volume 1/ 2012 frupdate set ·...

16
@ FRUpdate SET Volume 1/ 2012 FEBRUARY 2012 Financial Reporting Update @ The Stock Exchange of Thailand

Upload: others

Post on 28-Dec-2019

0 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: Volume 1/ 2012 FRUpdate SET · บัญชีสําหรับเงินอุดหนุนจากร ัฐบาลและการเป ดเผย ... ปริมใจเอี่ยมเพชราพงศ

@FRUpdate SET

Volume 1/ 2012

FEBRUARY 2012

Financial Reporting Update @ The Stock Exchange of Thailand

Page 2: Volume 1/ 2012 FRUpdate SET · บัญชีสําหรับเงินอุดหนุนจากร ัฐบาลและการเป ดเผย ... ปริมใจเอี่ยมเพชราพงศ

Inspiration Get the Look

3

36

9

10121314

สวัสดีครับ FRUpdate@SET Volume

1/2012 ฉบับแรกของปมังกรไดมาทักทายทุกทาน

กันแลวนะครับ ชวงนี้หลายๆ ทานคงจะหายเหนื่อยกับ

การฉลองปใหม ตรุษจีน วาเลนไทน และที่สําคัญคือ

การจัดทําและนําสงงบการเงินประจําป 2554 แลวนะครับ...

ผานมาแลว 1 ป สําหรับการปฏบิัตติามมาตรฐาน

การบัญชีใหม 27 ฉบับที่บังคับใชในป 2554.. ในป

2555 น้ี ถึงจะไมมีมาตรฐานใหมที่จะมีผลบังคับใหตอง

ปรับตัวกัน แตอยาลืมวายังมีมาตรฐานการบัญชีอีก 3

ฉบับที่รออยู ซ่ึงจะตองปฏิบัติในป 2556 คือ ภาษีเงินได

(TAS12) ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของอัตรา

แลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศ (TAS21) และ การ

บัญชีสําหรับเงินอุดหนุนจากรัฐบาลและการเปดเผย

ข้อมูลเกี่ยวกับความช่วยเหลือจากรัฐบาล (TAS20)

หวังวาทุกทานจะมีเวลาเตรียมพรอมเพ่ือปฏิบัติตาม

มาตรฐานการบัญชีดังกลาวดวยนะครับ เตรียมตัวดีมีชัย

ไปกวาคร่ึง...และเราไดสรุปภาพรวมและนัยในทาง

ปฏิบัติของมาตรฐานดังกลาว ติดตามไดใน Audit

Committee BRIEF เตรียมความพรอมสําหรับการ

จัดทํารายงานทางการเงินป 2556

และเนื่ องจากมาตรฐานการบัญชีตองมีการ

พัฒนาไปอยางตอเน่ือง Special Talk ฉบับนี้ไดรับ

เกียรติจาก รศ.ดร.วรศักดิ์ ทุมมานนท ประธานคณะ

กรรมการกําหนดมาตรฐานการบัญชีมาใหสัมภาษณ

เก่ียวกับแผนงานและทิศทางการพัฒนามาตรฐานการ

บัญชีไทย...ติดตามฟงกันนะครับ

เราจะนําสาระด ีๆ มาเสนอทานทุก 2 เดอืนเชนเคย ...

ตดิตามกันนะครับ

สุภกิจ จิระประดิษฐกุลผูชวยผูจัดการ

ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย

ลิขสิทธ์ิของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย

ทัศนะและขอคิดเห็นตางๆ ท่ีปรากฏในหนังสือเปนความเห็นสวนตัวของผูเขียน ซึ่งตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยไมจําเปนตองเห็นดวยเสมอไป

ที่ปรึกษา FRUpdate@SETรศ.ดร.อังครัตน เพรียบจริยวัฒน ที่ปรึกษา ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยผาณิต เกิดโชคชัย ผูอํานวยการฝายศูนยการเรียนรู

ทีมงาน FRUpdate@SET : ฝายกํากับบริษัทจดทะเบียนปริมใจ เอี่ยมเพชราพงศ อุษณีย สมศิริ กฤติมา ศรีคุณารักษ

We’ve got mailเราอยากทราบวาทานคิดอยางไรกับรูปแบบ เน้ือหา

หรือคําตอบท่ีทานอยากใหเราชวยหา...สงสารถึงเราไดที่

[email protected]

Special Talkสัมภาษณพิเศษ : รศ.ดร.วรศักด์ิ ทุมมานนท ประธานคณะกรรมการ กําหนดมาตรฐานการบัญชี“แผนงานและทิศทางการพัฒนามาตรฐานการบัญชีไทย”

Audit Committee BRIEF เตรียมความพรอมสําหรับ การจัดทํารายงานทางการเงิน ป 2556

Inside TFRS มาตรฐานการบัญชี ฉบับท่ี 20 เร่ือง การบัญชีสําหรับเงินอุดหนุนจากรัฐบาลและการเปดเผยขอมูล เก่ียวกับความชวยเหลือจากรัฐบาล (TAS20)

IFRS Update พัฒนาการของมาตรฐานการบัญชีในตางประเทศ

TFRS Progressความคืบหนาของมาตรฐานท่ีเก่ียวของกับการบัญชีไทย

ชวนคิดการรับรูรายการเม่ือกิจการซ้ือ (สิทธิใน) ท่ีดิน

Training & Seminar Update

Financial Reporting QUIZ

Page 3: Volume 1/ 2012 FRUpdate SET · บัญชีสําหรับเงินอุดหนุนจากร ัฐบาลและการเป ดเผย ... ปริมใจเอี่ยมเพชราพงศ

Page 3

Vol. 1 / 2012

Special TALK

สัมภาษณพิเศษรศ.ดร.วรศักดิ์ ทุมมานนท ประธานคณะกรรมการกําหนดมาตรฐานการบัญชี

“แผนงานและทิศทางการพัฒนามาตรฐานการบัญชีไทย”

เตรียมความพรอมสําหรับการจัดทํา รายงานทางการเงิน ป 2556

Audit Committee BRIEF

ป 2554 ที่ผานไป บริษัทจดทะเบียนตองจัดทํางบการเงินใหเปนไปตามมาตรฐานการบัญชีหลาย

ฉบับที่สภาวิชาชีพบัญชีฯ ประกาศใหมีผลบังคับใช อยางไรก็ตาม ยังมีมาตรฐานการบัญชีอีก 3 ฉบับที่จะ

ตองปฏิบัติในป 2556 ไดแก มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 12 เรื่อง ภาษีเงินได (TAS12) มาตรฐานการบัญชี

ฉบับที่ 21 เร่ือง ผลกระทบจากการเปล่ียนแปลงของอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศ (TAS21) ซึ่งเนื้อหา

ของมาตรฐาน 2 ฉบับน้ีไดนําเสนอใน FRUpdate ฉบับกอนหนาน้ีแลว และมาตรฐานการบัญชีฉบับท่ี 20 เร่ือง

การบัญชสีาํหรับเงนิอุดหนนุจากรัฐบาลและการเปดเผยขอมลูเก่ียวกับความชวยเหลือจากรัฐบาล (TAS20)

ซึ่งเนื้อหาไดนําเสนอใน FRUpdate ฉบับนี้

บทความนี้เปนการสรุปประเด็นสําคัญของมาตรฐานการบัญชี 3 ฉบับดังกลาว สําหรับกรรมการ

ตรวจสอบและฝายจัดการที่ตองการทําความเขาใจในภาพรวมและนัยของการปฏิบัติตามมาตรฐานที่มีตอ

ธุรกิจ เพื่อนําไปประกอบการพิจารณาการจัดทํารายงานทางการเงิน

Page 4: Volume 1/ 2012 FRUpdate SET · บัญชีสําหรับเงินอุดหนุนจากร ัฐบาลและการเป ดเผย ... ปริมใจเอี่ยมเพชราพงศ

Page 4

TAS12 : ภาษีเงินได

ขอกําหนดของมาตรฐาน – กําหนดวิธีปฏิบัติทางบัญชีสําหรับภาษีเงินได รวมถึงการ บันทึกผลทางภาษีในปจจุบันและในอนาคตของ • รายการหรือเหตุการณอื่นของงวดปจจุบันที่รับรูใน งบการเงิน • การไดรับคืนในอนาคตสําหรับสินทรัพยที่รับรูใน งบแสดงฐานะการเงิน • การจายชําระในอนาคตสําหรับหนี้สินที่รับรู ใน งบแสดงฐานะการเงิน

นัยในทางปฏิบัติคาใชจายภาษีในงบกําไรขาดทุน เทากับผลรวมของภาษีของงวดและภาษีรอตัดบัญชีของงวด

ประเด็นสําคัญ

ภาษีเงินไดของงวดปจจุบัน คือ ภาษีเงินไดที่ตองชําระหรือขอคืนได ซึ่งเกิดจากกําไร (ขาดทุน) ทางภาษีสําหรับงวด

สินทรัพยภาษีเงินไดรอตัดบัญชีหรือหนี้สินภาษีเงินไดรอตัดบัญชี เกิดขึ้นเมื่อการไดรับคืนสินทรัพยหรือการจายชําระหนี้สินกระทบจํานวนภาษีที่ตองจายในอนาคต

สินทรัพยภาษีเงินไดรอตัดบัญชี อาจเปนผลมาจากขาดทุนทางภาษีและเครดิตภาษีที่ยังไมไดใชซึ่งกิจการจะรับรูไดเมื่อมีความเปนไปไดคอนขางแนวาจะมีกําไรทางภาษีในอนาคตเพียงพอที่จะนําผลขาดทุนทางภาษีหรือเครดิตภาษีที่ยังไมไดไปใชประโยชนได การที่กิจการยังคงมีผลขาดทุนทางภาษีที่ยังไมไดใชอาจเปนขอระบุวากิจการอาจไมมีกําไรทางภาษีในอนาคตที่เพียงพอเพื่อใชประโยชนจากผลขาดทุนดังกลาว

การวัดมูลคาภาษีรอตัดบัญชี ตองวัดดวยอัตราภาษีสําหรับงวดที่คาดวาจะไดรับประโยชนจากสินทรัพยภาษีเงินไดรอตัดบัญชีหรือในงวดที่คาดวาจะจายชําระหน้ีสินภาษี โดยใชอัตราภาษีที่มีผลบังคับใชอยู หรือที่คาดไดคอนขางแนวาจะมีผลบังคับใชภายในสิ้นรอบระยะเวลาท่ีรายงาน กรณีที่มีการเปลี่ยนแปลงอัตราภาษี ก็จะตองปรับปรุงสินทรัพยภาษีเงินไดรอตัดบัญชีหรือหนี้สินภาษีเงินไดรอตัดบัญชีดวยรายละเอียดเพิ่มเติม: FRUpdate@SET Volume 6/2011

TAS20 : การบัญชีสําหรับเงินอุดหนุนจากรัฐบาลและการเปดเผยขอมูลเกี่ยวกับ ความชวยเหลือจากรัฐบาล

ขอกําหนดของมาตรฐาน – กําหนดวิธีปฏิบัติทางบัญชีสําหรับเงินอุดหนุนจาก รัฐบาลและการเปดเผยขอมูลเกี่ยวกับความชวยเหลือ จากรัฐบาล

นัยในทางปฏิบัติ• การเปดเผยขอมูลเก่ียวกับเงินอุดหนุนและความชวยเหลือ ของรัฐบาลชวยใหงบการเงินของบริษัทเปรียบเทียบ กันไดกับงบการเงินของงวดกอนๆ หรือกับงบการเงิน ของบริษัทอื่นๆ ในอุตสาหกรรมท่ีคลายคลึงกันแตไมได รับการอุดหนุนหรือความชวยเหลือจากรัฐบาล• วิจารณญาณที่สําคัญของบริษัทคือพิจารณาวาบริษัทจะ สามารถดําเนินการตามเง่ือนไขการไดรับเงินอุดหนุน จากรัฐบาลไดหรือไม

รายละเอียดเพิ่มเติม: คอลัมน Inside TFRS หนา 6

Page 5: Volume 1/ 2012 FRUpdate SET · บัญชีสําหรับเงินอุดหนุนจากร ัฐบาลและการเป ดเผย ... ปริมใจเอี่ยมเพชราพงศ

Page 5

Vol. 1 / 2012

TAS21 : ผลกระทบจากการเปล่ียนแปลงของอัตราแลกเปล่ียนเงินตราตางประเทศ

ขอกําหนดของมาตรฐาน – กําหนดวิธีการที่รวมรายการที่เปนสกุลเงินตางประเทศ และการดําเนินงานในตางประเทศในงบการเงินของบริษัท รวมท้ังวิธีการในการแปลงคางบการเงินเปนสกุลเงิน ที่ใชในการรายงาน

นัยในทางปฏิบัติกิจการตองพิจารณากําหนดสกุลเงินหลักในการดําเนินงาน ซึ่งสกุลเงินหลักของแตละบริษัทในกลุมบริษัทขามชาติอาจแตกตางกัน ในกรณีน้ี งบการเงินของแตละบริษัทจะถูกแปลงคาเปนสกุลเงินที่ใชในการรายงานเดียวกันเมื่อมีการจัดทํางบการเงินรวม

ประเด็นสําคัญ

กิจการตองวัดมูลคารายการในงบการเงินดวยสกุลเงินหลักในการดําเนินงาน ซึ่งเปนสกุลเงินที่ของสภาพแวดลอมทางเศรษฐกิจหลักที่บริษัทดําเนินงาน (สกุลเงินซ่ึงในกําหนดราคาของรายการทางธุรกิจ)

รายการท่ีเปนเงินสกุลอ่ืนท่ีไมใชสกุลเงินหลักในการดําเนินงานตองแปลงคาดวยอัตราแลกเปล่ียนทันที ณ วันท่ีเกิดรายการ

สินทรัพยและหนี้สินที่เปนรายการท่ีเปนตัวเงินจะตองแปลงคาโดยใชอัตราแลกเปลี่ยนทันที ณ วันสิ้นงวด (อัตราปด) สวนรายการท่ีไมเปนตัวเงินตองแปลงคาโดยใชอัตราแลกเปล่ียน ณ วันท่ีรายการถูกวัดคาดวยราคาทุนเดิมหรือมูลคายุติธรรม

ผลตางของอัตราแลกเปล่ียนซ่ึงเกิดจากรายการที่เปนตัวเงินใหรับรูเปนกําไรหรือขาดทุนในงวดท่ีเกิดผลตางนั้น อยางไรก็ตาม ในงบการเงินรวมการดําเนินงานในตางประเทศ (เชน งบการเงินรวม) ผลตางของอัตราแลกเปลี่ยนซึ่งเปนสวนหน่ึงของเงนิลงทนุสทุธใินการดาํเนนิงานในตางประเทศ ใหรบัรูโดยตรงในสวนของผูถอืหุน และเมือ่มีการขายเงนิลงทนุสทุธนิัน้ใหโอนผลตางนั้นไปยังกําไรหรือขาดทุน

กิจการสามารถนําเสนองบการเงินในสกุลเงินใดก็ได หากสกุลเงินที่ใชในการเสนอรายงานตางจากสกุลเงินหลักในการดําเนินงาน สินทรัพยและหนี้สินตองแปลงคาดวยอัตราปด ณ วันที่ในงบแสดงฐานะการเงินนั้น สวนรายไดและคาใชจายตองแปลงคาดวยอัตราแลกเปลี่ยน ณ วันท่ีเกิดรายการรายละเอียดเพิ่มเติม: FRUpdate@SET Volume 5/2011

Page 6: Volume 1/ 2012 FRUpdate SET · บัญชีสําหรับเงินอุดหนุนจากร ัฐบาลและการเป ดเผย ... ปริมใจเอี่ยมเพชราพงศ

Page 6

การอุดหนุนจากรัฐบาล

เปนความชวยเหลือจากรัฐบาลในรูปของการโอนทรัพยากรใหบริษัทเพื่อตอบแทนสําหรับการ

ปฏิบัติตามเง่ือนไขท่ีเก่ียวของกับกิจกรรมดําเนินงานของบริษัทท้ังในอดีตและในอนาคต การอุดหนุนน้ีไมรวม

รูปแบบความชวยเหลือจากรัฐบาลท่ีไมมีมูลคาที่สมเหตุสมผลตอบริษัท และไมรวมรายการกับรัฐบาลซึ่งไม

สามารถจําแนกความแตกตางจากรายการคาตามปกติของบริษัทได

ความชวยเหลือจากรัฐบาล

เปนการดําเนินการของรัฐบาลท่ีออกแบบมาเพ่ือใหผลประโยชนทางเศรษฐกิจโดยเฉพาะเจาะจง

ตอบริษัทหรือกลุมบริษัทท่ีมีคุณสมบัติตามเง่ือนไขหรือเกณฑท่ีระบุไว ความชวยเหลือจากรัฐบาลตามมาตรฐาน

ฉบับนี้ไมรวมผลประโยชนทางออมที่ใหผานการดําเนินการที่มีผลกระทบตอสภาพการคาทั่วไป เชน การให

โครงสรางพื้นฐานในพ้ืนที่ที่ตองการการพัฒนา หรือกําหนดขอจํากัดทางการคาตอคูแขงของบริษัท

ความชวยเหลือจากรัฐบาลไมรวมการใหโครงสรางพ้ืนฐานโดยการปรับปรุงการขนสงและเครือขาย

การคมนาคมโดยทั่วไป และไมรวมการใหการปรับปรุงสาธารณูปโภค เชน เขื่อนหรือระบบการจัดการนํา

ซึ่งดําเนินการอยูแลว เพื่อประโยชนของชุมชนทองถิ่น เปนตน

การรับรูรายการ

การอุดหนุนจากรัฐบาลอาจอยูในรูปของการโอนสินทรัพยที่ไมเปนตัวเงิน เชน ที่ดินหรือทรัพยากร

อื่นๆ เพื่อใหบริษัทใชงาน ในกรณีเหลานี้ควรมีการประเมินมูลคายุติธรรมของสินทรัพยที่ไมเปนตัวเงินและ

บันทึก เงินอุดหนุนและสินทรัพยนั้นตามมูลคายุติธรรมที่ประเมินได นอกจากน้ี ใหถือวาประโยชนที่บริษัท

ไดรับจากการกูเงินจากรัฐบาลในอัตราดอกเบี้ยที่ตํากวาอัตราตลาดเปนการอุดหนุนจากรัฐบาล

มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 20 เร่ือง การบัญชีสําหรับเงินอุดหนุนจากรัฐบาลและการเปดเผยขอมูล เกี่ยวกับความชวยเหลือจากรัฐบาล (TAS20)1

การเปดเผยขอมูลท่ีเพียงพอเก่ียวกับการอุดหนุนและความชวยเหลือจากรัฐบาลมีความสําคัญตอรายงานทางการเงินเน่ืองจากจะชวยใหผูใชงบการเงินเขาใจและวิเคราะหผลการดําเนินงานของบริษัทไดอยางถูกตอง โดยเฉพาะเม่ือเปรียบเทียบกับบริษัทอื่นในอุตสาหกรรมที่คลายคลึงกันแตไมไดรับการอุดหนุนหรือความชวยเหลือจากรัฐบาล TAS 20 กําหนดวิธีการบันทึกบัญชีและการเปดเผยขอมูลเกี่ยวกับการอุดหนุนจากรัฐบาลรวมทั้งการเปดเผยขอมูลความชวยเหลือจากรัฐบาลในรูปแบบอื่นๆ

inside TFRS

1/ อางอิงจาก IFRS: ขอกําหนดสําคัญ ตัวอยางการแสดงรายการและการเปดเผยขอมูล โดยรองศาสตราจารยอังครัตน เพรียบจริยวัฒน

Page 7: Volume 1/ 2012 FRUpdate SET · บัญชีสําหรับเงินอุดหนุนจากร ัฐบาลและการเป ดเผย ... ปริมใจเอี่ยมเพชราพงศ

Page 7

Vol. 1 / 2012

หลักเกณฑในการรับรูรายการ ระยะเวลาการรับรูรายการ

บริษัทตองไมรับรูการอุดหนุนจากรัฐบาล รวมท้ังการอุดหนุนจากรัฐบาลในรูปของสินทรัพยที่ไมเปนตัวเงินดวยมูลคายุติธรรม จนกวามีความแนใจอยางสมเหตุสมผลวาบริษัท• จะปฏิบัติไดตามเงื่อนไขที่มีอยูของการอุดหนุนน้ัน และ

• จะไดรับเงินอุดหนุนนั้น

บริษัทตองรับรูการอุดหนุนจากรัฐบาลเปนรายไดตลอดงวดระยะเวลาที่จําเปนท่ีจะจับคูรายไดจากการอุดหนุนน้ันกับตนทุนท่ีสัมพันธกันเพ่ือเปนการชดเชยตนทุนน้ันตามเกณฑที่เปนระบบ สําหรับการอุดหนุนจากรัฐบาลซึ่งกลายเปนลูกหนี้เพื่อเปนคาชดเชยคาใชจายหรือขาดทุนที่เกิดขึ้นแลว หรือเพื่อวัตถุประสงคของการใหการสนับสนุนทางการเงินโดยทันทีซึ่งไมมีตนทุนในอนาคตท่ีสัมพันธกัน ตองรับรูเปนรายไดในงวดที่เงินอุดหนุนน้ันเขาเงื่อนไขการเรียกเก็บเงินได

การอุดหนุนที่เก่ียวของกับสินทรัพย : เปนการอุดหนุนจากรัฐบาลซึ่งมีเงื่อนไขหลักคือบริษัทที่เขาเงื่อนไข

ตองซ้ือ หรือสราง หรือใชวิธีการอ่ืนๆ ในการจัดหาสินทรัพยระยะยาว อาจมีเง่ือนไขปลีกยอยอ่ืนในการอุดหนุน

ซึ่งจํากัดประเภทหรือที่ตั้งของสินทรัพยหรืองวดเวลาท่ีตองมีการจัดหาหรือมีสินทรัพย

บรษิัทตองแสดงการอุดหนุนจากรัฐบาลท่ีเกี่ยวของกับสินทรัพย รวมทั้งการอุดหนุนจากรัฐบาลในรูปของ

สินทรัพยที่ไมเปนตัวเงินท่ีมูลคายุติธรรมในงบแสดงฐานะการเงินโดยการตั้งการอุดหนุนเปนรายไดรอตัด

บัญชีหรือโดยการหักจํานวนเงินอุดหนุนที่ไดรับจากมูลคาในบัญชีของสินทรัพย

การอุดหนุนที่เก่ียวของกับรายได : เปนการอุดหนุนจากรัฐบาลในรูปแบบอื่นที่ไมใชที่เก่ียวของกับสินทรัพย

ในบางครั้งการอุดหนุนที่เกี่ยวกับรายไดอาจแสดงเปนยอดเครดิตแยกตางหากในงบกําไรขาดทุนหรือ

ภายใตหัวขอทั่วไป เชนรายไดอื่น หรือในบางครั้งก็แสดงเปนรายการหักจากคาใชจายที่เก่ียวของ

การจายคืนเงินอุดหนุนจากรัฐบาล : เงินอุดหนุนจากรัฐบาลที่ตองจายคืนตองบันทึกเปนการปรับปรุง

ประมาณการทางบัญชี การจายคืนเงินอุดหนุนที่เกี่ยวของกับรายไดตองนําไปหักจากรายไดรอตัดบัญชีสวน

ที่ยังคงเหลือที่เกี่ยวของกับเงินอุดหนุน จํานวนท่ีตองจายคืนสวนที่เกินกวารายไดรอตัดบัญชีหรือกรณีที่ไมมี

รายไดรอตัดบัญชีตองบันทึกเปนคาใชจายทันที

การจายคืนเงินอุดหนุนที่เกี่ยวของกับสินทรัพยตองบันทึกโดยเพ่ิมมูลคาในบัญชีของสินทรัพยหรือ

ลดยอดคงเหลือของรายไดรอตัดบัญชีเทากับจํานวนท่ีตองจายคืน คาเส่ือมราคาสะสมเพ่ิมเติมท่ีควรรับรูเปน

คาใชจายถึงวันนั้นหากไมไดรับการอุดหนุนตองรับรูเปนคาใชจายทันที

การเปดเผยขอมูล

ตองมีการเปดเผยขอมูลเรื่องตอไปนี้

• นโยบายบัญชีสําหรับการอุดหนุนจากรัฐบาล รวมทั้งวิธีการนําเสนอที่ใชในงบการเงิน

• ลักษณะและจํานวนของการอุดหนุนจากรัฐบาลที่ไดรับรูในงบการเงิน และระบุถึงรูปแบบอื่นของ

ความชวยเหลือจากรัฐบาลซ่ึงบริษัทไดรับประโยชนโดยตรง และ

Page 8: Volume 1/ 2012 FRUpdate SET · บัญชีสําหรับเงินอุดหนุนจากร ัฐบาลและการเป ดเผย ... ปริมใจเอี่ยมเพชราพงศ

Page 8

• เง่ือนไขท่ียังไมไดปฏิบัติและความไมแนนอนอ่ืนที่เกิดจากการชวยเหลือจากรัฐบาลท่ีไดรับรูใน

งบการเงินแลว

ตัวอยางการรับรูรายการและการเปดเผยขอมูล2

ตัวอยางที่ 1 กิจการแหงหนึ่งไดรับเงินอุดหนุนจากรัฐบาลเปนจํานวน 30 ลานยูโร เพื่อเปนการชวยเหลือ

คาใชจายตนทุนสิ่งแวดลอมเปนระยะเวลา 5 ป กิจการจะมีตนทุนเกี่ยวกับสิ่งแวดลอมตลอด

ระยะเวลา 5 ปน้ี เทากับ 1, 2, 3, 4 และ 5 ลานยูโรตามลําดับ รวมตนทุนท้ังหมด 15 ลานยูโร

การคํานวณจํานวนที่กิจการจะรับรูเงินอุดหนุนจากรัฐบาลเปนรายไดอยางเปนระบบตลอด

ระยะเวลาท่ีกิจการรับรูตนทุนที่เงินอุดหนุนนั้นจายใหเปนการชดเชย อาจแสดงไดดังนี้

ปที่ การรับรูเงินอุดหนุน (ลานยูโร)

1 30 x (1/15) = 2

2 30 x (2/15) = 4

3 30 x (3/15) = 6

4 30 x (4/15) = 8

5 30 x (5/15) = 10

ตัวอยางที่ 2 กิจการแหงหนึ่งไดรับเงินอุดหนุนจากรัฐบาลเปนจํานวน 100 ลานยูโร เพื่อซื้อโรงกลั่นแหงหนึ่ง

ซึ่งต้ังอยูในเขตที่เศรษฐกิจยังลาหลัง โดยประมาณการวาตนทุนของโรงกลั่นเทากับ 200 ลาน

ยูโร เง่ือนไขอีกอยางหน่ึงท่ีกิจการตองปฏิบัติคือการกําหนดอัตราสวนการจางแรงงานในทองถ่ินน้ัน

ตองมีจํานวนเปน 1 เทาของแรงงานจากแหงอื่นเปนเวลา 5 ป โรงกลั่นดังกลาวจะคิดคาเสื่อม

ราคาโดยวิธีเสนตรงตลอดระยะเวลา 10 ป

เงินอุดหนุนจากรัฐบาลจะรับรูเปนรายไดของกิจการตลอดระยะเวลา 10 ป ตามสัดสวนของ

คาเส่ือมราคาเทากับปละ 10 ลานยูโร สําหรับเงื่อนไขการดํารงสัดสวนการจางแรงงานทองถิ่น :

แรงงานแหงอื่น ที่ 1:1 จะตองเปดเผยในหมายเหตุประกอบงบการเงินตลอดระยะเวลา 5 ป

2/ อางอิงจาก Wiley 2010 Interpretation and Application of International Financial Reporting Standards โดย Barry J. Epstein & Eva K. Jermakowicz

Page 9: Volume 1/ 2012 FRUpdate SET · บัญชีสําหรับเงินอุดหนุนจากร ัฐบาลและการเป ดเผย ... ปริมใจเอี่ยมเพชราพงศ

Page 9

Vol. 1 / 2012

ตัวอยางที่ 3 กิจการแหงหนึ่งไดรับท่ีดินที่อยูนอกเขตเมือง 1000 เอเคอรจากรัฐบาลทองถิ่น มีเงื่อนไขวา

กิจการตองทําความสะอาดท่ีดินและสรางถนนโดยจางแรงงานจากทองถ่ินดังกลาว โดยรัฐบาล

ไดกําหนดคาจางข้ันตํ่าไว ประมาณการตนทุนสําหรับการดําเนินการท้ังหมดเทากับ 60 ลานยูโร

แบงจายปแรกและปที่สองปละ 10 ลานยูโร และปที่สาม 40 ลานยูโร มูลคายุติธรรมของท่ีดิน

เทากับ 120 ลานยูโร

กิจการตองรับรูเงินอุดหนุนจากรัฐบาลดังกลาวดวยมูลคายุติธรรมตลอดระยะเวลา 3 ป ตาม

สัดสวนของตนทุนที่ตองดําเนินการตามเงื่อนไข ดังนี้

ปที่ การรับรูเงินอุดหนุน (ลานยูโร)

1 120 x (10/60) = 20

2 120 x (10/60) = 20

3 120 x (40/60) = 80

IFRS Update

พัฒนาการของมาตรฐานการบัญชีในตางประเทศ

I การเร่ิมใช IFRS9 (Financial Instruments)

ตามที่ International Accounting Stand-ard Boards หรือ IASB ไดเปดรับฟงความคิดเห็นเก่ียวกับการเล่ือนวันที่มีผลบังคับใชมาตรฐานการรายงานทางการเงินระหวางประเทศ ฉบับท่ี 9 เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน (IFRS 9 Financial Instruments) นั้น เมื่อเดือนธันวาคม 2554 IASB ไดมีขอสรุปใหเลื่อนการบังคับใชมาตรฐานดังกลาว โดยใหใชกับงบการเงินท่ีมีรอบระยะเวลาบัญชีตั้งแตวันที่ 1 มกราคม 2558 เปนตนไป นอกจากน้ี ยังยกเลิกขอกําหนดใหปรับปรุงงบการเงินที่นํามาเปรียบเทียบเม่ือกิจการเร่ิมใชมาตรฐานฉบับนี้ครั้งแรก

II แนวทางปฏิบัติในชวงเปลี่ยนแปลงเมื่อใช IFRS10 (Consolidated Financial Statements)

IASB อยูระหวางการเปดรับฟงความคิดเห็นตอขอเสนอใหปรับปรุงมาตรฐานการรายงานทางการเงินระหวางประเทศฉบับที่ 10 เรื่อง งบการเงินรวม (IFRS10 Consolidated Financial Statements) ซ่ึงจะมีผลบังคับใชสําหรับงบการเงินท่ีมีรอบระยะเวลาบัญชีต้ังแต 1 มกราคม 2556 เปนตนไป เน่ืองจากมีขอกังวลจากบางฝายซ่ึงเห็นวาขอกําหนดในชวงเปล่ียนแปลงจะเปนภาระมากเกินไปตอการปฏิบัติ จึงเสนอใหกําหนดนิยาม ‘วันที่เริ่มปฏิบตั’ิ เปนวันทีเ่ริม่ตนรอบระยะเวลาบัญชซีึง่ IFRS10 จะถูกนาํไปปฏิบัติครั้งแรก นอกจากนี้ยังมีขอเสนอที่จะทําใหกิจการผูลงทุนมีความชัดเจนในการปรับปรุงงบการเงินท่ีนํามาเปรียบเทียบ ถาหากกลุมกิจการในการจัดทํางบการเงินรวมตาม IFRS10 ตางไปจากกลุมกิจการในการจดัทํางบการเงินรวมตาม IAS27 ซึ่งเปนมาตรฐานการบัญชีเ ร่ืองงบการเงินรวมฉบับเดิมทั้งนี้ IASB จะเปดรับฟงความเห็นถึงวันที่ 21 มีนาคม 2555

ติดตามรายละเอียดของพัฒนาการทั้ง 2 เรื่องไดที่ http://www.ifrs.org

Page 10: Volume 1/ 2012 FRUpdate SET · บัญชีสําหรับเงินอุดหนุนจากร ัฐบาลและการเป ดเผย ... ปริมใจเอี่ยมเพชราพงศ

Page 10

TFRS Progress

ความคืบหนาของมาตรฐานที่เกี่ยวของกับการบัญชีไทย

I Roadmap มาตรฐานการบัญชีไทย

คณะกรรมการกําหนดมาตรฐานการบัญชีอยู ระหวางการพิจารณาจัดทําแผนงานเพ่ือกําหนดแนวทางตลอดจนกําหนดกรอบเวลาที่ชัดเจนในการจัดทําและกําหนดใหมาตรฐานการรายงานทางการเงินแตละฉบับมีผลบังคับใช เพ่ือปรับปรุงเน้ือหาของขอกําหนดใหมีความเปนปจจุบันและสอดคลองกับขอกําหนดของมาตรฐานการรายงานทางการเงินระหวางประเทศ ตลอดจนการตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงินระหวางประเทศท่ีเกี่ยวของ จากน้ันจะไดเผยแพรตอสาธารณะเพื่อสงเสริมใหเกิดความเขาใจท่ีถูกตองตรงกันเก่ียวกับทิศทางของมาตรฐานการรายงานทางการเงินของไทยตอไป

III คําชี้แจงเกี่ยวกับการเปล่ียนแปลงอัตราภาษีเงินไดนิติบุคคล

เมื่อวันท่ี 13 มกราคม 2555 สภาวิชาชีพบัญชีฯ มีคําชี้แจงเก่ียวกับการใชอัตราภาษีเงินไดนิติบุคคลสําหรับมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 12 เรื่อง ภาษีเงินได เนื่องจากคณะรัฐมนตรีมีมติเรื่องมาตรการภาษีเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันของประเทศ เมื่อวันที่ 11 ตุลาคม 2554 เห็นชอบใหปรับลดอัตราภาษีเงินไดนิติบุคคลจากอัตรารอยละ 30 ลงเหลือรอยละ 23 ของกําไรสุทธิ สําหรับรอบระยะเวลาบัญชี 2555 ที่สิ้นสุดในหรือหลังวันที่ 31 ธนัวาคม 2555 และรอยละ 20 ของกําไรสุทธิ สําหรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เร่ิมในหรือหลังวันท่ี 1 มกราคม 2556 เปนตนไป โดยสภาวิชาชีพบัญชีมีความเห็นวา อัตราภาษีที่คาดไดคอนขางแนที่ควรนํามาใชในการวัดมูลคาของสินทรัพยและหนี้สินภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี ควรเปนอัตราตามท่ีคณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบ กลาวคืออัตรารอยละ 23 สําหรับรอบระยะเวลาบัญชี 2555 และรอยละ 20 สําหรับรอบระยะเวลาบัญชี 2556 เปนตนไป เพื่อใหเปนไปตามมติคณะรัฐมนตรีขางตน <<< การประกาศลดอัตราภาษีดังกลาวจะมีผลกระทบตอการวัดมูลคาสินทรัพยภาษีเงินไดรอตัดบัญชีและหน้ีสินภาษีเงินไดรอตัดบัญชีในงบแสดงฐานะการเงิน ซึ่งมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 12 เรื่องภาษีเงินได กําหนดใหกิจการรับรูผลกระทบจากการปรับลดอัตราภาษีเงินไดนิติบุคคลภายในสิ้นรอบระยะเวลาที่รายงาน โดยตองรับรูการเปล่ียนแปลงภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีที่เกิดขึ้นในกําไรหรือขาดทุน ยกเวนในกรณีที่ภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีนั้นเกี่ยวของกับรายการท่ีเคยรับรูไวนอกกําไรหรือขาดทุนแลวในอดีต >>>

II การจัดทํามาตรฐานการรายงานทางการเงิน และการจัดประเภทของกิจการในประเทศไทย

ในอนาคตอาจมีการจัดประเภทของกิจการในประเทศไทยออกเปน 3 กลุมตามประเภทของมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่มีผลบังคับใชไดแก (1) กิจการที่มีสวนไดเสียสาธารณะ (PAEs) ซึ่งปฏิบัติตามขอกําหนดของมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่จัดทําขึ้นตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินระหวางประเทศอยางเต็มรูปแบบ (2) กิจการท่ีไมมีสวนไดเสียสาธารณะท่ีเปนกิจการขนาดใหญหรือมีความพรอมสูง (NPAEs ขนาดใหญและมีความพรอมสูง) ซ่ึงปฏิบัติตามขอกําหนดของ IFRS for SMEs ที่จะจัดทําขึ้นเปนภาษาไทย (3) กิจการที่ไมมีสวนไดเสียสาธารณะอ่ืน(NPAEs อื่น) ซึ่งปฏิบัติตามขอกําหนดของมาตรฐานการรายงานทางการเงินสําหรับกิจการท่ีไมมีสวนไดเสียสาธารณะฉบับปจจุบัน ที่จะไดรับการปรับปรุงใหมีความซับซอนนอยลงเพ่ือใหมีความเหมาะสมกับกิจการเล็กมากยิ่งขึ้น

Page 11: Volume 1/ 2012 FRUpdate SET · บัญชีสําหรับเงินอุดหนุนจากร ัฐบาลและการเป ดเผย ... ปริมใจเอี่ยมเพชราพงศ

Page 11

Vol. 1 / 2012

IV การประชุม AOSSG ประเทศออสเตรเลีย ของคณะอนุกรรมการการติดตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินระหวางประเทศ

สรุปการประชุม The 3rd AOSSG ระหวางวันที่ 23-24 พฤศจิกายน 2554 ณ เมืองเมลเบิรน ประเทศออสเตรเลีย ของคณะอนุกรรมการการติดตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินระหวางประเทศ AOSSG (Asian-Oceanian Standard-Setters Group) เปนกลุมที่ประกอบดวยผูจัดตั้งจาก 25 ประเทศในภูมิภาคอาเซยีนและโอเซียเนยี โดยปจจบุนัมคีณุเควนิ สเตเวนสนั เปนประธาน AOSSG ซึง่ทานเปนประธานของคณะกรรมการมาตรฐานการบัญชีของประเทศออสเตรเลีย โดยประเทศไทยเปนหนึ่งในประเทศสมาชิกผูกอตั้ง AOSSGวัตถุประสงคของ AOSSG คือ การสงเสริมการนํา IFRS มาใชปฏิบัติในภูมิภาค สงเสริมการปฏิบัติใช IFRS ใหสอดคลองกันในภูมิภาค การประสานงานระหวางกันในภูมิภาคในดานเทคนิคของ IASB และการประสานงานกับรัฐบาล หนวยงานกํากับดูแล ภูมิภาคอื่นๆ และองคกรนานาชาติ เพื่อพัฒนาคุณภาพของรายงานทางการเงินในภูมิภาค สภาวิชาชีพบัญชีเปนหนึ่งในสมาชิกผูกอตั้ง AOSSG ถือเปนโอกาสที่ดีที่จะกาวไปขางหนาและเชื่อมถึง IASB ไดใกลชิดมากขึ้นโดยผาน AOSSG โดยการนําเสนอความคิดเห็นของประเทศไทยผาน AOSSG จะมีนําหนักมากขึ้น ซึ่งจะชวยสงเสริมการใช IFRS ในประเทศไทยในเชิงภาคปฏิบัติมากขึ้น โดย AOSSG ถือเปนกลุมที่มีความสําคัญอยางมากในระดับโลก เนื่องจากปจจุบันการใหความสําคัญของธุรกิจระดับโลกน้ันไดยายมาสูภูมิภาคอาเซียนจากการคาดการณเก่ียวกับสภาพแวดลอมทางธุรกิจในเอเชีย ภายหลังการเกิดวิกฤติการณทางการเงินในยุโรปและสหรัฐอเมริกาเมื่อเร็วๆนี้

ขอเสนอสําหรับประเทศไทยo ประเทศไทยควรมีสวนรวมมากข้ึนในกิจกรรมของ AOSSG และเขารวมในกลุมการทํางาน โดยจะมีการจัดประชุมจํานวนหลายคร้ังในกลุมการทํางานท่ีแตกตางกันในระหวางป และตัวแทนของประเทศไทยควรเขารวมในกลุมการทํางานหลักๆ

o ควรมีการประสานงานอยางใกลชิดมากขึ้นระหวางคณะกรรมการกําหนดมาตรฐานการบัญชีและคณะอนุกรรมการการการติดตามการพัฒนา IFRS โดยใหมีขอบเขตงานที่ชัดเจน

o ขาวสารลาสุดเกี่ยวกับการพัฒนา IFRS ควรเผยแพรบนเว็บไซตของสภาวิชาชีพบัญชีอยางสม่ําเสมอo จัดใหมีการเปดรับฟงความคิดเห็นเปนการท่ัวไปหรือการเปดรับฟงความคิดเห็นเฉพาะกลุมo มีโปรแกรมการแลกเปล่ียนบุคลากรในประเทศสมาชิก โดยคณะกรรมการมาตรฐานการบัญชีของประเทศออสเตรเลียและคณะกรรมการมาตรฐานการบัญชีของประเทศญ่ีปุนไดแสดงความต้ังใจท่ีจะเร่ิมโปรแกรมการแลกเปล่ียนบุคลากรในประเทศของตนแลว ซ่ึงปจจุบันโปรแกรมดังกลาวของคณะกรรมการมาตรฐานการบัญชีของประเทศออสเตรเลียมีความเหมาะสมกับประเทศไทยมากกวาและสังเกตไดวาผูสังเกตการณชาวไทยที่ไดเขารวมประชุมไดแสดงความสนใจที่จะเขารวมในโปรแกรมดังกลาวในฐานะตัวแทนของประเทศไทย

Page 12: Volume 1/ 2012 FRUpdate SET · บัญชีสําหรับเงินอุดหนุนจากร ัฐบาลและการเป ดเผย ... ปริมใจเอี่ยมเพชราพงศ

Page 12

ชวนคิด: การรับรูรายการเมื่อกิจการซื้อ (สิทธิใน) ที่ดิน

ปจจุบัน กิจการในประเทศไทยหลายแหงขยายธุรกิจไปยังตางประเทศ โดยขออนุญาตรัฐบาลตางประเทศเพ่ือใชประโยชนจากที่ดินภายในระยะเวลาที่กําหนดไว เชน เชาที่ดินจากรัฐบาลเวียดนามเปนเวลา 50 ป เพ่ือพัฒนานิคมอุตสาหกรรม หรือเชาพื้นท่ีจากรัฐบาลกัมพูชาเปนเวลา 90 ป เพื่อเพาะปลูกออย ในกรณีเชนน้ี กิจการควรจะรับรูรายการใชประโยชนจากท่ีดินดังกลาวเปนสินทรัพยถาวร หรือสินทรัพยไมมีตัวตน หรือการเชาสินทรัพยระยะยาว ??

เมื่อไมนานนี้ คณะกรรมการตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงินระหวางประเทศ หรือ IFRS Interpretations Committee ไดขอความเห็นเปนการทั่วไปเก่ียวกับคําถามที่คณะกรรมการไดรับวาในกรณีที่กฎหมายและขอบังคับในประเทศไมอนุญาตใหกิจการถือครองกรรมสิทธิ์ในที่ดิน การซื้อ (สิทธิใน) ที่ดินควรจะรับรูเปนการซื้อสินทรัพยถาวร หรือซื้อสินทรัพยที่ไมมีตัวตน หรือเปนการเชาที่ดิน

คําอธิบายเกี่ยวกับประเด็น กฎหมายและขอบังคับในประเทศดังกลาวไมอนุญาตใหกิจการถือครองกรรมสิทธิ์ในที่ดิน แตอนุญาตใหกิจการใชประโยชนจากท่ีดินหรือทําการเพาะปลูกเพื่อการเกษตรกรรมหรือการประมงได หรือใหสิทธิกอสรางบนที่ดินได โดยมีขอกําหนดวา - รัฐมีอํานาจควบคุมบนสิทธินั้น รัฐมีอํานาจในการจัดการและปนสวนในประโยชนจากที่ดิน และพิจารณาความสัมพนัธในเชิงกฎหมายระหวางผูถือ (สิทธิใน) ที่ดิน และที่ดิน - รัฐมีอํานาจเพิกถอน (สิทธิใน) ที่ดินที่ไดใหแกผูถือ (สิทธิใน) ที่ดินไดเพื่อประโยชนของสาธารณะเทานั้น ถารัฐใชอํานาจนี้ ผูถือ (สิทธิใน) ที่ดินจะไดรับคาชดเชยตามมูลคาขายของ (สิทธิใน) ที่ดิน - (สิทธิใน) ที่ดินเพื่อการเกษตรกรรมและ(สิทธิใน) ที่ดินเพื่อการกอสรางจะมีระยะเวลาตามท่ีรัฐกําหนดและตออายุไดโดยไมจํากัดจํานวนคร้ัง - ตนทุนที่สัมพันธกับการขยายและตออายุ(สิทธิใน) ที่ดินเพื่อการเกษตรกรรมและ(สิทธิใน) ที่ดินเพื่อการกอสรางถือวาไมมีสาระสําคัญ - (สิทธิใน) ที่ดินเพื่อการเกษตรกรรมและ(สิทธิใน) ที่ดินเพื่อการกอสรางสามารถนําไปเปนหลักประกันเงินกูและโอนเปลี่ยนมือไดโดยการขาย แลกเปลี่ยน บริจาค ยกใหหรือใหเปนมรดก

แนวปฏิบัติในปจจุบัน แตละประเทศจะมีการตีความท่ีแตกตางกันในการรับรูรายการซื้อ (สิทธิใน) ที่ดิน

คําตอบ? ปจจุบัน IFRS Interpretations Committee อยูระหวางรวบรวมขอมูลแนวทางปฏิบัติตอกรณีนี้จากประเทศตางๆ หากมีขอสรุปเราจะนํามาเสนอใหทานทราบในโอกาสตอไป

Page 13: Volume 1/ 2012 FRUpdate SET · บัญชีสําหรับเงินอุดหนุนจากร ัฐบาลและการเป ดเผย ... ปริมใจเอี่ยมเพชราพงศ

Page 13

Vol. 1 / 2012

Page 13

Training & Seminar UPDATE

• จัดสัมมนาโดยสภาวิชาชีพบัญชีฯ (มีคาใชจาย)วันสัมมนา ชื่อหลักสูตรสัมมนาท่ีนาสนใจ ผูบรรยาย

2 - 31 มีนาคม 2555 (เฉพาะวันศุกรและวันเสาร)

TFRS ทุกฉบับป 2555 รุนท่ี 1 คณะกรรมการกําหนดมาตรฐานการบัญชี และผูทรงคุณวุฒิ

10 - 25 มีนาคม 2555 (เฉพาะวันเสารและวันอาทิตย) 09.00 - 16.30 น.

การปองกันการทุจริตในองคกร รุนที่ 4

หลักสูตรที่ 1 การกํากับดูแลดานการทุจริต

หลักสูตรที่ 2 สัญญาณบอกเหตุการทุจริตจากขอมูลทางการเงิน

หลักสูตรที่ 3 แนวทางการควบคุมภายในที่ดีเพื่อปองกันการทุจริตในระบบงาน แนวทาง

หลักสูตรที่ 4 เทคนิคการประเมินความนาจะเปนของการเกิดทุจริตและเครื่องมือทางการประเมิน

หลักสูตรที่ 5 หลักการและแนวการปฏิบัติทางการบัญชี

หลักสูตรที่ 6 วิธีการสอบสวนการทุจริตและการรายงานผลการสอบสวน

คุณศิวะรักษ พินิจารมณ

คุณพรรณี วรวุฒิจงสถิต และคุณสุวิมล กุลาเลิศ

ดร.พรสิริ ปุณเกษม และคุณวรพงษ สุธานนท

คุณศิวะรักษณ พินิจารมณ

รศ.ดร.พรรณนิภา รอดวรรณะ และคุณวรพงษ สุธานนท

คุณประทักษ เอื่ยมศรีชาญชัย และคุณจิราภรณ จันทรโมลี

17 มีนาคม 2555 08.00 - 16.30 น.

การนําเสนองบการเงินรูปแบบใหม (นครสวรรค) อาจารยสมชาย เลิศภิรมยสุข

23 มีนาคม 2555 09.00 - 16.30 น.

การสัมมนาใหญนักบัญชี.. เพื่อเตรียมความพรอมสูสากล

คุณพิชัย ชุณหวชิร คุณบรรจงจิตต อังศุสิงห ดร.จักรกฤษณ ดวงพัสตรา คุณบุญเลิศ กมลชนกกุล ดร.นิ่มนวล ผิวทองงาม รศ.ดร.วรศักดิ์ ทุมมานนท คุณประสัณห เชื้อพานิช คุณสุพจน สิงหเสนห

24 มีนาคม 2555 08.30 - 16.30 น.

การนําเสนองบการเงินรูปแบบใหม (ขอนแกน) อาจารยจงจิตต หลีกภัย

1 เมษายน 2555 09.00 - 16.30 น.

การจัดทํางบการเงินของ NPAEs (เชียงใหม) ดร.สันสกฤต วิจิตรเลขการ

3 เมษายน 2555 09.00 - 16.30 น.

ประเด็นหลักมาตรฐานการรายงานทางการเงิน NPAEs ทั้งหมด

รศ.ดร.วรศักดิ์ ทุมมานนท

27 เมษายน 2555 09.00 - 16.30 น.

เทคนิคการควบคุมการปฏิบัติงานดานบัญชีสําหรับกิจการ NPAEs

คุณรัตนา พฤกษาเกษมสุข

Page 13

รายละเอียดเพิ่มเติมที่ http://www.fap.or.th

Page 14: Volume 1/ 2012 FRUpdate SET · บัญชีสําหรับเงินอุดหนุนจากร ัฐบาลและการเป ดเผย ... ปริมใจเอี่ยมเพชราพงศ

Page 14

บริษัทที่ประสบภัยนําทวมและไดรับความเสียหายน้ันจะบันทึกเงินชดเชยจากบริษัทประกันภัยไดเมื่อไร

ตามหลักบัญชี คือ ตองมีความแนนอนในเงินที่จะไดรับชดเชยและบริษัทรับประกันภัย (รวมถึงบริษัทรับประกันภัยตอ) มีความสามารถในการจายเงินชดเชยอยางแนนอน (“Virtually certain”) ดังนั้นบริษัท จะบันทึกรายไดเงินชดเชยเมื่อไดรับหลักฐานยืนยันการจายเงินชดเชยจากบริษัทประกัน ดังนั้นหากบริษัทยังอยูระหวางดําเนินการเพื่อขอเงินชดเชยจากบริษัทประกัน บริษัทควรตองเปดเผยความคืบหนาในการดําเนินการไวในหมายเหตุประกอบงบการเงินดวย ทั้งนี้มีตัวอยางการบันทึกบัญชีรายการคาเสียหายจากผลกระทบน ําทวมและเปดเผยขอมูลดังกลาวของบริษัทจดทะเบียน กรณีที่ยังไมไดรับเอกสารหลักฐานเกี่ยวกับเงินชดเชยฯ หรืออยูระหวางดําเนินการเรียกคาชดเชยจากประกัน ดังนี้

บริษัท AAA จํากัด (มหาชน)งบกําไรขาดทุน

สําหรับแตละปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553

หนวย : ลานบาท

รายการ ป 2554 ป 2553

รายไดจากการขาย 1,000 700

ตนทุนขาย 500 300

กําไรข้ันตน 500 400

คาใชจายในการขายและบริหาร 100 70

คาใชจายท่ีเกิดจากเหตุการณอุทกภัย 300 -

กําไรจากการดําเนินงาน 100 330

ตนทุนทางการเงิน 30 10

กําไรกอนภาษีเงินได 70 320

ภาษีเงินได 21 96

กําไรสําหรับป 49 224

หมายเหตุประกอบงบการเงิน

คาใชจายที่เกิดจากเหตุการณอุทกภัย

บริษัทไดรับผลกระทบจากเหตุการณอุทกภัยและหยุดการผลิตที่โรงงานของบริษัทชั่วคราวตั้งแต วันที่ 15 ตุลาคม 2554 ตอมาในเดือนพฤศจิกายน 2554 บริษัทสามารถเริ่มดําเนินการผลิตที่โรงงานของบริษัทไดบางสวนและเริ่มกลับสูภาวะปกติ ตนทุนขายในงบกําไรขาดทุนสําหรับงวดปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 ไดรวมคาใชจายที่เกิดจากการยายการผลิตสินคาบางสวนไปยังโรงงานอื่นของบริษัทในกลุม ซึ่งรวมถึง

Financial Reporting QUIZ

Page 15: Volume 1/ 2012 FRUpdate SET · บัญชีสําหรับเงินอุดหนุนจากร ัฐบาลและการเป ดเผย ... ปริมใจเอี่ยมเพชราพงศ

Page 15

Vol. 1 / 2012

คาขนสงแมพิมพและอุปกรณ ในชวงที่บริษัทไมสามารถดําเนินการผลิตสินคาดังกลาวได เปนจํานวนเงิน 150 ลานบาท สําหรับคาใชจายที่เกี่ยวกับนําทวมในงบกําไรขาดทุนสําหรับงวดป สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 มีรายละเอียดดังนี้

รายการ ลานบาท

เงินเดือนพนักงาน คาใชจายคงที่อื่นๆชวงที่บริษัทหยุดการผลิตและชวงฟนฟูโรงงาน 100

ขาดทุนจากการตัดจําหนายสินคาคงเหลือท่ีเสียหายจากเหตุการณอุทกภัย 80

คาใชจายอื่นๆ ที่เกิดจากเหตุการณอุทกภัย ซึ่งรวมถึง คาใชจายเก่ียวกับการปองกันนําทวมและการฟนฟูโรงงาน 120

300

อยางไรก็ตาม บริษัทมีการทําประกันภัยสําหรับความเสียหายจากการที่ธุรกิจหยุดชะงัก รวมทั้งสินคาคงเหลือและสินทรัพยที่ไดรับความเสียหาย ขณะนี้บริษัทอยูระหวางการดําเนินการเรียกคาชดเชยจากบริษัทประกันภัย

บริษัทมีเครื่องจักรที่หยุดการผลิต เนื่องจากโรงงานถูกนําทวม ตอมาบริษัทไดซอมเครื่องจักรดังกลาว ซึ่งสามารถนํามาผลิตสินคาไดเชนเดิม ดังนั้นในชวงที่โรงงานถูกนําทวมและเครื่องจักรไมสามารถใชผลิตสินคาได บริษัทตองคิดคาเสื่อมราคาของเครื่องจักรดังกลาวหรือไม

บริษัทตองคิดคาเสื่อมราคาของเครื่องจักรดังกลาว อยางไรก็ตาม คาเสื่อมราคาของเครื่องจักรดังกลาว ตองไมบันทึกเปนสวนหนึ่งของตนทุนผลิตสินคา แตบันทึกเปนสวนหนึ่งของคาใชจายในการบริหาร

บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย เอ็ม เอ ไอ (mai) ซึ่งสวนใหญจะเปนบริษัทขนาดเล็ก จะขอปฏิบัติตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินสําหรับกิจการที่ไมมีสวนไดเสียสาธารณะ (IFRSs for NPAEs - Non-Publicly Accountable Entities) ไดหรือไม

ไมได เนื่องจากบริษัทจดทะเบียนไมวาจะจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย (SET) หรือตลาดหลักทรัพย เอ็ม เอ ไอ (mai) ถือเปนบริษัทท่ีสาธารณะมีสวนไดเสีย (Publicly Accountable Entities) ซึ่งตองปฏิบัติตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน (TFRS) เทาน้ัน

Page 16: Volume 1/ 2012 FRUpdate SET · บัญชีสําหรับเงินอุดหนุนจากร ัฐบาลและการเป ดเผย ... ปริมใจเอี่ยมเพชราพงศ

ฝายกํากับบริษัทจดทะเบียน ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย

62 อาคารตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ถนนรัชดาภิเษก คลองเตย กรุงเทพฯ 10110

E-mail : [email protected]