[productivity world] slow life :...

7
PRODUCTIVITY WORLD 30 LEADERSHIP ISSUE 119 • November-December 2015 ปัจจุบันสังคมโลกมีพัฒนาการของความเจริญเติบโตอย่างต่อเนื่อง มีความเป็น สังคมเมือง (Urbanization) มากขึ้น บนพื้นฐานของระบบเศรษฐกิจทุนนิยม ที่มีวัฒนธรรม การกระตุ้นการบริโภค ท�าให้มนุษย์ต้องด�าเนินชีวิตแบบรีบเร่ง ต้องหาทุนทรัพย์ เพื่อตอบสนองความต้องการการบริโภคของตนเอง ซึ่งการบริโภคอย่างฟุ่มเฟือยของมนุษย์ ก่อให้เกิดปัญหาทางสังคมสองมิติใหญ่ๆ คือ จะเป็นบ่อเกิดของภาวะ ความไม่สมดุลของระบบนิเวศน์ ท�าให้เกิดสภาวะโลกร้อน เป็นต้นเหตุของภัยพิบัติต่างๆ เช่น พายุที่รุนแรง น�้าท่วม ภัยแล้ง แผ่นดินไหว สึนามิ เป็นต้น ก่อให้เกิดโรคระบาด ขาดแคลนอาหาร ท�าความสูญเสียแก่ชีวิต และทรัพย์สินอย่างมหาศาล จะกระตุ้นให้ปัจเจกบุคคลด�ารงชีวิต อย่างรีบเร่งเพื่อแสวงหาทุนทรัพย์ มาตอบสนองความต้องการการบริโภค ของแต่ละบุคคลอย่างไม่มีที่สิ้นสุด น�าไปสู่ปัญหาสังคมมากมาย เช่น ปัญหาความเลื่อมล�้าทางเศรษฐกิจ ระหว่างคนรวยกับคนจน ที่นับวันจะยิ่งห่างมากขึ้นเรื่อยๆ ปัญหาสุขภาพ ปัญหาอาชญากรรม ปัญหายาเสพติด ปัญหาการหย่าร้าง ปัญหาการจราจร ปัญหาสิ่งแวดล้อม เป็นต้น มนุษย์จึงด�ารงชีวิต อยู่กับความเครียด การดําเนินชีวิต อยางพอเพียง 2.) วัฒนธรรมการบริโภคนิยม 1.) สังคมที่มีการบริโภค อย่างฟุมเฟอย ชัยทวี เสนะวงศ [email protected]

Upload: thailand-productivity-institute

Post on 26-Jan-2017

201 views

Category:

Leadership & Management


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: [Productivity World] Slow life : การดำเนินชีวิตอย่างพอเพียง

PRODUCTIVITY WORLD

3001PRODUCTIVITY WORLD

LEADERSHIP ISSUE 119 • November-December 2015

ปัจจุบันสังคมโลกมีพัฒนาการของความเจริญเติบโตอย่างต่อเนื่อง มีความเป็นสังคมเมือง (Urbanization) มากขึ้น บนพื้นฐานของระบบเศรษฐกิจทุนนิยม ที่มีวัฒนธรรมการกระตุ ้นการบริโภค ท�าให้มนุษย์ต้องด�าเนินชีวิตแบบรีบเร่ง ต้องหาทุนทรัพย์เพื่อตอบสนองความต้องการการบริโภคของตนเอง ซึ่งการบริโภคอย่างฟุ่มเฟือยของมนุษย์ก่อให้เกิดปัญหาทางสังคมสองมิติใหญ่ๆ คือ

จะเป็นบ่อเกิดของภาวะความไม่สมดุลของระบบนิเวศน์ท�าให้เกิดสภาวะโลกร้อนเป็นต้นเหตุของภัยพิบัติต่างๆเช่น พายุท่ีรุนแรง น�้าท่วม ภัยแล้งแผ่นดินไหว สึนามิ เป็นต้นก่อให้เกิดโรคระบาดขาดแคลนอาหารท�าความสูญเสียแก่ชีวิตและทรัพย์สินอย่างมหาศาล

จะกระตุ้นให้ปัจเจกบุคคลด�ารงชีวิตอย่างรีบเร่งเพื่อแสวงหาทุนทรัพย์มาตอบสนองความต้องการการบริโภคของแต่ละบุคคลอย่างไม่มีท่ีสิ้นสุดน�าไปสู่ปัญหาสังคมมากมาย เช่น ปัญหาความเลื่อมล�้าทางเศรษฐกิจระหว่างคนรวยกับคนจนท่ีนับวันจะยิ่งห่างมากขึ้นเรื่อยๆปัญหาสุขภาพ ปัญหาอาชญากรรม ปัญหายาเสพติด ปัญหาการหย่าร้าง ปัญหาการจราจร ปัญหาสิ่งแวดล้อม เป็นต้น มนุษย์จึงด�ารงชีวิตอยู่กับความเครียด

การดําเนินชีวิตอยางพอเพียง

2.) วัฒนธรรมการบริโภคนิยม1.) สังคมที่มีการบริโภคอย่างฟุมเฟอย

ชัยทวี เสนะวงศ[email protected]

01PRODUCTIVITY WORLD

ปัญหาทางสังคมทั้งสองมิติดังกล่าว อาจจะถือได้ว่าเป็นวิกฤตของมนุษยชาต ิที่ไม่สามารถแก้ปัญหาด้วยวิธีคิด และกระบวนการแก้ปัญหาแบบเดมิ ถ้ามนษุยชาต ิจะอยู ่ รอดต ้องปฏิรูปหรือปรับเป ล่ียน (Transformation) สังคมเสียใหม่ ด้วยกระบวนทศัน์ในการแก้ปัญหาของสังคมโลกที่แตกต่างไปจากเดิม เรียกว่า “การปฏิวัติทางจิตส�านึก” หรือ “การปฏิวัติทาง จติวญิญาณ” ด้วยการกลบัมาทบทวนวถิกีารด�ารงชีวิตของมวลมนุษยชาติเสียใหม่ ที่จะต้องน�าค�าว่า “พอเพียง” มาก�ากับการด�ารงชีวิตประจ�าวัน พยายามลดอัตราเร่งของ การใช้ชีวิตลง และใส่ใจในส่ิงแวดล้อม ให้มากขึ้นกว่าเดิม

“การปฏิวัติทางจิตส�านึก” หรือ

“การปฏิวัติทางจิตวิญญาณ”

ด้วยการกลับมาทบทวนวิถีการด�ารงชีวิตของมวลมนุษยชาติเสียใหม่

ที่จะต้องน�าค�าว่า

ซึ่งก�าลังเป็นที่กล่าวถึงกันทั้งโลก โดยมีกรณีศึกษาที่พอจะเป็นรูปธรรมให้ศึกษา ได้อย่างชาวเกาะคาเกะงาวา จงัหวดัชชิโูอกะ ประเทศญี่ปุ่น ที่ด�าเนินชีวิตอย่างไม่เร่งรีบ แต่เปี ่ยมไปด้วยคุณภาพและมีความสุข อายุยืน ซึ่งผู้เขียนเองอยากจะเป็นส่วนหนึ่งในการช่วยรณรงค์ให้สังคมไทยมวิีถกีารด�ารงชวิีตแบบ Slow Life เช่นกนั จงึขอขยายความ การด�าเนินชีวิตแบบ Slow Life ดังนี้

S low Li fe ไม ่ใช ่การใช ้ชีวิตแบบ สบายๆ ไร้สาระไปวันๆ แต่เป็นปรัชญาของ การใช้ชีวิตแบบมีสติก�ากับตนเองอยู่เสมอ สต ิ ทีห่มายถงึ ความระมดัระวงั ความตืน่ตวั เต็มที่ในภาวะที่พร ้อมเสมอในการรับรู ้ส่ิงต่างๆ ทีจ่ะเข้ามาเกีย่วข้องกบัการด�ารงชวิีต สตจิงึเป็นความไม่ประมาท ความยบัยัง้ชัง่ใจตนเองมใิห้เผลอท�าในสิง่ทีไ่ม่ด ีไม่งามต่างๆ

"

Leo Babauta

“Slow Life”

บล็อกเกอร์ชื่อดังชาวอเมริกัน เขียนบทความลงในบลอ็กส่วนตวัชือ่ “Zen Habits” ซึ่งนิตยสารไทม์ได้จัดอันดับว่าเป็นบล็อกอันดับหนึ่งในจ�านวน 25 บล็อกยอดนิยม ของนิตยสารไทม์ประจ�าป ี พ.ศ.2553 บทความของ Babauta ได้จุดประกาย ให้คนจ�านวนหนึ่งปรับรูปแบบการใช้ชีวิต ให ้กลับมาในโหมดของความเรียบง ่าย ลดอัตราเร ่งลง ประหยัด ขจัดหน้ีสิน ออมทรัพย์ รับประทานอาหารเพื่อสุขภาพ ค�านงึถงึระบบนเิวศน์ ทัง้นีเ้พือ่การด�ารงชวีติที่มีความสุข ที่เรียกเป็นค�ารวมๆ ว่า

“พอเพียง”มาก�ากับการด�ารงชีวิตประจ�าวัน

พยายามลดอัตราเร่งของการใช้ชีวิตลง และใส่ใจในสิ่งแวดล้อมให้มากขึ้นกว่าเดิม

หรือกล่าวได้ว่า Slow Life เป็นแนวคิด ในการด�ารงชีวิตท่ีสอดคล้องกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ประกอบไปด ้ วย ความพอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุ้มกัน ในตัวที่ดี ซึ่งการที่จะปฏิบัติเช่นนี้ได้จะต้องอยูบ่นพืน้ฐานของการมคีวามรู ้ และมคีณุธรรม เพราะฉะนั้นการใช้ชีวิตแบบ Slow Life จงึไม่มรีปูแบบตายตวั ขึน้อยูก่บัองค์ประกอบของแต่ละบุคคล เช่น ถ้าท่านเป็นคนสูงวัย ที่ เกษียณอายุแล ้ว มีเงินเก็บเหลือเฟ ือ เอาแต่ น่ังจิบกาแฟตามร ้านกาแฟหรูๆ พักผ่อนไปกับการอ่านหนังสือพิมพ์อยากไป เที่ยวไหนก็ไป ใช้ชีวิตเรื่อยเปื ่อยไปวันๆ ก็ย่อมท�าได้ แต่ถ้าท่านที่ยังอยู่ในวัยท�างาน จะใช้ชีวิตแบบนี้ทั้งหมดคงไม่เหมาะสม ต้องก้มหน้าก้มตาท�างานไป แต่ไม่ได้หมายความว่ามนุษย์ในวัยท�างานจะใช้ชีวิตแบบ Slow Life ไม่ได้นะครับ

Page 2: [Productivity World] Slow life : การดำเนินชีวิตอย่างพอเพียง

PRODUCTIVITY WORLD

3101PRODUCTIVITY WORLD

LEADER SHIP ISSUE 119 • November-December 2015

ปัจจุบันสังคมโลกมีพัฒนาการของความเจริญเติบโตอย่างต่อเนื่อง มีความเป็นสังคมเมือง (Urbanization) มากขึ้น บนพื้นฐานของระบบเศรษฐกิจทุนนิยม ที่มีวัฒนธรรมการกระตุ ้นการบริโภค ท�าให้มนุษย์ต้องด�าเนินชีวิตแบบรีบเร่ง ต้องหาทุนทรัพย์เพื่อตอบสนองความต้องการการบริโภคของตนเอง ซึ่งการบริโภคอย่างฟุ่มเฟือยของมนุษย์ก่อให้เกิดปัญหาทางสังคมสองมิติใหญ่ๆ คือ

จะเป็นบ่อเกิดของภาวะความไม่สมดุลของระบบนิเวศน์ท�าให้เกิดสภาวะโลกร้อนเป็นต้นเหตุของภัยพิบัติต่างๆเช่น พายุท่ีรุนแรง น�้าท่วม ภัยแล้งแผ่นดินไหว สึนามิ เป็นต้นก่อให้เกิดโรคระบาดขาดแคลนอาหารท�าความสูญเสียแก่ชีวิตและทรัพย์สินอย่างมหาศาล

จะกระตุ้นให้ปัจเจกบุคคลด�ารงชีวิตอย่างรีบเร่งเพื่อแสวงหาทุนทรัพย์มาตอบสนองความต้องการการบริโภคของแต่ละบุคคลอย่างไม่มีที่สิ้นสุดน�าไปสู่ปัญหาสังคมมากมาย เช่น ปัญหาความเลื่อมล�้าทางเศรษฐกิจระหว่างคนรวยกับคนจนที่นับวันจะยิ่งห่างมากขึ้นเรื่อยๆปัญหาสุขภาพ ปัญหาอาชญากรรม ปัญหายาเสพติด ปัญหาการหย่าร้าง ปัญหาการจราจร ปัญหาสิ่งแวดล้อม เป็นต้น มนุษย์จึงด�ารงชีวิตอยู่กับความเครียด

การดําเนินชีวิตอยางพอเพียง

2.) วัฒนธรรมการบริโภคนิยม1.) สังคมที่มีการบริโภคอย่างฟุมเฟอย

ชัยทวี เสนะวงศ[email protected]

01PRODUCTIVITY WORLD

ปัญหาทางสังคมทั้งสองมิติดังกล่าว อาจจะถือได้ว่าเป็นวิกฤตของมนุษยชาต ิท่ีไม่สามารถแก้ปัญหาด้วยวิธีคิด และกระบวนการแก้ปัญหาแบบเดมิ ถ้ามนษุยชาต ิจะอยู ่ รอดต ้องปฏิรูปหรือปรับเปลี่ ยน (Transformation) สังคมเสียใหม่ ด้วยกระบวนทัศน์ในการแก้ปัญหาของสงัคมโลกที่แตกต่างไปจากเดิม เรียกว่า “การปฏิวัติทางจิตส�านึก” หรือ “การปฏิวัติทาง จติวญิญาณ” ด้วยการกลบัมาทบทวนวถิกีารด�ารงชีวิตของมวลมนุษยชาติเสียใหม่ ที่จะต้องน�าค�าว่า “พอเพียง” มาก�ากับการด�ารงชีวิตประจ�าวัน พยายามลดอัตราเร่งของ การใช้ชีวิตลง และใส่ใจในสิ่งแวดล้อม ให้มากขึ้นกว่าเดิม

“การปฏิวัติทางจิตส�านึก” หรือ

“การปฏิวัติทางจิตวิญญาณ”

ด้วยการกลับมาทบทวนวิถีการด�ารงชีวิตของมวลมนุษยชาติเสียใหม่

ที่จะต้องน�าค�าว่า

ซึ่งก�าลังเป็นที่กล่าวถึงกันทั้งโลก โดยมีกรณีศึกษาท่ีพอจะเป็นรูปธรรมให้ศึกษา ได้อย่างชาวเกาะคาเกะงาวา จงัหวดัชชิโูอกะ ประเทศญี่ปุ่น ที่ด�าเนินชีวิตอย่างไม่เร่งรีบ แต่เปี ่ยมไปด้วยคุณภาพและมีความสุข อายุยืน ซึ่งผู้เขียนเองอยากจะเป็นส่วนหนึ่งในการช่วยรณรงค์ให้สงัคมไทยมวีถิกีารด�ารงชวีติแบบ Slow Life เช่นกนั จงึขอขยายความ การด�าเนินชีวิตแบบ Slow Life ดังนี้

S low Li fe ไม ่ใช ่การใช ้ชีวิตแบบ สบายๆ ไร้สาระไปวันๆ แต่เป็นปรัชญาของ การใช้ชีวิตแบบมีสติก�ากับตนเองอยู่เสมอ สต ิ ทีห่มายถงึ ความระมดัระวงั ความตืน่ตวั เต็มที่ในภาวะที่พร ้อมเสมอในการรับรู ้สิง่ต่างๆ ทีจ่ะเข้ามาเกีย่วข้องกบัการด�ารงชวีติ สตจิงึเป็นความไม่ประมาท ความยบัยัง้ชัง่ใจตนเองมิให้เผลอท�าในสิง่ทีไ่ม่ดี ไม่งามต่างๆ

"

Leo Babauta

“Slow Life”

บล็อกเกอร์ชื่อดังชาวอเมริกัน เขียนบทความลงในบลอ็กส่วนตวัชือ่ “Zen Habits” ซึ่งนิตยสารไทม์ได้จัดอันดับว่าเป็นบล็อกอันดับหนึ่งในจ�านวน 25 บล็อกยอดนิยม ของนิตยสารไทม์ประจ�าป ี พ.ศ.2553 บทความของ Babauta ได้จุดประกาย ให้คนจ�านวนหนึ่งปรับรูปแบบการใช้ชีวิต ให ้กลับมาในโหมดของความเรียบง ่าย ลดอัตราเร ่งลง ประหยัด ขจัดหนี้สิน ออมทรัพย์ รับประทานอาหารเพื่อสุขภาพ ค�านงึถงึระบบนเิวศน์ ทัง้นีเ้พือ่การด�ารงชวีติที่มีความสุข ที่เรียกเป็นค�ารวมๆ ว่า

“พอเพียง”มาก�ากับการด�ารงชีวิตประจ�าวัน

พยายามลดอัตราเร่งของการใช้ชีวิตลง และใส่ใจในสิ่งแวดล้อมให้มากขึ้นกว่าเดิม

หรือกล่าวได้ว่า Slow Life เป็นแนวคิด ในการด�ารงชีวิตที่สอดคล้องกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ประกอบไปด ้ วย ความพอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุ้มกัน ในตัวที่ดี ซึ่งการที่จะปฏิบัติเช่นนี้ได้จะต้องอยูบ่นพืน้ฐานของการมคีวามรู ้ และมคีณุธรรม เพราะฉะนั้นการใช้ชีวิตแบบ Slow Life จงึไม่มรีปูแบบตายตวั ขึน้อยูก่บัองค์ประกอบของแต่ละบุคคล เช่น ถ้าท่านเป็นคนสูงวัย ที่ เกษียณอายุแล ้ว มีเงินเก็บเหลือเฟ ือ เอาแต่นั่งจิบกาแฟตามร ้านกาแฟหรูๆ พักผ่อนไปกับการอ่านหนังสือพิมพ์อยากไป เที่ยวไหนก็ไป ใช้ชีวิตเรื่อยเปื ่อยไปวันๆ ก็ย่อมท�าได้ แต่ถ้าท่านที่ยังอยู่ในวัยท�างาน จะใช้ชีวิตแบบนี้ ท้ังหมดคงไม่เหมาะสม ต้องก้มหน้าก้มตาท�างานไป แต่ไม่ได้หมายความว่ามนุษย์ในวัยท�างานจะใช้ชีวิตแบบ Slow Life ไม่ได้นะครับ

Page 3: [Productivity World] Slow life : การดำเนินชีวิตอย่างพอเพียง

PRODUCTIVITY WORLD

3201PRODUCTIVITY WORLD

เป็นปรัชญาของการศึกษาเล่าเรียนเพื่อพัฒนาตนเองให้มีความรู้ความสามารถที่เหมาะสมส�าหรับการประกอบสัมมาอาชีวะในอนาคตดังนั้น Slow Education จึงไม่เน้นการแข่งขัน หรือเอาชนะผู้อื่นที่ต้องให้ได้คะแนนสูงๆ เพื่อแย่งกันเข้าศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้นต่อไปยังสถาบันการศึกษาที่มีชื่อเสียงอย่างไม่จบสิ้น (เหมือนกับเด็กๆในเมืองทั้งหลาย ที่บิดามารดาพยายามเคี่ยวเข็ญเพื่อแย่งกันเข้าเรียนในโรงเรียน มหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียง) ซึ่งการศึกษาเล่าเรียน

Slow Life

เปนแนวคิดในการด�ารงชีวิต

ที่สอดคล้องกับ

ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

ประกอบไปด้วย

ความพอประมาณ มีเหตุผล

มีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี

ซึ่งการที่จะปฏิบัติเช่นนี้ได้

จะต้องอยู่บนพื้นฐาน

ของการมีความรู้

และมีคุณธรรม

1. Slow Education

"

การดํารงชีวิตตามปรัชญาของ Slow Life ถาจะทําใหสมบูรณ

มนุษยชาติควรปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการดํารงชีวิตในสาระสําคัญๆ

3 ประการ ดังนี้

ในลักษณะนี้จะท�าให้ผู้เรียนต้องเร่งรีบ เครียด ไม่มีความสุขสุดท้ายผลของการเรียนรู้จะไม่ค่อยมีประสิทธิภาพเท่าที่ควร ดังสุภาษิตที่ว่า “ความรูทวมหัว แตเอาตัวไมรอด”Slow Education จึงเป็นแนวคิดในการศึกษาเล่าเรียนที่แข่งขันกับตนเองในการขวนขวายหาความรู้ เพื่อพัฒนาตนเองให้มีความพร้อมส�าหรับการประกอบอาชีพในอนาคตโดยจะพัฒนาให้ผู้เรียนมีความรอบรู้ทักษะ คิดวิเคราะห์เป็น มีคุณธรรมและมีจิตส�านึกในการเป็นพลเมืองที่ดีมีจิตสาธารณะ เป็นต้น

01PRODUCTIVITY WORLD

2. Slow Work

ปัจจุบันการปฏิบัติงานในชีวิตจริงวันหนึ่งๆ พนักงานจ�านวนมาก

เอาแต่ก้มหน้าก้มตาเร่งรีบท�าแต่งานประจ�าวันให้เสร็จสิ้นไป

เสมือนหนูถีบจักร ในองค์กรเต็มไปด้วยการแข่งขันเพื่อให้ชนะผู้อื่น เพื่อที่ตนเอง

จะได้เจริญเติบโตในหน้าที่การงานซึ่งในความเป็นจริงจะมีซักกี่คน

จะรู้ว่าจุดหมายปลายทางที่แท้จริงของการท�างานคืออะไร อยู่ที่ไหน

และจะหยุดได้เมื่อไหร่ แต่ทุกๆ คนต้องเร่งรีบท�างานแข่งกับเวลาเอาไว้ก่อน

เพราะกลัวจะตกงาน ซึ่งการท�างานในลักษณะนี้เป็นตัวการส�าคัญ ที่บั่นทอน

ขีดความสามารถประสิทธิภาพของการท�างาน และยังปดกั้นความคิดสร้างสรรค์ของพนักงาน ซึ่งถือว่า

เป็นสัญญาณอันตราย เพราะอาการเหล่านี้จะเป็นตัวถ่วง

ขีดความสามารถขององค์กรในระยะยาว และตัวพนักงานเองก็มีแต่ความเครียด ไม่มีความสุข

แนวคิดของ Slow Work ก็คือการปรับเปลี่ยนรูปแบบในการท�างาน

เสียใหม่ ที่องค์กรและพนักงานร่วมมือกันปฏิรูปบรรยากาศในสถานที่ท�างาน

ให้เอื้อต่อการท�างานที่ส่งผลให้องค์กรมีความแตกต่างและมีนวัตกรรม ดังนี้

• การปฏิบัติงาน

เริ่มต้นด้วยกระบวนการปฏิบัติงานที่จะต้องมีทิศทาง เปาหมาย ที่ชัดเจนจับต้องได้ และสื่อสารให้พนักงานรับทราบ มีระบบและกระบวนการปฏิบัติงานที่ดี สนับสนุนให้มีอุปกรณ์ในการปฏิบัติงานที่เหมาะสม มีสถานที่ท�างานที่ปลอดภัย และที่ส�าคัญจะต้องมีระบบการบริหารทรัพยากรบุคคลที่มีปรัชญาในการบริหารคนที่เชื่อว่าพนักงานทุกคนมีเกียรติ มีศักดิ์ศรีเรียนรู้และพัฒนาได้ องค์กรยอมรับและให้ความเคารพในความแตกต่าง หลากหลายของแต่ละบุคคลอย่างแท้จริงการสร้างแรงจูงใจ ในการปฏิบัติงานจะอยู่บนพื้นฐานของความเป็นธรรม โปร่งใส อธิบายได้ การปฏิบัติงานองค์กรจะพัฒนาให้พนักงานมีความพร้อมทางด้านสมรรถนะที่เหมาะสม มีการบริหารเวลาที่มีประสิทธิภาพ มีผู้น�าที่น่าเชื่อถือศรัทธาคอยให้ความช่วยเหลือสนับสนุนการปฏิบัติงานให้งานประสบผลส�าเร็จ

• สังคมและวัฒนธรรม

องค์กรยุคใหม่จะพิถีพิถันในการออกแบบบรรยากาศในสถานที่ท�างานให้ดูผ่อนคลาย ไม่ท�างานแบบเช้าชามเยน็ชาม ไม่ตงึเครยีดจนเกินไป มีความยืดหยุ่น (Flexibility)ในหลากหลายรูปแบบ ให้อิสรภาพและ เสรีภาพในการปฏิบัติงานที่เหมาะสมดูแลให้พนักงานมี WLB ในการปฏิบัติงานที่ดี มีผู้น�าที่เป็นของแท้ น่าศรัทรา เชื่อถือไว้วางใจได้ Slow Work จะเป็นการปฏิบัติงานที่ยังคงเข้มข้นกับผลสัมฤทธิ์ของงาน แต่จะมีวัฒนธรรมในการปฏิบัติงานท่ีส่งเสรมิให้พนกังานร่วมมอืประสานงานกนั(Collaborative) สามัคคี มีความเอื้ออาทรต่อกัน มีความภูมิใจในการเป็นส่วนหนึ่งขององค์กร และมีกิจกรรมส่งเสริมความสัมพันธ์อันดีทั้งภายในและภายนอกองค์กรในรูปแบบต่างๆ กัน ผู้เขียนคิดว่าผู้อ่านทั้งหลายคงจะมีจินตนาการถึงวัฒนธรรมในการปฏิบัติงานที่ดีได้ไม่ยาก จึงขออนุญาตไม่กล่าวถึงในที่นี้ แต่จะขอขยายความถึงวัฒนธรรมการท�างานที่ควรหลีกเลี่ยง ดังนี้

Page 4: [Productivity World] Slow life : การดำเนินชีวิตอย่างพอเพียง

PRODUCTIVITY WORLD

3301PRODUCTIVITY WORLD

เป็นปรัชญาของการศึกษาเล่าเรียนเพื่อพัฒนาตนเองให้มีความรู้ความสามารถที่เหมาะสมส�าหรับการประกอบสัมมาอาชีวะในอนาคตดังนั้น Slow Education จึงไม่เน้นการแข่งขัน หรือเอาชนะผู้อื่นที่ต้องให้ได้คะแนนสูงๆ เพื่อแย่งกันเข้าศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้นต่อไปยังสถาบันการศึกษาที่มีชื่อเสียงอย่างไม่จบสิ้น (เหมือนกับเด็กๆในเมืองทั้งหลาย ที่บิดามารดาพยายามเคี่ยวเข็ญเพื่อแย่งกันเข้าเรียนในโรงเรียน มหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียง) ซึ่งการศึกษาเล่าเรียน

Slow Life

เปนแนวคิดในการด�ารงชีวิต

ที่สอดคล้องกับ

ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

ประกอบไปด้วย

ความพอประมาณ มีเหตุผล

มีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี

ซึ่งการที่จะปฏิบัติเช่นนี้ได้

จะต้องอยู่บนพื้นฐาน

ของการมีความรู้

และมีคุณธรรม

1. Slow Education

"

การดํารงชีวิตตามปรัชญาของ Slow Life ถาจะทําใหสมบูรณ

มนุษยชาติควรปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการดํารงชีวิตในสาระสําคัญๆ

3 ประการ ดังนี้

ในลักษณะนี้จะท�าให้ผู้เรียนต้องเร่งรีบ เครียด ไม่มีความสุขสุดท้ายผลของการเรียนรู้จะไม่ค่อยมีประสิทธิภาพเท่าที่ควร ดังสุภาษิตที่ว่า “ความรูทวมหัว แตเอาตัวไมรอด”Slow Education จึงเป็นแนวคิดในการศึกษาเล่าเรียนที่แข่งขันกับตนเองในการขวนขวายหาความรู้ เพื่อพัฒนาตนเองให้มีความพร้อมส�าหรับการประกอบอาชีพในอนาคตโดยจะพัฒนาให้ผู้เรียนมีความรอบรู้ทักษะ คิดวิเคราะห์เป็น มีคุณธรรมและมีจิตส�านึกในการเป็นพลเมืองที่ดีมีจิตสาธารณะ เป็นต้น

01PRODUCTIVITY WORLD

2. Slow Work

ปัจจุบันการปฏิบัติงานในชีวิตจริงวันหนึ่งๆ พนักงานจ�านวนมาก

เอาแต่ก้มหน้าก้มตาเร่งรีบท�าแต่งานประจ�าวันให้เสร็จสิ้นไป

เสมือนหนูถีบจักร ในองค์กรเต็มไปด้วยการแข่งขันเพื่อให้ชนะผู้อื่น เพื่อที่ตนเอง

จะได้เจริญเติบโตในหน้าที่การงานซึ่งในความเป็นจริงจะมีซักกี่คน

จะรู้ว่าจุดหมายปลายทางที่แท้จริงของการท�างานคืออะไร อยู่ที่ไหน

และจะหยุดได้เมื่อไหร่ แต่ทุกๆ คนต้องเร่งรีบท�างานแข่งกับเวลาเอาไว้ก่อน

เพราะกลัวจะตกงาน ซึ่งการท�างานในลักษณะนี้เป็นตัวการส�าคัญ ที่บั่นทอน

ขีดความสามารถประสิทธิภาพของการท�างาน และยังปดกั้นความคิดสร้างสรรค์ของพนักงาน ซึ่งถือว่า

เป็นสัญญาณอันตราย เพราะอาการเหล่านี้จะเป็นตัวถ่วง

ขีดความสามารถขององค์กรในระยะยาว และตัวพนักงานเองก็มีแต่ความเครียด ไม่มีความสุข

แนวคิดของ Slow Work ก็คือการปรับเปลี่ยนรูปแบบในการท�างาน

เสียใหม่ ที่องค์กรและพนักงานร่วมมือกันปฏิรูปบรรยากาศในสถานที่ท�างาน

ให้เอื้อต่อการท�างานที่ส่งผลให้องค์กรมีความแตกต่างและมีนวัตกรรม ดังนี้

• การปฏิบัติงาน

เริ่มต้นด้วยกระบวนการปฏิบัติงานที่จะต้องมีทิศทาง เปาหมาย ที่ชัดเจนจับต้องได้ และสื่อสารให้พนักงานรับทราบ มีระบบและกระบวนการปฏิบัติงานที่ดี สนับสนุนให้มีอุปกรณ์ในการปฏิบัติงานที่เหมาะสม มีสถานที่ท�างานที่ปลอดภัย และที่ส�าคัญจะต้องมีระบบการบริหารทรัพยากรบุคคลที่มีปรัชญาในการบริหารคนที่เชื่อว่าพนักงานทุกคนมีเกียรติ มีศักดิ์ศรีเรียนรู้และพัฒนาได้ องค์กรยอมรับและให้ความเคารพในความแตกต่าง หลากหลายของแต่ละบุคคลอย่างแท้จริงการสร้างแรงจูงใจ ในการปฏิบัติงานจะอยู่บนพื้นฐานของความเป็นธรรม โปร่งใส อธิบายได้ การปฏิบัติงานองค์กรจะพัฒนาให้พนักงานมีความพร้อมทางด้านสมรรถนะที่เหมาะสม มีการบริหารเวลาที่มีประสิทธิภาพ มีผู้น�าที่น่าเชื่อถือศรัทธาคอยให้ความช่วยเหลือสนับสนุนการปฏิบัติงานให้งานประสบผลส�าเร็จ

• สังคมและวัฒนธรรม

องค์กรยุคใหม่จะพิถีพิถันในการออกแบบบรรยากาศในสถานที่ท�างานให้ดูผ่อนคลาย ไม่ท�างานแบบเช้าชามเยน็ชาม ไม่ตงึเครยีดจนเกินไป มีความยืดหยุ่น (Flexibility)ในหลากหลายรูปแบบ ให้อิสรภาพและ เสรีภาพในการปฏิบัติงานที่เหมาะสมดูแลให้พนักงานมี WLB ในการปฏิบัติงานที่ดี มีผู้น�าที่เป็นของแท้ น่าศรัทรา เชื่อถือไว้วางใจได้ Slow Work จะเป็นการปฏิบัติงานที่ยังคงเข้มข้นกับผลสัมฤทธิ์ของงาน แต่จะมีวัฒนธรรมในการปฏิบัติงานทีส่่งเสรมิให้พนกังานร่วมมอืประสานงานกนั(Collaborative) สามัคคี มีความเอื้ออาทรต่อกัน มีความภูมิใจในการเป็นส่วนหนึ่งขององค์กร และมีกิจกรรมส่งเสริมความสัมพันธ์อันดีทั้งภายในและภายนอกองค์กรในรูปแบบต่างๆ กัน ผู้เขียนคิดว่าผู้อ่านทั้งหลายคงจะมีจินตนาการถึงวัฒนธรรมในการปฏิบัติงานที่ดีได้ไม่ยาก จึงขออนุญาตไม่กล่าวถึงในที่นี้ แต่จะขอขยายความถึงวัฒนธรรมการท�างานที่ควรหลีกเลี่ยง ดังนี้

Page 5: [Productivity World] Slow life : การดำเนินชีวิตอย่างพอเพียง

PRODUCTIVITY WORLD

3401PRODUCTIVITY WORLD

การขยันท�างานที่มีแต่ปริมาณไม่ใช้ปญญาในการปฏิบัติงาน

จะไม่สามารถท�างานให้มีคุณภาพได้ฉะนั้นการปฏิบัติงานจะต้องคิดปรับปรุง

ให้มีผลิตภาพดีขึ้นอยู่เสมอ

ผู้น�าควรประพฤติปฏิบัติตนเปนแบบอย่าง (Role Model) ทีด่ี

ให้กับพนักงานโดยเฉพาะในเรื่องที่องค์กรเน้นย�้า เช่น ค่านิยม วัฒนธรรมคุณภาพงาน การบริหารเวลา เป็นต้น

การโหมท�างานหามรุ่งหามค�่าจนไม่มเีวลาผกัผ่อน จะท�าลายความคิดสร้างสรรคสมองที่เบลอ ไม่มีทางคิดอะไรดีๆ และสร้างสรรค์ได้

การขยันท�างานตอนใกล้เวลาส่งมอบงานแบบไฟลนก้น จะท�าให้เครียด หงุดหงิดอารมณเสียง่าย บรรยากาศตึงเครียด ท�าให้มีโอกาสที่จะทะเลาะเบาะแว้งกันได้ง่ายความสัมพันธ์อันดีที่มีแต่เก่าก่อนกับคนรอบข้างอาจเสียไป

การท�างานแบบหามรุ่งหามค�่าหรอือยูใ่นความเร่งรบีตลอดเวลา จะบั่นทอนสุขภาพให้ทรุดโทรมในระยะยาว

การปฏิบัติงานเพียงแค่ให้เสร็จจะได้งานที่ไม่ค่อยมีคุณค่า

เพราะฉะนั้น ก่อนลงมือปฏิบัติงานหยุดคิดสักนิด ด้วยการตั้งค�าถาม

กบัตวัเองว่า งานนีท้�าไปท�าไม ไม่ท�าได้ไหมถ้าต้องท�า ท�าให้ดีกว่าเดิมได้ไหม

คุณค่าของงานคืออะไร ฯลฯ

อย่าละเลยการบริหารความสมดุลระหว่างชีวิตการท�างานกับชีวิตครอบครัว (WLB) ครอบครัวมีความส�าคัญในการสนับสนุนให้ประสบความส�าเร็จในระยะยาวอย่าปล่อยให้การท�างานมาท�าลายชีวิตครอบครัว

01PRODUCTIVITY WORLD

• เศรษฐกิจ

เป็นหน้าที่ขององค์กรที่จะต้องดูแลให้พนักงานมีชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีตามความเหมาะสม ด้วยการจ่าย

ผลประโยชน์ ค่าตอบแทนที่เหมาะสมและเป็นธรรม อีกทั้งต้องสื่อสารให้พนักงาน

เข้าใจในหลักการของจ่ายผลประโยชน์ให้พนักงานทราบด้วย และสิ่งส�าคัญ

องค์กรที่ยึดแนวคิดของ Slow Lifeจะต้องสอนให้พนักงานรู้จักการด�ารงชีวิตอย่างพอเพียง

โดยให้ความรู้เรื่องการออมทรัพย์การบริหารเงินรูปแบบต่างๆ

จัดกิจกรรมส่งเสริมการสะสมทรัพย์ให้พนักงานควบคู่ไปด้วย

3. Slow Living

เป็นการใช้ชีวิตส่วนตัวของมนุษย์ที่นอกเหนือจากศึกษาเล่าเรียน

และการปฏิบัติงาน ซึ่งมีหลากหลายรูปแบบขึ้นอยู่กับฐานะทางเศรษฐกิจ

สังคม และรสนิยม แต่จะต้องอยู่บนกรอบแนวคิดของความพอประมาณมีเหตุผล มีภูมิคุ้มกัน อีกสิ่งที่กลุ่มคน

ที่ด�าเนินชีวิตแบบ Slow Livingจะประพฤติปฏิบัติเหมือนกันคือ

การด�ารงชีวิตที่เข้าใจในระบบนิเวศและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม

ขอยกตัวอย่างพอสังเขป ดังนี้

Page 6: [Productivity World] Slow life : การดำเนินชีวิตอย่างพอเพียง

PRODUCTIVITY WORLD

3501PRODUCTIVITY WORLD

การขยันท�างานที่มีแต่ปริมาณไม่ใช้ปญญาในการปฏิบัติงาน

จะไม่สามารถท�างานให้มีคุณภาพได้ฉะนั้นการปฏิบัติงานจะต้องคิดปรับปรุง

ให้มีผลิตภาพดีขึ้นอยู่เสมอ

ผู้น�าควรประพฤติปฏิบัติตนเปนแบบอย่าง (Role Model) ทีด่ี

ให้กับพนักงานโดยเฉพาะในเรื่องที่องค์กรเน้นย�้า เช่น ค่านิยม วัฒนธรรมคุณภาพงาน การบริหารเวลา เป็นต้น

การโหมท�างานหามรุ่งหามค�่าจนไม่มเีวลาผกัผ่อน จะท�าลายความคิดสร้างสรรคสมองที่เบลอ ไม่มีทางคิดอะไรดีๆ และสร้างสรรค์ได้

การขยันท�างานตอนใกล้เวลาส่งมอบงานแบบไฟลนก้น จะท�าให้เครียด หงุดหงิดอารมณเสียง่าย บรรยากาศตึงเครียด ท�าให้มีโอกาสที่จะทะเลาะเบาะแว้งกันได้ง่ายความสัมพันธ์อันดีที่มีแต่เก่าก่อนกับคนรอบข้างอาจเสียไป

การท�างานแบบหามรุ่งหามค�่าหรืออยูใ่นความเร่งรบีตลอดเวลา จะบั่นทอนสุขภาพให้ทรุดโทรมในระยะยาว

การปฏิบัติงานเพียงแค่ให้เสร็จจะได้งานที่ไม่ค่อยมีคุณค่า

เพราะฉะนั้น ก่อนลงมือปฏิบัติงานหยุดคิดสักนิด ด้วยการตั้งค�าถาม

กบัตวัเองว่า งานนีท้�าไปท�าไม ไม่ท�าได้ไหมถ้าต้องท�า ท�าให้ดีกว่าเดิมได้ไหม

คุณค่าของงานคืออะไร ฯลฯ

อย่าละเลยการบริหารความสมดุลระหว่างชีวิตการท�างานกับชีวิตครอบครัว (WLB) ครอบครัวมีความส�าคัญในการสนับสนุนให้ประสบความส�าเร็จในระยะยาวอย่าปล่อยให้การท�างานมาท�าลายชีวิตครอบครัว

01PRODUCTIVITY WORLD

• เศรษฐกิจ

เป็นหน้าที่ขององค์กรที่จะต้องดูแลให้พนักงานมีชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีตามความเหมาะสม ด้วยการจ่าย

ผลประโยชน์ ค่าตอบแทนที่เหมาะสมและเป็นธรรม อีกทั้งต้องสื่อสารให้พนักงาน

เข้าใจในหลักการของจ่ายผลประโยชน์ให้พนักงานทราบด้วย และสิ่งส�าคัญ

องค์กรที่ยึดแนวคิดของ Slow Lifeจะต้องสอนให้พนักงานรู้จักการด�ารงชีวิตอย่างพอเพียง

โดยให้ความรู้เรื่องการออมทรัพย์การบริหารเงินรูปแบบต่างๆ

จัดกิจกรรมส่งเสริมการสะสมทรัพย์ให้พนักงานควบคู่ไปด้วย

3. Slow Living

เป็นการใช้ชีวิตส่วนตัวของมนุษย์ที่นอกเหนือจากศึกษาเล่าเรียน

และการปฏิบัติงาน ซึ่งมีหลากหลายรูปแบบขึ้นอยู่กับฐานะทางเศรษฐกิจ

สังคม และรสนิยม แต่จะต้องอยู่บนกรอบแนวคิดของความพอประมาณมีเหตุผล มีภูมิคุ้มกัน อีกสิ่งที่กลุ่มคน

ที่ด�าเนินชีวิตแบบ Slow Livingจะประพฤติปฏิบัติเหมือนกันคือ

การด�ารงชีวิตที่เข้าใจในระบบนิเวศและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม

ขอยกตัวอย่างพอสังเขป ดังนี้

Page 7: [Productivity World] Slow life : การดำเนินชีวิตอย่างพอเพียง

PRODUCTIVITY WORLD

3601PRODUCTIVITY WORLD

• Slow Pace

เป็นแนวคิดในการเลือกใช้วิธีการเดินทางในชีวิตประจ�าวัน ในกรอบของความไม่เร่งรีบ ออกก�าลังกาย และใส่ใจในสิ่งแวดล้อม ตั้งแต่ เดิน ขี่จักรยาน แท็กซี่ รถสาธารณะ รถยนต์ส่วนตัวถ้าบ้านอยู่ใกล้ที่ท�างานก็อาจจะเดินหรือขี่รถจักรยานไป ถ้าอยู่ไกลก็อาจเลือกรถสาธารณะหรือขับรถส่วนตัวไปแต่ที่ส�าคัญจะต้องมีการวางแผนในการเดินทางที่ดีทั้งเวลา รูปแบบ และการใช้พลังงานที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม

• Slow Food

แนวคิดนี้เกิดครั้งแรกในประเทศอิตาลี ประมาณ ค.ศ.1986 มีวัตถุประสงค์เพื่อรณรงค์การลดรับประทานอาหารฟาสต์ฟูด ปัจจุบันได้พัฒนามาเป็นการรับประทานอาหารที่ปรุงแต่งจากวัตถุดิบในท้องถิ่น ไม่ว่าจะเป็นพืช ผัก ผลไม้ เนื้อสัตว์ จะต้องมีกระบวนการผลติทีเ่ป็นมติรกบัสิง่แวดล้อม ในการรับประทานอาหารจะต้องทานให้ช้าลง ค่อยๆ เคี้ยวเพื่อสัมผัสถึงรสชาติ ความอร่อยของอาหารและการเคี้ยวอาหารให้ช้าลงจะส่งผลให้มีสุขภาพดีอีกด้วย

Slow Wear

มีเสื้อผ้าเท่าที่จ�าเป็น ลดละการสะสมเสื้อผ้าและเครื่องประดับทั้งหลายซึ่งการลดละการซื้อจะเป็นการช่วยลดขยะของโลกลงได้อีกวิธีหนึ่ง

• Slow House

คือเลือกขนาด ประเภทสถานที่ สิ่งตกแต่ง วัสดุที่ใช้การประหยัดพลังงาน ให้เหมาะกับจ�านวนสมาชิก รูปแบบการใช้ชีวิตและที่ส�าคัญเหมาะสมกับฐานะทางเศรษฐกิจ และสังคม

ปัจจุบันถึงแม้ว่าปรัชญาของการด�าเนินชีวิตในรูปแบบของ Slow Life จะไม่ใช่เรื่องใหม่ แต่ก็ยังมีความเข้าใจที่คลาดเคลื่อนกันอยู่พอสมควร ในชีวิตจริง Slow Life ยังเป็นไปตามกระแส ช่วงไหนกระแสมาผู้คนก็ประพฤติปฏิบัติกัน สักพักพอกระแสตกผู้คนก็กลับไปใช้ชีวิตแบบเร่งรีบเหมือนเดิม เพราะฉะนั้นการด�ารงชีวิตแบบ Slow Life แบบยั่งยืนจะต้องมีการฝกฝน โดยเริ่มจาก ภายในตนเองก่อน ด้วยการเปลี่ยนกรอบแนวคิดในการด�ารงชีวิตที่ว่า ถึงเวลาแล้วที่มวลมนุษยชาติจะต้องมาร่วมมือ ร่วมใจ กันในการเยียวยาโลก (Heal the World) เพื่อให้โลกใบนี้เป็นสถานที่ที่น่าอยู่น่าอาศัยส�าหรับคนรุ่นต่อๆ ไป แล้วต่อมาก็ปรับพฤติกรรมในการด�ารงชีวิตที่เริ่มจากสิ่งที่ง่ายๆใกล้ตัว ด้วยการใช้ชีวิตให้ช้าลง แต่รื่นรมย์ เช่น ท�างานมาก ประชุมมาก อาจจะเหนื่อย เครียด ให้ลองเปลี่ยนบรรยากาศ ไปนั่งท�างานในสวนสาธารณะบ้าง มองต้นไม้สีเขียวๆ ช่วยให้สบายตา สบายใจ ท�าให้ลดความเครียดได้ เป็นต้น และที่ส�าคัญต้องไม่ลืมว่าการใช้ชีวิตแบบ Slow Life ของแต่ละปัจเจกบุคคลจะมีความแตกต่างกัน ขึ้นอยู่กับการมีสติก�ากับตัว มวลมนุษย์ที่ใช้ชีวิตอย่างมีสติ นับว่าเป็นผู้ตื่น ซึ่งก็หมายถึงว่าคนผู้นั้นเวลาท�าอะไรจะใช้ปัญญาไตร่ตรองเสียก่อน ถึงความควร ไม่ควร เหมาะสมไม่เหมาะสม แล้วจึงลงมือปฏิบัติมนุษย์ยิ่งมีสติมากเท่าไรยิ่งดี เพราะจะท�าให้กิเลส ที่หมายถึงสิ่งที่แฝงติดอยู่ในใจแล้วท�าให้ใจเศร้าหมองขุ่นมัว ได้แก่โลภ โกรธ หลง ยากที่จะมีอิทธิพลเหนือจิตใจของคนเราได้ เวลาจะท�าอะไรมนุษย์จึงคิดไปในทางที่ดี และประพฤติดีไงครับ

CUSTOMERFOCUS

ProductivityW�ldW�ld