p.1 biology session#2 m3.pdf 3 6/14/16 9:43 am · pdf file · 2017-07-03page 1 -...

33

Upload: lamkien

Post on 20-Mar-2018

216 views

Category:

Documents


4 download

TRANSCRIPT

Page 1: P.1 BIOLOGY session#2 M3.pdf 3 6/14/16 9:43 AM · PDF file · 2017-07-03Page 1 - ปี 2554 1. นาย ก ทำการทดลอง โดยนำเนื้อหมูชนิดเดียวกัน

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K

P.1 BIOLOGY session#2_M3.pdf 3 6/14/16 9:43 AM

Page 2: P.1 BIOLOGY session#2 M3.pdf 3 6/14/16 9:43 AM · PDF file · 2017-07-03Page 1 - ปี 2554 1. นาย ก ทำการทดลอง โดยนำเนื้อหมูชนิดเดียวกัน

 

 

 

Page 1 

- ปี 2554

1. นาย ก ทำการทดลอง โดยนำเนื้อหมูชนิดเดียวกัน น้ำหนักเท่ากันไปแช่ใน

สารละลายต่างชนิดกัน เป็นเวลา 1 ชั่วโมง นำมาชั่งน้ำหนักเป็นระยะๆ

แล้วสรุปความสัมพันธ์ดังกล่าว

สารละลายในกราฟ รูป A B และ C หมายถึงสารใดตามลำดับ

1. น้ำเกลือเข้มข้น 0.85% น้ำกลั่น น้ำปลา

2. น้ำปลา น้ำกลั่น น้ำเกลือเข้มข้น 0.85%

3. น้ำเกลือเข้มข้น 10% น้ำกลั่น น้ำปลา

4. น้ำเกลือเข้มข้น 10% น้ำปลา น้ำกลั่น

น้ำหนัก

C

น้ำหนัก

B

น้ำหนัก

A

1

OSOTSPA#2_Vit M3.indd 1 6/11/16 9:01 AM

Page 3: P.1 BIOLOGY session#2 M3.pdf 3 6/14/16 9:43 AM · PDF file · 2017-07-03Page 1 - ปี 2554 1. นาย ก ทำการทดลอง โดยนำเนื้อหมูชนิดเดียวกัน

 

 

 

Page 2 

2. ใช้ข้อมูลตอบคำถามข้อ 2

ก. เพิ่มอัตราเมแทบอลิซึม ง. หลอดเลือดขยายตัว

ข. ลดอัตราเมแทบอลิซึม จ. หลอดเลือดหดตัว

ค. ขนตั้งตรง เหงื่อไม่ออก ฉ. ขนเอนราบ เหงื่อออกมาก

ถ้านายเอ อยู่บนภูกระดึง จังหวัดเลย ในเดือนมกราคมที่มีอากาศหนาวจัด นายเอควรมี

อาการเช่นไร

1. ก ค และ จ

2. ข ง และ ฉ

3. ก ง และ ฉ

4. ข ค และ จ

 

 

 

Page 3 

3. เซลล์ของต่อมไร้ท่อ ทำหน้าที่สังเคราะห์ฮอร์โมน

สำหรับส่งไปยังส่วนต่างๆของร่างกายจะมีออร์แกเนลล์ใดมาก

1. แวคิลโอล

2. ไลโซโซม

3. ไมโทคอนเดรีย

4. ร่างแหเอนโดพาสซึม

2

OSOTSPA#2_Vit M3.indd 2 6/11/16 9:01 AM

Page 4: P.1 BIOLOGY session#2 M3.pdf 3 6/14/16 9:43 AM · PDF file · 2017-07-03Page 1 - ปี 2554 1. นาย ก ทำการทดลอง โดยนำเนื้อหมูชนิดเดียวกัน

 

 

 

Page 2 

2. ใช้ข้อมูลตอบคำถามข้อ 2

ก. เพิ่มอัตราเมแทบอลิซึม ง. หลอดเลือดขยายตัว

ข. ลดอัตราเมแทบอลิซึม จ. หลอดเลือดหดตัว

ค. ขนตั้งตรง เหงื่อไม่ออก ฉ. ขนเอนราบ เหงื่อออกมาก

ถ้านายเอ อยู่บนภูกระดึง จังหวัดเลย ในเดือนมกราคมที่มีอากาศหนาวจัด นายเอควรมี

อาการเช่นไร

1. ก ค และ จ

2. ข ง และ ฉ

3. ก ง และ ฉ

4. ข ค และ จ

 

 

 

Page 3 

3. เซลล์ของต่อมไร้ท่อ ทำหน้าที่สังเคราะห์ฮอร์โมน

สำหรับส่งไปยังส่วนต่างๆของร่างกายจะมีออร์แกเนลล์ใดมาก

1. แวคิลโอล

2. ไลโซโซม

3. ไมโทคอนเดรีย

4. ร่างแหเอนโดพาสซึม

3

OSOTSPA#2_Vit M3.indd 3 6/11/16 9:01 AM

Page 5: P.1 BIOLOGY session#2 M3.pdf 3 6/14/16 9:43 AM · PDF file · 2017-07-03Page 1 - ปี 2554 1. นาย ก ทำการทดลอง โดยนำเนื้อหมูชนิดเดียวกัน

 

 

 

Page 4 

ประเภทฮอร์โมน Peptide / Protein Steroid Amine

1. สารตั้งต้น Amino acid Cholesterol กรดอะมิโน tyrosine ที่ถูกตัดเอา Carboxyl

group ออก

2. สร้างจาก organelle ใด

3. วิธีการหลั่งฮอร์โมนออก

นอกเซลล์

Exocytosis Simple diffusion Thyroid hormone & Catecholamine

Exocytosis ทั้งคู่

4. ตำแหน่งของ Receptor อยู่บน Cell membrane อยู่ใน Cytoplasm

หรือใน Nucleus

- อยู่ใน Nucleus Thyroid hormone

- อยู่บน Cell membrane Catecholamine

5. กลไกการออกฤทธิ์ สร้าง Secondary messenger

(ตัวส่งข่าวตัวที่ 2) เช่น cAMP,

Ca2+ เกิดการเปลี่ยนแปลง

ภายในเซลล์

ทำให้ DNA เกิด

transcription เพื่อสร้าง

mRNA และโปรตีนต่อไป

- Thyroid hormone = ออกฤทธิ์เหมือน Steroid

hormone

- Catecholamine = ออกฤทธิ์เหมือน Peptide

hormone

ตัวอย่างฮอร์โมน :

 

 

 

Page 7 

4. เมื่อเด็กหญิง ก ได้รับสาร A แล้วร่างกายสร้างภูมิคุ้มกันที่อยู่ได้นาน

ต่อมาเขาได้รับสาร B ซึ่งเป็นภูมิคุ้มกันที่อยู่ได้ไม่นาน

สาร A และ B หมายถึงสารในข้อใดตามลำดับ

1. เซรุ่ม วัคซีน

2. วัคซีน เซรุ่ม

3. เซรุ่ม ทอกซอยด์

4. ทอกซอยด์ วัคซีน

Act ive immunity Pass ive immunity

4

OSOTSPA#2_Vit M3.indd 4 6/11/16 9:01 AM

Page 6: P.1 BIOLOGY session#2 M3.pdf 3 6/14/16 9:43 AM · PDF file · 2017-07-03Page 1 - ปี 2554 1. นาย ก ทำการทดลอง โดยนำเนื้อหมูชนิดเดียวกัน

 

 

 

Page 4 

ประเภทฮอร์โมน Peptide / Protein Steroid Amine

1. สารตั้งต้น Amino acid Cholesterol กรดอะมิโน tyrosine ที่ถูกตัดเอา Carboxyl

group ออก

2. สร้างจาก organelle ใด

3. วิธีการหลั่งฮอร์โมนออก

นอกเซลล์

Exocytosis Simple diffusion Thyroid hormone & Catecholamine

Exocytosis ทั้งคู่

4. ตำแหน่งของ Receptor อยู่บน Cell membrane อยู่ใน Cytoplasm

หรือใน Nucleus

- อยู่ใน Nucleus Thyroid hormone

- อยู่บน Cell membrane Catecholamine

5. กลไกการออกฤทธิ์ สร้าง Secondary messenger

(ตัวส่งข่าวตัวที่ 2) เช่น cAMP,

Ca2+ เกิดการเปลี่ยนแปลง

ภายในเซลล์

ทำให้ DNA เกิด

transcription เพื่อสร้าง

mRNA และโปรตีนต่อไป

- Thyroid hormone = ออกฤทธิ์เหมือน Steroid

hormone

- Catecholamine = ออกฤทธิ์เหมือน Peptide

hormone

ตัวอย่างฮอร์โมน :

 

 

 

Page 7 

4. เมื่อเด็กหญิง ก ได้รับสาร A แล้วร่างกายสร้างภูมิคุ้มกันที่อยู่ได้นาน

ต่อมาเขาได้รับสาร B ซึ่งเป็นภูมิคุ้มกันที่อยู่ได้ไม่นาน

สาร A และ B หมายถึงสารในข้อใดตามลำดับ

1. เซรุ่ม วัคซีน

2. วัคซีน เซรุ่ม

3. เซรุ่ม ทอกซอยด์

4. ทอกซอยด์ วัคซีน

Act ive immunity Pass ive immunity

5

OSOTSPA#2_Vit M3.indd 5 6/11/16 9:01 AM

Page 7: P.1 BIOLOGY session#2 M3.pdf 3 6/14/16 9:43 AM · PDF file · 2017-07-03Page 1 - ปี 2554 1. นาย ก ทำการทดลอง โดยนำเนื้อหมูชนิดเดียวกัน

 

 

 

Page 8 

5. สัตว์ในข้อใดอุณหภูมิในร่างกายค่อนข้างคงที ่แม้ส่ิงแวดล้อมจะเปลี่ยนไป

1. นกกระจอกเทศ กบ

2. งู จระเข้

3. พยูน นกกระจิบ

4. ปลาฉลาม วาฬ

6. สามีเลือดหมู่ A ภรรยาเลือดหมู่เลือด B มีลูกคนแรกเลือดหมู่ O โอกาสมีลูกคนที่ 2

เลือดหมู่ A คิดเป็นร้อยละเท่าไร

1. 0 2. 25 3. 50 4. 75

 

 

 

Page 9 

7. ข้อใดคือผลจากกระบวนการสร้างอสุจิของคน

โดยเริ่มจากเซลล์ ที่หลอดสร้างอสุจิ 1 เซลล์

ข้อ จำนวนอสุจิ (ตัว) จำนวนโครโมโซมของตัวอสุจิ (แท่ง)

1 4 23

2 2 23

3 4 46

4 2 46

6

OSOTSPA#2_Vit M3.indd 6 6/11/16 9:01 AM

Page 8: P.1 BIOLOGY session#2 M3.pdf 3 6/14/16 9:43 AM · PDF file · 2017-07-03Page 1 - ปี 2554 1. นาย ก ทำการทดลอง โดยนำเนื้อหมูชนิดเดียวกัน

 

 

 

Page 8 

5. สัตว์ในข้อใดอุณหภูมิในร่างกายค่อนข้างคงที ่แม้ส่ิงแวดล้อมจะเปลี่ยนไป

1. นกกระจอกเทศ กบ

2. งู จระเข้

3. พยูน นกกระจิบ

4. ปลาฉลาม วาฬ

6. สามีเลือดหมู่ A ภรรยาเลือดหมู่เลือด B มีลูกคนแรกเลือดหมู่ O โอกาสมีลูกคนที่ 2

เลือดหมู่ A คิดเป็นร้อยละเท่าไร

1. 0 2. 25 3. 50 4. 75

 

 

 

Page 9 

7. ข้อใดคือผลจากกระบวนการสร้างอสุจิของคน

โดยเริ่มจากเซลล์ ที่หลอดสร้างอสุจิ 1 เซลล์

ข้อ จำนวนอสุจิ (ตัว) จำนวนโครโมโซมของตัวอสุจิ (แท่ง)

1 4 23

2 2 23

3 4 46

4 2 46

7

OSOTSPA#2_Vit M3.indd 7 6/11/16 9:01 AM

Page 9: P.1 BIOLOGY session#2 M3.pdf 3 6/14/16 9:43 AM · PDF file · 2017-07-03Page 1 - ปี 2554 1. นาย ก ทำการทดลอง โดยนำเนื้อหมูชนิดเดียวกัน

 

 

 

Page 10 

 

 

 

Page 12 

8. ข้อใดผิดจากทฤษฎีการคัดเลือกทางธรรมชาติ

1. เมื่อก่อนยีราฟมีทั้งคอสั้นและคอยาว ต่อมาเมื่อสิ่งแวดล้อมเปลี่ยนแปลงไป

ยีราฟคอสั้นไม่สามารถอยู่รอดได้ จึงสูญพันธุ์เหลือแต่ยีราฟคอยาว

2. เมื่อก่อนยีราฟคอสั้น แต่ต่อมายืดคอกินใบไม้สูงๆ คอจึงยาว ลักษณะคอยาว

ถ่ายทอดไปถึงลูก จึงทำให้ยีราฟรุ่นหลังคอยาว

3. แมลงศัตรูพืช ทนทานต่อยาฆ่าแมลง เพราะแมลงตัวที่กลายพันธุ์เกิดการดื้อยา

สามารถอยู่รอดมีลูกหลานต่อไปได้

4. กระต่ายป่าสีน้ำตาลจะดูกลมกลืนกับทุ่งหญ้า แมวป่าจึงล่ากระต่ายป่าสีขาวเป็นอาหารได้ง่าย

8

OSOTSPA#2_Vit M3.indd 8 6/11/16 9:01 AM

Page 10: P.1 BIOLOGY session#2 M3.pdf 3 6/14/16 9:43 AM · PDF file · 2017-07-03Page 1 - ปี 2554 1. นาย ก ทำการทดลอง โดยนำเนื้อหมูชนิดเดียวกัน

 

 

 

Page 10 

 

 

 

Page 12 

8. ข้อใดผิดจากทฤษฎีการคัดเลือกทางธรรมชาติ

1. เมื่อก่อนยีราฟมีทั้งคอสั้นและคอยาว ต่อมาเมื่อสิ่งแวดล้อมเปลี่ยนแปลงไป

ยีราฟคอสั้นไม่สามารถอยู่รอดได้ จึงสูญพันธุ์เหลือแต่ยีราฟคอยาว

2. เมื่อก่อนยีราฟคอสั้น แต่ต่อมายืดคอกินใบไม้สูงๆ คอจึงยาว ลักษณะคอยาว

ถ่ายทอดไปถึงลูก จึงทำให้ยีราฟรุ่นหลังคอยาว

3. แมลงศัตรูพืช ทนทานต่อยาฆ่าแมลง เพราะแมลงตัวที่กลายพันธุ์เกิดการดื้อยา

สามารถอยู่รอดมีลูกหลานต่อไปได้

4. กระต่ายป่าสีน้ำตาลจะดูกลมกลืนกับทุ่งหญ้า แมวป่าจึงล่ากระต่ายป่าสีขาวเป็นอาหารได้ง่าย

9

OSOTSPA#2_Vit M3.indd 9 6/11/16 9:01 AM

Page 11: P.1 BIOLOGY session#2 M3.pdf 3 6/14/16 9:43 AM · PDF file · 2017-07-03Page 1 - ปี 2554 1. นาย ก ทำการทดลอง โดยนำเนื้อหมูชนิดเดียวกัน

 

 

 

Page 13 

9. ลักษณะเด่นของอาณาจักรมอเนอรา คือข้อใด

1. มีคลอโรฟิลล์ 2. ไม่มีเนื้อเยื่อ

3. มีผนังเซลล์ 4. ไม่มีเยื่อหุ้มนิวเคลียส

10. จากกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิต 2 ชนิด สิงมีชีวิต A เส้นทึบ และ

สิ่งมีชีวิต B เส้นประ สิ่งมีชีวิต A และ B ควรจะหมายถึงสิ่งมีชีวิตในข้อใดตามลำดับ

1. ดอกไม้ทะเล - ปลาการ์ตูน

2. ดอกไม้ - ผีเสื้อ

3. งูเห่า - หนูนา

4. กล้วยไม้ - ต้นประดู่

 

 

 

Page 14 

11. ในกระบวนการเปลี่ยนแปลงแทนที ่กลุ่มสิ่งมีชีวิตขั้นสุดที่พบ

ในสภาวะสมดุลจะไม่มีลักษณะในข้อใด

1. มีสายใยอาหารซับซ้อนมาก

2. มีสิ่งมีชีวิตไม่กี่ชนิด

3. พบได้ตามป่าดงดิบ

4. สภาพแวดล้อมค่อนข้างคงที่

10

OSOTSPA#2_Vit M3.indd 10 6/11/16 9:01 AM

Page 12: P.1 BIOLOGY session#2 M3.pdf 3 6/14/16 9:43 AM · PDF file · 2017-07-03Page 1 - ปี 2554 1. นาย ก ทำการทดลอง โดยนำเนื้อหมูชนิดเดียวกัน

 

 

 

Page 13 

9. ลักษณะเด่นของอาณาจักรมอเนอรา คือข้อใด

1. มีคลอโรฟิลล์ 2. ไม่มีเนื้อเยื่อ

3. มีผนังเซลล์ 4. ไม่มีเยื่อหุ้มนิวเคลียส

10. จากกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิต 2 ชนิด สิงมีชีวิต A เส้นทึบ และ

สิ่งมีชีวิต B เส้นประ สิ่งมีชีวิต A และ B ควรจะหมายถึงสิ่งมีชีวิตในข้อใดตามลำดับ

1. ดอกไม้ทะเล - ปลาการ์ตูน

2. ดอกไม้ - ผีเสื้อ

3. งูเห่า - หนูนา

4. กล้วยไม้ - ต้นประดู่

 

 

 

Page 14 

11. ในกระบวนการเปลี่ยนแปลงแทนที ่กลุ่มสิ่งมีชีวิตขั้นสุดที่พบ

ในสภาวะสมดุลจะไม่มีลักษณะในข้อใด

1. มีสายใยอาหารซับซ้อนมาก

2. มีสิ่งมีชีวิตไม่กี่ชนิด

3. พบได้ตามป่าดงดิบ

4. สภาพแวดล้อมค่อนข้างคงที่

11

OSOTSPA#2_Vit M3.indd 11 6/11/16 9:01 AM

Page 13: P.1 BIOLOGY session#2 M3.pdf 3 6/14/16 9:43 AM · PDF file · 2017-07-03Page 1 - ปี 2554 1. นาย ก ทำการทดลอง โดยนำเนื้อหมูชนิดเดียวกัน

 

 

 

Page 15 

12. ข้อใดถือว่าเป็นอิทธิพลของปัจจัยทางชีวภาพต่อสิ่งมีชีวิต

1. ต้นกระบองเพชรมนทะเลทรายไม่มีใบเพื่อลดการคายน้ำ

2. ปลาที่อยู่ในถ้ำจะตาบอด

3. สุนัขแถบขั้วโลกจะมีขนที่ยาวปุกปุย

4. สิงโตอยู่ในทุ่งสะวันนาที่มีม้าลาย

13. ผู้บริโภคลำดับที่ 1 ของระบบนิเวศ มีคุณสมบัติอย่างไร

1. เป็นผู้บริโภคที่กินพืช

2. เป็นผู้บริโภคที่กินสัตว์

3. เป็นผู้บริโภคที่กินทั้งพืชและสัตว์

4. เป็นผู้บริโภคที่กินซากพืชซากสัตว์

 

 

 

Page 16 

14. สิ่งมีชีวิตที่บุกเบิกพวกแรกที่เปลี่ยนหินไปเป็นดินคือพวกใด

1. ราและสาหร่ายที่อยู่ร่วมกัน

2. มอสและเฟิร์น

3. เฟิร์นและหญ้า

4. หญ้าและพุ่มไม้

12

OSOTSPA#2_Vit M3.indd 12 6/11/16 9:01 AM

Page 14: P.1 BIOLOGY session#2 M3.pdf 3 6/14/16 9:43 AM · PDF file · 2017-07-03Page 1 - ปี 2554 1. นาย ก ทำการทดลอง โดยนำเนื้อหมูชนิดเดียวกัน

 

 

 

Page 15 

12. ข้อใดถือว่าเป็นอิทธิพลของปัจจัยทางชีวภาพต่อสิ่งมีชีวิต

1. ต้นกระบองเพชรมนทะเลทรายไม่มีใบเพื่อลดการคายน้ำ

2. ปลาที่อยู่ในถ้ำจะตาบอด

3. สุนัขแถบขั้วโลกจะมีขนที่ยาวปุกปุย

4. สิงโตอยู่ในทุ่งสะวันนาที่มีม้าลาย

13. ผู้บริโภคลำดับที่ 1 ของระบบนิเวศ มีคุณสมบัติอย่างไร

1. เป็นผู้บริโภคที่กินพืช

2. เป็นผู้บริโภคที่กินสัตว์

3. เป็นผู้บริโภคที่กินทั้งพืชและสัตว์

4. เป็นผู้บริโภคที่กินซากพืชซากสัตว์

 

 

 

Page 16 

14. สิ่งมีชีวิตที่บุกเบิกพวกแรกที่เปลี่ยนหินไปเป็นดินคือพวกใด

1. ราและสาหร่ายที่อยู่ร่วมกัน

2. มอสและเฟิร์น

3. เฟิร์นและหญ้า

4. หญ้าและพุ่มไม้

13

OSOTSPA#2_Vit M3.indd 13 6/11/16 9:01 AM

Page 15: P.1 BIOLOGY session#2 M3.pdf 3 6/14/16 9:43 AM · PDF file · 2017-07-03Page 1 - ปี 2554 1. นาย ก ทำการทดลอง โดยนำเนื้อหมูชนิดเดียวกัน

 

 

 

Page 17 

15. ข้อใดต่อไปนี้ เป็นการลดภาวะโลกร้อนโดยกระบวนการรีไซเคิล (recycle)

1. นางสาวรักดี ใช้ถุงผ้าแทนถุงพลาสติก

2. นางจริงใจ นำเศษกระดาษที่ใช้แล้วไปอัดขึ้นรูปเป็นกระถางต้นไม้

3. นายรักชาติ นำถุงพลาสติกที่ใช้แล้วมาใช้ซ้ำ

4. นางสาวเมตตา ไปตลาดโดยนำตะกร้าไปใส่ของแทนถุงพลาสติก

16. นาย ก ได้ช่วยลดปัญหาสิ่งแวดล้อม โดยนำรองเท้านักเรียนที่ชำรุดไปติดกาวใหม ่

เพื่อนำมาใช้ได้อีก วิธีดังกล่าวเรียกว่าอะไร

1. reduce 2. reuse 3. recycle 4. repair

 

 

 

Page 18 

17. ข้อใดไม่ใช่เชื้อเพลิงฟอสซิล

1. น้ำมันปิโตรเลียม 2. แก๊สธรรมชาติ

3. ถ่านหิน 4. ถ่านกัมมันต์

18. ข้อใดไม่ใช่แก๊สเรือนกระจก

1. คาร์บอนไดออกไซด์ 2. ออกไซด์ของไนโตรเจน

3. คาร์บอนมอนอกไซด์ 4. มีเทน

19. ข้อความใดต่อไปนี้ถูก

ก. สารชีวโมเลกุลคือ สารประกอบที่มีธาตุคาร์บอนและไฮโดรเจนเป็น

องค์ประกอบหลัก พบได้ทั้งในสิ่งมีชีวิตและไม่มีชีวิต

ข. ไตรกลีเซอไรด์หนึ่งโมเลกุลประกอบขึ้นจากกรดไขมัน 1 โมเลกุลและกลีเซอรอล

3 โมเลกุล

ค. พันธะเปปไทด์พบได้ในโมเลกุลของโปรตีน

ง. ปุยฝ้ายเกิดจากกลูโคสมาเชื่อมต่อกันเป็นสายยาว

1. ก และ ค 2. ข และ ค

3. ค และ ง 4. ก และ ง

14

OSOTSPA#2_Vit M3.indd 14 6/11/16 9:01 AM

Page 16: P.1 BIOLOGY session#2 M3.pdf 3 6/14/16 9:43 AM · PDF file · 2017-07-03Page 1 - ปี 2554 1. นาย ก ทำการทดลอง โดยนำเนื้อหมูชนิดเดียวกัน

 

 

 

Page 17 

15. ข้อใดต่อไปนี้ เป็นการลดภาวะโลกร้อนโดยกระบวนการรีไซเคิล (recycle)

1. นางสาวรักดี ใช้ถุงผ้าแทนถุงพลาสติก

2. นางจริงใจ นำเศษกระดาษที่ใช้แล้วไปอัดขึ้นรูปเป็นกระถางต้นไม้

3. นายรักชาติ นำถุงพลาสติกที่ใช้แล้วมาใช้ซ้ำ

4. นางสาวเมตตา ไปตลาดโดยนำตะกร้าไปใส่ของแทนถุงพลาสติก

16. นาย ก ได้ช่วยลดปัญหาสิ่งแวดล้อม โดยนำรองเท้านักเรียนที่ชำรุดไปติดกาวใหม ่

เพื่อนำมาใช้ได้อีก วิธีดังกล่าวเรียกว่าอะไร

1. reduce 2. reuse 3. recycle 4. repair

 

 

 

Page 18 

17. ข้อใดไม่ใช่เชื้อเพลิงฟอสซิล

1. น้ำมันปิโตรเลียม 2. แก๊สธรรมชาติ

3. ถ่านหิน 4. ถ่านกัมมันต์

18. ข้อใดไม่ใช่แก๊สเรือนกระจก

1. คาร์บอนไดออกไซด์ 2. ออกไซด์ของไนโตรเจน

3. คาร์บอนมอนอกไซด์ 4. มีเทน

19. ข้อความใดต่อไปนี้ถูก

ก. สารชีวโมเลกุลคือ สารประกอบที่มีธาตุคาร์บอนและไฮโดรเจนเป็น

องค์ประกอบหลัก พบได้ทั้งในสิ่งมีชีวิตและไม่มีชีวิต

ข. ไตรกลีเซอไรด์หนึ่งโมเลกุลประกอบขึ้นจากกรดไขมัน 1 โมเลกุลและกลีเซอรอล

3 โมเลกุล

ค. พันธะเปปไทด์พบได้ในโมเลกุลของโปรตีน

ง. ปุยฝ้ายเกิดจากกลูโคสมาเชื่อมต่อกันเป็นสายยาว

1. ก และ ค 2. ข และ ค

3. ค และ ง 4. ก และ ง

15

OSOTSPA#2_Vit M3.indd 15 6/11/16 9:01 AM

Page 17: P.1 BIOLOGY session#2 M3.pdf 3 6/14/16 9:43 AM · PDF file · 2017-07-03Page 1 - ปี 2554 1. นาย ก ทำการทดลอง โดยนำเนื้อหมูชนิดเดียวกัน

 

 

 

Page 48 

2. ข้อใดเป็นผลจากการที่พืชได้รับพาราควอตซึ่งสามารถแย่งรับอิเล็กตรอนที่ระบบแสง Ι

ในปฏิกิริยาแสง (PAT เม.ย. 57)

1. ออกซิเจนถูกรีดิวซ์เป็นซุปเปอร์ออกไซด ์

2. อิเล็กตรอนถูกส่งไปยัง NADP+ มากขึ้น

3. เฟอริดอกซินส่งอิเล็กตรอนกลับไปยังระบบแสง ΙΙ

4. อิเล็กตรอนถูกส่งกลับมายังพลาสโทควิโนนและระบบแสง ΙΙ

 

 

 

Page 49 

16

OSOTSPA#2_Vit M3.indd 16 6/11/16 9:01 AM

Page 18: P.1 BIOLOGY session#2 M3.pdf 3 6/14/16 9:43 AM · PDF file · 2017-07-03Page 1 - ปี 2554 1. นาย ก ทำการทดลอง โดยนำเนื้อหมูชนิดเดียวกัน

 

 

 

Page 48 

2. ข้อใดเป็นผลจากการที่พืชได้รับพาราควอตซึ่งสามารถแย่งรับอิเล็กตรอนที่ระบบแสง Ι

ในปฏิกิริยาแสง (PAT เม.ย. 57)

1. ออกซิเจนถูกรีดิวซ์เป็นซุปเปอร์ออกไซด ์

2. อิเล็กตรอนถูกส่งไปยัง NADP+ มากขึ้น

3. เฟอริดอกซินส่งอิเล็กตรอนกลับไปยังระบบแสง ΙΙ

4. อิเล็กตรอนถูกส่งกลับมายังพลาสโทควิโนนและระบบแสง ΙΙ

 

 

 

Page 49 

17

OSOTSPA#2_Vit M3.indd 17 6/11/16 9:01 AM

Page 19: P.1 BIOLOGY session#2 M3.pdf 3 6/14/16 9:43 AM · PDF file · 2017-07-03Page 1 - ปี 2554 1. นาย ก ทำการทดลอง โดยนำเนื้อหมูชนิดเดียวกัน

 

 

 

Page 50 

 

 

3. เมื่อนำเมล็ดของต้นไม้ที่เป็นบอนไซไปปลูกในสภาพปกติ พบว่า เมล็ดดังกล่าวสามารถงอก

เจริญเติบโตเป็นต้นไม้ใหญ่ได ้ตัวอย่างนี้ขัดแย้งกับข้อใดมากที่สุด (PAT เม.ย. 57)

1. ทฤษฎีการคัดเลือกโดยธรรมชาติของดาร์วิน

2. กฏแห่งการถ่ายทอดลักษณะที่เกิดขึ้นมาใหม่ของลามาร์ก

3. โลกเกิดมานานและมีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นอย่างค่อยเป็นค่อยไปของไลเอลล์

4. มิวเทชันส่งผลต่อความถี่ของแอลลีลและความถี่ของจีโนไทป์ในยีนพลูของประชากร

ของฮาร์ดีและไวน์เบิร์ก

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

Page 51 

 

 

 

4. รูปแสดงภาพตัดขวางของท่อ seminiferous tubule ของผู้ชายในวัยเจริญพันธุ์

A, B และ C มีโอกาสเป็นเซลล์ชนิดใดได้มากที่สุด ตามลำดับ (PAT ต.ค. 56)

1. สเปอร์มาทิด / สเปอร์มาโทไซต์ระยะที่สอง / อสุจิ

2. สเปอร์มาโทโซต์ระยะแรก / สเปอร์มาโทโกเนียม / สเปอร์มาทิด

3. สเปอร์มาโทโกเนียม / สเปอร์มาโทโซต์ระยะที่สอง / สเปอร์มาทิด

4. สเปอร์มาโทโกเนียม / สเปอร์มาโทโซต์ระยะที่สอง / สเปอร์มาโทไซต์ระยะแรก

 

 

 

 

 

 

 

 

18

OSOTSPA#2_Vit M3.indd 18 6/11/16 9:01 AM

Page 20: P.1 BIOLOGY session#2 M3.pdf 3 6/14/16 9:43 AM · PDF file · 2017-07-03Page 1 - ปี 2554 1. นาย ก ทำการทดลอง โดยนำเนื้อหมูชนิดเดียวกัน

 

 

 

Page 50 

 

 

3. เมื่อนำเมล็ดของต้นไม้ที่เป็นบอนไซไปปลูกในสภาพปกติ พบว่า เมล็ดดังกล่าวสามารถงอก

เจริญเติบโตเป็นต้นไม้ใหญ่ได ้ตัวอย่างนี้ขัดแย้งกับข้อใดมากที่สุด (PAT เม.ย. 57)

1. ทฤษฎีการคัดเลือกโดยธรรมชาติของดาร์วิน

2. กฏแห่งการถ่ายทอดลักษณะที่เกิดขึ้นมาใหม่ของลามาร์ก

3. โลกเกิดมานานและมีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นอย่างค่อยเป็นค่อยไปของไลเอลล์

4. มิวเทชันส่งผลต่อความถี่ของแอลลีลและความถี่ของจีโนไทป์ในยีนพลูของประชากร

ของฮาร์ดีและไวน์เบิร์ก

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

Page 51 

 

 

 

4. รูปแสดงภาพตัดขวางของท่อ seminiferous tubule ของผู้ชายในวัยเจริญพันธุ์

A, B และ C มีโอกาสเป็นเซลล์ชนิดใดได้มากที่สุด ตามลำดับ (PAT ต.ค. 56)

1. สเปอร์มาทิด / สเปอร์มาโทไซต์ระยะที่สอง / อสุจิ

2. สเปอร์มาโทโซต์ระยะแรก / สเปอร์มาโทโกเนียม / สเปอร์มาทิด

3. สเปอร์มาโทโกเนียม / สเปอร์มาโทโซต์ระยะที่สอง / สเปอร์มาทิด

4. สเปอร์มาโทโกเนียม / สเปอร์มาโทโซต์ระยะที่สอง / สเปอร์มาโทไซต์ระยะแรก

 

 

 

 

 

 

 

 

19

OSOTSPA#2_Vit M3.indd 19 6/11/16 9:01 AM

Page 21: P.1 BIOLOGY session#2 M3.pdf 3 6/14/16 9:43 AM · PDF file · 2017-07-03Page 1 - ปี 2554 1. นาย ก ทำการทดลอง โดยนำเนื้อหมูชนิดเดียวกัน

 

 

 

Page 52 

 

 

 

5. หากสามารถทำการปรับความเข้มข้นของโพแทสเซียมไอออนบริเวณของเหลวรอบเซลล์

ประสาท (interstitial fluid) ให้มีความเข้มข้นเท่ากับความเข้มข้นของโพแทสเซียมไอออน

ภายในเซลล์ประสาทแล้ว เมื่อทำการกระตุ้นเซลล์ประสาทเหตุการณ์ใดน่าจะเกิดขึ้นมากที่สุด

บริเวณเยื่อหุ้มเซลล์ประสาท (PAT ต.ค. 55)

1. เซลล์จะเกิดไฮเพอร์โพลาไรเซซัน (hyperpolarizaion)

2. เซลล์ไม่สามารถเกิดดีโพลาไรเซซัน (depolarization) ได้

3. เซลล์ไม่สามารถเกิดรีโพลาไรเซชัน (repolarization) ได้

4. ระดับ threshold ของเซลล์ประสาทจะมีการเปลี่ยนแปลง

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

Page 53 

 

 

 

6. แผนภาพพันธุประวัติครอบครัวที่เป็นโรคพันธุกรรมที่ควบคุมด้วย

autosomal recessive gene จงหาโอกาสที่บุคคล ΙΙΙ-1 จะเป็นโรคนี ้ (PAT เม.ย. 57)

1. 1/4 2. 1/6 3. 1/8 4. 1/12

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

20

OSOTSPA#2_Vit M3.indd 20 6/11/16 9:01 AM

Page 22: P.1 BIOLOGY session#2 M3.pdf 3 6/14/16 9:43 AM · PDF file · 2017-07-03Page 1 - ปี 2554 1. นาย ก ทำการทดลอง โดยนำเนื้อหมูชนิดเดียวกัน

 

 

 

Page 52 

 

 

 

5. หากสามารถทำการปรับความเข้มข้นของโพแทสเซียมไอออนบริเวณของเหลวรอบเซลล์

ประสาท (interstitial fluid) ให้มีความเข้มข้นเท่ากับความเข้มข้นของโพแทสเซียมไอออน

ภายในเซลล์ประสาทแล้ว เมื่อทำการกระตุ้นเซลล์ประสาทเหตุการณ์ใดน่าจะเกิดขึ้นมากที่สุด

บริเวณเยื่อหุ้มเซลล์ประสาท (PAT ต.ค. 55)

1. เซลล์จะเกิดไฮเพอร์โพลาไรเซซัน (hyperpolarizaion)

2. เซลล์ไม่สามารถเกิดดีโพลาไรเซซัน (depolarization) ได้

3. เซลล์ไม่สามารถเกิดรีโพลาไรเซชัน (repolarization) ได ้

4. ระดับ threshold ของเซลล์ประสาทจะมีการเปลี่ยนแปลง

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

Page 53 

 

 

 

6. แผนภาพพันธุประวัติครอบครัวที่เป็นโรคพันธุกรรมที่ควบคุมด้วย

autosomal recessive gene จงหาโอกาสที่บุคคล ΙΙΙ-1 จะเป็นโรคนี ้ (PAT เม.ย. 57)

1. 1/4 2. 1/6 3. 1/8 4. 1/12

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

21

OSOTSPA#2_Vit M3.indd 21 6/11/16 9:01 AM

Page 23: P.1 BIOLOGY session#2 M3.pdf 3 6/14/16 9:43 AM · PDF file · 2017-07-03Page 1 - ปี 2554 1. นาย ก ทำการทดลอง โดยนำเนื้อหมูชนิดเดียวกัน

 

 

 

Page 54 

 

 

 

7. ดีเอ็นเอสายคู่โมเลกุลหนึ่ง มีลำดับเบสดังนี้

5' C C A T G T T G A A 1,000 C G A T A C T G A A

3’

3’ G G T A C A A C T T คู่เบส G C T A T G A C T T

5’

หากเกิดกระบวนการจำลองตัวของดีเอ็นเอ (DNA replication) เมื่อสิ้นสุดกระบวนการจะ

ได้ผลเป็นอย่างไร (PAT ม.ีค. 55)

1. ได้ดีเอ็นเอสายคู ่2 โมเลกุล แต่ละโมเลกุลมีความยาว 1,020 คู่เบส

2. ได้ดีเอ็นเอสายเดี่ยว 2 โมเลกุล แต่ละโมเลกุลมีความยาวน้อยกว่า 1,020 คู่เบส

3. ได้อาร์เอ็นเอสายคู ่2 โมเลกุล แต่ละโมเลกุลมีความยาว 1,020 คู่เบส

4. ได้อาร์เอ็นเอสายเดี่ยว 1 โมเลกุล แต่ละโมเลกุลมีความยาวน้อยกว่า 1,020 คู่เบส

 

 

 

Page 55 

8. ดีเอ็นเอสายคู่โมเลกุลหนึ่ง ซึ่งช่วงหนึ่งของยีน 1 ยีนมีลำดับเบสดังนี้

5' ............ C C A T G T T A 1,000 C G T G A A ………..

3’

3' ............ C G T A C A A T คู่เบส G C A C T T ………..

5’

หากให้ดีเอ็นเอสายล่างเป็นดีเอ็นเอแม่แบบ (DNA template) เมื่อเกิดกระบวนการถอดรหัส

(transcription) และแปลรหัส (translation) จะได้สายพอลิเพปไทด์ที่มีกรดอะมิโนกี่โมเลกุล

(PAT มี.ค. 55)

1. 335 2. 336

3. 337 4. 338

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

22

OSOTSPA#2_Vit M3.indd 22 6/11/16 9:01 AM

Page 24: P.1 BIOLOGY session#2 M3.pdf 3 6/14/16 9:43 AM · PDF file · 2017-07-03Page 1 - ปี 2554 1. นาย ก ทำการทดลอง โดยนำเนื้อหมูชนิดเดียวกัน

 

 

 

Page 54 

 

 

 

7. ดีเอ็นเอสายคู่โมเลกุลหนึ่ง มีลำดับเบสดังนี้

5' C C A T G T T G A A 1,000 C G A T A C T G A A

3’

3’ G G T A C A A C T T คู่เบส G C T A T G A C T T

5’

หากเกิดกระบวนการจำลองตัวของดีเอ็นเอ (DNA replication) เมื่อสิ้นสุดกระบวนการจะ

ได้ผลเป็นอย่างไร (PAT มี.ค. 55)

1. ได้ดีเอ็นเอสายคู่ 2 โมเลกุล แต่ละโมเลกุลมีความยาว 1,020 คู่เบส

2. ได้ดีเอ็นเอสายเดี่ยว 2 โมเลกุล แต่ละโมเลกุลมีความยาวน้อยกว่า 1,020 คู่เบส

3. ได้อาร์เอ็นเอสายคู่ 2 โมเลกุล แต่ละโมเลกุลมีความยาว 1,020 คู่เบส

4. ได้อาร์เอ็นเอสายเดี่ยว 1 โมเลกุล แต่ละโมเลกุลมีความยาวน้อยกว่า 1,020 คู่เบส

 

 

 

Page 55 

8. ดีเอ็นเอสายคู่โมเลกุลหนึ่ง ซึ่งช่วงหนึ่งของยีน 1 ยีนมีลำดับเบสดังนี้

5' ............ C C A T G T T A 1,000 C G T G A A ………..

3’

3' ............ C G T A C A A T คู่เบส G C A C T T ………..

5’

หากให้ดีเอ็นเอสายล่างเป็นดีเอ็นเอแม่แบบ (DNA template) เมื่อเกิดกระบวนการถอดรหัส

(transcription) และแปลรหัส (translation) จะได้สายพอลิเพปไทด์ที่มีกรดอะมิโนกี่โมเลกุล

(PAT มี.ค. 55)

1. 335 2. 336

3. 337 4. 338

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

23

OSOTSPA#2_Vit M3.indd 23 6/11/16 9:01 AM

Page 25: P.1 BIOLOGY session#2 M3.pdf 3 6/14/16 9:43 AM · PDF file · 2017-07-03Page 1 - ปี 2554 1. นาย ก ทำการทดลอง โดยนำเนื้อหมูชนิดเดียวกัน

 

 

 

Page 56 

 

 

 

9. ถ้าเซลล์เม็ดเลือดแดงเซลล์หนึ่งอยู่ในหลอดเลือดแดงที่แขนด้านซ้าย และต้องเดินทางไปยัง

หัวใจห้องล่างซ้าย เซลล์เม็ดเลือดแดงดังกล่าวต้องเคลื่อนผ่านหลอดเลือดฝอยทั้งหมดกี่ชุด

1. 1 2. 2

3. 3 4. 4

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

Page 57 

 

 

จงใช้รูปต่อไปนี้เพื่อตอบคำถามข้อที ่10 และ 11

จากรูปแสดงชีวโมเลกุลในเซลล์ของเนื้อเยื่อเพียงหนึ่งชนิดในสิ่งมีชีวิตที่เป็นยูคารีโอต

ชนิดหนึ่ง กำหนดให้สิ่งมีชีวิตนี้มีวงจรชีวิต 18 วัน

บริเวณ B เป็นบริเวณหนึ่งของเซลล์ในเนื้อเยื่อนั้น เมื่อสิ่งมีชีวิตนี้มีอายุ 4 วัน บริเวณ C

เป็นบริเวณเดียวกับบริเวณ B แต่เมื่อสิ่งมีชีวิตนี้มีอายุ 12 วัน

24

OSOTSPA#2_Vit M3.indd 24 6/11/16 9:01 AM

Page 26: P.1 BIOLOGY session#2 M3.pdf 3 6/14/16 9:43 AM · PDF file · 2017-07-03Page 1 - ปี 2554 1. นาย ก ทำการทดลอง โดยนำเนื้อหมูชนิดเดียวกัน

 

 

 

Page 56 

 

 

 

9. ถ้าเซลล์เม็ดเลือดแดงเซลล์หนึ่งอยู่ในหลอดเลือดแดงที่แขนด้านซ้าย และต้องเดินทางไปยัง

หัวใจห้องล่างซ้าย เซลล์เม็ดเลือดแดงดังกล่าวต้องเคลื่อนผ่านหลอดเลือดฝอยทั้งหมดกี่ชุด

1. 1 2. 2

3. 3 4. 4

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

Page 57 

 

 

จงใช้รูปต่อไปนี้เพื่อตอบคำถามข้อที่ 10 และ 11

จากรูปแสดงชีวโมเลกุลในเซลล์ของเนื้อเยื่อเพียงหนึ่งชนิดในสิ่งมีชีวิตที่เป็นยูคารีโอต

ชนิดหนึ่ง กำหนดให้สิ่งมีชีวิตนี้มีวงจรชีวิต 18 วัน

บริเวณ B เป็นบริเวณหนึ่งของเซลล์ในเนื้อเยื่อนั้น เมื่อสิ่งมีชีวิตนี้มีอายุ 4 วัน บริเวณ C

เป็นบริเวณเดียวกับบริเวณ B แต่เมื่อสิ่งมีชีวิตนี้มีอาย ุ12 วัน

25

OSOTSPA#2_Vit M3.indd 25 6/11/16 9:01 AM

Page 27: P.1 BIOLOGY session#2 M3.pdf 3 6/14/16 9:43 AM · PDF file · 2017-07-03Page 1 - ปี 2554 1. นาย ก ทำการทดลอง โดยนำเนื้อหมูชนิดเดียวกัน

 

 

 

Page 58 

10. เซลล์ชีวโมเลกุลทั้ง 5 ชนิดนี้ควรเป็นอะไร

1. ชีวโมเลกุล 1 ควรเป็น mRNA

ชีวโมเลกุล 2 และ 3 ควรเป็น DNA

ส่วนชีวโมเลกุล 4 และ 5 ควรเป็นโปรตีน

2. ชีวโมเลกุล 1 ควรเป็นโปรตีน

ชีวโมเลกุล 2 และ 3 ควรเป็น mRNA

ส่วนชีวโมเลกุล 4 และ 5 ควรเป็น DNA

3. ชีวโมเลกุล 1 ควรเป็น DNA

ชีวโมเลกุล 2 และ 3 ควรเป็นโปรตีน

ส่วนชีวโมเลกุล 4 และ 5 ควรเป็น mRNA

4. ชีวโมเลกุล 1 ควรเป็น DNA

ชีวโมเลกุล 2 และ 3 ควรเป็น mRNA

ส่วนชีวโมเลกุล 4 และ 5 ควรเป็นโปรตีน

 

 

 

Page 59 

11. บริเวณ A, B และ C ควรเป็นบริเวณอะไร

1. บริเวณ A เป็นนิวเคลียส

บริเวณ B และ C เป็นไซโตพลาสซึม

2. บริเวณ A เป็นไซโตพลาสซึม

บริเวณ B และ C เป็นนิวเคลียส

3. บริเวณ A เป็นไซโตพลาสซึม

บริเวณ B และ C เป็นไมโตคอนเดรีย

4. บริเวณ A เป็นไมโตคอนเดรีย

บริเวณ B และ C เป็นไซโตพลาสซึม

 

 

 

 

 

26

OSOTSPA#2_Vit M3.indd 26 6/11/16 9:01 AM

Page 28: P.1 BIOLOGY session#2 M3.pdf 3 6/14/16 9:43 AM · PDF file · 2017-07-03Page 1 - ปี 2554 1. นาย ก ทำการทดลอง โดยนำเนื้อหมูชนิดเดียวกัน

 

 

 

Page 58 

10. เซลล์ชีวโมเลกุลทั้ง 5 ชนิดนี้ควรเป็นอะไร

1. ชีวโมเลกุล 1 ควรเป็น mRNA

ชีวโมเลกุล 2 และ 3 ควรเป็น DNA

ส่วนชีวโมเลกุล 4 และ 5 ควรเป็นโปรตีน

2. ชีวโมเลกุล 1 ควรเป็นโปรตีน

ชีวโมเลกุล 2 และ 3 ควรเป็น mRNA

ส่วนชีวโมเลกุล 4 และ 5 ควรเป็น DNA

3. ชีวโมเลกุล 1 ควรเป็น DNA

ชีวโมเลกุล 2 และ 3 ควรเป็นโปรตีน

ส่วนชีวโมเลกุล 4 และ 5 ควรเป็น mRNA

4. ชีวโมเลกุล 1 ควรเป็น DNA

ชีวโมเลกุล 2 และ 3 ควรเป็น mRNA

ส่วนชีวโมเลกุล 4 และ 5 ควรเป็นโปรตีน

 

 

 

Page 59 

11. บริเวณ A, B และ C ควรเป็นบริเวณอะไร

1. บริเวณ A เป็นนิวเคลียส

บริเวณ B และ C เป็นไซโตพลาสซึม

2. บริเวณ A เป็นไซโตพลาสซึม

บริเวณ B และ C เป็นนิวเคลียส

3. บริเวณ A เป็นไซโตพลาสซึม

บริเวณ B และ C เป็นไมโตคอนเดรีย

4. บริเวณ A เป็นไมโตคอนเดรีย

บริเวณ B และ C เป็นไซโตพลาสซึม

 

 

 

 

 

27

OSOTSPA#2_Vit M3.indd 27 6/11/16 9:01 AM

Page 29: P.1 BIOLOGY session#2 M3.pdf 3 6/14/16 9:43 AM · PDF file · 2017-07-03Page 1 - ปี 2554 1. นาย ก ทำการทดลอง โดยนำเนื้อหมูชนิดเดียวกัน

 

 

 

Page 60 

 

 

 

12. เกิดเหตุฆาตกรรมในบ้านร้างแห่งหนึ่ง เมื่อตรวจสอบลายพิมพ์ดีเอ็นเอจากคราบเลือดในที่

เกิดเหตุ พบว่ามีฆาตกร 2 คน (หมายเลข 1 และ 2 ในภาพ) ตำรวจสืบสวนแล้วได้ผู้ต้องสงสัย

ว่าจะเป็นฆาตกร 6 คน จึงนำผู้ต้องสงสัยทั้ง 6 คนไปตรวจสอบลายพิมพ์ดีเอ็นเอ (หมายเลข

3-8 ในภาพ) เพื่อเปรียบเทียบกับลายพิมพ์ดีเอ็นเอที่ได้จากคราบเลือดในที่เกิดเหต ุซึ่งลาย

พิมพ์ดีเอ็นเอทั้งหมดแสดงในภาพ ผู้ต้องสงสัยหมายเลขใดเป็นฆาตกร

1. ผู้ต้องสงสัยหมายเลข 3 และ 5 2. ผู้ต้องสงสัยหมายเลข 4 และ 7

3. ผู้ต้องสงสัยหมายเลข 6 และ 7 4. ผู้ต้องสงสัยหมายเลข 6 และ 8

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

Page 61 

 

 

 

13. นายแพรวได้เปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างการจำลองตัวของดีเอ็นเอ(DNA replication)

และการถอดรหัส (transcription) ข้อสรุปใดของนายแพรวผิด

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

การจำลองตัวของดีเอ็นเอ การถอดรหัส

1. ใช้ดีเอ็นเอทั้งสองสายเป็นดีเอ็นเอแม่แบบ (DNA

template)

และเกิดการจำลองตัวตลอดความยาวของโมเลกุลดีเอ็นเอ

ใช้ดีเอ็นเอเพียงสายเดียวเป็นแม่แบบ

และเกิดการถอดรหัสเพียงบางส่วนของโมเลกุลดีเอ็นเอ

2. เมื่อสิ้นสุดกระบวนการจะได้ดีเอ็นเอสายคู่ 2 โมเลกุล

ที่เหมือนกันทุกประการ เมื่อสิ้นสุดกระบวนการจะได้อาร์เอ็นเอสายเดี่ยว 1

โมเลกุล

3. เป็นกระบวนการที่เกิดขึ้นในนิวเคลียส เป็นกระบวนการที่เกิดขึ้นในไซโทพลาซึม

4. เกิดขึ้นกับเซลล์ที่สามารถแบ่งตัวได้ และเกิดเฉพาะเวลาที่เซลล์กำลังจะแบ่งตัว

เกิดขึ้นกับเซลล์ทุกชนิด และเกิดขึ้นได้ตลอดเวลา

28

OSOTSPA#2_Vit M3.indd 28 6/11/16 9:01 AM

Page 30: P.1 BIOLOGY session#2 M3.pdf 3 6/14/16 9:43 AM · PDF file · 2017-07-03Page 1 - ปี 2554 1. นาย ก ทำการทดลอง โดยนำเนื้อหมูชนิดเดียวกัน

 

 

 

Page 60 

 

 

 

12. เกิดเหตุฆาตกรรมในบ้านร้างแห่งหนึ่ง เมื่อตรวจสอบลายพิมพ์ดีเอ็นเอจากคราบเลือดในที่

เกิดเหตุ พบว่ามีฆาตกร 2 คน (หมายเลข 1 และ 2 ในภาพ) ตำรวจสืบสวนแล้วได้ผู้ต้องสงสัย

ว่าจะเป็นฆาตกร 6 คน จึงนำผู้ต้องสงสัยทั้ง 6 คนไปตรวจสอบลายพิมพ์ดีเอ็นเอ (หมายเลข

3-8 ในภาพ) เพื่อเปรียบเทียบกับลายพิมพ์ดีเอ็นเอที่ได้จากคราบเลือดในที่เกิดเหตุ ซึ่งลาย

พิมพ์ดีเอ็นเอทั้งหมดแสดงในภาพ ผู้ต้องสงสัยหมายเลขใดเป็นฆาตกร

1. ผู้ต้องสงสัยหมายเลข 3 และ 5 2. ผู้ต้องสงสัยหมายเลข 4 และ 7

3. ผู้ต้องสงสัยหมายเลข 6 และ 7 4. ผู้ต้องสงสัยหมายเลข 6 และ 8

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

Page 61 

 

 

 

13. นายแพรวได้เปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างการจำลองตัวของดีเอ็นเอ(DNA replication)

และการถอดรหัส (transcription) ข้อสรุปใดของนายแพรวผิด

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

การจำลองตัวของดีเอ็นเอ การถอดรหัส

1. ใช้ดีเอ็นเอทั้งสองสายเป็นดีเอ็นเอแม่แบบ (DNA

template)

และเกิดการจำลองตัวตลอดความยาวของโมเลกุลดีเอ็นเอ

ใช้ดีเอ็นเอเพียงสายเดียวเป็นแม่แบบ

และเกิดการถอดรหัสเพียงบางส่วนของโมเลกุลดีเอ็นเอ

2. เมื่อสิ้นสุดกระบวนการจะได้ดีเอ็นเอสายคู ่2 โมเลกุล

ที่เหมือนกันทุกประการ เมื่อสิ้นสุดกระบวนการจะได้อาร์เอ็นเอสายเดี่ยว 1

โมเลกุล

3. เป็นกระบวนการที่เกิดขึ้นในนิวเคลียส เป็นกระบวนการที่เกิดขึ้นในไซโทพลาซึม

4. เกิดขึ้นกับเซลล์ที่สามารถแบ่งตัวได ้

และเกิดเฉพาะเวลาที่เซลล์กำลังจะแบ่งตัว

เกิดขึ้นกับเซลล์ทุกชนิด และเกิดขึ้นได้ตลอดเวลา

29

OSOTSPA#2_Vit M3.indd 29 6/11/16 9:01 AM

Page 31: P.1 BIOLOGY session#2 M3.pdf 3 6/14/16 9:43 AM · PDF file · 2017-07-03Page 1 - ปี 2554 1. นาย ก ทำการทดลอง โดยนำเนื้อหมูชนิดเดียวกัน

 

 

 

Page 62 

 

 

 

14. จากการศึกษาความเข้มของแสงกับอัตราการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช 2 ชนิด

โดยวัดจากการตรึงคาร์บอนไดออกไซด ์ได้ผลดังภาพ

ข้อใดไม่ถูกต้อง

1. พืชทั้งสองชนิดมีจุดอิ่มตัวของแสงไม่เท่ากัน

2. พืชทั้งสองชนิดมีไลท์คอมเพนเซชันพอยท์เท่ากัน

3. พืช ก. เป็นพืชที่อยู่กลางแจ้ง และ พืช ข. เป็นพืชในที่ร่ม

4. ในที่ไม่มีแสง พืชทั้งสองชนิดมีการปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์มากกว่าการตรึง

คาร์บอนไดออกไซด์

 

 

 

 

 

 

 

 

Page 63 

 

 

 

15. แผนภาพข้างล่างแสดงกระบวนการเกิดกลุ่มสิ่งมีชีวิตขึ้นในบริเวณหนึ่งตั้งแต่ยังไม่มีสิ่งมีชีวิต

ในบริเวณนั้นเลยแล้วเปลี่ยนแปลงไปตามลำดับจนกระทั่งได้สังคมสมบูรณ์ (climax

community)

มอสและไลเคน →กลุ่มสิ่งมีชีวิต A→กลุ่มสิ่งมีชีวิต B→ กลุ่มสิ่งมีชีวิต C→สังคมสมบูรณ์

ลำดับการเกิดกลุ่มสิ่งมีชีวิตในข้อใดถือได้ว่าเกิดการเปลี่ยนแปลงแทนที่แบบปฐมภูมิขึ้นใน

บริเวณนั้นแล้ว

1. เมื่อมีมอสและไลเคนเกิดขึ้นก็ถือว่าเกิดการเปลี่ยนแปลงที่ขึ้นในบริเวณนั้นแล้ว

2. เมื่อเกิดการเปลี่ยนแปลงจากมอสและไลเคนไปจนเป็นกลุ่มสิ่งมีชีวิตกลุ่มอื่นใดก็ได้ถือว่า

เกิดการเปลี่ยนแปลงแทนที่ขึ้นในบริเวณนั้นแล้ว

3. เมื่อเกิดการเปลี่ยนแปลงตั้งแต่มอสและไลเคนไปจนเป็นกลุ่มสิ่งมีชีวิตสมบูรณ์เท่านั้นจึง

จะถือได้ว่าเกิดการเปลี่ยนแปลงแทนที่ขึ้นในบริเวณนั้นแล้ว

4. เมื่อสังคมสมบูรณ์ถูกทำลายแล้วเกิดการเปลี่ยนแปลงใหม่ตั้งแต่กลุ่มสิ่งมีชีวิต A ไปจน

เป็นสังคมสมบูรณ์อีกครั้งจึงจะถือได้ว่าเกิดการเปลี่ยนแปลงแทนที่แบบปฐมภูมิขึ้นใน

บริเวณนั้นแล้ว

 

 

 

 

30

OSOTSPA#2_Vit M3.indd 30 6/11/16 9:01 AM

Page 32: P.1 BIOLOGY session#2 M3.pdf 3 6/14/16 9:43 AM · PDF file · 2017-07-03Page 1 - ปี 2554 1. นาย ก ทำการทดลอง โดยนำเนื้อหมูชนิดเดียวกัน

 

 

 

Page 62 

 

 

 

14. จากการศึกษาความเข้มของแสงกับอัตราการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช 2 ชนิด

โดยวัดจากการตรึงคาร์บอนไดออกไซด์ ได้ผลดังภาพ

ข้อใดไม่ถูกต้อง

1. พืชทั้งสองชนิดมีจุดอิ่มตัวของแสงไม่เท่ากัน

2. พืชทั้งสองชนิดมีไลท์คอมเพนเซชันพอยท์เท่ากัน

3. พืช ก. เป็นพืชที่อยู่กลางแจ้ง และ พืช ข. เป็นพืชในที่ร่ม

4. ในที่ไม่มีแสง พืชทั้งสองชนิดมีการปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์มากกว่าการตรึง

คาร์บอนไดออกไซด์

 

 

 

 

 

 

 

 

Page 63 

 

 

 

15. แผนภาพข้างล่างแสดงกระบวนการเกิดกลุ่มสิ่งมีชีวิตขึ้นในบริเวณหนึ่งตั้งแต่ยังไม่มีสิ่งมีชีวิต

ในบริเวณนั้นเลยแล้วเปลี่ยนแปลงไปตามลำดับจนกระทั่งได้สังคมสมบูรณ์ (climax

community)

มอสและไลเคน →กลุ่มสิ่งมีชีวิต A→กลุ่มสิ่งมีชีวิต B→ กลุ่มสิ่งมีชีวิต C→สังคมสมบูรณ์

ลำดับการเกิดกลุ่มสิ่งมีชีวิตในข้อใดถือได้ว่าเกิดการเปลี่ยนแปลงแทนที่แบบปฐมภูมิขึ้นใน

บริเวณนั้นแล้ว

1. เมื่อมีมอสและไลเคนเกิดขึ้นก็ถือว่าเกิดการเปลี่ยนแปลงที่ขึ้นในบริเวณนั้นแล้ว

2. เมื่อเกิดการเปลี่ยนแปลงจากมอสและไลเคนไปจนเป็นกลุ่มสิ่งมีชีวิตกลุ่มอื่นใดก็ได้ถือว่า

เกิดการเปลี่ยนแปลงแทนที่ขึ้นในบริเวณนั้นแล้ว

3. เมื่อเกิดการเปลี่ยนแปลงตั้งแต่มอสและไลเคนไปจนเป็นกลุ่มสิ่งมีชีวิตสมบูรณ์เท่านั้นจึง

จะถือได้ว่าเกิดการเปลี่ยนแปลงแทนที่ขึ้นในบริเวณนั้นแล้ว

4. เมื่อสังคมสมบูรณ์ถูกทำลายแล้วเกิดการเปลี่ยนแปลงใหม่ตั้งแต่กลุ่มสิ่งมีชีวิต A ไปจน

เป็นสังคมสมบูรณ์อีกครั้งจึงจะถือได้ว่าเกิดการเปลี่ยนแปลงแทนที่แบบปฐมภูมิขึ้นใน

บริเวณนั้นแล้ว

 

 

 

 

31

OSOTSPA#2_Vit M3.indd 31 6/11/16 9:01 AM

Page 33: P.1 BIOLOGY session#2 M3.pdf 3 6/14/16 9:43 AM · PDF file · 2017-07-03Page 1 - ปี 2554 1. นาย ก ทำการทดลอง โดยนำเนื้อหมูชนิดเดียวกัน

NOTE

Insert Osotspa Book15 m7.pdf 8 6/11/58 BE 4:33 PM

8786

P001-100 Maths-Art_M1.indd 86 6/13/58 BE 3:40 PM

32

OSOTSPA#2_Vit M3.indd 32 6/11/16 9:01 AM