qwater.rid.go.thqwater.rid.go.th/report/file60/exam60/word/...  · web viewsheet ที่ 1...

21
~1~ คคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคค 2559 File คคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคค 1. Excel file ซซซซซซซซซซ download ซซซซซ qwater.rid.go.th ซซซซซซซซซซซซซซซซซซซซซซซซซซ 2. ซซซซซซซซซซซซซซซซซซซซซซ 2560 ซซซซซซซซซซ 3 ซซซซซซ ซซซ (1) ซซซซซซซซซซซซซซซซซซซ YSI 556 MPS 1.1 ซซซซซซซซซซซซ 1 ซซซซซซซซซซ ซซซซซซซซซซซซซ ซซซซซซซซซซซซซซซซซซซซซซซซซซ ซซซซซซ 1.1.1 ซซ.ซซซซซซซซซซ 1.1.2 ซซ.ซซซซซ 1.1.3 ซซ.ซซซซ 1.1.4 ซซ.ซซซซซซซซซ 1.1.5 ซซ.ซซซซซซซซซซซ 1.1.6 ซซ.ซซซซซซซซซ 1.1.7 ซซ.ซซซซซซ 1.2 ซซซซซซซซซซซซซซซซซซซ 1 ซซซซซซซซซซ ซซซซซซซซซซ ซซซซซซซซซซซซซซซซซซซซซซซซซซซซซ ซซซซซซ 1.2.1 ซซ.ซซซซซซซซ 1.2.2 ซซ.ซซซซซซซซ 1.2.3 ซซ.ซซซซซซ 1.2.4 ซซ.ซซซซซซซ 1.2.5 ซซ.ซซซซซซ 1.2.6 ซซ.ซซซซซซซซ (2) ซซซซซซซซซซซซซซซซซซซ YSI 650 MDS ซซซซซซซซซซซซซ ซซซซซซซซซซซซซซซซซซซซซซซซซซ ซซซซซซ 2.1 ซซ.ซซซซซซซซซ

Upload: others

Post on 22-Sep-2020

1 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

~14~

คู่มือการจัดทำรายงานประจำปี 2559

File ที่ใช้ในการจัดทำรายงานประจำปี

1. Excel file ซึ่งสามารถ download ได้ใน qwater.rid.go.th ซึ่งจะมีแยกไว้แต่ละโครงการ

2. ตัวอย่างรายงานประจำปี 2560 แยกออกเป็น 3 ประเภทคือ

(1) เครื่องมือแบบหัวรวม YSI 556 MPS

1.1 โครงการที่มี 1 จุดตรวจวัด ดูตัวอย่างได้จากตัวอย่างของโครงการต่างๆ ดังนี้

1.1.1 คป.นครราชสีมา

1.1.2 คป.ยโสธร

1.1.3 คบ.ชีบน

1.1.4 คบ.ภาษีเจริญ

1.1.5 คบ.ชลหารพิจิตร

1.1.6 คบ.รังสิตใต้

1.1.7 คบ.ผักไห่

1.2โครงการที่มีมากกว่า 1 จุดตรวจวัด ดูตัวอย่างได้จากตัวอย่างของโครงการต่างๆ ดังนี้

1.2.1 คป.ร้อยเอ็ด

1.2.2 คป.มุกดาหาร

1.2.3 คป.สกลนคร

1.2.4 คบ.เริงราง

1.2.5 คบ.ยางมณี

1.2.6 คบ.ปราณบุรี

(2) เครื่องมือแบบหัวรวม YSI 650 MDS ดูตัวอย่างได้จากตัวอย่างของโครงการต่างๆ ดังนี้

2.1คบ.เสียวใหญ่

(3) เครื่องมือแบบแยก ดูตัวอย่างได้จากตัวอย่างของโครงการต่างๆ ดังนี้

2.1คบ.ลำปาว

2.2คบ.ป่าสักใต้

2.3คบ.ภูเก็ต

2.4คบ.พัทลุง

Excel File ที่ใช้ในการจัดทำรายงานประจำปี

Excel file จะมีข้อแตกต่างกันตามจำนวนจุดตรวจวัดคือ (1) โครงการที่มี 1 จุดตรวจวัด (2) โครงการที่มีมากกว่า 1 จุดตรวจวัด

(1) โครงการที่มี 1 จุดตรวจวัด จะมีทั้งหมด 10 Sheet ดังนี้

Sheet ที่ 1 ชื่อWater(ตารางที่3.1) เป็นข้อมูลปริมาณน้ำต้นทุน (ไม่ต้อง key เนื่องจากเติมให้หมดแล้ว ยกเว้นโครงการที่มีน้าต้นทุนจากฝาย เช่น คบ.แม่แตง, คบ.โก-ลก, คป.สตูล คป.แพร่(เนื่องจาก อ่างเก็บน้ำห้วยแม่สายยังไม่ได้บันทึกในระบบของศูนย์ประมวล) และ คป.แม่ฮ่องสอนฝายแม่สะเรียง)ขอให้ทางโครงการตรวจสอบข้อมูลของตัวเอง

Sheet ที่ 2 ชื่อDAT(KEY)(ตารางที่ 3.2)เป็นข้อมูลผลการตรวจวัดในแต่ละเดือน (โครงการต้อง key ข้อมูลเข้าไปใน กันยายน 2559 ช่องที่ให้ key จะทำเป็นสีเขียวให้ไว้หมายถึงให้ทำการ key ข้อมูลลงไป) และ copy ข้อมูลลงไปในตารางที่ 3.2

ขอให้ทางโครงการตรวจสอบข้อมูลของตัวเอง

Sheet ที่ 3 ชื่อindex3.7(ตารางที่3.3)เป็นข้อมูลผลการตรวจวัดในแต่ละเดือน (ไม่ต้อง key ข้อมูลเนื่องจากถูกสร้าง link ไว้เรียบร้อยแล้ว) เพียงแค่ copy ข้อมูลลงไปในตารางที่ 3.3

Sheet ที่ 4 ชื่อDataGเป็นข้อมูลสำหรับการจัดทำกราฟ (ไม่ต้อง key ข้อมูลเนื่องจากถูกสร้าง link ไว้เรียบร้อยแล้ว) ไม่ต้องทำอะไรทั้งนั้นกับ sheet นี้

Sheet ที่ 5 ชื่อG_Temเป็นการจัดทำกราฟเกี่ยวกับดัชนีอุณหภูมิ (ไม่ต้อง key ข้อมูลเนื่องจากถูกสร้าง link ไว้เรียบร้อยแล้ว) เพียงแค่ copy ข้อมูลลงไปในรูปในรายงาน

ขอให้ทางโครงการตรวจสอบข้อมูลของตัวเองในกราฟ

Sheet ที่ 6 ชื่อG_pHเป็นการจัดทำกราฟเกี่ยวกับดัชนีอุณหภูมิ (ไม่ต้อง key ข้อมูลเนื่องจากถูกสร้าง link ไว้เรียบร้อยแล้ว) เพียงแค่ copy ข้อมูลลงไปในรูปในรายงาน

ขอให้ทางโครงการตรวจสอบข้อมูลของตัวเองในกราฟ

Sheet ที่ 7 ชื่อG_ECเป็นการจัดทำกราฟเกี่ยวกับดัชนี EC (ไม่ต้อง key ข้อมูลเนื่องจากถูกสร้าง link ไว้เรียบร้อยแล้ว) เพียงแค่ copy ข้อมูลลงไปในรูปในรายงาน

ขอให้ทางโครงการตรวจสอบข้อมูลของตัวเองในกราฟ

Sheet ที่ 8 ชื่อG_Salเป็นการจัดทำกราฟเกี่ยวกับดัชนี Salinity (ไม่ต้อง key ข้อมูลเนื่องจากถูกสร้าง link ไว้เรียบร้อยแล้ว) เพียงแค่ copy ข้อมูลลงไปในรูปในรายงาน

ขอให้ทางโครงการตรวจสอบข้อมูลของตัวเองในกราฟ

Sheet ที่ 9 ชื่อG_DOเป็นการจัดทำกราฟเกี่ยวกับดัชนี DO (ไม่ต้อง key ข้อมูลเนื่องจากถูกสร้าง link ไว้เรียบร้อยแล้ว) เพียงแค่ copy ข้อมูลลงไปในรูปในรายงาน

ขอให้ทางโครงการตรวจสอบข้อมูลของตัวเองในกราฟ

Sheet ที่ 10 ชื่อG_TDSเป็นการจัดทำกราฟเกี่ยวกับดัชนี TDS (ไม่ต้อง key ข้อมูลเนื่องจากถูกสร้าง link ไว้เรียบร้อยแล้ว) เพียงแค่ copy ข้อมูลลงไปในรูปในรายงาน

ขอให้ทางโครงการตรวจสอบข้อมูลของตัวเองในกราฟ

(2) โครงการที่มีมากกว่า 1 จุดตรวจวัด จะมีทั้งหมด 24 Sheet ดังนี้

Sheet ที่ 1-12 ชื่อ ตามปีเดือนคือ OCT NOV DEC JAN FEB MAR APR MAY JUN JUL AGU SEP ตามข้อมูลแต่ละเดือนในปีงบประมาณ 2560 โดยเริ่มจาก ตุลาคม 2559 พฤศจิกายน 2559 ธันวาคม 2559 มกราคม 2560 จนกระทั่งถึง กันยายน 2560 ตามลำดับ

ขอให้ทางโครงการตรวจสอบข้อมูลของตนเอง และ key ข้อมูลในเดือน สิงหาคมและเดือนกันยายน ช่องที่ให้ key จะทำเป็นสีเขียวให้ไว้หมายถึงให้ทำการ key ข้อมูลลงไป เนื่องจากเดือนอื่นๆ ทางฝ่ายตะกอนฯ ได้จัดทำไว้ให้แล้วแต่ขอให้ทางโครงการตรวจสอบข้อมูลด้วย

Sheet ที่ 13 ชื่อWater(ตารางที่3.1) เป็นข้อมูลปริมาณน้ำต้นทุน (ไม่ต้อง key ยกเว้นคบ.แม่แตง, คบ.โก-ลก, คป.สตูล คป.แพร่(เนื่องจาก อ่างเก็บน้ำห้วยแม่สายยังไม่ได้บันทึกในระบบของศูนย์ประมวล) และ คป.แม่ฮ่องสอนฝายแม่สะเรียง) และ copy ข้อมูลลงไปในตารางที่ 3.1

ขอให้ทางโครงการตรวจสอบข้อมูลของตัวเอง

Sheet ที่ 14 ชื่อDAT(link)(ตารางที่3.2)เป็นข้อมูลผลการตรวจวัดในแต่ละเดือน (ไม่ต้อง key ข้อมูลเนื่องจากถูกสร้าง link ไว้เรียบร้อยแล้ว) และ copy ข้อมูลลงไปในตารางที่ 3.2

ขอให้ทางโครงการตรวจสอบข้อมูลของตัวเอง

Sheet ที่ 15ชื่อDAT(link)(ตารางที่3.3)เป็นข้อมูลผลการตรวจวัดในแต่ละเดือน (ไม่ต้อง key ข้อมูลเนื่องจากถูกสร้าง link ไว้เรียบร้อยแล้ว) และ copy ข้อมูลลงไปในตารางที่ 3.3

ขอให้ทางโครงการตรวจสอบข้อมูลของตัวเอง

Sheet ที่ 16 ชื่อINDEX3.7(ตารางที่ 3.4)เป็นข้อมูลผลการตรวจวัดในแต่ละเดือน (ไม่ต้อง key ข้อมูลเนื่องจากถูกสร้าง link ไว้เรียบร้อยแล้ว) เพียงแค่ copy ข้อมูลลงไปในตารางที่ 3.4

ขอให้ทางโครงการตรวจสอบข้อมูลของตัวเอง

Sheet ที่ 17 ชื่อDataGเป็นข้อมูลสำหรับการจัดทำกราฟ (ไม่ต้อง key ข้อมูลเนื่องจากถูกสร้าง link ไว้เรียบร้อยแล้ว) ไม่ต้องทำอะไรทั้งนั้นกับ sheet นี้

Sheet ที่ 18 ชื่อG_Temเป็นการจัดทำกราฟเกี่ยวกับดัชนีอุณหภูมิ (ไม่ต้อง key ข้อมูลเนื่องจากถูกสร้าง link ไว้เรียบร้อยแล้ว) เพียงแค่ copy ข้อมูลลงไปในรูปในรายงาน

ขอให้ทางโครงการตรวจสอบข้อมูลของตัวเองในกราฟ

Sheet ที่ 19 ชื่อG_pHเป็นการจัดทำกราฟเกี่ยวกับดัชนีอุณหภูมิ (ไม่ต้อง key ข้อมูลเนื่องจากถูกสร้าง link ไว้เรียบร้อยแล้ว) เพียงแค่ copy ข้อมูลลงไปในรูปในรายงาน

ขอให้ทางโครงการตรวจสอบข้อมูลของตัวเองในกราฟ

Sheet ที่ 20 ชื่อG_ECเป็นการจัดทำกราฟเกี่ยวกับดัชนี EC (ไม่ต้อง key ข้อมูลเนื่องจากถูกสร้าง link ไว้เรียบร้อยแล้ว) เพียงแค่ copy ข้อมูลลงไปในรูปในรายงาน

ขอให้ทางโครงการตรวจสอบข้อมูลของตัวเองในกราฟ

Sheet ที่ 21 ชื่อG_Salเป็นการจัดทำกราฟเกี่ยวกับดัชนี Salinity (ไม่ต้อง key ข้อมูลเนื่องจากถูกสร้าง link ไว้เรียบร้อยแล้ว) เพียงแค่ copy ข้อมูลลงไปในรูปในรายงาน

ขอให้ทางโครงการตรวจสอบข้อมูลของตัวเองในกราฟ

Sheet ที่ 22 ชื่อG_DOเป็นการจัดทำกราฟเกี่ยวกับดัชนี DO (ไม่ต้อง key ข้อมูลเนื่องจากถูกสร้าง link ไว้เรียบร้อยแล้ว) เพียงแค่ copy ข้อมูลลงไปในรูปในรายงาน

ขอให้ทางโครงการตรวจสอบข้อมูลของตัวเองในกราฟ

Sheet ที่ 23 ชื่อG_TDSเป็นการจัดทำกราฟเกี่ยวกับดัชนี TDS (ไม่ต้อง key ข้อมูลเนื่องจากถูกสร้าง link ไว้เรียบร้อยแล้ว) เพียงแค่ copy ข้อมูลลงไปในรูปในรายงาน

ขอให้ทางโครงการตรวจสอบข้อมูลของตัวเองในกราฟ

Sheet ที่ 24 ชื่อภาคผนวก กเป็นข้อมูลผลการตรวจวัดทุกจุดตรวจทุกเดือนในแต่ละดัชนีซึ่งจะมีทั้งหมด 6 ตารางตามแต่ละดัชนี (ไม่ต้อง key ข้อมูลเนื่องจากถูกสร้าง link ไว้เรียบร้อยแล้ว) เพียงแค่ copy ข้อมูลลงไปในรูปในภาคผนวก ก

ขอให้ทางโครงการตรวจสอบข้อมูลของตัวเอง

Word File ที่ใช้ในการจัดทำรายงานประจำปี

Word file ในการจัดทำรายงานประจำปี แตกต่างจากปี 2558 เนื่องจากมีการปรับปรุงตัวชี้วัดที่ 3.7 ซึ่งได้ทำการเพิ่มเติมในส่วนของปริมาณน้ำต้นทุนเข้ามาคำนวณด้วย และในปี 2558 ต้องอธิบายทุกจุดตรวจวัดทำให้โครงการที่มีจุดตรวจวัดมากๆ จะต้องอธิบายเยอะดังนั้น จึงปรับเปลี่ยนโดยใช้ค่าเฉลี่ยในแต่ละเดือนทุกจุดตรวจวัดเพื่ออธิบายภาพรวมของโครงการดังนั้นไม่ว่าโครงการจะมีจุดตรวจวัดการอธิบายแนวโน้มของแต่ละเดือนจึงเป็นการอธิบายเพียงแค่ครั้งเดียว ซึ่งเป็นการลดภาระให้กับโครงการที่มีจำนวนจุดตรวจวัดมากๆ

Word file จะแตกต่างกันตามที่ชี้แจงข้างต้น 3 ประเภทคือ

(1) โครงการที่มีเครื่องมือแบบหัวรวม YSI 556 MPS มีจุดตรวจวัด 1 จุดตรวจวัด

(2) โครงการที่มีเครื่องมือแบบหัวรวม YSI 556 MPS มีมากกว่า 1 จุดตรวจวัด

(3) โครงการที่มีเครื่องมือแบบหัวรวม YSI 650 MDS

(4) โครงการที่มีเครื่องมือแบบหัวแยก

จุดตรวจวัดที่แตกต่างกันจะมีจำนวนตารางแตกต่างกัน ดังนี้

โครงการที่มีจุดตรวจวัด 1 จุดตรวจวัด

ตารางที่ 3.1 ปริมาณน้ำต้นทุนในอ่างเก็บน้ำฯ ระดับน้ำใช้การและค่าถ่วงน้ำหนักน้ำใช้การ

ตารางที่ 3.2 ผลการตรวจวัดคุณภาพน้ำที่จุดตรวจวัดฯ

ตารางที่ 3.3 ระดับผลสำเร็จตามตัวชี้วัดที่ 3.4 คุณภาพน้ำชลประทานประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 รายเดือนและเฉลี่ยรายปี ของโครงฯ

โครงการที่มีจุดตรวจวัด มากกว่า 1 จุดตรวจวัด

ตารางที่ 3.1 ปริมาตรน้ำใช้การ ร้อยละน้ำใช้การ ระดับน้ำใช้การและค่าถ่วงน้ำหนักน้ำใช้การ

ตารางที่ 3.2 ผลการตรวจวัดคุณภาพน้ำรายเดือนเฉลี่ยของโครงการฯ

ตารางที่ 3.3 ผลการตรวจวัดคุณภาพน้ำเฉลี่ยทั้งปีของแต่ละจุดตรวจวัดของโครงการฯ

ตารางที่ 3.4 ระดับผลสำเร็จตามตัวชี้วัดที่ 3.4 คุณภาพน้ำชลประทานประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 รายเดือนและเฉลี่ยรายปี ของโครงการฯ

ประเภทที่ 1,3 และ 4 จะแตกต่างกันตรงชนิดของเครื่องมือ

ขั้นตอนในการจัดทำรายงานประจำปี 2560

ขั้นที่ 1 การจัดทำปกรายงาน

ภาพประกอบปกรายงานนั้นต้องการถ่ายทอดถึงสิ่งที่เกี่ยวข้องกับการตรวจวัดคุณภาพน้ำดังนี้

(1) ภาพทางน้ำชลประทานตรงที่มีจุดสูบน้ำหรือมีการนำน้ำมาใช้

(2) ภาพการสอบเทียบเครื่องมือ ก่อนที่จะทำการตรวจวัด

(3) ภาพขณะเข้าไปทำการตรวจวัด ณ จุดตรวจวัดของโครงการ

(4) ภาพผู้ใช้น้ำ

(5) ภาพที่มีชื่อโครงการอยู่ตรงกลาง

หมายเหตุ: การจัดวางแล้วแต่โครงการ

หมายเหตุ : การออกแบบปกโครงการสามารถออกแบบได้นอกเหนือจากนี้ แต่วัตถุประสงค์ที่ต้องการสื่อคือ ต้องการให้เห็นภาพของ กระบวนการทำงานในการตรวจวัดคุณภาพน้ำ คือ จุดตรวจวัด ตรงไหน สอบเทียบเครื่องมือก่อนทำการตรวจวัด เข้าไปตรวจวัดในพื้นที่ และใครเป็นผู้ใช้น้ำ ตัวอย่างของ คบ.สามชุก คือ ผู้ใช้น้ำเป็นโรงงานน้ำแข็ง การเลือกรูปแล้วแต่โครงการเห็นสมควร

ขั้นที่ 2 บทที่ 1-2

โครงการที่มีเครื่องมือ หัวรวม เมื่อ download มาแล้ว ไม่จำเป็นต้องเปลี่ยนแปลง ในส่วนนี้มีเพียงบทที่ 1 บทนำที่มีข้อมูลที่แต่ละโครงการต้องเปลี่ยนคือ หัวข้อ 1.1 อธิบายว่าโครงการอะไร ได้รับงบประมาณตั้งแต่ปีไหน และเริ่มทำการตรวจวัดครั้งแรกเมื่อไร

โครงการที่มีเครื่องมือ หัวแยก เนื่องจากเครื่องมือแบบหัวแยกมีหลายประเภท แต่ที่ทางฝ่ายตะกอนฯ ทำตัวอย่างรายงานให้เป็นเครื่องมือ แม่วังที่ทำเป็นตัวอย่าง

(1) HQ40d-pH/Conductivity/DO meter, 2-probe connector ใช้สามารถวัดค่าได้ 2 หัว คือ หัวที่ 1 วัดค่า EC TDS Salinity และ หัวที่ 2 วัดค่า DO

(2) เครื่องมือยี่ห้อ HACH รุ่น SensION2 วัดค่า pH และอุณหภูมิ

ดังนั้นหากโครงการหัวแยกอื่นๆ นอกเหนือจากนี้ในหัวข้อ 2.3 ขอให้ใช้คู่มือของโครงการที่ทำขึ้นเอง

เช่นกันกับเมื่อ download มาแล้ว ไม่จำเป็นต้องเปลี่ยนแปลง บทที่ 1-3 ในส่วนนี้มีเพียงบทที่ 1 บทนำที่มีข้อมูลที่แต่ละโครงการต้องเปลี่ยนคือ หัวข้อ 1.1 อธิบายว่าโครงการอะไร ได้รับงบประมาณตั้งแต่ปีไหน และเริ่มทำการตรวจวัดครั้งแรกเมื่อไร

ขั้นที่ 3 บทที่ 3

บทที่ 3 จะเป็นบทที่เกี่ยวข้องกับโครงการโดยตรง โดยภาพรวมแล้วจะเหมือนเดิมมีการเปลี่ยนแปลงเล็กน้อย ดังนี้

(1) ในหัวข้อ 3.1 จะยังคงเหมือนเดิม คือ อธิบายว่าโครงการมีจุดตรวจวัดตรงไหนบ้าง ที่ตั้งจุดตรวจวัด พิกัด แต่รูปภาพที่จัดทำขอให้แสดงแหล่งน้ำต้นทุนของโครงการฯ ดังรูปของแม่วัง แม่วังได้รับน้ำต้นทุนจาก เขื่อนกิ่วลมและเขื่อนกิ่วคอหมา ดังนั้นรูปของแม่วังจะมี กิ่วลมและกิ่วคอหมาเข้ามาด้วย

(2) ในหัวข้อ 3.2 แผน-ผลการดำเนินงานของโครงการฯ ขอให้ตรวจสอบแต่ละขั้นตอนแต่เนื่องจากแต่ละขั้นตอนเป็นสิ่งที่โครงการแต่ละโครงการจะต้องจัดทำอยู่แล้ว ดังนั้น จะเหมือนกันทุกขั้นตอน ยกเว้นขั้นตอนที่ 1 ซึ่งพบว่าบางโครงการไม่ได้ขอตั้งงบประมาณในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการตรวจวัดคุณภาพน้ำเอาไว้

(3) ในหัวข้อ 3.3 ผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัด 3.4 คุณภาพน้ำชลประทาน ในหัวข้อนี้จะแตกต่างกัน 2 หลายประเด็นคือ (1) จำนวนโครงการ จะแยกเป็นโครงการที่มี 1 จุดตรวจวัด และ โครงการที่มีมากกว่า 1 จุดตรวจวัด (2) จำนวนแหล่งน้ำต้นทุน จะแยกเป็นโครงการที่มีแหล่งน้ำต้นทุนที่เป็นอ่างเก็บน้ำและโครงการที่ไม่มีแหล่งน้ำต้นทุน เป็นเพียงฝาย ซึ่งต้องใช้ระดับของฝายเป็นตัวคำนวณปริมาณน้ำต้นทุน ในปีนี้จะปรับให้ง่ายขึ้นจะไม่ค่อยมีคำอธิบาย ในหัวข้อนี้จะอธิบายแค่นิดหน่อย ซึ่งแต่ละโครงการต้องดูที่ผลลัพธ์ของตัวเอง คำอธิบายอธิบายแค่ได้ผลอยู่ในระดับไหน เนื่องจากอะไร และให้ไปดูในตารางที่ เท่าไหร่ หากโครงการมี 1 จุดตรวจวัด “ดังตารางที่ 3.1-3.3” หากโครงการมีมากกว่า 1 จุดตรวจวัด “ดังตารางที่ 3.1-3.4” ดังนี้

ตารางที่ใช้ในการจัดทำรายงาน ให้ไป copy ข้อมูลของแต่ละตารางมาใส่ในตารางตัวอย่างที่มีอยู่ซึ่งแต่ละโครงการจะมีจำนวนตารางจำแนกตามจำนวนจุดตรวจวัดดังนี้

โครงการที่มีเครื่องมือแบบหัวรวมและมีจุดตรวจวัด 1 จุดตรวจวัด

ตารางที่ 3.1 ปริมาณน้ำต้นทุนในอ่างเก็บน้ำฯ ระดับน้ำใช้การและค่าถ่วงน้ำหนักน้ำใช้การ

ตารางที่ 3.2 ผลการตรวจวัดคุณภาพน้ำที่จุดตรวจวัดฯ

ตารางที่ 3.3 ระดับผลสำเร็จตามตัวชี้วัดที่ 3.7 คุณภาพน้ำชลประทานประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 รายเดือนและเฉลี่ยรายปี ของโครงฯ

โครงการที่มีเครื่องมือแบบหัวรวมและมีจุดตรวจวัด มากกว่า 1 จุดตรวจวัด

ตารางที่ 3.1 ปริมาตรน้ำใช้การ ร้อยละน้ำใช้การ ระดับน้ำใช้การและค่าถ่วงน้ำหนักน้ำใช้การ

ตารางที่ 3.2 ผลการตรวจวัดคุณภาพน้ำรายเดือนเฉลี่ยของโครงการฯ

ตารางที่ 3.3 ผลการตรวจวัดคุณภาพน้ำเฉลี่ยทั้งปีของแต่ละจุดตรวจวัดของโครงการฯ

ตารางที่ 3.4 ระดับผลสำเร็จตามตัวชี้วัดที่ 3.7 คุณภาพน้ำชลประทานประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 รายเดือนและเฉลี่ยรายปี ของโครงการฯ

ในตารางที่ 3.1 จะแตกต่างไปตามปริมาณน้ำต้นทุนของแต่ละโครงการเนื่องจากโครงการบางโครงการมีอ่างเก็บน้ำเดียว แต่หลายโครงการมีมากกว่านั้น ดังนั้น วิธีการวางตารางที่ง่ายที่สุดคือ copy ตารางมาแล้ว

paste แบบพิเศษเลือก Picture (Enhanced Metafile)

รูปที่ได้จะพอดีกับหน้าดังนี้

(4) หัวข้อ 3.4 ผลการตรวจวัดคุณภาพน้ำของโครงการฯ แต่ในปี 2560 จะอธิบายแค่ค่าเฉลี่ยของทุกจุดตรวจวัดในแต่ละเดือนเพื่อดูแนวโน้มในแต่ละเดือนของภาพรวมทั้งโครงการ ดังนั้น ไม่ว่าจะมีกี่จุดตรวจวัดจะอธิบายเท่ากัน

ขั้นที่ 4 บทที่ 4 บทสรุปและข้อเสนอแนะ

เหมือนในปี 2559 คือ มี 4.1 บทสรุป 4.2 ปัญหาและอุปสรรค 4.3 ข้อเสนอแนะ ซึ่งควรเขียนให้ชัดเจนในแต่ละโครงการอาจจะไม่ได้มีปัญหาดังตัวอย่างที่จัดทำให้ หากมี ก็ขอให้สรุปตามที่มี

ขั้นที่ 4 ภาคผนวค

ภาคผนวก ก

จะมีเฉพาะ โครงการที่มีจุดตรวจวัดมากกว่า 1 จุดตรวจวัด มีทั้งหมด 6 ตาราง จำแนกตามดัชนีแต่ละประเภท

ภาคผนวก ข เป็นรูป (โครงการที่มีจุดตรวจวัดเดียวจะเป็นภาคผนวค ก)

เป็นภาคผนวกสำหรับอธิบายการใช้น้ำในแต่ละจุดตรวจวัด ซึ่งอธิบายในรูปภาพ แล้วแต่ละโครงการจะใส่อะไร แต่ขอให้เป็นในส่วนที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการตรวจวัดคุณภาพน้ำ เช่น ทางน้ำชลประทาน ผู้ใช้น้ำ จุดตรวจวัด รูปขณะเข้าไปทำการตรวจวัดเป็นต้น

ภาคผนวก ค เป็นรูป (โครงการที่มีจุดตรวจวัดเดียวจะเป็นภาคผนวค ข) ในส่วนของโครงการที่ได้รับหัวแยกจะไม่ไม่ภาคผนวค ค เนื่องจากเป็นการใช้เครื่องมือแบบหัวรวม

บทสรุปสำหรับผู้บริหาร เหมือนกับในปี 2558

เนื้อหาในบทสรุปสำหรับผู้บริหารประกอบด้วย 4 ย่อหน้า ดังนี้

· ย่อหน้าแรกจะเป็นบทนำซึ่งควรจะเหมือนกันทุกโครงการ

· ย่อหน้าที่สอง อธิบายสรุปตามตัวชี้วัด 3.4

· ย่อหน้าที่ อธิบายสามสรุปเกี่ยวกับ ผลการตรวจวัด ซึ่งจะดูภาพรวมว่าแต่ละดัชนี ค่าที่มีความเสี่ยงคุณภาพน้ำไม่ดีอยู่ที่เดือนอะไร จุดตรวจวัดไหน เพื่อเป็นประโยชน์ในการเฝ้าระวังต่อไป (ค่า อุณหภูมิ pH EC Salinity TDS ดูจากค่าสูงสุด ค่า DO ดูจากค่าต่ำสุด)

· ย่อหน้าที่สี่ จะอธิบายสรุป ปัญหาอุปสรรคและแนวทางแก้ไข

หมายเหตุ: ขอให้โครงการตรวจสอบชื่อ ให้เป็นชื่อของโครงการเอง หลังจากที่ download file ตัวอย่างมาแล้ว ด้วย และในหน้าสารบัญขอให้ทางโครงการฯ ตรวจสอบด้วย

หากมีข้อสงสัยหรือไม่เข้าใจสามารถ ส่งเจ้าหน้าที่เข้าไปสอบถามได้ที่ ฝ่ายตะกอนและคุณภาพน้ำ ส่วนอุทกวิทยา สำนักบริหารจัดการน้ำและอุทกวิทยา

เดือน

ปริมาตรทั้งหมดปริมาตรใช้การอ่างฯ ห้วยแกงอ่างฯ ห้วยสะทดอ่างฯ บึงอร่ามอ่างฯ ห้วยสังเคียบอ่างฯ ลำพะยัง

(

ตอนบน

)

อ่างฯ ห้วยสีทนอ่างฯ ห้วยโพธิ์อ่างฯ ห้วยมะโนอ่างฯ ห้วยผึ้งอ่างฯ ห้วยจุมจังอ่างฯ ห้วยสายนาเวียงรวมน้ำใช้การร้อยละน้ำใช้การระดับน้ำใช้การค่าถ่วงน้ำหนักน้ำใช้การ

ตุลาคม 255874.5270.746.293.922.837.152.521.692.285.191.632.730.3936.6251.77น้ำดี1.00

พฤศจิกายน 255874.5270.749.456.552.836.662.803.372.285.072.112.810.4744.4062.77น้ำดี1.00

ธันวาคม 255874.5270.748.985.592.546.282.662.542.074.631.722.620.4240.0556.62น้ำดี1.00

มกราคม 255974.5270.747.445.171.795.052.341.621.733.941.502.350.3733.3047.08

น้ำพอใช้

1.05

กุมภาพันธ์ 255974.5270.746.534.451.034.352.101.411.263.231.301.820.3327.8139.32

น้ำพอใช้

1.05

มีนาคม 255974.5270.745.873.682.343.231.861.191.222.421.081.350.2924.5334.68

น้ำพอใช้

1.05

เมษายน 255974.5270.744.482.941.201.951.591.001.361.630.871.040.2618.3125.89น้ำน้อย1.10

พฤษภาคม 255974.5270.742.522.280.771.541.341.171.651.350.710.800.2214.3520.28น้ำน้อย1.10

มิถุนายน 255974.5270.743.401.751.361.451.231.072.101.080.590.740.2114.9821.17น้ำน้อย1.10

กรกฎาคม 255974.5270.743.952.521.462.251.210.732.281.650.800.960.2318.0425.50น้ำน้อย1.10

สิงหาคม 255974.5270.744.482.941.201.951.591.001.361.630.871.040.2618.3125.89น้ำน้อย1.10

กันยายน 255974.5270.744.482.941.201.951.591.001.361.630.871.040.2618.3125.89น้ำน้อย1.10

เฉลี่ย

74.5270.745.663.731.713.651.901.481.752.791.171.610.3125.7536.40น้ำพอใช้1.05