nesdb view on ict and productivity

31
6 มีนาคม 2553 1 www.nesdb.go.th การประชุมระดมความคิดเห็นผู ้เชี ยวชาญระดับสูง (High-level Expert Roundtable) ชุดที 3 นายอาคม เติมพิทยาไพสิฐ รองเลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) วันเสาร์ที 6 มีนาคม 2553 เวลา 9.00-9.30 น. ณ โรงแรม THE TIDE RESORT บางแสน จังหวัดชลบุรี ประเด็นท้าทายต่อการขับเคลื อน ICT ของประเทศไทยในระยะ 10 ปี (Grand Challenges Thematic Session) เรื องที 3 บทบาทของ ICT กับการแข่งขันอย่างยั งยืนของภาคธุรกิจไทย

Upload: guestad02e0

Post on 18-Nov-2014

3.455 views

Category:

Business


5 download

DESCRIPTION

 

TRANSCRIPT

Page 1: NESDB View on ICT and Productivity

6 มีนาคม 2553 1www.nesdb.go.th

การประชุมระดมความคิดเหน็ผู้เชี�ยวชาญระดับสูง (High-level Expert Roundtable) ชุดที� 3

นายอาคม เตมิพิทยาไพสิฐรองเลขาธิการคณะกรรมการพฒันาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติสํานักงานคณะกรรมการพฒันาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.)

วนัเสาร์ที� 6 มนีาคม 2553 เวลา 9.00-9.30 น.ณ โรงแรม THE TIDE RESORT บางแสน จังหวดัชลบุรี

ประเด็นท้าทายต่อการขับเคลื�อน ICT ของประเทศไทยในระยะ 10 ปี (Grand Challenges Thematic Session)เรื�องที� 3 บทบาทของ ICT กับการแข่งขันอย่างยั�งยืนของภาคธุรกิจไทย

Page 2: NESDB View on ICT and Productivity

6 มีนาคม 2553 2www.nesdb.go.th

ผลิตภาพการผลิต (Productivity) คืออะไร?

การดาํเนินงานระยะต่อไป : การขับเคลื�อนเศรษฐกิจสร้างสรรค์

ผลการศึกษาโครงการขับเคลื�อนระดับการเพิ�มผลผลิตและบรรยากาศการลงทุนประเทศ (PICS) ของ สศช.

โครงสร้างพื Zนฐานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื�อสาร (ICT) ของไทย

ประเด็นการอภิปราย

2

3

4

1

Page 3: NESDB View on ICT and Productivity

6 มีนาคม 2553 3www.nesdb.go.th

ผลิตภาพการผลิต (Productivity) คืออะไร? 1

Page 4: NESDB View on ICT and Productivity

6 มีนาคม 2553 4www.nesdb.go.th

ผลิตภาพการผลิต (Productivity) คืออะไร?

เป็นการวัดผลิตภาพการผลิตของการใช้ปัจจัยการผลิตชนิดใดชนิดหนึ�ง โดยให้ปัจจยัอื�นๆ คงที� แสดงถึง การใช้ปัจจยัการผลิต (Input) 1 หน่วย ก่อให้เกิดผลผลิต (output) กี�หน่วย

ผลิตภาพการผลิต = ผลิตปัจจยัการผลิต

การวัดผลิตภาพการผลิตบางส่วนที�สําคัญ มี 2 ประเภท คือ 1) ผลิตภาพแรงงาน (Labor Productivity) และ 2) ผลิตภาพทุน (Capital Productivity)

หมายถึงการเพิ�มขึ Tนผลผลิตโดยมิได้มาจากการเพิ�มขึ Tนของปัจจัยการผลิต คือ ปัจจัยแรงงาน ที�ดิน และทนุ ซึ�งนกัเศรษฐศาสตร์จะเรียกส่วนที�เพิ�มขึ Tนดังกล่าวนี Tว่าเป็น Residual ตามหลัก Growth Accounting Analysis หรือเป็นผลมาจากความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี และอื�นๆ ห ล า ย ป ร ะ ก า ร เ ช่ น ก า ร บ ริ ห า ร จั ด ก า ร ประสบการณ์ คุณภาพแรงงาน ซึ�งขึ Tนอยู่กับระดับการศึกษา อายุ เพศ และที�สําคัญ คือ ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี การวิจัยและพฒันา

ผลติภาพการผลติรวม (Total Factor Productivity ; TFP)

ผลติภาพการผลติบางส่วน (Partial Productivity)

Page 5: NESDB View on ICT and Productivity

6 มีนาคม 2553 5www.nesdb.go.th

ผลติภาพการผลติรวม (TFP) เกดิขึ Zนอย่างไร?

ผลติภาพการผลติรวม (Total Factor Productivity : TFP)

การเพิ�มประสิทธิภาพของการใช้ปัจจัยการผลิต

นวัตกรรมของผลิตภณัฑ์ (Product innovation)

� การพฒันาคุณภาพคน/ แรงงาน� การบริหารจัดการองค์ความรู้� การยกระดบัเทคโนโลยีและนวตักรรม� การศึกษาและวเิคราะห์แนวโน้มตลาด � R&D

� ความก้าวหน้าทางเทคโนโลย ี

• นวตักรรมของกระบวนการผลิต (Process

innovation)

� การพฒันาคุณภาพคน/ ทกัษะแรงงาน

� การบริหารจัดการองค์กร (เช่น การใช้ Lean

production technique และการทาํระบบคุณภาพ

(TQM))

� การพฒันาระบบโครงสร้างพื Zนฐาน และการ

ให้บริการ/ การบริหารจัดการภาครัฐ

����การสร้างมูลค่าสินค้าและบริการจากการออกแบบ พัฒนาคุณภาพ และสร้างความแตกต่างที�ตรงตามความต้องการของผู้บริโภค และสามารถกําหนดทศิทางตลาดได้

ผลิตภาพการผลิตที�เพิ�มขึ Zน จงึเป็นการขยายตวัของเศรษฐกิจในส่วนที�นอกเหนือจากใช้ปัจจัยทนุและแรงงาน

Page 6: NESDB View on ICT and Productivity

6 มีนาคม 2553 6www.nesdb.go.th

ความสาํคัญของผลติภาพการผลติรวม (TFP) ต่อการพัฒนาเศรษฐกจิอย่างยั� งยืน

ภายใต้ข้อจํากัดด้านทรัพยากร ต้องยกระดับศกัยภาพการผลิตและรายได้ ที�มาจาก

การเพิ�มประสิทธิภาพการใช้ปัจจัยการผลิตและสร้างมูลค่าเพิ�มให้แก่สินค้าและ

บริการเป็นหลัก โดยไม่มุ่งเน้นที�การใช้ปัจจัยการผลิตในปริมาณที�เพิ�มขึ Zน

แรงกดดันต่อต้นทุนการผลิต เงนิเฟ้อสูง

เศรษฐกจิขยายตัวแต่ขาดเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ

การขยายตวัทางเศรษฐกิจที�มีที�มาจากการเพิ�มปริมาณการใช้ปัจจัยการผลิตเป็นหลัก โดยที�ประสิทธิภาพการใช้ปัจจัยการผลิตไม่เพิ�มขึ Zนหรือขาดการเพิ�มมูลค่าสินค้าและบริการจากองค์ความรู้

Page 7: NESDB View on ICT and Productivity

6 มีนาคม 2553 7www.nesdb.go.th

แผนการเพิ�มประสิทธิภาพและ

ผลิตภาพของภาคอุตสาหกรรม

(ในปีงบประมาณ 2553 มีโครงการรองรับแผนแม่บทการเพิ�มประสิทธิภาพฯ ของ

ภาคอุตสาหกรรม 26 โครงการ ภายใต้วงเงิน 249.7

ล้านบาท)

1. ยกระดับความสามารถทักษะแรงงาน (Human Skills)� ยกระดบัความรู้/ทกัษะแรงงานใหม่ และทกัษะแรงงานที�มีอยู่เดมิ� จัดทาํฐานข้อมูลด้านแรงงาน (Demand Side & Supply Side)� สนับสนุนให้มีการกําหนดมาตรฐานฝีมือแรงงานทั Zงในและนอกระบบ� สร้างตวัคูณในการเสริมสร้างทกัษะให้แรงงาน

1. ยกระดับความสามารถทักษะแรงงาน (Human Skills)� ยกระดบัความรู้/ทกัษะแรงงานใหม่ และทกัษะแรงงานที�มีอยู่เดมิ� จัดทาํฐานข้อมูลด้านแรงงาน (Demand Side & Supply Side)� สนับสนุนให้มีการกําหนดมาตรฐานฝีมือแรงงานทั Zงในและนอกระบบ� สร้างตวัคูณในการเสริมสร้างทกัษะให้แรงงาน

3. ปรับปรุง/พัฒนาปัจจัยสนับสนุนในการเพิ�มผลิตภาพ (Enabling Factors) � พฒันาระบบ Logistics & Supply Chain ภายในองค์กร � พฒันา/สนับสนุนการรวมกลุ่มธุรกิจในลักษณะเครือข่ายวสิาหกิจ (Cluster)� นําระบบเทคโนโลยสีารสนเทศ (IT) มาใช้ในกระบวนการเพิ�มผลิตภาพ� สร้างเครือข่ายเชื�อมโยงฐานข้อมูลร่วมกัน � สร้างความเชื�อมโยงทางวชิาการระหว่างภาครัฐ เอกชน และสถาบนัการศึกษา

3. ปรับปรุง/พัฒนาปัจจัยสนับสนุนในการเพิ�มผลิตภาพ (Enabling Factors) � พฒันาระบบ Logistics & Supply Chain ภายในองค์กร � พฒันา/สนับสนุนการรวมกลุ่มธุรกิจในลักษณะเครือข่ายวสิาหกิจ (Cluster)� นําระบบเทคโนโลยสีารสนเทศ (IT) มาใช้ในกระบวนการเพิ�มผลิตภาพ� สร้างเครือข่ายเชื�อมโยงฐานข้อมูลร่วมกัน � สร้างความเชื�อมโยงทางวชิาการระหว่างภาครัฐ เอกชน และสถาบนัการศึกษา

4. การสร้างจิตสํานึกและแรงจูงใจ (Awareness & Incentives)� เผยแพร่ข้อมูลแก่สาธารณะด้านผลิตภาพระดบัประเทศ/อุตสาหกรรม� สร้างกระบวนการเพิ�มผลิตภาพโดยการสร้างผู้นําการเพิ�มผลิตภาพในองค์กร� สร้างสิ�งจูงใจให้ผู้ประกอบการที�ให้ความสําคัญกับการเพิ�มผลิตภาพ

(สนับสนุนสินเชื�อ ยกเว้นภาษี เป็นต้น)� ให้รางวลัคุณภาพแห่งชาติ (National Quality Award)ด้านการเพิ�มผลิตภาพ� สร้างวฒันธรรมในการเพิ�มผลิตภาพ โดยปรับแนวคิดเพื�อเปลี�ยนพฤตกิรรม

4. การสร้างจิตสํานึกและแรงจูงใจ (Awareness & Incentives)� เผยแพร่ข้อมูลแก่สาธารณะด้านผลิตภาพระดบัประเทศ/อุตสาหกรรม� สร้างกระบวนการเพิ�มผลิตภาพโดยการสร้างผู้นําการเพิ�มผลิตภาพในองค์กร� สร้างสิ�งจูงใจให้ผู้ประกอบการที�ให้ความสําคัญกับการเพิ�มผลิตภาพ

(สนับสนุนสินเชื�อ ยกเว้นภาษี เป็นต้น)� ให้รางวลัคุณภาพแห่งชาติ (National Quality Award)ด้านการเพิ�มผลิตภาพ� สร้างวฒันธรรมในการเพิ�มผลิตภาพ โดยปรับแนวคิดเพื�อเปลี�ยนพฤตกิรรม

2. ยกระดับความสามารถทางด้านการบริหารจัดการ Management)� ปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิต (กระบวนการผลิต การใช้พลังงาน เครื�องจักร) � พฒันาทกัษะการบริหารจัดการสมัยใหม่ให้แก่ผู้ประกอบการ

2. ยกระดับความสามารถทางด้านการบริหารจัดการ Management)� ปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิต (กระบวนการผลิต การใช้พลังงาน เครื�องจักร) � พฒันาทกัษะการบริหารจัดการสมัยใหม่ให้แก่ผู้ประกอบการ

กรอบแผนการเพิ�มประสทิธิภาพและผลติภาพของภาคอุตสาหกรรมในระยะยาว

Page 8: NESDB View on ICT and Productivity

6 มีนาคม 2553 8www.nesdb.go.th

ผลการศึกษาโครงการขับเคลื�อนระดับการเพิ�มผลผลิตและบรรยากาศการลงทุนในประเทศ (PICS) ของ สศช. 2

Page 9: NESDB View on ICT and Productivity

6 มีนาคม 2553 9www.nesdb.go.th

ความเป็นมา

การขบัเคลื�อนการเพิ�มผลิตภาพการผลิตของประเทศตั Tงแต่แผนฯ 9 ต่อเนื�องถึงแผนฯ 10 ภายใต้ยทุธศาสตร์การปรับโครงสร้างการผลิตให้สมดุลและยั�งยืน โดยมีเป้าหมายที�จะเพิ�มผลิตภาพการผลิตรวม (TFP) โดยเฉลี�ยไม่ตํ�ากว่าร้อยละ 3 ต่อปี และเพิ�มผลิตภาพแรงงานโดยเฉลี�ยร้อยละ 3.0 ต่อปี ในช่วงปี 2550-2554

สศช. ได้ร่วมกับ ธ.โลก และสถาบนัเพิ�มผลผลิตแห่งชาติ สํารวจข้อมลูภายใต้โครงการ PICS มาแล้ว 2 ครั Tง คือ มี.ค. 2547 – ก.พ. 2548 และ พ.ค.–พ.ย. 2550

ในปี 2551 ได้ศกึษาในเชิงลกึเรื�อง กฎระเบียบที�เป็นอปุสรรคต่อการดําเนินธุรกิจในอตุสาหกรรม 3 กลุ่ม (ชิ Tนส่วนยานยนต์ อาหารแปรรูป และเครื�องนุ่งห่ม)

ปี 2552 สศช. ได้ร่วมมือกับสภาหอการค้าฯ และสภาอตุสาหกรรมฯ สร้างความตระหนกัให้ผู้ประกอบการและหน่วยงานภาครัฐและเอกชนทั Tงในส่วนกลางและภมูิภาค ได้เห็นความสําคญัและ

หาแนวทางปรับปรุงผลิตภาพการผลิตและบรรยากาศการลงทนุในประเทศไทย

Page 10: NESDB View on ICT and Productivity

6 มีนาคม 2553 10www.nesdb.go.th

วัตถุประสงค์และวธิีการศึกษา

วัตถุประสงค์ วิธีการศึกษา

1. เผยแพร่ผลการศึกษาโครงการสํารวจระดับการเพิ�มผลผลิตและบรรยากาศการลงทุนในประเทศไทย ซึ�งเป็นการวิเคราะห์ข้อมลูการสํารวจ 2 ครั Tง (ปี 2547 และ 2550) รวมทั Tงผลการศกึษาเชิงลึกด้านกฎระเบียบภาครัฐเพิ�มเติม ในปี 2551

1. ประมวล รวบรวมข้อมูลจากผลการสํารวจโครงการระดบัการเพิ�มระดบัผลผลิตและบรรยากาศการลงทุนในประเทศไทย ยกร่างเอกสารประกอบจัดประชุมเชิงปฏิบัติการ ซึ�งจัดประชุมร่วมกบัผู้ ที�เกี�ยวข้องเพื�อรับฟังความคิดเห็น 3 ครั Tง (ขอนแกน่ ชลบุรี และกรุงเทพฯ)

2. รับฟังความคิดเห็นจากผู้ ที� เกี�ยวข้องในระดับภูมิภาคและส่วนกลาง เพื�อให้เกิดความเข้าใจ สร้างความตระหนัก และใช้เป็นแนวทางปรับปรุงผลิตภาพการผลิตและบรรยากาศการลงทุน ให้สอดคล้องกับแนวทางการเพิ�มระดับความสามารถในการแข่งขันในยุทธศาสตร์การปรับโครงสร้างทางเศรษฐกิจ และนโยบายด้านเศรษฐกิจของรัฐบาลปัจจุบัน

2. ประมวลผลที�ได้จากการประชุมเชิงปฏิบัติการฯ เพื�อจัดทํารายงานและข้อเสนอแนะในการขับเคลื�อนยุทธศาสตร์การเพิ�มผลผลิตฯ และเสนอต่อคณะกรรมการบริหาร สศช. เพื�อ รับฟังข้อคิดเห็นและข้อ เ ส น อแ น ะ เ พื� อ นํ า ไ ป ป รั บ ป รุ ง แน วท าง กา รขบัเคลื�อนฯ เพื�อใช้ในการประสานงานกับหน่วยงานที�เกี�ยวข้องเพื�อนําไปสู่การปรับกระบวนการขับเคลื�อนฯ ที�สอดคล้องกนั

Page 11: NESDB View on ICT and Productivity

6 มีนาคม 2553 11www.nesdb.go.th

ภาพรวมผลการสาํรวจฯ ปี 2550 เทียบกับ ปี 2547

0.00 0.50 1.00 1.50 2.00 2.50 3.00

ความไมม่ีเสถียรภาพของเศรษฐกิจ

ความไม่แนน่อนของนโยบายเศรษฐกิจ

ทักษะความชํานาญและการศกึษาของพนกังาน

การทุจริตคอร์รัปชั�น

ต้นทุนทางการเงิน

การค้าที�ไม่เป็นธรรม

อัตราภาษี

อาชญากรรม โจรกรรม ปัญหาสงัคม

ระเบียบวิธีการทางภาษี

ระเบียบพิธีการศลุกากรและการค้า

ระบบไฟฟ้า

การขอสินเชื�อภายในประเทศ

กฎหมายแรงงาน

การคมนาคมขนสง่

ระบบโทรคมนาคม

การขอใบอนุญาตและการจดทะเบียนธุรกิจ

การขอสินเชื�อจากตา่งประเทศ

การถือกรรมสทิธิnที�ดิน

ระดับความรุนแรงของปัจจัยที�ผลกระทบต่อการดําเนินธุรกิจ

ปี 2550 ปี 2547/48

� ภาพรวมบรรยากาศการลงทุนไทยปรับตัวไปในทิศทางที�แย่ลง โดยปัจจัยที�เป็นอุปสรรคต่อการดําเนินธุรกิจมีความรุนแรงเพิ�มขึ Tนในเกือบทุกปัจจัย (ปี 2550 เทียบกบั 2547)

� ปัจจัยด้านความไม่มีเสถียรภาพของเศรษฐกิจมหภาค และความไมแ่น่นอนของนโยบายเศรษฐกิจ ถกูระบุโดยผู้ ประกอบการว่าเป็นอปุสรรคตอ่การดําเนินธุรกิจมากที�สุด

หมายเหต ุคะแนนน้อยที�สุด = 0 และมากที�สุด = 4

Page 12: NESDB View on ICT and Productivity

6 มีนาคม 2553 12www.nesdb.go.th

ค่าดัชนี อุปสรรค

มาก 851 ขาดเสถียรภาพทางการเมือง

850 ขาดแคลนแรงงาน

360 ขาดช่องทางเข้าถึงแหล่งทุน

359 กฎระเบียบด้านภาษีและอัตราภาษี

330 ขาดอุปสงค์ของสินค้า

275 ต้องแข่งขันกับการนําเข้า

235 ปoญหาระบบราชการ

193 ต้นทุนค่าสาธารณูปโภค

175 กฎระเบียบด้านเงินตราต่างประเทศ

150 อัตราดอกเบีTยสูง

147 ระเบียบด้านแรงงาน

117 การทุจริตของเจ้าหน้าที�รัฐ

55 ขาดแคลนสิ�งอํานวยความสะดวกพืTนฐาน

51 ระเบียบการนําเข้า

32 ระเบียบการถือครองทรัพย์สิน

28 ขาดการบริการสนับสนุนธุรกิจ

13 ระเบียบการเปpนหุ้นส่วน

13 ระเบียบการขอตัTงกิจการ

11 ระเบียบการขอใช้ที�ดินและอาคาร

11 ขาดความรับผิดชอบในสินค้าและบริการ

น้อย 6 อาชญากรรม

อุปสรรคสําคัญในลําดับต้นของการดําเนินธุรกิจ

�อุปสรรคสําคัญ(1) ความไม่มีเสถียรภาพทางการเมือง (2) การขาดแคลนแรงงานมีฝีมือ (3) การเข้าถึงแหลง่ทนุ (4) กฎระเบียบด้านอตัราและภาษีอากร

�อย่างไรก็ดี สถานการณ์ทางการเมืองในช่วงเวลาที�ทําการสํารวจในปี 2550 ได้สะท้อนภาพเข้ามาเป็นส่วนหนึ�งของปัจจยัที�ทําให้ผู้ประกอบการระบุวา่เป็นปัญหาของการประกอบธุรกิจลําดบัแรก

(หมายเหตุ ผลจากการสอบถามผู้ประกอบการโดยให้ระบุเพยีง 3

ปัจจัยที�เป็นอุปสรรคในการประกอบธุรกิจมากที�สดุ คํานวณค่าดัชนี

โดยใช้ค่าถ่วงนํ Tาหนัก 3-2-1 สาํหรับอันดับที� 1-2-3 ตามลาํดับ)

Page 13: NESDB View on ICT and Productivity

6 มีนาคม 2553 13www.nesdb.go.th

ราคานํ Tามนัเป็นปัจจัยอนัดับ 1 ที�มีผลต่อการตดัสินใจลงทุน รองลงมาคือราคาปัจจัยการผลิต และอตัราแลกเปลี�ยน (การสํารวจ PICS รอบที� 2 ในปี 2550 เป็นช่วงเวลาที�เด่นชัดในเรื�องราคานํ Tามันสูง ราคาปัจจัยการผลิตสูง และปัญหาอตัราแลกเปลี�ยน )

ปัจจยัที�มีผลกระทบต่อการตัดสินใจในการลงทุนใหม่/ขยายกิจการ

ระดบัผลกระทบของแตล่ะปัจจัยฯ คํานวณจากคําถามปลายเปิด (มีตวัเลือก) เรียงตามคะแนนเฉลี�ยของ 5-likert scale (คะแนนน้อยที�สุดคือ 1

และมากที�สุดคือ 5)

Page 14: NESDB View on ICT and Productivity

6 มีนาคม 2553 14www.nesdb.go.th

ภาพรวมด้านแรงงาน

แนวโน้มการใช้แรงงานนอกภูมิภาคมากขึ Zน ขณะที�มีการใช้แรงงานในภูมิภาคลดลงเล็กน้อย ที�เหลือเป็นแรงงานจากประเทศเพื�อนบ้านซึ�งปรับตวัลดลงเช่นกัน โดยเหตุผลของการใช้แรงงานจากนอกภูมิภาคมากขึ Zน เนื�องจากการขาดแคลนแรงงานในภูมิภาค

0

10

20

30

40

50

60

ในภูมิภาค นอกภูมิภาค ประเทศเพื�อนบ้าน อื�นๆ

ปี 2547 ปี 2550

แหล่งที�มาของแรงงาน

0.0

0.5

1.0

1.5

2.0

2.5

3.0

3.5

4.0

4.5

ระดบัวิชาชีพ ระดบัมีฝีมือการผลิต

คุณภาพแรงงาน

ผู้ประกอบการมีความเหน็ว่า คุณภาพแรงงานระดบัฝีมือในภาคการผลิตมีระดบัด้อยกว่าคุณภาพแรงงานระดบัวชิาชีพโดยเฉลี�ยในทุกด้าน โดยเฉพาะด้านภาษาอังกฤษ และความสามารถด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ (หมายเหตุ คะแนนแย่ที�สุดคือ 1 และดทีี�สุดคือ 4)

ร้อยละ

Page 15: NESDB View on ICT and Productivity

6 มีนาคม 2553 15www.nesdb.go.th

ข้อเสนอและแนวทางการขับเคลื�อนฯ

• การบรูณาการทํางานของหน่วยงานภาครัฐ การประสานงานที�ดีจะทําให้การทํางานของระบบราชการมีประสทิธิภาพ และช่วยลดภาระต้นทนุให้แก่ภาคเอกชน

• การนําระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในกระบวนการทํางานให้มากขึ Tน การใช้ ICT จะช่วยลดระยะเวลาและภาระค่าใช้จ่ายในการติดต่อ

• การกําหนดนโยบายภาครัฐให้มีทิศทางที�ชดัเจนและมีความแน่นอน จะสง่ผลกระทบเชิงบวกต่อการตดัสนิใจในการลงทนุ

• การปรับปรุงกฎระเบียบของภาครัฐ และจัดโครงสร้างกฎระเบียบภาครัฐที�มีความชดัเจน จะช่วยเพิ�มความเชื�อมั�นทางธุรกิจและสง่เสริมการลงทนุ

• การพฒันาด้านโครงสร้างพื Tนฐานและระบบสาธารณปูโภคให้ครอบคลมุพื Tนที�ทั Tงในนิคมอตุสาหกรรม และนอกนิคมอตุสาหกรรม โดยพฒันาโครงสร้างพื Tนฐานด้านโลจิสติกสเ์ชื�อมโยงพื Tนที�

• การพฒันาพื Tนที�ในลกัษณะที�เป็นการพฒันาเศรษฐกิจอตุสาหกรรมและชมุชนอย่างยั�งยืน เพื�อเป็นต้นแบบสาํหรับการพฒันาพื Tนที�เพื�อรองรับอตุสาหกรรมใหม่

• การเชื�อมโยงภาคการผลติ ทั Tงสาขาเกษตร อตุสาหกรรม และบริการ โดยสนบัสนนุการจดัทําเครือข่ายวิสาหกิจ เพื�อเพิ�มความสามารถในการแข่งขนัให้กบัผู้ประกอบการ

Page 16: NESDB View on ICT and Productivity

6 มีนาคม 2553 16www.nesdb.go.th

โครงสร้างพื Zนฐานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื�อสาร (ICT) ของไทย 3

Page 17: NESDB View on ICT and Productivity

6 มีนาคม 2553 17www.nesdb.go.th

เปรยีบเทยีบสดัสว่นสดัสว่นการมีโทรศพัท์ของประชาชน

ภาพรวมการให้บริการโทรคมนาคมของไทย

หนว่ย : ตอ่ 100 คน

ที�มา : IMD World Competitive Year Book 2007

11.016.8

49.259.8

43.0

75.2 79.4

97.4

0.0

20.0

40.0

60.0

80.0

100.0

120.0

ไทย มาเลเซยี เกาหล ี ไตห้วนั

Fix lineMobile

อนิเตอรเ์น็ทความเร็วสูง

2.1

0.3

4.4

4.6

22.2

22.8

22.9

26.3

27.5

0 5 10 15 20 25 30

India

China

Malaysia

Taiwan

Singapore

Australia

Hong Kong

Korea

ThaiLand

ปี 2550 ประเทศไทยม ีPenetration Rate

2.1% ในขณะที�มาเลเซยีปี 2549 ม ี 4.6% โดย

มาเลเซยีต ัQงเป้าหมายในปี 2553 เป็น 7%

Page 18: NESDB View on ICT and Productivity

6 มีนาคม 2553 18www.nesdb.go.th

แนวโน้มการใช้ Broadband Internet ของ โลก ภูมิภาค และไทย โครงสร้างการใช้ Broadband Internet ของโลก

ที�มา: Gartner (November 2008)

โครงสร้างการใช้ Broadband Internet ของเอเชียแปซิฟิก

ที�มา: Gartner (November 2008)

จํานวนผู้ใช้อินเทอร์เน็ตความเร็วสูงและตํ�าของไทย

ที�มา: IDC Thailand

• โลก การใช้ Broadband Internet ของโลกที�ระดบัสงูกว่า 25 Mbps มีแนวโน้มเพิ�มขึ Tนในอตัราที�สงูมาก โดยระดบัความเร็ว 25-50 Mbps มีอตัราการเติบโตเฉลี�ยเพิ�มขึ Tนถึง 73.9 % (2550-2555) •เอเชียแปซิฟิก การใช้ Broadband Internet ของเอเชียแปซฟิิกในระดบัความเร็ว 25-50 Mbps มีอตัราการเตบิโตเฉลี�ยสงูถึง 31.6 % (2550-2555) •ไทย การใช้ Broadband Internet ของไทยมีอตัราเติบโตในระดบัสงูโดยเฉลี�ย 66 % (2548-2551) สว่น Narrowband มีอตัราการเติบโตที�ลดลงโดยเฉลี�ยปีละ 25.6 %

Growth 73.9 %

Growth -10.6 %

Growth -4.3 %

Growth 31.6 %

Page 19: NESDB View on ICT and Productivity

6 มีนาคม 2553 19www.nesdb.go.th

NLP

CRI

PYO

LPG

NAN

UTT

LPN

TAK

STISNK

NKINPM

KSN

MDH

YSTACR

ATG

MKM

SSK

SRN

BRM

SKE

CPM

CTI

TRT

RYG

NYK

CCO

LRI

SRI

SKM

CNT

SBR

SPB

RBR

PBIT

KRI

PKN

CPN

PCTTPBN

UTI

KPT

RET

NRT

SNI

RNGT

TRGPLG

PTN

NWTSTN

PKT

YLA

KBI

SKL

LEIT

MSNT

BKKBKKBKKBKK

CMICMICMICMI

PREPREPREPRE

UDNUDNUDNUDN

KKNKKNKKNKKN

UBNUBNUBNUBN

PLKPLKPLKPLK

NSNNSNNSNNSN

AYAAYAAYAAYA

NPTNPTNPTNPT

PRIPRIPRIPRI

CBICBICBICBI

NMANMANMANMA

PPNPPNPPNPPNPNAPNAPNAPNA

SKASKASKASKA

HYAHYAHYAHYA

Core Router

กทม กทม กทม กทม . (. (. (. (หลกัสี่ หลกัสี่ หลกัสี่ หลกัสี่ , , , , กรุงเกษม กรุงเกษม กรุงเกษม กรุงเกษม ))))

เชียงใหมเชียงใหมเชียงใหมเชียงใหม

แพรแพรแพรแพร

พษิณุโลกพษิณุโลกพษิณุโลกพษิณุโลก

นครสวรรคนครสวรรคนครสวรรคนครสวรรค

อุดรธานีอุดรธานีอุดรธานีอุดรธานี

ขอนแกนขอนแกนขอนแกนขอนแกน

นครราชสีมานครราชสีมานครราชสีมานครราชสีมา

อยุธยาอยุธยาอยุธยาอยุธยา

นครปฐมนครปฐมนครปฐมนครปฐม

ปราจีนบุรีปราจีนบุรีปราจีนบุรีปราจีนบุรี

ชลบุรีชลบุรีชลบุรีชลบุรี

พุนพนิ พุนพนิ พุนพนิ พุนพนิ

พงังาพงังาพงังาพงังา

สงขลาสงขลาสงขลาสงขลา

หาดใหญหาดใหญหาดใหญหาดใหญ

อุบลราชธานีอุบลราชธานีอุบลราชธานีอุบลราชธานี

พื Zนที�การให้บริการโทรคมนาคมของ บริษัท ทีโอที จาํกัด (มหาชน)

* พื Zนที�การให้บริการโทรคมนาคมของ บริษัท กสท. โทรคมนาคม จาํกัด (มหาชน) ครอบคลุมทั�วประเทศเช่นเดียวกัน แต่ชุมสายสัญญาณนําส่งข้อมูลความเร็วสูง (Router) แตกต่างกันในแต่ละพื Zนที�

Page 20: NESDB View on ICT and Productivity

6 มีนาคม 2553 20www.nesdb.go.th

ภาพรวมการพัฒนาระบบโทรคมนาคมสื�อสารระหว่างประเทศ : ระบบเคเบิลใต้นํ Zา ของ บริษัท กสท. โทรคมนาคม จาํกัด (มหาชน)

FLAGFLAG

To:Vietnam, Hong Kong

To:Malaysia, Singapore

To:Hong kongTo:Middle East Europe

To:Middle East

Sriracha

Phetchaburi

Chumphon

Ko-Samui

SongkhlaSatun

ขนาดโครงข่าย160 Gigabits

Page 21: NESDB View on ICT and Productivity

6 มีนาคม 2553 21www.nesdb.go.th

การดาํเนินงานระยะต่อไป : การขับเคลื�อนเศรษฐกจิสร้างสรรค์ 4

Page 22: NESDB View on ICT and Productivity

NESDB 22

“เศรษฐกิจสร้างสรรค์” คือ ระบบเศรษฐกิจที�ผสมผสานสินทรัพย์ทางวัฒนธรรม ภมูิปัญญาท้องถิ�น และเอกลักษณ์ความเป็นไทย เข้ากับความรู้และเทคโนโลยีที�เหมาะสม เพื�อผลิตสินค้าและบริการที�มีคุณลกัษณะเฉพาะตัว มีการออกแบบและนวัตกรรมของตนเอง ซึ�งจะเป็นการสร้างงานและสร้างมลูค่าทางเศรษฐกิจ ตลอดจนเพิ�มขีดความสามารถในการแข่งขันของไทย อันจะนําไปสู่การยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนในที�สดุ

สศช. ไ ด้จัดปร ะเภทเ ศรษฐกิจสร้ างสรร ค์โด ยยึดรู ป แบ บของ UNCTAD เ ป็นกรอบ และปรั บเ พิ� ม เ ติ ม ต า ม รู ป แ บ บ ข อ ง UNESCO ทั Tงนี Tเป็นการกําหนดกรอบโดยกว้างเพื�อประโยชน์ในการวัดขนาดทางเศรษฐกิจของอุตสาหกรรมและบริการสร้างสรรค์ข อ ง ไ ท ย แ ล ะ ส ะ ท้ อ น ถึ งความสําคัญต่อระบบเศรษฐกิจไทย โดยแบ่งเป็น 4 กลุ่มหลักและ 15 สาขาย่อย

ขอบเขตของเศรษฐกิจสร้างสรรค์

ในประเทศไทย

นิยามและขอบเขตเศรษฐกิจสร้างสรรค์ของไทย

ทนุทางวฒันธรรม+ คนที�มีความคิดสรา้งสรรค ์เป็นวตัถดุิบชั�นเยี�ยมของเศรษฐกิจสรา้งสรรค์

N

O

N

C

U

L

T

U

R

E

มรดกทางวัฒนธรรมและธรรมชาติ(1) งานฝีมือ/หตัถกรรม (2) การแพทย์แผนไทย(3) อาหารไทย (4) การท่องเที�ยวเชิงวฒันธรรม/

ความหลากหลายทางชีวภาพ

ศิลปะ (1) ศิลปะการแสดง(2) ทศันศิลป์

สื�อ(1) ภาพยนตร์และวีดีทศัน์ (2) การพิมพ์(3) การกระจายเสยีง (4) ดนตรี

งานสร้างสรรค์และออกแบบ(1) การออกแบบ (2) แฟชั�น(3) สถาปัตยกรรม (4) การโฆษณา (5) ซอฟต์แวร์

Page 23: NESDB View on ICT and Productivity

NESDB 23

ประเภทสนิคา้/บรกิาร DCMS (UK)

Symbolic Texts

Concentric Circles

WIPO UNCTAD UNESCO/UIS

Thailand

1. การโฆษณา

2. สถาปัตยกรรม

3. การออกแบบ

4. แฟชัVน

5. ฟิลม์ และวดีโีอ

6. ฮารด์แวร ์(อปุกรณ์)

7. บรกิารท่องเทีVยว

8. วรรณกรรม

9. ดนตรี

10. พพิธิภัณฑ ์หอ้งแสดง หอ้งสมุด

11. การพมิพ ์สืVอสิVงพมิพ์

12. ซอฟตแ์วร์

13. กฬีา

14. ศลิปะการแสดง (ละครเวท ีและเตน้รํา)

15. การกระจายเสยีง

16. วดีโีอเกมส์

17. ทัศนศลิป์ การถ่ายภาพ งานฝีมอื

18. อาหารไทย

19. การแพทยแ์ผนไทย

เศรษฐกิจสร้างสรรค์ของไทยเปรียบเทียบกับต่างประเทศ

การจัดขอบเขตของเศรษฐกจิสรา้งสรรคข์องแตล่ะประเทศหรือองคก์ารระหวา่งประเทศ แมว้า่จะมทีัhงความเหมือนและแตกตา่งกัน แตด่ว้ยภมูสิังคมทีVแตกตา่งกัน ทําใหม้เีอกลักษณ์ทีVเป็นเฉพาะตัว

Page 24: NESDB View on ICT and Productivity

NESDB 2424

จดุเริ�มต้นของเศรษฐกิจสร้างสรรค์ในประเทศไทย

หลังวิกฤตเศรษฐกิจปี 2540 ต่อเนื�องถงึแผน 10 : เริ�มมีการกลา่วถึง Value creation การเพิ�มคณุคา่ของสนิค้าและบริการบนฐานความรู้และนวตักรรม และเน้นการสร้างคณุค่าตลอด Value chain

จากแผนฯ 10 สู่แผนฯ 11: ทนุของประเทศ เพื�อสร้างความสมดลุระหว่างทนุ 3 ทนุ คือ ทนุเศรษฐกิจ ทนุสงัคม และทนุทรัพยากรธรรมชาติ/สิ�งแวดล้อม เพื�อมุ่งสูส่งัคมอยู่เย็นเป็นสขุร่วมกนั ได้มีบริบทของทนุที�ละเอียดซบัซ้อนขึ Zนเป็น 6 ทนุ

โดยมีทนุวัฒนธรรมเข้ามาเป็นส่วนสําคัญและยึดโยงทนุด้านอื�นๆ ของการพัฒนาประเทศ

ทุนสงัคม ทุนเศรษฐกจิ

ทุนทรพัยากรธรรมชาต/ิสิ�งแวดลอ้ม

Natural Capital(NC)

Social Capital(SC)

Physical Capital(PC)

Human Capital(HC)

Cultural Capital(CC)

Financial Capital (FC)

Broad-based

SpecificScope

Tan

gibl

eIn

tang

ible

Feat

ure

Page 25: NESDB View on ICT and Productivity

NESDB 25

ในระยะยาวเศรษฐกจิสร้างสรรค์จะเป็นทศิทางการพัฒนาเศรษฐกจิไทยโดยเน้นความเชื�อมโยงกับภาคเศรษฐกจิจริง

25

เกษ

ตร ภาคเกษตรและ

ทรัพยากรธรรมชาต ิ

• ใช้ประโยชน์จากการที�ไทยเป็นประเทศผู้ผลิตอาหารโลก รวมทั Zงความหลากหลายทางชีวภาพและสมุนไพร ซึ�งวันนี Zสินค้าส่งออกของไทยที�มาจากมิปัญญาและสมุนไพรไทยเป็นที�นิยมและราคาค่อนข้างดี เนื�องจากแนวโน้มของโลกมีความชัดเจนว่าจะให้ความสําคัญกับสินค้าสุขภาพมากขึ Zน

• การย้อนกลับมาเหน็ความสําคัญของภาคเกษตร ซึ�งถือเป็นรากฐานและเป็นจุดแข็งของประเทศไทยและหาแนวทางเพิ�มคุณค่าจะช่วยให้มีการพัฒนาอย่างยั�งยืนอย่างแท้จริง

อุต

สาห

กรร

ม ภาคอุตสาหกรรม

• สร้างสินค้าที�มีการออกแบบ (ODM) และสร้างแบรนด์หรือตราสินค้าเป็นของตนเอง (OBM) เช่น อุตสาหกรรมแฟชั� น สินค้าไลฟ์สไตล์ ผลิตภัณฑ์สุขภาพ เป็นต้น

• ขณะเดียวกัน การออกแบบสามารถสอดแทรกเข้าไปได้ในทุกอุตสาหกรรม อีกนัยหนึ�งคือ ความคดิสร้างสรรค์ (Creativity) สามารถนําเข้าสู่ในกระบวนการผลิตสินค้าอุตสาหกรรม: นี� คือ ความหมายของเศรษฐกิจสร้างสรรค์เพื�อการพัฒนาอุตสาหกรรมในวงกว้าง

ทอ่

งเท

ี�ยว/

บรกิ

าร �การท่องเที�ยว โดยสร้างสินค้าท่องเที�ยวใหม่ๆ แก่ธุรกิจการท่องเที�ยวไทยให้เป็นแหล่งท่องเที�ยวของตลาดท่องเที�ยวโลก

�มีการบริหารจัดการที�ดีควบคู่ไปการสร้างสินค้าท่องเที�ยวใหม่ รวมทั Zงสร้างเรื� องราวของสินค้าท่องเที�ยวที�เชื�อมโยงกับวัฒนธรรมและวิถีชีวิต เช่น การท่องเที�ยวเชิงวัฒนธรรมสําหรับเยาวชนในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิค เป็นต้น

�ภาคบริการ เพื�อเพิ�มศักยภาพ และขีดความสามารถในการแข่งขันของบริการสาขาต่างๆ ของประเทศ ให้ไทยเป็น service-driven economy บนพื Zนฐานของความชํานาญเฉพาะด้านและเอกลักษณ์ความเป็นไทย เช่น บริการสาขาโสตทัศน์ ซึ�งรวมภาพยนตร์และเพลง บริการโฆษณา เป็นต้น

Page 26: NESDB View on ICT and Productivity

NESDB 2626

1) การพัฒนาระดับมหภาค- พัฒนาเศรษฐกิจสร้างสรรค์ควบคู่ไปกบัการพฒันาเศรษฐกจิฐานความรู้

- กําหนดนโยบายบรูณาการการดําเนินงานของหน่วยงาน

- ปรับโครงสร้างการผลติและบริการของประเทศอย่างต่อเนื�อง

2) การพฒันาโครงสร้างพื Zนฐานและสภาพแวดล้อม

- พัฒนาปัจจยัแวดล้อมที�กระตุ้นให้ภาคเอกชนลงทุนผลิตสินค้าเชิงสร้างสรรค์

- พฒันาระบบฐานข้อมูล สื�อสาร และคมนาคมที�มีประสิทธิภาพ

- ให้คุณค่าต่อทรัพย์สินทางปัญญาจากความคิดสร้างสรรค์

- ศึกษาวิจยัและพัฒนาเชิงลึกในสาขาเศรษฐกิจสร้างสรรค์และทุนวัฒนธรรม

- จดัและพัฒนาพื Tนที�ที�เป็นแหล่งเรียนรู้นอกห้องเรียน รวมทั Tงสร้างเมืองสร้างสรรค์

3) การพัฒนาผู้ประกอบการธุรกิจและบุคลากรด้านสร้างสรรค์

- ขับเคลื�อนและสร้างโอกาสให้กบัผู้ประกอบการธุรกิจสร้างสรรค์

- พฒันาบคุลากรวิชาชีพเชิงสร้างสรรค์

ประเด็นเชงิยุทธศาสตร์เพื�อการขบัเคลื�อนเศรษฐกิจและสังคมสร้างสรรค์

* อตุสาหกรรม ICT เป็นอกีสาขาของเศรษฐกจิสร้างสรรค์ที�สามารถสร้างรายได้ให้แกป่ระเทศไทยได้ (End) พร้อมทั Tงเป็นปัจจัยสนบัสนนุให้เกดิธุรกจิสร้างสรรค์อื�นๆ ตามมาเนื�องจากประชาชนสามารถเข้าถงึความรู้และเทคโนโลยไีด้ง่ายขึ Tน โดยใช้ระบบ ICT เป็นสื�อ (Mean)

Page 27: NESDB View on ICT and Productivity

NESDB 27

กลไกระดับคณะกรรมการเพื�อส่งเสริมและพัฒนาเศรษฐกจิสร้างสรรค์ไทย

รัฐบาลจัดเงินให้ในแผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็งแผนการพัฒนาศกัยภาพเศรษฐกิจสร้างสรรค์ภายใต้แผนฟืZนฟูเศรษฐกิจระยะที� 2 (SP2)

หรือแผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 (อนุมัติแล้ว 2,330.59 ล.บ. ภายใต้กรอบ 6,925.93 ล.บ.)* มติ ครม. วันที� 15 ก.ย. 52 เพื�อยกระดับกลไกขับเคลื�อนพฒันาเศรษฐกจิสร้างสรรค์เป็นวาระแหง่ชาติ อกีทั Tงยงับูรณาการกลไกขับเคลื�อนที�มีอยูแ่ล้วเพื�อขับเคลื�อนพนัธสัญญา 12 ข้อ

คณะกรรมการนโยบายเศรษฐกิจสร้างสรรค์แห่งชาติ นายกรัฐมนตรี

เป็นประธาน*

คณะอนุกรรมการบริหารนโยบายเศรษฐกิจสร้างสรรค์

รมช. พณ. อลงกรณ์ พลบุตรเป็นประธาน

เป้าหมาย

เป้าหมายเป้าหมาย

เพิ�มสัดส่วนเศรษฐกิจสร้างสรรค์ต่อ GDP จากร้อยละ 10-12เป็นร้อยละ 20 ในปี 2555

Page 28: NESDB View on ICT and Productivity

NESDB 28

1. โครงการ Creative City ระหว่าง พ.ย. 52 - มี.ค. 53พ.ย. 52 26-27 ธ.ค. 52 (ระหว่างดําเนินการ) (ระหว่างดําเนินการ) (ระหว่างดําเนินการ)

1. โครงการเปิดตัว Skill Mapping

2. มหกรรมเครือข่ายดนตรีกรุงเทพฯ

3. เปิดตัวโครงการ Creative Studio

4. มหกรรมเครือข่ายอาหารกรุงเทพฯ

5. งาน Creativities Unfold 2009-2010

CREATIVE CITY

ตัวอย่างโครงการเศรษฐกิจสร้างสรรค์ของ OKMD, TCDC ที�จะเกิดในปี 2553

Page 29: NESDB View on ICT and Productivity

NESDB 29

2. โครงการ มหกรรมเครือข่ายอาหารกรุงเทพฯ

กรุงเทพ... มหานครแห่งอาหาร(Bangkok…City Bangkok…City Bangkok…City Bangkok…City

of Gastronomy)of Gastronomy)of Gastronomy)of Gastronomy)

ที�มา TCDC: นิตยสารส่งเสริมความคิดสร้างสรรคผ์ลักดนัเศรษฐกิจไทย

เมืองโพพายัน ประเทศโคลัมเบียแนวทางการดาํเนินงาน

ร่วมมอืกับกรุงเทพมหานครในการจัดมหกรรมเครือขา่ยอาหาร 3 วนับริเวณลานคนเมอืงเพื�อเป็นการ

สร้างภาพลกัษณ์ของเมืองกรุงเทพฯ ในการเป็นเมอืงแห่งอาหารการกินที�

มอีาหารที�เป็นเอกลกัษณ์ และมีความหลากหลายของวตัถุดิบที�จะ

มาประกอบเป็นอาหารเพื�อตอบสนองผู้บริโภคที�หลากหลาย

ระดับ โดยผา่นกิจกรรม

การสาธิตการทําอาหารที�มคีวามหลากหลายตั Tงแต่สตูรของอาหารไปจนถึงวตัถุดิบที�แตกต่างกันในราคาหลากหลายระดับ

เวทีสมัมนาสตูรอาหารต้นตํารับเพื�อเกาะกระแส Slow Food

บูธขายอาหารสตูรเด็ดจากทั�วกรุงเทพฯ เผยแพร่ประชาสัมพนัธ์งานผ่านเครือข่ายสื�อที�

สนับสนุน

Page 30: NESDB View on ICT and Productivity

NESDB 30

• เป็นการดําเนินการจัดนิทรรศการระดับนานาชาติ เพื�อให้เกิดการรวมตัวของประเทศใน อาเซียน ญี�ปุ่ น เกาหลี และจีน ในการสร้างศกัยภาพความแข็งแกร่งของอุตสาหกรรมเนื Tอหาดิจิตัลรวมทั Tงจัดการสัมมนาวิชาการ สมัมนาปฏิบตัิการระดับโลก เพื�อให้เกิดการถ่ายทอดเทคโนโลยีและประสบการณ์ขั Tนสงูในการประกอบธุรกิจในสาขานี T โดยมีกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื�อสารเป็นผู้ รับผดิชอบ วงเงินงบประมาณรวม 200 ล้านบาท

3. โครงการของ SIPA “Digital Media Asia 2010”

Page 31: NESDB View on ICT and Productivity

NESDB 31

บริษัท โยธกา อนิเตอร์เนชั� นแนล จาํกัด

ชุบชีวิตผักตบชวาให้กลายเป็นเฟอร์นิเจอร์ทาํเงิน � โยธกา เป็นบริษัทแรกของโลกที� พัฒนาเทคนิคการใช้ผักตบชวาเพื�อการผลิตเฟอร์นิเจอร์และของตกแต่งบ้านครบวงจร ด้วยการออกแบบที�ผสมผสานความเป็นไทยและความทันสมัยอย่างกลมกลืน รวมทั Zงช่างฝีมือที� มีความชํานาญในการพัฒนาวัสดุธรรมชาติอื�นๆ ที�หาได้ในท้องถิ�น เช่น สิเภา กระดาษจากใบสับปะรด เป็นต้น ไปจนถึงการพัฒนาเทคนิคป้องกันเชื Zอรา

� โยธกา สามารถคว้ารางวัลการออกแบบจํานวนมาก และสร้างรายได้ให้กับประเทศหลายพันล้านบาทตลอดช่วง 10 ปีที�ผ่านมา

บริษัท HARNN PRODUCTS จาํกัด

โฮมสปาสัญชาตไิทยที#เตบิโตเป็นธุรกิจร้อยล้านใน 10 ปี � บริษัทเริ�มธุรกิจจากการขายสบู่ธรรมชาต ิและขยายเป็นผลิตภัณฑ์โฮมสปา ได้เริ�มทาํตลาดในประเทศควบคู่ไปกับการให้ความรู้เรื� องอโรมาเธอราพี ซึ� งเป็นเรื� องใหม่สําหรับผู้บริโภคเวลานัZน

� ด้วยการมีแบรนด์ที� ชัดเจน ได้เริ� มจดสิทธิบัตรในการใช้นํ Zามันรําข้าวมาเป็นวัตถุดบิหลักในการทาํสบู่ รวมทั Zงการให้ความสําคัญในการวิจัยและพัฒนา เพื�อคดิค้นผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ จากธรรมชาติ การออกแบบบรรจุภัณฑ์ที� โดดเด่น มีเอกลักษณ์ของความเป็นไทย การบริหารด้านการตลาด ทําให้บริษัทฯ มีสาขาให้บริการอยู่ใน 20 ประเทศทั�วโลก

ISSUE เสื Zอผ้าแบรนด์ไทย บันดาลใจจากวัฒนธรรมที�พบเหน็จากการเดนิทาง� ภูภวิศ กฤตพลนารา เจ้าของเสื Zอผ้าแบรนด์ไทย ISSUE เกิดความคิดในการ

ออกแบบเสื Zอผ้าที�สามารถแสดงความเป็นปัจเจกบุคคล ซึ� งภูภวิศเริ� มหาประสบการณ์จากการทาํงานกับแบรนด์ชั Zนนําเป็นเวลาหลายปีจากนัZนจึงค่อยมาสร้างแบรนด์ของตนเอง

� การนําเสนอวัฒนธรรมดั Zงเดิม ความเชื� อ ความศรัทธา และการเดินทางผ่านเสื Zอผ้าเป็นเอกลักษณ์ที�โดดเด่นของ ISSUE อีกทั Zง การพิถีพิถันเลือกใช้เนื Zอผ้า และปราณีตในเทคนิคการผลิตทั Zงปัก ถัก มัด ย้อม ทําให้ ISSUE เป็นแบรนด์แฟชั� นที�สร้างความประทับใจมานานกว่า 9 ปี

ตัวอย่างความสําเร็จของอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ไทย