจาหนาที่ของรัฐเกิดความมั่นใจ และปฏิบัติงานได ถูกตอง แมยำโดยเฉพาะการบังคับใช e-Auction 2 มาตรฐานในปจจุบัน จากผลการศึกษาวิจัยและเปนศูนยการจัดประมูลดวยวิธีทางอิเล็กทรอนิกสที่ผานมาพบวา e-Auction ไมสามารถปองกันการฮั้วงานไดแลว ยังอาจจะเปนวิธีที่เอื้อใหผูคาฮั้วงานไดอยางโปรงใส แต e-Auction ก็มีจุดแข็งที่กระบวนการจัดหาดวยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส ปองกันเจาหนาพัสดุผูนอยใหปลอดภัยไดอยางมีประสิทธิภาพ เพราะมี e-Marketplace Service รับหนาแทนเจาหนาที่พัสดุ

แนวทางแกไข ดานทรัพยากรมนุษย คือ เจาหนาที่ของรัฐควรสงเสริมใหไดรับการฝกอบรมเชิงปฏิบัติการ และซักซอมความเขาใจใหผูปฏิบัติงานผูบริหารระดับตาง ๆ อยางตอเนื่อง อันเนื่องมาจากระเบียบและแนวปฏิบัติยังไมหยุดนิ่งมีการเปลี่ยนแปลงอยางตอเนื่อง โดยการใหความรู และเนนการใหความรูภาคปฏิบัติ มากกวาทฤษฎี นอกจากเจาหนาที่รัฐแลวควรจัดหลักสูตรใหความรูเกี่ยวกับวิธีเสนอราคาผานระบบอินเทอรเน็ตโดยโปรแกรมตลาดกลางสำหรับผูคาอยางทั่วถึง การเสนอราคาไมควรกำหนดใหผูคาเดินทางไปเสนอราคา ณ สถานที่ที่ขึ้นทะเบียนไวกับกรมบัญชีกลางเทานั้นเพราะจะทำใหเกิดการฮั้วงานได

การเสนอราคาควรเสนอไดจากทุกสถานที่ตามประกาศกระทรวงการคลังป พ.ศ.2548 จะมีประสิทธิภาพมากกวาระเบียบฯ พ.ศ.2549

เอกสารอางอิง สมคิด พรมจุย.2549. เทคนิคการจัดฝกอบรม. ใน : เอกสารประกอบการฝกอบรมหลักสูตรเทคนิคการจัดฝกอบรม. 5-10 มีนาคม 2549. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชธานี. หนา 2 รัชชนนท แกะมา.2546.การวิเคราะหตนทุนการจางเหมากอสรางโดยวิธีประกวดราคาเทียบกับวิธีการประมูลดวยระบบ

อิเล็กทรอนิกส. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช .กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย. 106 หนาเศรษฐศาสตร มหาบัณฑิต อัญชลี เทพรัตน. GFMIS Strategy against corruption or influence on Thai Government. สำนักพัฒนามาตรฐานระบบพัสดุภาครัฐ. แนวทางการจัดหาพัสดุโดยการประกวดราคาทางอิเล็กทรอนิกส.

Page 17: บทความวิชาการ ประชุม ปอมท. 2550  (หน้า249 274) 2

265

ปตตานีในอดีตเปนเมืองทาคาขายที่สำคัญ มีเรื่องราวที่นาสนใจมากมาย โดยเฉพาะบุคคลที่มีสวนทำใหปตตานีเจริญรุงเรือง ปตตานีเปนเมืองประวัติศาสตรจึงมีทั้งบุคคลสำคัญในประวัติศาสตรและบุคคลสำคัญทางวัฒนธรรมที่นาสนใจ ปตตานีมีชื่อเรียกในเอกสารตางๆมากมาย อาทิ ตานี ปะตานี ปาตานี ฟาฏอนี โฝตาหนี่ ตาหนี่ เปนตน ยุโรปชาติแรกๆที่เขามาคาขายกับเมืองปตตานีไดแกโปรตุเกส ฮอลันดา ชาวฮอลันดาเขามาคาขายที่เมืองปตตานีหลังชาวโปรตุเกส แตเขามากอนชาวอังกฤษถึง ๑๐ ป ตอมาชาติที่เขามาคาขายกับเมืองปตตานีคือชาวญี่ปุนและชาวจีน เนื่องจากสภาพภูมิศาสตรของปตตานีติดกับทะเลมีอาวที่บังคลื่นลม เหมาะจะเปนที่จอดเรือเพื่อคาขาย อีกทั้งเมืองปตตานียังมีทรัพยากรธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ ทั้งสินแร เครื่องเทศ ของปา และพืชพรรณนานาชนิดนั่นเอง บุคคลสำคัญในยุคสมัยตางๆของปตตานีตั้งแตอดีตถึงปจจุบันมีจำนวนมากมายทั้งในดานการปกครอง ดานการพัฒนาเศรษฐกิจ และดานศิลปวัฒนธรรม ไมสามารถนำมากลาวใหหมดในคราวเดียวได ในที่นี้จะกลาวถึงเฉพาะที่มีหลักฐานเอกสารและขอมูลตางๆ หลังจากป พ.ศ. ๒๐๐๐โดยจะนำเสนอบุคคล ๒ กลุม คือบุคคลสำคัญในประวัติศาสตร และบุคคลสำคัญทางวัฒนธรรม

บุคคลสำคัญในประวัติศาสตร ไดแกผูปกครองเมืองปตตานีตั้งแต พ.ศ.๒๐๐๐-๒๔๔๕ ดังนี้ ราชาศรีวังสา ปกครองปตตานีราวพ.ศ.๒๐๐๐-๒๐๔๓ เดิมเปนเจาเมืองอยูที่ “เมืองกอตามะลิฆัย” หรือที่เรียกกันวา ”ลังกาสุกะ” ในปจจุบัน มีความเห็นวาบริเวณริมฝงทะเลที่มีชายชราชาวมลายูชื่อ “ตานี”มีอาชีพเปนชาวประมงที่คนทั่วไปเรียกวา “ปะตานี” ไดอาศัยอยูนั้นมีผูคนอยูกันอยางหนาแนน มีลำคลองเล็กๆเปนเสนทางคมนาคมใหเรือเล็กแลนออกสูทะเลไดสะดวก อาทิ คลองกรือเซะ ดังนั้นราชาศรีวังสา และพระบรมวงศานุวงศพรอมพสกนิกรที่ลังกาสุกะจึงไดยายมาอยูที่หมูบานดังกลาว โดยตั้งชื่อใหมวา “ปะตานี” หรือ “ปาตานี”

ราชาอินทิรา เปนโอรสของราชาศรีวังสา ปกครองเมืองปตตานีตอจากพระบิดา ในชวง พ.ศ.๒๐๔๓-๒๐๗๓ ตอมาราชาอินทิราทรงประชวรเปนโรคผิวหนัง ไมมีแพทยคนใดในเมืองปตตานีรักษาใหหายได “แซะห ซาอิด” ชาวเมืองปาไซที่เกาะสุมาตราซึ่งนับถือศาสนาอิสลามถูกพวกฮินดูยกทัพเขาตีเมือง จึงไดอพยพมาอยูที่เมืองปตตานี ไดขออาสาถวายการรักษา โดยมีขอแมวาราชาอินทิราจะตองเปลี่ยนมานับถือศาสนาอิสลาม (กอนหนานี้นับถือศาสนาพุทธและพราหมณ) ดวยเหตุนี้ ราชาอินทิราและพสกนิกรจึงไดเปลี่ยนมานับถือศาสนาอิสลามแทนศาสนาพุทธ และพราหมณตั้งแตบัดนั้นเปนตนมา ราชาอินทิรานับเปนเจาเมืองปตตานีคนแรกที่นับถือศาสนาอิสลาม ไดพระนามใหมวา “อิสมาแอลชาห” (ใชคำวา สุลตานนำหนาชื่อ ตามแบบอาหรับ สวนการใชคำวาชาหลงทายชื่อตามแบบเปอรเซีย) สุลตานมุซ็อฟฟารชาห (มุฎอฟฟารชาห) เปนโอรสของสุลตานอิสมาแอลชาหไดปกครองเมืองปตตานีตอจากพระบิดาในชวงพ.ศ.๒๐๗๓-๒๑๐๗ เคยเสด็จเยือนกรุงศรีอยุธยา ๒ ครั้งเพื่อเชื่อมสัมพันธไมตรี สมเด็จพระจักรพรรดิกษัตริยกรุงศรีอยุธยาซึ่งครองราชยชวงพ.ศ.๒๐๘๒-๒๑๑๒ ไดทรงมอบชาวพมาและชาวลานชางแกสุลตานมุซ็อฟฟารชาหเปนของกำนัลกลับ

เมืองปตตานีดวย เมื่อกลับถึงเมืองปตตานีไดจัดใหชาวพมาอยูอาศัยที่เชิงสะพาน กะด ี เพื่อเลี้ยงชางและใหชาวลานชางอยูที่นาใกลคลองปาเระ เรียกหมูบานนี้วา กือดี หรือบานด ี ในปจจุบัน สุลตานมุซ็อฟฟารชาหไดเสด็จกรุงศรีอยุธยาอีกครั้งในพ.ศ.๒๑๐๗ และไดสิ้นพระชนมที่นั่น พระศพถูกฝงไวที่ใกลปากน้ำเจาพระยา

Page 18: บทความวิชาการ ประชุม ปอมท. 2550  (หน้า249 274) 2

266

สุลตานมันโซรชาห เปนพระอนุชาสุลตานมุซ็อฟฟารชาห ปกครองชวงพ.ศ.๒๑๐๗-๒๑๑๕ สุลตานปาเตะสยาม (ปาติก สยาม) เปนโอรส ของสุลตานมุซ็อฟฟารชาหไดปกครองเมืองปตตานีตอจากพระปตุลา (นองชายของพอ)คือตอจากสุลตานมันโซรชาห ในพ.ศ.๒๑๑๕-๒๑๑๖ เพียง ๑ ปเทานั้น เนื่องจากสุลตานปาเตะสยาม มีพระชันษาเพียง ๙ พรรษาเทานั้น จึงตองใหซีตีอาอีซะหผูเปนพระปตุจฉา (นองสาว) ของพอ เปนผูสำเร็จราชการแทน ภายหลังทั้งสองพระองคสิ้นพระชนม เพราะถูก “ราชามัมบัง” (พระเชษฐาของสุลตานปาเตะสยามที่ประสูติจากพระสนม)ลอบสังหาร ราชามัมบังก็ถูกลอบปลงพระชนมในเวลาตอมา สุลตานบะหโดรชาห เปนโอรสของสุลตานมันโซรชาหไดครองเมืองปตตานีในชวงพ.ศ.๒๑๑๖-๒๑๒๗ เปนเวลา ๙ ป ก็ถูก”ราชาบีมา” ลอบสังหารดวยกริช เพราะตองการแยงพระราชบัลลังก แตราชาบีมาก็ถูกบริวารของสุลตานบะโดรชาหสังหารเชนกัน สุลตานบะโดรชาหไมมีโอรส มีเพียงพระธิดา ๓ องค คือ รายาฮิเยา รายาบีรู และรายาอูงู รายาฮิเยา ไดปกครองเมืองปตตานีในชวงพ.ศ.๒๑๒๗-๒๑๕๙ ทำใหบานเมืองเจริญรุงเรืองสงบสุข การคาเฟองฟู พระนามของรายาฮิเยาลือเลื่องขจรขจายไปทั่วโลก กษัตริยจากทวีปยุโรปและเมืองตางๆไดสงคณะทูตมาเชื่อมสัมพันธไมตรี และรายาฮิเยาก็ไดสงราชทูตไปยังเมืองตางๆเพื่อเปนการตอบแทนสัมพันธภาพรวมทั้งเมืองสยามและเมืองญี่ปุนดวย ทำใหชาวโปรตุเกส ชาวฮอลันดา ชาวอังกฤษ ชาวสเปน ชาวญี่ปุน ฯลฯ เริ่มมาคาขายที่เมืองปตตานีเปนครั้งแรก เรือสินคาญี่ปุนและเรือสินคาจากเมืองสยามเดินทางเขาสูเมืองปตตานีไมขาดสาย (เรือสินคาจากสยามเขามาที่เมืองสาย ปจจุบันคืออำเภอสายบุรี) กษัตริยสยามเรียกรายาฮิเยาวา “พระนางเจาหญิง” รายาฮิเยาไดพัฒนาเมืองปตตานีในทุกๆดาน อาทิ ทรงใหขุดคลองจากกรือเซะมุงไปทางทิศใตจนถึงแมน้ำปตตานีที่ “เตอรมางัน” อยูในตำบลเมาะมาวีตอเขตกับปรีกี อำเภอยะรัง) เพื่อใหน้ำไหลมาตามคลองแหงใหมคือคลองกะดี ผานคลองกรือเซะแลวไหลลงทะเลที่กัวลารอ (กัวลารอ อยูในตำบลตันหยงลูโละ อำเภอเมืองปตตานี) ชวยใหน้ำไหลออกทางคลองกรือเซะเปนน้ำจืด สามารถใชน้ำเพื่อการเกษตรไดมากขึ้น เมืองปตตานีในสมัยรายาฮิเยามีชื่อเสียง ขจรขจายไปทั้งโลกตะวันตกและตะวันออก ทาเรือเมืองปตตานีคับคั่งไปดวยเรือสินคานานาชาติ นับเปนศูนยกลางการคาที่ยิ่งใหญในเอเชียตะวันออกเฉียงใต อีกทั้งยังเปนศูนยกลางแหงการสืบทอดวัฒนธรรมมลายู รายาฮิเยาไดรับสมญานามวา “มารโฮม เกอรตามางัน” พระนางสิ้นพระชนมเมื่อพ.ศ.๒๑๕๙ พระชนมายุ ๖๓ พรรษา พระนางไมมีพระสวามี แตเปนผูปกครองเมืองปตตานีที่พสกนิกรรักมากและยังเปนผูที่ตางชาติทั่วโลกรูจักและยอมรับในความสามารถ (เมื่อครั้งจังหวัดปตตานีจัดแสดงแสง สี เสียงประวัติศาสตรเมืองปตตานีในงานประจำปพิธีลุยน้ำลุยไฟในงานแหเจาแม ลิ้มกอเหนี่ยว ครั้งแรกที่ปตตานี พ.ศ.๒๕๔๕ สมัยนายสมพร ใชบางยาง เปนผูวาราชการจังหวัดปตตานี ผูเขียนไดรับเกียรติ แสดงเปนรายาฮิเยา จึงรูสึกภาคภูมิใจอยางยิ่ง) รายาบีรู เปนพระขนิษฐภคินี (นองสาว) องคที่๒ของรายาฮิเยา ครองเมืองปตตานีในชวง พ.ศ.๒๑๕๙-๒๑๖๗

ในสมัยนี้ไดมีพระดำริวาคลองจากหมูบานเตอรมางันไปถึงกรือเซะ มีกระแสน้ำไหลแรงเซาะริมฝงที่ติดตอกับพระราชวังทำใหเสียหาย มีผลดีตามพระประสงคสมัยรายาฮิเยาที่ไดน้ำจืด แตผลเสียคือ ทำใหดินบริเวณนาเกลือตรงชายทะเลไมสามารถทำนาเกลือได คือผลิตเกลือไมได รายาบีรูจึงใหสรางเขื่อนกั้นน้ำดานเหนือที่ไหลเขาสูคลองกรือเซะ เขื่อนนี้สรางดวยหิน จึงเรียก

หมูบานนี้วาบานทำนบหิน หรือบาน “ตาเนาะบาตู” อยูในอำเภอเมืองปตตานี เชื่อกันวาการหลอปนใหญ ๓ กระบอกตามที่ปรากฏในพงศาวดารเมืองปตตานีระบุไววาสรางในสมัยเจาเมืองปตตานีเปนผูหญิง (นาจะสรางในสมัยนี้) ตำบลที่หลอปนคือบานกะเสะ (กรือเซะ) นายชางที่หลอปนชื่อเคี่ยม แซหลิม เปนชาวฮกเกี้ยน ไดภรรยาปนชาวมาลายู จึงนับถือศาสนาอิสลามตามภรรยา ปน ๓ กระบอกคือ พญาตานี ศรีนครี และมหาเหลาหลอ นายชางคนนี้เปนพี่ชายของเจาแมลิ้มกอเหนี่ยว รายาอูงู เปนพระขนิษฐภคินีองคสุดทองของรายาฮิเยาไดอภิเษกกับสุลตานอับดุลฆอฟุร แหงรัฐปาหัง โดยพระนาง

ไดไปอยูที่รัฐปาหังนานถึง ๒๘ ป เมื่อพระสวามีสิ้นพระชนมพระนางไดเดินทางกลับปตตานีพรอมพระธิดาชื่อรายากูนิง และไดปกครองเมืองปตตานีในชวง พ.ศ.๒๑๖๗-๒๑๗๘ ในสมัยนี้ที่เมืองสยามมีการเปลี่ยนแปลงการปกครอง “ออกญาศรีวรวงศ” ไดยึดอำนาจจากพระเจาอาทิตยวงศใน พ.ศ.๒๑๗๓ แลวสถาปนาตนเองขึ้นเปนกษัตริยมีนามวา “พระเจาปราสาททอง” รายาอูงูไมยอมรับพระเจาปราสาททอง จึงงดสงดอกไมเงินดอกไมทอง เปนการแสดงวาตัดสัมพันธไมตรี ดังนั้นในวันที่ ๑๑ พฤษภาคม พ.ศ.๒๑๗๗ กองทัพเรือจากกรุงศรีอยุทธยาไดยกทัพเขาสูปากน้ำปตตานี สูรบกับกองทัพเมืองปตตานี แตไมสามารถเอาชนะ

ได จึงถอยทัพกลับหลังการรบเพียง ๑๐ วันเทานั้น ตอมาไดมีการเจรจาเพื่อเชื่อมสัมพันธไมตรีกันใหม โดยทางเมืองปตตานียินยอมสงเครื่องราชบรรณาการแกเมืองสยามเหมือนเดิม รายาอูงู สิ้นพระชนมพ.ศ.๒๑๗๘

Page 19: บทความวิชาการ ประชุม ปอมท. 2550  (หน้า249 274) 2

267

รายากูนิง เปนพระธิดาของรายาอูงูกับสุลตานอับดุลฆอฟุร แหงรัฐปาหัง ซึ่งตอมาไดเปนชายาของ “ยังดีเปอรตูวันมูดอร” โอรสเจาเมืองยะโฮรโดยพระสวามีของพระนางไดติดตามมาอยูที่เมืองปตตานีดวย ไดปกครองเมืองปตตานีในพ.ศ.๒๑๗๘-๒๒๒๙ รายากูนิงโปรดการกสิกรรมและพาณิชยกรรม จึงมีรายไดจากการขายพืชผลจนไมตองใชเงินของแผนดินเลย รายากูนิงเปนเจาเมืองคนแรกที่คาขายกับชาวตางประเทศดวยพระองคเอง รายากูนิงไดสานตอสัมพันธไมตรีกับเมืองสยามอยางแนนแฟน เมืองสยามขนานนามวา “พระนางเจาหญิง” หรือ “นางเจาหญิง” รายากูนิงไดเดินทางไปเมืองสยามเพื่อประสานรอยราวในสมัยรายาอูงู นาเสียดายที่ชีวิตสมรสของพระนางลมเหลว เพราะพระสวามีไปติดพันหญิงอื่นจนตองหยารางกัน รายากูนิงสิ้นพระชนม พ.ศ. ๒๒๒๙ ชาวปตตานีขนานนามใหวา “มัรโฮม บือซาร” เนื่องจากรายากูนิงไมมีทายาทจึงทำใหราชวงศศรีวังสาที่ครองเมืองปตตานีมาตั้งแต พ.ศ.๒๐๐๐ สิ้นสุดลงในสมัยของรายากูนิง มีการเปลี่ยนแปลงการปกครองหลายราชวงศ แตไมมีเจาเมืองปตตานีคนใดมีผลงานโดดเดนเทาสมัยราชวงศศรีวังสา การคากับตางประเทศก็เสื่อมลง ชาวยุโรปเดินทางออกจากเมืองปตตานีหมด เหลือแตพอคาชาวจีน ญี่ปุน อินเดียและอาหรับเทานั้น โดยในชวงเวลาดังกลาวตองทำสงครามกับเมืองสยามอยูเนืองๆ จนในที่สุดในพ.ศ.๒๓๒๙ ตรงกับสมัยรัชกาลที่ ๑ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกแหงกรุงรัตนโกสินทรยึดเมืองปตตานีได มีการแตงต้ังเจาเมืองปตตานีที่ขึ้นตรงตอเมืองสยาม โดยมีเมืองสงขลาเปนผูกำกับดูแลเมืองปตตานี พระยาตาน ี (ขวัญซาย) เปนบุตรของนายเคง (ชาวจีนแผนดินใหญที่แตงงานกับหญิงชาวสงขลา) มีนองชายอีกคนชื่อ “พาย” นายเคง ไดชวยงานราชการในสมัยรัชกาลที่ ๑ ตามที่พระยาสงขลา(บุญหุย) เสนอ ซึ่งรัชกาลที่ ๑ ไดทรงแตงตั้งใหเปนพระมหานุภาพปราบสงคราม ผูวาราชการเมืองจะนะและนายเคงไดถวายนายขวัญซาย ใหเปนมหาดเล็กของรัชกาลที่ ๑ ที่กรุงเทพฯ ตอมาพระยาเมืองสงขลาไดกราบบังคมทูลขอตัวนายขวัญซายมารับตำแหนงปลัดเมืองจะนะ คอยชวยเหลือบิดาที่ชราภาพแลว โดยนายขวัญซายไดใหนายพายนองชายมาชวยกันฝกอบรมชาวเมืองจะนะทั้งไทยและจีน ใหมีความรูความชำนาญในการใชอาวุธปองกันตัว ในพ.ศ.๒๓๕๑เกิดความไมสงบที่เมืองปตตานี โดยระตูปะกาลันมีปญหาขัดแยงกับขาราชการที่เรียกวา ลักษมณาดายัน (ลักษมณาดายัน เปนตำแหนงขุนนางไทยสมัยกอน) ซึ่งมีหนาที่ควบคุมดูแลบริหารบานเมืองปตตานีสมัยนั้นจนถึงขั้นเกิดการตอสูกัน ทางราชการจึงไดใหนายขวัญซายปลัดเมืองจะนะไประงับการพิพาทดังกลาวจนเหตุการณสงบ ดวยเหตุนี้รัชกาลที่ ๑ จึงมีพระราชดำริใหแบงแยกเมืองปตตานีออกเปน ๗ หัวเมือง และทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯใหนายขวัญซายเปนเจาเมืองปตตานี ตั้งแตพ.ศ.๒๓๕๑ เรียกวา ผูวาราชการเมืองปตตานี ขึ้นตรงตอผูสำเร็จราชการเมืองสงขลา นับเปนเกียรติประวัติที่นายขวัญซายคนไทยเชื้อสายจีน ไดรับตำแหนงเปนผูวาราชการเมืองปตตานี ผลงานที่พระยาตานี (ขวัญซาย) ไดสรางไวมากมาย อาทิ การสำรวจภูมิประเทศเพื่อปกปนเขตแดนเมืองทั้ง ๗ คือ เมืองปตตานี เมืองยะหริ่ง เมืองหนองจิก เมืองรามัน เมืองระแงะ เมืองสายและเมืองยะลา ปรับปรุงกิจการทาเรือใหกลับกลายเปนศูนยการคาแรดีบุก เกลือ และผลิตภัณฑอื่นๆ ทำใหพอคาเรือสำเภาจีน และอีกหลายชาติเขามาคาขายแลกเปลี่ยนสินคามากขึ้น ชวยทำใหเศรษฐกิจของเมืองปตตานีฟนฟูอยางรวดเร็ว สวนผลงานดานการปกครอง ไดยึดนโยบายเสริมสรางความสัมพันธกับบุคคลตางๆเพื่อขจัดความหวาดระแวงที่มีตอกัน ทำใหเกิดความรูสึกที่เปนมิตรเกิดน้ำหนึ่งใจเดียวในการรวมแรงรวมใจเพื่อพัฒนาบานเมือง จนเมืองปตตานีกลับมาเจริญรุงเรืองอีกวาระหนึ่งและสันติสุข จนถึงพ.ศ. ๒๓๕๘ พระยาตานี(ขวัญ

ซาย)ไดถึงแกอนิจกรรม พระยาตานี (นายพาย) เปนนองชายพระยาตานี (ขวัญซาย) ไดรับโปรดเกลาฯแตงตั้งเปนผูปกครองเมืองตานีตอ

จากพี่ชาย ในสมัยนี้เอง “โตะสาเหย็ด หรือ ไซยิด” ซึ่งไดหนีไปจากปตตานีเมื่อครั้งปะทะกับพระยาตานี (ขวัญซาย) ไดกลับ

มากอความวุนวายที่เมืองปตตานีกับพรรคพวกอีก โดยพระยาอภัยสงครามกับพระยาเมืองสงขลา (เถี้ยนจง) ไดยกทัพมาชวยพระยาตานี (นายพาย) ปราบพวกกอการวุนวาย ในที่สุดไดมีการปรึกษาหารือกันวาควรจะเลือกสรรบุคคลในทองถิ่นมาปกครองหัวเมืองทั้ง ๗ เพื่อจิตวิทยาการปกครอง จึงไดกราบบังคมทูลรัชกาลที่ ๒ พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลานภาลัย ใหทรงแตงตั้งผูปกครองหัวเมืองทั้ง ๗ ดังนี้ ๑. ใหตวนสุหลง เปนผูวาราชการเมืองปตตานี อยูที่กรือเซะ

๒. ใหนายพาย เปนผูวาราชการเมืองยะหริ่ง ๓. ใหตวนนิ (สนิ) เปนผูวาราชการเมืองหนองจิก

Page 20: บทความวิชาการ ประชุม ปอมท. 2550  (หน้า249 274) 2

268

๔. ใหตวนมาโซร เปนผูวาราชการเมืองรามัน อยูที่โกตาบารู ๕. ใหตวนหนิเดะ เปนผูวาราชการเมืองระแงะ ๖. ใหตวนหนิดะ เปนผูวาราชการเมืองสาย (สายบุรี) อยูที่ยี่งอ ๗. ใหตวนยาลอ (ยาลา) เปนผูวาราชการเมืองยะลา โดยใหมีบรรดาศักดิ์ ดังนี้ - ผูวาราชการเมืองปตตานี มีบรรดาศักดิ์เปน พระยาวิชิตภักดีศรีสุรวังษารัตนาเขตประเทศราช - ผูวาราชการเมืองยะหริ่ง มีบรรดาศักดิ์เปน พระยาพิพิธเสนามาตยาธิบดีศรีสุรสงคราม - ผูวาราชการเมืองรามัน มีบรรดาศักดิ์เปน พระยารัตนภักดีศรีราชบดินทรสุนทรทิวังษา - ผูวาราชการเมืองสาย มีบรรดาศักดิ์เปน พระยาสุริยสุนทรบวรภักดีศรีมหารายาปตตมอับดุลวิบูลยขอบเขต ประเทศมลายูวิเศษวังษา - ผูวาราชการเมืองระแงะ มีบรรดาศักดิ์เปน พระยาตะปะงันภักดีศรีสุวรรณประเทศวิเศษวังษา ตอมา เปลี่ยนเปน พระยาภูผาภักดีสุวรรณประเทศวิเศษวังษา - ผูวาราชการเมืองยะลา มีบรรดาศักดิ์เปน พระยาณรงคฤทธิ์ศรีประเทศวิเศษวังษา - ผูวาราชการเมืองหนองจิก มีบรรดาศักดิ์เปน พระยาเพชราภิบาลนฤเบศรวาป มุจลินทนฤบดีนทรสวามิภักดิ์ ใหนายพาย (พระยาพิพิธเสนามาตยฯ) เปนผูดูแลหัวเมืองทั้ง ๗ โดยใหขึ้นตรงตอเมืองสงขลา แตปรากฏวาก็ ยังคงมีเหตุการณไมสงบอยูเนืองๆ จึงไดทรงเปลี่ยนนโยบายแตงตั้งทายาทของผูวาราชการเมืองทั้ง ๗ ปกครองเมืองแทน ผูวาราชการเมืองที่เสียชีวิตใหเปนตำแหนงสืบสกุล สืบตอมาอีกหลายรุน จนมาถึงผูวาราชการเมืองปตตานี ๕ คนสุดทาย ดังนี้ พระยาวิชิตภักดีศรีสุรวังษารัตนาเขตประเทศราช (สุลตานมูฮัมหมัด หรือ ตนกูมูฮัมหมัด) มีนามเดิมวา “ตนกูบือซาร” หรือ “ตนกูปะสา” เปนบุตรของเจาเมืองกลันตัน (ราชามูดา) ไดเปนผูวาราชการเมืองปตตานีใน พ.ศ.๒๓๘๘ ไดสรางวังที่ชายทะเล หมูบานตันหยงลูโละ ตอมาเห็นวาไมเหมาะสมในดานภูมิศาสตร จึงไดยายมาสรางวังใหมที่ “จะบังตีกอ”

เปนวังที่อยู นานจนถึงผูวาราชการเมืองปตตานีคนสุดทาย คนทั่วไปนิยมเรียกวา พระยาตานี มากกวาพระยาวิชิตภักดีฯ ผูวาราชการเมืองปตตานีอีก ๔ คน คือ ตนกูปูเตะ เปนบุตรคนโตของสุลตานมูฮัมหมัด เปนตอจากบิดาใน พ.ศ.๒๓๙๙ ในชวงนี้มีนักธุรกิจตางชาติเขามาคาขายมาก โดยเฉพาะชาวจีนมามากกวาชนชาติอื่นๆ ชุมชนที่ชาวจีนอยูเรียกวา “หมูบานชาวจีน” หรือ “ตลาดจีน” ตอมาชาติอื่นๆก็ทยอยเขามามากขึ้นจนมีผูคนอาศัยอยูอยางหนาแนน นับเปนความสามารถของตนกูปูเตะ ที่ปกครองเมืองปตตานีใหเจริญกาวหนาอยูเย็นเปนสุขนานถึง ๒๖ ป เจาเมืองปตตานีคนตอมาคือตนกูบือซาร หรือ ตนกูตีมุง เปนบุตรคนโตของตนกูปูเตะ เจาเมืองปตตานีคนที่สี่คือ ตนกูสุไลมานซาฟุดดิน หรือตนกูบอส ู

เปนนองชายของตนกูปูเตะ ไดพัฒนาเมืองปตตานีมากมายหลายดาน และไดสรางมัสยิดทำดวยปูนที่จะบังตีกอ ที่ยังปรากฏอยูจนทุกวันนี้ และไดสรางวังใหมทางดานตะวันออกของวังเกาและอยูที่วังใหมแหงนี้จนวาระสุดทายของชีวิต ในพ.ศ.๒๔๔๒

และเจาเมืองคนสุดทายของ ปตตานีคือ ตนกูอับดุลกอเดร กามารุดดีน เปนบุตรของตนกูสุไลมานฯ ปกครองเมืองปตตานีระหวางพ.ศ.๒๔๔๒-๒๔๔๕ หลังจากนั้น รัชกาลที่ ๕ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว ไดทรงเปลี่ยนแปลงการปกครองจาก ๗ หัวเมือง มารวมเปน ๔ หัวเมือง ยกเลิกอำนาจเจาเมืองทั้ง ๗ ตั้งเปนมณฑลปตตานี โดยมีพระยาศักดิ์เสนี (หนา บุนนาค) เปนสมุหเทศาภิบาลคนแรกของมณฑลปตตานี เมื่อ พ.ศ. ๒๔๔๙

บุคคลสำคัญทางวัฒนธรรม จะขอเริ่มตน ตั้งแตพระยาศักดิ์เสนี (หนา บุนนาค) ดังนี้ พระยาศักดิ์เสนี (หนา บุนนาค) ดำรงตำแหนงสมุหเทศาภิบาลคนแรกของมณฑลปตตานี แบงการ ปกครองเปน ๔ หัวเมือง คือเมืองปตตานี เมืองยะลา เมืองระแงะ และเมืองสาย ขึ้นตรงตอผูสำเร็จราชการภาคใต ซึ่งทรงแตงตั้งสมเด็จเจาฟายุคลฑิฆัมพร กรมหลวงลพบุรีราเมศร เปนผูสำเร็จราชการ ตรงกับสมัยรัชกาลที่ ๖ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว ตอมาใน พ.ศ.๒๔๕๘ ไดทรงยุบเมืองระแงะเปนจังหวัดนราธิวาส ใน พ.ศ.๒๔๕๙ ยุบ เมืองปตตานีเปนจังหวัดปตตานี ยุบเมืองสาย เปนจังหวัดสายบุรี เปลี่ยนเมืองยะลา เปนจังหวัดยะลาโดยเอาเมืองรามันมารวมดวย ตอมาใน

พ.ศ.๒๔๗๕ ไดยุบจังหวัดสายบุรีเปนอำเภอสายบุรีและใหขึ้นตอจังหวัดปตตานี ในปนี้ยังไดยกเลิกมณฑลปตตานีตามพระราชบัญญัติวาดวยระเบียบราชการบริหารแหงราชอาณาจักรสยาม พ.ศ.๒๔๗๖ โดยรวมเมืองหนองจิก เมืองยะหริ่ง เมืองสาย

หรือสายบุรี เปนจังหวัดปตตานี เมืองรามันรวมกับเมืองยะลา เปนจังหวัดยะลา สวนเมืองระแงะ เปนจังหวัดนราธิวาส จึงมี

Page 21: บทความวิชาการ ประชุม ปอมท. 2550  (หน้า249 274) 2

269

เพียง ๓ จังหวัด คือ จังหวัดปตตานี จังหวัดยะลา และจังหวัดนราธิวาส ตั้งแต พ.ศ ๒๔๗๖ – ปจจุบัน พระยาศักดิ์เสนี ตอมา ไดเปน พระยาเดชานุชิตสยามมิศรภักดี อยูปตตานีนานถึง ๑๗ ป ไดสรางความเจริญแกปตตานีมากมาย จนมีอนุสรณสถานใหระลึกถึงทานจากชื่อสถานที่หลายแหง อาทิ สนามศักดิ์เสนี สะพานเดชานุชิต โรงเรียนเดชะปตตนยานุกูล ฯลฯ เดิมปตตานีมีโรงเรียนประจำมณฑลปตตานี เปนโรงเรียบชายหญิงเรียนรวมกัน (สมัยนั้นนักเรียนหญิงยังเรียนกันไมมาก) พระยาเดชานุชิต ฯ ไดเปนผูนำในการบูรณะตอเติมอาคารและพัฒนาโรงเรียนประจำมณฑลใหพรอมในทุกๆ ดาน รัชการที่ ๖ ไดพระราชทานนามวา โรงเรียนเบญจมราชูทิศ ตอมาภรรยาพระยาเดชานุชิตฯ ซึ่งคนทั่วไปนิยมเรียกวา “คุณหญิงแหมม” เพราะเปนชาวเยอรมัน ไดยกบานพักสวนหนึ่งเปนโรงเรียนสตรีมณฑลปตตานีสำหรับสอนเด็กหญิง ตั้งแตพ.ศ.๒๔๕๖ ตอมากระทรวงศึกษาธิการไดตั้งชื่อโรงเรียนนี้วา “โรงเรียนสตรีปตตานีเดชะปตตนยานุกูล” เพื่อเปนเกียรติแกผูริ่เริ่มสรางขึ้น อำมาตยโท พระยาพิบูลพิทยาพรรค (ทอง คุปตาสา) เปนธรรมการมณฑลปตตานี ไดริเริ่มใหมีตำราเรียนเขียนไทยขึ้นเปนครั้งแรก มีการจูงใจใหเด็กไทยมุสลิมมาเรียนหนังสือไทย แลวใหผูที่เรียนเหลานั้นกลับไปสอนเด็กไทยมุสลิมรุนหลังอีกตอหนึ่ง ทานไดเขียนหนังสือแบบเรียนไว ๓ เลม คือ แบบเรียนเร็วไทย-มลายู เปนแบบสอนอาน เรื่องการตั้งโรงเรียนในวัด สำหรับใหอานเพื่อปราบใจคนที่ทำผิด และเรื่องเลาความเตือนเพื่อน สำหรับสอนคติทางโลกและทางธรรม เปนคนแรกที่รวมมือกับสมุหเทศาภิบาลปรับปรุงและขยายกิจการลูกเสือใหแพรหลาย ทานใชชีวิตอยูที่ปตตานีจนวาระสุดทาย ชาวปตตานียกยองวาเปนบิดาแหงการศึกษาของชาวปตตานี ขุนจรรยาวิธาน (ยูโซะ มะโรหะบุตร) เกิดที่กรุงเทพฯ เปนบุตรบุญธรรมของตนกูบอสู เจาเมืองปตตานี เรียนหนังสือไทยที่โรงเรียนวัดตานีนรสโมสร พรอมกับเพื่อนไทยมุสลิมอีก ๒ คน คือ เด็กชายเจะมุ (ขุนจารุวิเศษศึกษากร) และเด็กชายนิมา (ครูนิมา) นอกจากนี้ก็มี ขุนศิริอับดุลบุตร นองพระยายะหริ่ง (ตนกูยูโซะ) ขุนจรรยาวิธานเริ่มตนเปนครูที่โรงเรียนเบญจมราชูทิศ เปนครูใหญโรงเรียนประจำจังหวัดสายบุรี เปนศึกษาธิการอำเภอเบตง จังหวัดยะลา และศึกษาธิการ จังหวัดนราธิวาส เปนผูที่กระตุนใหเด็กไทยมุสลิมมาเรียนหนังสือไทยมากขึ้น โดยตัวของทานเองมีสวนสำคัญอยางมากในการเปนแรงจูงใจใหเด็กไทยมุสลิมมาเรียนหนังสือไทย เพราะทานเปนเด็กไทยมุสลิมรุนแรกของมณฑลปตตานี ทานไดเขียนหนังสือคูมือสนทนาภาษามลายู ตามความประสงคของพระยาเมธาธิบดี อธิบดีกรมวิชาการ สำหรับใหผูที่สนใจจะศึกษาภาษามลายูทองถิ่นภาคใตไดศึกษาดวยตนเอง และหนังสือชื่อ ปลีตาบาจาอัน เปนหนังสือแบบเรียนภาษามลายูเลมแรกสำหรับใชสอนในโรงเรียนตามนโยบายของทางราชการที่ตองการใหโรงเรียนประชาบาลสมัยนั้นสอนภาษามลายูทองถิ่นในโรงเรียน ขุนจารุวเิศษศึกษากร (เจะมุ จารุประสิทธิ์) เปนเด็กไทยมุสลิมรุนแรกที่เรียนหนังสือไทย รับราชการเปนครู ตอมา ไดเลื่อนเปนศึกษาธิการอำเภอ มีชื่อเสียงมากในการเปนผูใหแบบทาเตนรองเง็งตนแบบของปตตานีที่ไมเหมือนกับการเตน

รองเง็งของจังหวัดอื่นๆทางภาคใต เพราะทานไดเอาทาการรายรำของแบบนาฏศิลปไทยมาผสมผสานกับทาเตนของหนุมมุสลิมชื่อ “ญัง” (Yang) ที่เคยอยูกับคณะละครบังสาวันที่สิงคโปร ที่มาสอนการเตนรำคลายการเตน Square Dance ของชาวโปรตุเกส และสเปน โดยใชทำนองของเพลงเปนภาษามลายูที่สอนขาราชการและสาวชาววังยะหริ่ง ตามบัญชาของพระยาพิพิธเสนามาตย เจาเมืองยะหริ่ง ซึ่งขุนจารุวิเศษศึกษากรก็ไดมาเรียนดวย แตไดเอามาประยุกตใหออนชอยสวยงามดังไดกลาวแลว ( ผูเขียนเองสมัยเปนเด็กๆไดมีโอกาสเรียนการเตนรองเง็งกับขุนจารุวิเศษศึกษากรกอนที่ทานจะเสียชีวิตสำนักนายกรัฐมนตรีรวมกับกรมประชาสัมพันธและมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตปตตานี ไดบันทึกการเตนรองเง็งตนแบบของปตตานีเมื่อพ.ศ.๒๕๔๙ ผูเขียนเปนคนหนึ่งที่เตนอยูในชุดนี้ดวย) นายขาเดร แวเด็ง เกิดที่ปตตานี ฝกการเลนดนตรีดวยวิธีจดจำจากนักดนตรีรุนพี่ตั้งแตเด็กๆชอบการสีไวโอลิน แตเลนดนตรีไดหลายอยาง มีชื่อเสียงการเลนดนตรีสำหรับการเตนรองเง็ง ( ผูเขียนสนิทกับนายขาเดร แวเด็ง ตั้งแตเด็กๆ ทุกครั้งที่ผูเขียนตองเตนรองเง็งในโอกาสตางๆ จะตองมีคณะดนตรีของขาเดรมาเลนใหเตนทุกครั้ง รวมทั้งการเตนหนาที่นั่งเฉพาะพระพักตรในอดีตดวย) ขาเดร แวเด็ง ไดรับรางวัลผูสนับสนุนการอนุรักษมรดกไทยดีเดน ประจำป ๒๕๓๕ และป

เดียวกันนี้ไดรับรางวัลผูมีผลงานดีเดนทางวัฒนธรรม สาขาศิลปะการแสดงดนตรีสากล (ไวโอลิน) จากสำนักคณะกรรมการวัฒนธรรมแหงชาติ และในป ๒๕๓๖ ไดรับคัดเลือกใหเปนศิลปนแหงชาติ สาขาศิลปะการแสดงดนตรีพื้นบาน นายดิเรก คณานุรักษ เปนบุตรของขุนพิทักษรายา เปนหลานของพระจีนคณานุรักษ ได เปนเทศมนตรีในสมัยที่นายอนันต คณานุรักษเปนนายกเทศมนตรี(นายอนันต ไดบริจาคที่ดินติดถนนนาเกลือ จำนวน ๑๐ ไร เปนที่สรางโรงเรียนเมือง

ปตตานี ฯลฯ เปนผูสรางพระเครื่องหลวงพอทวดเหยียบน้ำทะเลจืด วัดชางให รุนแรก เมื่อ วันที่ ๑๘ เมษายน ๒๔๙๗ เพื่อ

Page 22: บทความวิชาการ ประชุม ปอมท. 2550  (หน้า249 274) 2

270

หารายไดสมทบทุนสรางพระอุโบสถและบูรณะวัดชางให และสรางโรงเรียนวัดชางให) ในป ๒๔๙๐ ไดรับเลือกตั้งเปนนายกเทศมนตรีเมืองปตตานีติดตอกัน ๕ สมัย ตั้งแต ป ๒๔๙๒-๒๕๑๕ โดยมีนายเติมศักดิ์ คณานุรักษ บุตรชายคนสุดทองของนายอนันต คณานุรักษ เปนเทศมนตรี (นายเติมศักดิ์ไดรับเลือกตั้งเปนนายกเทศมนตรี ๒ สมัย ป๒๕๑๘-๒๕๒๘ ) นายดิเรก คณานุรักษ ( เปนนาของนายสวัสดิ์ วัฒนายากร องคมนตรี ) ไดขยายเมืองปตตานีใหกวางขวาง โดยสรางศูนยการคาเมืองใหมขึ้นที่บริเวณเรือนจำเดิม ปจจุบันคือโรงภาพยนตรปตตานีรามา และศูนยการคาถนนพิพิธเปนการชวยพัฒนาเศรษฐกิจของเมืองปตตานี ดานการศึกษาไดเสนอใหรัฐบาลจัดตั้งมหาวิทยาลัยสงขลานครินทรขึ้นที่จังหวัดปตตานี โดยพี่สาวของนายดิเรก ชื่อนางซุยสิ้ม ปริชญากร(คณานุรักษเดิม) ไดรวมบริจาคที่ดินจำนวนมากเพื่อเปนที่สรางมหาวิทยาลัย จนเปนผลสำเร็จ บุคคลสำคัญในประวัติศาสตรและบุคคลสำคัญทางวัฒนธรรมของปตตานีที่ยกมาครั้งนี้เปนเพียงสวนหนึ่งซึ่งยังมีอีกมากมายที่มีสวนรวมในการพัฒนาปตตานีใหเจริญรุงเรือง และเกิดความสันติสุข

เอกสารอางอิง มัลลิกา คณานุรักษ. ๒๕๔๒. “บทที่ ๖ บุคคลสำคัญของทองถิ่น” วัฒนธรรม พัฒนาการทาง ประวัติศาสตร เอกลักษณและภูมิปญญา กรุงเทพฯ กรมศิลปากร ______ ๒๕๔๕. บุคคลสำคัญของปตตาน ี กรุงเทพฯ โอเดียนสโตร อนันต วัฒนานิกร. ๒๕๓๑. ประวัติเมืองลังกาสุกะ เมืองปตตานี กรุงเทพฯ เคล็ดไทย อิบรอฮิม ชุกรี. ๒๕๒๕. ตำนานเมืองปตตาน ี แปลโดย หะสนั หมัดหมาน ปตตานี ศูนยการศึกษาเกี่ยวกับภาคใต มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร

Page 23: บทความวิชาการ ประชุม ปอมท. 2550  (หน้า249 274) 2

271

ภาษาไทยมีการเขียนอักษรยอและมีการอานอักษรยอ การเขียนยอมีทั้งยอโดยไมมีจุด (มหัพภาค) ยอโดยมีจุดเดียว และยอโดยมีหลายจุด การอานมีทั้งอานยอไดและอานยอไมได การออกเสียงอักษรยอ ไมวาจะเปนการอานหรือการพูดในการสื่อสารที่เปนงานพิธีการ หรือเปนทางการ (Formal-Language) จะตองออกเสียงเต็ม ไมมีการออกเสียงยอเหมือนกับการเขียน ซึ่งการเขียนอักษรยอเดิมนาจะเกิดจากหนวยงานราชการนำมาเขียนคำศัพทเฉพาะที่มีความหมายเฉพาะ ภายหลังมีการนำมาใชกันแพรหลาย ตัวอยางการออกเสียงอักษรยอที่เขียนยอโดยไมมีจุด มท ตองออกเสียงวา กระทรวงมหาดไทย กค ตองออกเสียงวา กระทรวงการคลัง สส ตองออกเสียงวา กระทรวงสาธารณสุข อก ตองออกเสียงวา กระทรวงอุตสาหกรรม ฯลฯ ตัวอยางการออกเสียงอักษรยอที่เขียนยอโดยมีจุดเดียว ดร. ตองออกเสียงวา ดอกเตอร ผศ. ตองออกเสียงวา ผูชวยศาสตราจารย รศ. ตองออกเสียงวา รองศาสตราจารย

ศ. ตองออกเสียงวา ศาสตราจารย ฯลฯ

ตัวอยางการออกเสียงอักษรยอที่เขียนโดยมีหลายจุด ม.จ. ตองออกเสยีงวา หมอมเจา

ม.ป.ช. ตองออกเสียงวา มหาปรมาภรณชางเผือก ม.ร.ว. ตองออกเสียงวา หมอมราชวงศ

ฯลฯ การออกเสียงอักษรยอที่เปนเวลา ตองออกเสียงเปนนาฬิกาและนาที ดังนี้ ๘.๐๐ น. ตองออกเสียงวา แปดนาฬิกา มิใช แปดจุดสูนๆนอ ๑๓.๔๕ น. ตองออกเสียงวา สิบสามนาฬิกาสี่สิบหานาที มิใช สิบสามจุดสี่หานอ ปจจุบันเกิดปญหาจากการใชอักษรยอซ้ำซอน เกิดขอสงสัยเกี่ยวกับการเขียนอักษรยอ ตางคนตางบัญญัติคำยอขึ้น

เองตามใจชอบ เชน รร . อาจยอมาจาก โรงเรียน หรือ โรงแรม หรือ โรงเรือน ป . อาจยอมาจาก ประถม หรือประกาศนียบัตร หรือ เปรียญ สาเหตุที่ตางคนตางบัญญัติคำยอตามใจชอบเพราะคิดวาไมมีหนวยงานที่ทำหนาที่กำหนด

อักษรตัวยอ ความจริงแลวหนวยงานที่ทำหนาที่กำหนดการใชภาษาไทยใหถูกตองในทุกๆเรื่อง คือ ราชบัณฑิตยสถาน

Page 24: บทความวิชาการ ประชุม ปอมท. 2550  (หน้า249 274) 2

272

ราชบัณทิตยสถานไดกำหนดหลักเกณทการเขียนอักษรคำยอในหนังสือหลักเกณทการใชเครื่องหมายวรรคตอน ดังนี้ ๑. ใชพยัญชนะตนของพยางคแรกของคำเปนตัวยอ ๑.๑.ถาเปนคำคำเดียวใหใชตัวยอตัวเดียว แมวาคำนั้นจะมีหลายพยางคก็ตาม ตัวอยาง วา = ว. จังหวัด = จ. ๓.๐๐ นาฬิกา = ๓.๐๐ น. ศาสตราจารย = ศ. ๑.๒.ถาใชตัวยอเพียงตัวเดียวแลวทำใหเกิดความสับสนอาจใชพยัญชนะตนของคำถัดไปเปนตัวยอดวยก็ได ตัวอยาง ตำรวจ = ตร. อัยการ = อก. ๒. ถาเปนคำสมาสใหถือเปนคำคำเดียว และใชพยัญชนะตนของพยางคแรกเพียงตัวเดียว ตัวอยาง มหาวิทยาลัย = ม. วิทยาลัย = ว. ๓. ถาเปนคำประสม ใชพยัญชนะตนของแตละคำเรียงตอกัน ตัวอยาง ชั่วโมง = ชม. โรงเรียน = รร. ๔. ถาคำประสมประกอบดวยคำหลายคำ มีความยาวมาก อาจเลือกเฉพาะพยัญชนะตนของคำเปนใจความสำคัญ ทั้งนี้ไมควรเกิน ๔ ตัว ตัวอยาง คณะกรรมการประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ = กปร. สำนักคณะกรรมการการประถมศึกษาแหงชาติ = สปช. ๕. ถาใชพยัญชนะตนของแตละคำแลวทำใหเกิดความสับสน ใหใชพยัญชนะตนของพยางคถัดไปแทน ตัวอยาง พระราชกำหนด = พ.ร.ก. พระราชกฤษฎีกา = พ.ร.ฎ.

๖. ถาพยางคที่จะนำพยัญชนะตนมาใชเปนตัวยอมี ห เปนอักษรนำ เชน หญ หล ใหใชพยัญชนะตนนั้นเปนตัวยอ ตัวอยาง

ประกาศนียบัตร = ป. ถนน = ถ. เปรียญ = ป. ๗. ตัวยอไมควรใชสระ ยกเวนคำที่เคยใชมากอนแลว ตัวอยาง เมษายน = เม.ย. มิถุนายน = มิ.ย. ๘. ตัวยอตองมีจุดกำกับเสมอ ตัวยอตั้งแต ๒ คำขึ้นไปใหจุดที่ตัวสุดทายเพียงจุดเดียว ยกเวนตัวที่ใชกันมากอนแลว ตัวอยาง ตำบล = ต.

ทบวงมหาวิทยาลัย = ทม. ๙. ใหเวนวรรคหนาตัวยอทุกแบบ ตัวอยาง ประวัติของ อ. พระนครศรีอยุธยา

มีขาวจาก กทม. วา

Page 25: บทความวิชาการ ประชุม ปอมท. 2550  (หน้า249 274) 2

273

๑๐. ใหเวนวรรคระหวางกลุมอักษรยอ ตัวอยาง ศ. นพ. ๑๑. การอานคำยอตองอานเต็ม ๐๕.๐๐ น. อานวา หานาฬิกา อ. พระนครศรีอยุธยา อานวา อำเภอพระนครศรีอยุธยา ยกเวนในกรณีที่คำเต็มนั้นยาวมากและคำยอนั้นเปนที่เขาใจและยอมรับกันทั่วไปแลว อาจอานตัวยอเรียงตัวไปก็ได ตัวอยาง ก.พ. อานวา กอ-พอ

ที่มาของอักษรยอในภาษาไทย (พรพิมล-วิโรจน ถิรคุณโกวิท.๒๕๓๙) ๑. มาจากชื่อเฉพาะหรือขอความคอนขางยาว จนไมสะดวกที่จะเขียนซ้ำ หรือยากตอการจดจำ จึงใชอักษรยอแทน เชน ป.ป.ป. (คณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบในวงราชการ) กกศ.(คณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ) ส.ค.ช. (สำนักงานคณะกรรมการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ) ๒. มาจากชื่อของบุคคล หรือสัญลักษณเพื่อกำหนดแทนสิ่งหนึ่งสิ่งใด เชน น.ม.ส. (รัชนี แจม จรัส) พระนามของกรมหมื่นพิทยาลงกรณที่ทรงใชเปนนามปากกาในงานที่ทรงนิพนธ อย. (องคการอาหารและยา) ใชเปนเครื่องหมายติดที่บรรจุภัณฑอาหารและยาเปนการรับรองจากทางราชการ ๓. มาจากชื่อที่ทางราชการกำหนดขึ้นใชเฉพาะกรณี เชนชื่อจังหวัด สำหรับใชพิมพในหัวจดหมายราชการ จะกำหนดสองตัวอักษรเขียนติดกันโดยไมมีจุด (มหัพภาค) เชน สก (จังหวัดสระแกว) ๔. มาจากคำที่คิดขึ้นเพื่อสื่อความหมายไดรวดเร็ว เชน ส.บ.ม.(สบายมาก) หรือหลีกเลี่ยงการใชคำที่เปดเผย ก.ก.ก. (กางเกงใน) ปญหาของคำยอบางคำที่ผูรับสารไมคุนเคยมากอนวายอมาจากอะไร ก็มักจะสื่อสารกันไมรูเรื่องหรือไมเขาใจ ผูสงสารจำเปนตองบอกคำเต็มแกผูรับสารดวย ขอยกตัวอยางคำยอของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ที่ใชคำยอวา มอ แตมีปญหาที่ผูรับสารไมรูอยู ๒ อยาง ที่ผูเขียนถูกถามอยูเสมอวา หนึ่ง มอ ยอมาจากอะไร? ผูเขียนในฐานะบุคลากรของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ก็จะตอบวา ยอมาจาก มหิดลอดุลยเดช ซึ่งเปนพระนามเดิมของสมเด็จพระราชบิดา กรมหลวงสงขลานครินทร คำถามที่สองที่ถูกถามทั้งบุคคลภายในและภายนอกก็คือ คำยอ มอ มีหนึ่งจุด หรือมีสองจุด เนื่องจากหนังสือที่ออกจากมหาวิทยาลัยไปสูหนวยงานทั้งภายในและภายนอก ทั้งที่เปนทางการและไมเปนทางการมี ๒ แบบ โดยชวงแรกๆ ตั้งแตพ.ศ. ๒๕๑๑-๒๕๓๐ จะใชคำยอวา มอ. (มีจุดเดียว) และในหนังคือปทานุกรมคำยอที่ปรากฏในตลาดหนังสือก็ใช คำยอ มอ. ที่มีจุดเดียว เพราะถูกตองตามเกณฑที่ราชบัณฑิตยสถานกำหนดไววา ถาเปนคำคำเดียวใหใชตัวยอตัวเดียว แมวาคำนั้นจะมีหลายพยางคก็ตาม ดังไดกลาวแลวขางตน มอ ยอมาจากคำ มหิดลอดุยเดช ตามหลักเกณฑแลวตองยอเปน ม. แตมีเกณฑอีกขอที่บอกไววา ถาใชตัวยอเพียงตัวเดียวแลวทำใหเกิดความสับสนอาจใชพยัญชนะตนของตัวถัดไปเปนตัวยอดวยก็ได เหมือนคำวา ตำรวจ ที่ใชวา ตร. ดังนั้นคำ มอ ตามเกณฑนี้ก็ตองเขียนวา มอ. ซึ่งก็ไดแบบนี้

มานานเกือบ ๒๐ ป จนกระทั่งตอนหลังมีหนังสืออักษรคำยอของรศ.วิสิทธิ์ จินตวงศ (อดีตอาจารยภาคบรรณารักษ ของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร) ออกวางจำหนายตามทองตลาดโดยเขียนคำยอวา ม.อ. ชวงนี้บุคลากรภายในจะใชคำยอ มอ มีจุดเดียวบาง มีสองจุดบาง เมื่อมีคนมาถามผูเขียนในฐานะอาจารยผูสอนภาษาไทย ผูเขียนจะตอบคำถามนี้อยางมั่นใจเสมอวา

ถาจะเขียนใหถูกตามเกณฑของราชบัณฑิตยสถานตองเขียนโดยมีจุดเดียวที่หนึ่งคำตองมีเพียงหนึ่งจุด ไมวาคำนั้นจะยาวกี่พยางคก็ตาม ตอมาเมื่อเร็วๆนี้เองผูเขียนไดรับบัญชาจาก รศ.ดร.บุญสม ศิริบำรุงสุข อธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร มอบหมายใหเขียนหาคำตอบวา คำยอ มอ ตองมีกี่จุดกันแน ? กำลังจะลงมือเขียนก็ปรากฏวาไดรับหนังสือจากนายประพจน นัทรามาศ ผูอำนวยการกองกลางของมหาวิทยาลัยฯ สำเนาเอกสารจากหนังสือราชกิจจานุเบกษา เลม ๘๖ ตอนที่ ๘๙ หนา ๘๙๔ ลงวันที่ ๑๔ ตุลาคม ๒๕๑๒ ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่องกำหนดภาพเครื่องหมายราชการ ตามพระราชบัญญัติ

เครื่องหมายราชการ พุทธศักราช ๒๔๘๒ (ฉบับที่ ๕๗) ขอสรุปมากลาวเฉพาะประเด็นสำคัญดังนี้ เครื่องหมายราชการของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร เปนรูปพระมหาพิชัยมงกุฎ ประกอบดวยจักรกับตรี ซึ่งเปนเครื่องหมายประจำพระบรมราชวงศจักรี ภายใตพระมหาพิชัยมงกุฎมีอักษรยอ ม.อ. (ไขว) อันเปนอักษรยอจากพระนามเดิม

Page 26: บทความวิชาการ ประชุม ปอมท. 2550  (หน้า249 274) 2

274

ของสมเด็จพระราชบิดาเจาฟา มหิดลอดุลยเดช เบื้องลางของภาพมีอักษรชื่อ มหาวิทยาลัย สงขลานครินทร เปนอันยุติความสับสนของคำยอ มอ กลาวคือ ตองใช ม.อ. ตามที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษา ซึ่งราชบัณฑิตยสถาน ไดกำหนดเกณฑวา คำใดที่เขียนคำยอมากอนที่ราชบัณฑิตยสถานจะกำหนดเกณฑการใชมากอนก็ใหใชอยางเดิม เชน ม.ร.ว. (หมอมราชวงศ) ม.ล. (หมอมหลวง) พ.ศ. (พุทธศักราช) ว.ป.ถ.(วิทยุทหารสื่อสารประจำถิ่น) ส.ค. (สิงหาคม) อ.ส.ม.ท. (องคการสื่อสารมวลชนแหงประเทศไทย) ร.ฟ.ท.(การรถไฟแหงประเทศไทย) วาดวยเรื่องอักษรยอในภาษาไทยที่หลายๆทานเคยสงสัยโดยไมไดรับคำตอบที่ตองการมากอนหนานี้ คงจะไดคำตอบแลว โดยเฉพาะตัวยอ มอ วา ตองมี ๒ จุด และ ม.อ. ยอมาจาก มหิดลอดุลยเดช รวมทั้งคำถามที่สงสัยวาทำไมบางคำมีจุดเดียว บางคำมีหลายจุด คำตอบคือ คำใดที่เคยใชมากอนที่ราชบัณฑิตยสถานจะวางกฎเกณฑ ก็ใหใชไปอยางเดิม แตถาจะ เขียนใหมตองเปนไปตามเกณฑที่ราชบัณฑิตยสถานกำหนดไวเทานั้น

เอกสารอางอิง พรพิมล-วิโรจน ถิรคุณโกวิท.๒๕๓๙ ปทานุกรมอักษรยอ พิมพครั้งที่ ๓ กรุงเทพฯ อักษรพิทยา มัลลิกา คณานุรักษ.๒๕๒๙ การใชภาษาไทย ปตตานี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร _______.๒๕๔๕ เทคนิคการเปนพิธีกรที่ดี พิมพครั้งที่ ๒ กรุงเทพฯ โอเดียนสโตร _______.๒๕๔๗ จิตวิทยาการสื่อสารของมนุษย กรุงเทพฯ โอเดียนสโตร