lanna dhamma book chest phrae

52
ตู้ และหบธรรม จังหวัดแพร่ พันธวัช ภราญคำา

Post on 23-Jul-2016

234 views

Category:

Documents


0 download

DESCRIPTION

ตู้และหีบธรรม วัดสูงเม่นและวัดพระหลวง อำเภอสูงเม่น จังหวัดแพร่

TRANSCRIPT

Page 1: Lanna dhamma book chest Phrae

ตู้ และหีบธรรม

จังหวัดแพร่

พันธวัช ภิราญคำา

Page 2: Lanna dhamma book chest Phrae
Page 3: Lanna dhamma book chest Phrae

1 ตู้และหีบธรรม จังหวัดแพร่

แนวคิดและต้นกำาเนิดตู้พระธรรมโบราณ

ต้นกำ�เนิดตู้ไทยโบร�ณ เป็นตู้ที่มีลักษณะพิเศษเป็นแบบฉบับของไทยโดยเฉพ�ะ ในปัจจุบัน

ยังไม่พบหลักฐ�นว่�ตู้ดังกล่�วมีต้นกำ�เนิดเริ่มต้นใช้กันม�ตั้งแต่ครั้งใด แม้ในศิล�จ�รึกจะ

กล่�วถึงก�รสร้�งวัสดุสิ่งของหล�ยสิ่งหล�ยอย่�ง เพื่อเป็นก�รบูช� อุทิศแด่พระศ�สน�ไว้

ต�มที่ต่�งๆ ม�กม�ยแต่ไม่ปร�กฏข้อคว�มในศิล�จ�รึกหลักใด ณ ที่ใดบ่งบอกว่�ได้มีก�ร

สร้�งตู้ หรืออุทิศตู้ให้แก่วัดหรือพระศ�สน� แต่ยังคงมีแต่คำ�บ�งคำ�ปร�กฏอยู่ในศิล�จ�รึก

บ�งหลักซึ่งนำ�ม�พิจ�รณ�ใช้เป็นจุดโยงของต้นกำ�เนิดตู้พระธรรม เช่น คำ�ว่�พระมนเทียร

ธรรม หอปิฏก หอพระปิฎกธรรม ซึ่งหม�ยถึง หอหรืออ�ค�รที่เก็บพระไตรปิฎก หรือพระ

ธรรมคัมภีร์ ถ้�จะเรียกกันต�มคว�มนิยมในปัจจุบันคำ�ว่� พระมนเทียรธรรม หอปิฎก และ

หอปิฎกธรรม ก็คือหอไตรหรือหอหนังสือ หรือหอสมุดก็อ�จจะเรียกได้ คำ�ทั้งส�มดังกล่�ว

ข้�งต้นนี้ปร�กฏเป็นครั้งแรก ในศิล�จ�รึกหลักต่�งๆ

Page 4: Lanna dhamma book chest Phrae
Page 5: Lanna dhamma book chest Phrae

3 ตู้และหีบธรรม จังหวัดแพร่

ลักษณะตู้ไทยโบราณ

ตู้ไทยโบร�ณมีลักษณะอยู่ในทรงสี่เหลี่ยมลูกบ�ศก์ ด้�นบนสอบทำ�ให้ดูแคบกว่�

ด้�นล่�ง ส่วนม�กมุมข�ตู้ทั้ง 4 ด้�น มีข�ตั้งเป็นข�สี่เหลี่ยม (ตู้ไทยโบร�ณลักษณะแบบนี้ได้

ชื่อว่� ตู้ข�หมู) เหนือตู้ขึ้นไปมีเส�หัวเม็ดทรงมันอยู่ทั้ง 4 มุม เช่นกันบ�งตู้ช่�งไม่ได้กลึงเป็น

รูปหัวเม็ด แต่จะทำ�เส�สี่เหลี่ยมสูงให้ได้ส่วนสัดแต่พอง�มกับคว�มสูงของตู้ไทยโบร�ณซึ่ง

มีขน�ดแตกต่�งกันไปมีทั้ง ใหญ่และเล็กแต่บ�งครั้งช่�งไม่ได้ทำ�เส�หัวเม็ดไว้เลยก็มี คว�ม

สูงของตู้ไทยโบร�ณนั้นอยู่ในระหว่�ง 100 ซ.ม. – 288 ซ.ม. ด้�นหน้�กว้�งระหว่�ง 80

ซ.ม. – 200 ซ.ม. ด้�นข้�งกว้�งระหว่�ง 57 ซ.ม. –180 ซ.ม. ขอบตู้ด้�นบนประกอบด้วย

ขอบซึ่งตกแต่งด้วยล�ยอยู่เหนือส่วนที่กลึง หรือจำ�หลักเป็นรูปบัวหง�ย ส่วนขอบตู้ด้�นล่�ง

ประดิษฐ์ขอบอยู่เหนือส่วนที่ทำ�เป็นรูปบัวหง�ย รูปบัวคว่ำ�ก็มีอยู่บ้�ง แต่ทำ�กันเป็นส่วนน้อย

ด้�นที่ใช้ปิด และเปิดประตูตู้คือด้�นหน้� ซึ่งมีบ�นประตูติดบ�นพับเพื่อสะดวกในก�รปิด

เปิด 2 บ�น ภ�ยในตู้มีชั้นไม้ซึ่งเดิมพับสะดวกในก�รปิด เปิด 2 บ�น ภ�ยในตู้มีชั้นไม้ซึ่งเดิม

ใช้สำ�หรับว�งพระคัมภีร์ ซึ่งห่อไว้อย่�งดีโดยเฉลี่ยประม�ณ 3 ชั้น และไม่ตกแต่งลวดล�ย

ส่วนใหญ่มักจะลงรักแดงทึบส่วนสำ�คัญของตู้ไทยโบร�ณที่ก่อกำ�เนิดประเภทของตู้ให้มีชื่อ

แตกต่�งกันไปนั้น คือส่วนล่�ง นับตั้งแต่ใต้ขอบล่�งของตู้ลงม�ตู้ไทยโบร�ณที่มีข�ตู้เป็นข�

สี่เหลี่ยม

Page 6: Lanna dhamma book chest Phrae
Page 7: Lanna dhamma book chest Phrae

นิยมทำ�เป็นรูปลักษณะแตกต่�งกัน และมีชื่อเรียกเฉพ�ะ

1.ตู้ข�หมู ได้แก่ ตู้ที่ใต้ขอบตู้ด้�นล่�งลงไปมีข�ตู้เป็นข�ตรงทรงสี่เหลี่ยมทั้ง 4 ข�

และบ�งตู้อ�จมีเชิงตู้เป็นรูปป�กสิงห์ หรือหูช้�ง

2.ตู้ข�หมูมีลิ้นชัก ได้แก่ ตู้ที่มีข�สี่เหลี่ยมเหมือนตู้ข�หมูดัง แต่เพิ่มส่วนที่เป็นก

รอบลิ้นชักและตัวลิ้นชักเข้�ไปใต้ขอบล่�ง ก่อนถึงข�ตู้

3.ตู้เท้�สิงห์ ได้แก่ ตู้ที่มีก�รจำ�หลักส่วนล่�งของข�ตู้ให้เป็นรูปเท้�สิงห์ มีนิ้วและ

เล็บสิงห์ งดง�ม บ�งตู้ช่�งได้ประดิษฐ์พิเศษขึ้นไป ทำ�เป็นรูปเท้�สิงห์เหยียบอยู่บนลูกแก้ว

4.ตู้เท้�สิงห์มีลิ้นชัก ได้แก่ ตู้ที่มีข�ตู้เป็นรูปเท้�สิงห์ แต่เพิ่มส่วนที่เป็นกรอบลิ้นชัก

และตัวลิ้นชักเข้�ไป ใต้ขอบล่�ง ก่อนถึงข�ตู้

5.ตู้ฐ�นสิงห์ ได้แก่ ตู้ที่ไม่มีข� แต่ตัวตู้ตั้งอยู่บนแท่นฐ�นเป็นชั้นซ้อน จำ�หลักล�ย

รูปข�สิงห์ และป�กสิงห์

6.ตู้เท้�คู้ ได้แก่ ตู้ที่มีส่วนของข�ตู้ตอนบนต่อจ�กขอบล่�งลงไป ทำ�เป็นรูป

สี่เหลี่ยม และลบเหลี่ยมนอกตรงมุมข�ตู้ให้มนเล็กน้อย ส่วนตอนล่�งของข�ตู้โค้งคู้เข้�ไปใต้

พื้นตู้

ลักษณะส่วนสำ�คัญของตู้ไทยโบร�ณที่ปร�กฏมีม�และร�ชบัณฑิตได้กำ�หนดอ�ยุ

และแบ่งสมัยของศิลปะตู้ไทยโบร�ณออกเป็น ๓ สมัย ด้วยกันดังนี้ คือ สมัยอยุธย� สมัย

ธนบุรี และสมัยรัตนโกสินทร์

5 ตู้และหีบธรรม จังหวัดแพร่

Page 8: Lanna dhamma book chest Phrae
Page 9: Lanna dhamma book chest Phrae

7 ตู้และหีบธรรม จังหวัดแพร่

การตกแต่งตู้พระธรรม

ตู้พระธรรมส่วนม�กมักตกแต่งต�มส่วนต่�งๆ ของตู้ด้วยลวดล�ยไทย เป็นล�ย

รดน้ำ�บนพื้นรักดำ�ที่ทำ�เป็นล�ยกำ�มะลอล�ยจำ�หลักประดับกระจก และล�ยประดับมุก ก็มี

บ้�งแต่เพียงส่วนน้อย สำ�หรับล�ยที่ใช้ตกแต่งในแต่ละส่วนของตู้ ช่�งก็จะเลือกใช้ล�ยต�ม

ประเภท หรือหน้�ที่อันเป็นลักษณะเฉพ�ะของศิลปะล�ยไทย เช่น ล�ยหน้�กระด�น จะใช้

ตกแต่งเฉพ�ะขอบบน และขอบล่�งของตู้ ส่วน ล�ยเชิง ใช้เฉพ�ะเส�ขอบตู้ตอนบนและตอน

ล่�ง

ส่วนต่างๆ ของตู้พระธรรมที่มีการตกแต่ง

ด้�นหน้�และด้�นข้�งของตู้ ด้�นหน้�ซึ่งทำ�เป็นบ�นประตู 2 บ�น และด้�นข้�งทั้ง

ซ้�ยและขว�เป็นส่วนที่ตกแต่งลวดล�ยลักษณะเดียวกัน เช่น มีล�ยกระหนกเปลวเครือเถ�

ล�ยกระหนกใบเทศ ล�ยก้�นขด ล�ยเหล่�นี้ช่�งมักตกแต่งให้มีนกค�บ น�คค�บ หรือออก

เถ�แบบต่�งๆ เคล้�ภ�พสัตว์ มีนก กระรอก ลิง เป็นอ�ทิ บ�งตู้ก็มีภ�พประกอบ ทั้งภ�พเล่�

เรื่อง และภ�พลอยตัว เช่น ภ�พพุทธประวัติ วรรณกรรมช�ดก ร�มเกียรติ์ เทพ ทว�รบ�ล

และสัตว์หิมพ�นต์

Page 10: Lanna dhamma book chest Phrae
Page 11: Lanna dhamma book chest Phrae

9 ตู้และหีบธรรม จังหวัดแพร่

ขอบตู้ด้�นบนและด้�นล่�ง จะใช้ล�ยหน้�กระด�น เช่น ล�ยประจำ�ย�มลูกฟัก

ล�ยประจำ�ย�มลูกฟักก้�มปู ล�ยดอกซีก ดอกซ้อน ล�ยหมอนทอง ล�ยเกลียวใบเทศ ล�ย

สังว�ลเพชรพวง

เส�ขอบตู้ทั้ง 4 เส� ระหว่�งช่วงกล�งเส�นิยมเขียนล�ยก้�นต่อดอก ล�ยรักร้อย

ซึ่งมีทั้งล�ยรักร้อยหน้�สิงห์ ล�ยรักร้อยบัวร้อย และล�ยรักร้อยใบเทศ ส่วนตอนบนและ

ตอนล่�ง ของเส�ขอบตู้ มักเป็นล�ยกรวยเชิง และมีบ�งตู้ที่ช่วงกึ่งกล�งเส�ตกแต่งด้วยล�ย

ประจำ�ย�มรัดอก

เชิงตู้ ตู้พระธรรมที่มีเชิงตู้ส่วนม�กจะทำ�เป็นรูปป�กสิงห์ หรือหูช้�ง ซึ่งนิยมทำ�

ด้วยกรรมวิธีต่�งๆ กัน เช่น ล�ยรดน้ำ�ประดับกระจก และจำ�หลักฉลุโปร่ง สำ�หรับลวดล�ย

ที่ใช้มีล�ยก้�นขด ล�ยดอกพุดต�น ล�ยกระหนกเปลวเครือเถ� นกค�บ น�คค�บ ออกเถ�

เทพนม ช่อเปลวห�งโต

เส�ข�ตู้ โดยเฉพ�ะตู้ข�หมู นิยมตกแต่งด้วยล�ยกรวยเชิง ล�ยก�บพรหม-สิงห์

ล�ยครุฑจับน�ค และที่เขียนเป็นภ�พยักษ์แบก ลิงแบก และท้�วเวสสุวัณยืนถือตะบอง ก็

มี ส่วนตู้เท้�สิงห์นั้น นอกจ�กจะจำ�หลักข�ตู้เป็นรูปเท้�สิงห์ ซึ่งมีเล็บสิงห์เรียวแหลมแล้ว

ยังนิยมทำ�เท้�สิงห์นั้นเหยียบอยู่บนลูกแก้วด้วย และบ�งตู้ยังตกแต่งเพิ่มเติมด้วยล�ยต่�งๆ

เช่น ล�ยก้�นขด และที่เขียนเป็นภ�พน�ร�ยณ์ทรงครุฑยุดน�คก็มี

สำ�หรับตู้ฐ�นสิงห์นั้น ส่วนใหญ่จะทำ�เป็นฐ�นจำ�หลักประดับกระจก ส่วนที่เป็น

ล�ยหน้�กระด�นมักทำ�เป็นล�ยประจำ�ย�มลูกฟักก้�มปู เรียงลำ�ดับชั้นฐ�นด้วยล�ยบัวหลัง

สิงห์ ป�กสิงห์ และเท้�สิงห์ ล�ยทั้งหมดประดับด้วยกระจกสีแดง สีเหลือง สีเขียว สีข�ว

และสีน้ำ�เงิน โดยส่วนใดที่ไม่ประดับกระจกสี ก็จะลงรักปิดทองทึบ องค์ประกอบของล�ย

จำ�หลักประดับกระจก แสดงให้เห็นถึงคว�มส�ม�รถอันช�ญฉล�ดของช่�งไทยโบร�ณ ที่

ตกแต่งส่วนต่�งๆ ของตู้ ให้มีคว�มผสมผส�นกัน ระหว่�งกระจกสี และล�ยทอง ข�ตู้อีก

ประเภทหนึ่งคือ ตู้เท้�คู้ ซึ่งส่วนใหญ่ไม่นิยมตกแต่งลวดล�ย มักลงรักทึบเพียงอย่�งเดียว

Page 12: Lanna dhamma book chest Phrae
Page 13: Lanna dhamma book chest Phrae

11 ตู้และหีบธรรม จังหวัดแพร่

ความเป็นมาของหีบพระธรรมล้านนา

หีบธรรม หรือ หีดธัมม์ (หีดธรรม) เป็นตู้พระธรรมหรือตู้พระไตรปิฎกในภ�คกล�ง

เป็น คำ�ที่ช�วเหนือใช้เรียกหีบเก็บคัมภีร์ใบล�น มีใช้สืบต่อกันม�แต่โบร�ณก�ลในดินแดน

ล้�นน� ส่วนใหญ่เป็นคัมภีร์ใบล�นที่จ�รด้วยอักษรธรรมล้�นน�ซึ่งเป็นอักษรที่ใช้อย่�งแพร่

หล�ยบริเวณภ�คเหนือของประเทศไทย หีบพระธรรมที่ใช้ในภูมิภ�คนี้นับว่�มีเอกลักษณ์

เฉพ�ะที่แตกต่�งจ�กหีบเก็บคัมภีร์ใบล�นของภ�คอื่น เพร�ะมีลักษณะเป็น “ทรงลุ้ง” คือ

เป็นทรงสี่เหลี่ยม ด้�นล่�งของฐ�นสอบเข้� ส่วนป�กหีบผ�ยออก มีฝ�ครอบปิดด้�นบนซึ่งมี

หล�ยลักษณะทั้งฝ�ตัด ฝ�คุ้ม และฝ�เรือนยอด

หีบพระธรรมจึงเป็นโบร�ณวัตถุที่ใช้สำ�หรับบรรจุหรือเก็บพระธรรม เป็นภ�ชนะ

สำ�หรับก�รเก็บรักษ�พระธรรมคัมภีร์ไม่ให้เสียห�ยจ�กแมลงหรือสัตว์ที่จะม�ทำ�ล�ย

ตัวพระธรรมคัมภีร์ หีบพระธรรมล้�นน�นั้นมีคว�มเป็นเอกลักษณ์เฉพ�ะตัวไม่เหมือนกับ

โบร�ณวัตถุที่เก็บรักษ�คัมภีร์ของท�งภ�คอื่น เนื่องจ�กช�วล้�นน�นั้นมีวัฒนธรรมเป็นของ

ตัวเองอยู่แล้ว ตัวหีบพระธรรมได้ถูกเสนอตัวให้ทำ�หน้�ที่ไว้อย่�งชัดเจน คือเป็นที่เก็บพระ

ธรรมคัมภีร์ต�มวัตถุประสงค์ของผู้สร้�ง

Page 14: Lanna dhamma book chest Phrae
Page 15: Lanna dhamma book chest Phrae

13 ตู้และหีบธรรม จังหวัดแพร่

ลักษณะของหีบพระธรรมล้านนา

หีบพระธรรมล้�นน�มีรูปแบบลักษณะที่ตกต่�งจ�กตู้พระธรรมของภ�คกล�ง ซึ่ง

ตู้พระธรรมนั้นมีลักษณะเป็นตู้มีประตูเปิดปิดด้�นหน้�หรือด้�นข้�ง แต่หีบพระธรรมล้�นม�

นั้นมีลักษณะเป็นกล่องไม้ทำ�เป็นหีบสำ�หรับเก็บสิ่งของ มีฝ�ปิดเปิดอยู่ท�งด้�นบนของตัว

หีบ ฐ�นล่�งของตัวหีบจะแคบกว่�ป�กหีบด้�นบนสูงกว่�ขึ้นม�จะคอดกิ่วเล็กลงเอว สอบลง

โดยกองขึ้นไปจะกว้�งขึ้นจนไปถึงขอบป�ก ฝ�ปิดเป็นอีกชิ้นหนึ่งแยกจ�กตัวหีบ

หีบพระธรรมประกอบด้วย 3 ส่วนหลัก คือ ตัวหีบ ส่วนฐ�น และฝ�ปิด นิยมใช้

ไม้สักเป็นวัสดุเนื่องจ�กเนื้อไม้ไม่เสียรูปทรงเมื่อนำ�ม�แกะสลัก และมีคว�มคงทนต่อสภ�พ

ดินฟ้�อ�ก�ศ เป็นง�นหัตถศิลป์ที่เน้นคว�มแข็งแรงเพื่อเก็บรักษ�คัมภีร์ใบล�นให้อยู่รอด

ปลอดภัยในสภ�พที่สมบูรณ์ม�กที่สุด ลักษณะหีบพระธรรมพบในล้�นน�ส�ม�รถแบ่งต�ม

ลักษณะโครงสร้�งดังนี้

1.หีบพระธรรมแบบทรงสี่เหลี่ยมค�งหมู

2.หีบพระธรรมแบบทรงสี่เหลี่ยมจัตุรัส

3.หีบพระธรรมแบบทรงสี่เหลี่ยมผืนผ้�

Page 16: Lanna dhamma book chest Phrae
Page 17: Lanna dhamma book chest Phrae

15 ตู้และหีบธรรม จังหวัดแพร่

โดยโครงสร้�งของหีบธัมม์แบบล้�นน�ดูจะไม้ซับซ้อนม�กนัก เนื่องจ�กเป็นครุภัณฑ์ที่สร้�ง

เพื่อประโยชน์ใช้สอย จึงเน้นคว�มแข็งแรงเป็นสำ�คัญ ซึ่งแยกออกเป็นส่วนต่�งๆ ดังนี้

1.ส่วนฐ�น เป็นส่วนที่รับน ้ำ�หนัก มีขน�ดกว้�งจะ มีก�รซ้อนชั้นต่�งๆ จ�กขน�ด

เล็กไปห�ใหญ่ ใช้วิธีเข้�ไม้โดยก�รอ�ศัยก�รเข้�เดือยยึดสี่มุมเข้�ด้วยกัน เนื่องจ�กส่วนฐ�น

นี้เป็นส่วนที่รับน้ำ�หนักม�กที่สุดจึงป็นส่วนที่สำ�คัญ จึงจำ�เป็นต้องใช้ไม้ที่มีขน�ดหน�และมี

น้ำ�หนักจึงจะเหม�ะสมและเกิดคว�มมั่นคงและแข็งแรง

2.ตัวหีบ หรือส่วนกล�งของหีบ มีลักษณะเป็นรูปทรงสี่เหลี่ยมค�งหมู ทรงสี่เหลี่ยม

จัตตุรัส และทรงสี่เหลี่ยมผืนผ้� ขึ้นอยู่กับแต่ละพื้นที่ว่�จะใช้รูปทรงแบบไหน องค์ประกอบ

ของตัวหีบ ท้องไม้หรือฝ�โดยรอบทั้งสี่ด้�นเป็นไม้กระด�นต่อกัน โดยอ�ศัยเส�สี่ต้นเป็น

โครงยึดติดเข้�ด้วยกัน อ�ศัยก�รเข้�ไม้โดยใช้เดือยยึดก�รเข้�ไม้เป็นฝ�สี่ด้�นโดยก�รใช้

เดือยยึดกับเส�จะทำ�ให้เกิดก�รงัดขบกันของเดือย ฝ�ไม้ทั้งสี่ด้�นจะมีแรงผลักดัน รักษ�ตัว

โครงสร้�งให้คงรูปไว้อย่�งมั่นคง บริเวณป�กหีบจะทำ�เป็นสลักตัวผู้ไว้มีลักษณะคล้�ยกับ

ก�รซ้อนป�กหีบที่มีลักษณะเล็กเท่�ตัวหีบจริง เพื่อสวมกันกับบริเวณส่วนที่เป็นฝ�

3.ส่วนฝ� คือส่วนที่ใช้ปิดตัวหีบมีลักษณะคล้�ยฝ�บ�ตรพระเพียงแต่มรูปทรง

สี่เหลี่ยม โดยจะสร้�งพอดีกันกับตัวหีบเวล�สวมปิดฝ� ส่วนที่เป็นฝ�นี้บริเวณด้�นบนของ

ฝ�จะใช้ไม้กระด�นต่อกันเข้�เดือยยึดกับด้�นข้�งทั้งสี่ด้�นประกอบกันเป็นรูปทรง ฝ�ด้�น

บนสุดจะเป็นแผ่นไม้กระด�นติดกันจนเป็นแผ่นเรียบเป็นเนื้อเดียวกันกับด้�นข้�งจะผ�ยออก

ตรงปล�ยเพื่อให้สวมสนิทกันกับส่วนที่เป็นส่วนตัวหีบ

ซึ่งหีบพระธรรมล้�นน�โดยทั่วไป มีลักษณะเป็นทรงลุ้ง ด้�นบนผ�ย ด้�นล่�งสอบ

เข้�ท�งด้�นใน มีอยู่สองแบบด้วยกันคือ แบบฝ�ตัด และแบบฝ�เรือนยอด

Page 18: Lanna dhamma book chest Phrae
Page 19: Lanna dhamma book chest Phrae

17 ตู้และหีบธรรม จังหวัดแพร่

การตกแต่งหีบพระธรรมล้านนา

หีบพระธรรมมีโครงสร้�งที่เป็นแผ่นไม้กระด�นประกอบกันเป็นกล่องลักษณะ

สี่เหลี่ยมแผ่นไม้กระด�นโดยรอบ ที่เป็นพื้นผิวรองรับง�นประดับตกแต่งได้เป็นอย่�งดี ช่�ง

ในสมัยโบร�ณจึงมักสร้�งลวดล�ยม�ประดับ เพื่อมิให้ดูแล้วเป็นเพียงกล่องไม้สี่เหลี่ยม

ธรรมด�โดยอ�ศัยเทคนิคและวิธีก�รที่ค่อนข้�งจะประณีตบรรจง เนื่องจ�กเป็นง�นที่สร้�ง

ขึ้นเพื่อเป็นพุทธบูช�ลวดล�ยประดับตกแต่งนี้จึงเป็นองค์ประกอบที่สำ�คัญของหีบพระ

ธรรม ส่งให้เห็นคุณค่�ท�งคว�มง�มของศิลปะล้�นน�ได้อย่�งชัดเจน

Page 20: Lanna dhamma book chest Phrae
Page 21: Lanna dhamma book chest Phrae

19 ตู้และหีบธรรม จังหวัดแพร่

ที่มาของลวดลาย

ในสมัยโบร�ณนิยมที่จะให้มีก�รสร้�งลวดล�ยต่�งๆ ขึ้นเพื่อใช้ประดับตกแต่ง

สถ�ปัตยกรรม ประติม�กรรม จิตรกรรม และง�นประณีตศิลป์ ลวดล�ยต่�งๆ เหล่�นี้จึงมิได้

เจ�ะจงใช้เฉพ�ะในง�นประเภทหนึ่ง แต่จะมีก�รถ่�ยเทรูปแบบให้แก่กัน ในง�นศิลปกรรม

ต่�งแขนงกันลวดล�ยประดับของหีบพระธรรมล้�นน�ก็ได้รับอิทธิพลจ�กลวดล�ยประดับ

ของง�นศิลปกรรมประเภทอื่นด้วยเช่นกัน ที่เห็นได้ชัดเจนคือ จ�กง�นจิตรกรรมและ

สถ�ปัตยกรรม จุดประสงค์ของช่�งก็เพื่อให้เกิดคุณค่�ท�งคว�มง�มยกระดับให้เป็นของใช้

ที่มีค่�สำ�หรับศ�สน� นอกจ�กนี้ ยังเป็นสื่อให้เกิดจินตนภ�พสร้�งอ�รมณ์ของบุคคลที่ได้

พบเห็นให้เข้�ถึงสัจธรรมของพระศ�สน�เป็นพื้นฐ�นเบื้องต้น

ลักษณะของลวดลาย

ลวดล�ยประดับหีบพระธรรม จัดว่�เป็นสิ่งที่มีคว�มสำ�คัญม�กเป็นคุณลักษณะ

เด่นที่สุดเพร�ะช่�งจะตกแต่งลวดล�ยด้วยเทคนิคต่�งกัน เพื่อให้ดูแล้วไม่เป็นเพียงแต่หีบ

ไม้ธรรมด�เท่�นั้นเทคนิคที่พบ เทคนิคก�รปรุกระด�ษล�ยรดน้ำ� ประดับกระจกกระแหนะ

คว�มง�มนั้นอยู่ที่ลวดล�ยและจังหวะของช่องไฟก�รจัดว�งองค์ประกอบ ลักษณะลวดล�ย

ส่วนใหญ่ที่ได้ม�จ�กลวดล�ยประดับของง�นศิลปกรรมประเภทอื่น นอกจ�กนี้ยังมีที่พิเศษ

คือ มีก�รเขียนภ�พเล่�เรื่อง เช่น ช�ดก ทศช�ติ เป็นต้น

Page 22: Lanna dhamma book chest Phrae
Page 23: Lanna dhamma book chest Phrae

21 ตู้และหีบธรรม จังหวัดแพร่

ลักษณะก�รประดับลวดล�ยที่ใช้ในหีบพระธรรม มักจะเป็นพื้นฐ�นของลวดล�ย

ไทย เช่น ล�ยก้�นขด ล�ยเครือเถ�ธรรมช�ติ โดยก�รประดิษฐ์จ�กเถ�ไม้ ใบไม้ ดอกไม้ ล�ย

รัศมีวงกลม ล�ยกระหนก เป็นต้น ส�นในโครงรูปสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน และล�ยประกอบ

อิสระ เช่น ภ�พเล่�เรื่องต่�งๆ โดยนำ�ไปใช้ต�มส่วนต่�งๆ ดังนี้

ก�รประกอบล�ยแนวนอน เช่น ล�ยหน้�กระด�น ล�ยท้องไม้ และส่วนฐ�นนิยม

ทำ�เป็นล�ยดอกไม้ ล�ยรัศมีทรงกลม ล�ยก้�นขด ล�ยก้�นแย่ง มีก�รใช้ล�ยประจำ�ย�ม

หรือล�ยประจำ�ย�มผสมกระหนกในส่วนที่เป็นฐ�นหีบพระธรรมล้�นน� มักจะไม่ใช้ล�ย

กระหนกม�กนักเนื่องจ�กเป็นคว�มเชื่อว่�เป็นล�ยที่ร้อนไม่เป็นมงคล

ก�รประกอบล�ยต�มแนวตั้ง เช่น ล�ยเส� ของต่�งๆ นิยมใช้ล�ยดังนี้ ล�ยก้�น

แย่ง คือก�รแตกล�ยออกไปทั้งสองข้�งเท่�กัน ล�ยเครือเถ�นำ�ม�จ�กก�รเลื้อยของเถ�ไม้

ต�มแนวตั้ง ส่วนลวดล�ยที่เป็นก�รแสดงภ�พเล่�เรื่อง เป็นภ�พช�ดก ทศช�ติ ลักษณะของ

ลวดล�ยถึงแม้จะยึดถือต�มแบบประเพณี แต่ก็ได้สอดแทรกลักษณะอันเป็นส่วนบุคคลลง

ไปในง�นด้วย ช่�งจะแสดงถึงลักษณะสิ่งแวดล้อมรอบตัว องค์ประกอบของสังคมในสมัยนั้น

จ�กภ�พ เครื่องใช้ เครื่องพิธีกรรม ก�รแต่งก�ย ซึ่งเป็นลักษณะเฉพ�ะตัวของท้องถิ่น

Page 24: Lanna dhamma book chest Phrae
Page 25: Lanna dhamma book chest Phrae

23 ตู้และหีบธรรม จังหวัดแพร่

ลักษณะของพื้นผิว

ลักษณะของพื้นผิวในง�นลวดล�ยหีบพระธรรมล้�นน� ขึ้นอยู่กับเทคนิคต่�งๆ

ที่ช่�งใช้ ซึ่งเทคนิคก็จะแสดงออกถึงลักษณะพื้นผิว อ�รมณ์คว�มรู้สึกที่แตกต่�งกัน

เนื่องจ�กวัสดุที่ใช้ทำ�หีบพระธรรมนั้นเป็นไม้ซึ่งส�มรถแปลงก�รประดับตกแต่งได้หล�ย

ประเภท ลักษณะพื้นผิวจึงมีลักษณะแตกต่�งกันออกไป

พื้นผิวเทคนิคล�ยรดน ้ำ� เทคนิคนี้ส�ม�รถตกแต่งได้อย่�งละเอียดและชัดเจนที่สุด

แต่ก็เป็นเทคนิคที่มีกรทำ�ซับซ้อนม�กที่สุดอีกด้วย ลักษณะล�ยพื้นผิวจะเรียบมัน มีคว�ม

แววว�วจ�ก ก�รปิดทอง เกิดคว�มสว่�ง เสริมให้ง�นตู้และหีบพระธรรมล้�นน�มีค่�

ม�กยิ่งขึ้น

พื้นผิวล�ยปรุกระด�ษ พบม�กในหีบพระธรรมล้�นน� จะใช้ลวดล�ยที่ซ ้ำ�ๆเป็น

จังหวะที่เท่�กัน คว�มละเอียดของล�ยจะไม่ละเอียดม�กเท่�กับล�ยรดน้ำ� แต่ยังคงคว�ม

เป็นระเบียบอยู่ม�ก พื้นผิวจะหย�บกว่�พื้นผิวล�ยรดน้ำ� แต่ยังคงคว�มแววว�วของทองให้

เห็นอยู่

พื้นผิวเทคนิคก�รเขียนรักปิดทอง อ�จทำ�ให้เกิดคว�มละเอียดประณีต หรือหย�บ

ขึ้นอยู่กับฝีมือของช่�งแต่ละบุคคล

พื้นผิวที่เกิดจ�กเทคนิคก�รเขียนรักลงช�ด พบม�กเช่นเดียวกันกับเทคนิคล�ย

ประกบกระด�ษ พื้นผิวของรักจะดูดกลืนคว�มสว่�ง ชัดเจนไปม�ก ลวดล�ยช�ดสีแดงจึง

ไม่ชัดเจนเท่�ใดนัก

พื้นผิวที่เกิดจ�กเทคนิคปูนปั้นรักกระแหนะ มีลักษณะเป็นนูนต ่ำ� ให้คว�มสำ�คัญ

ของลวดล�ยม�ก ให้คว�มรู้สึกที่หย�บกระด้�งกว่�เทคนิคอื่นๆ โดยม�กไม่มีก�รปิดทอง

ทับ

พื้นผิวที่เกิดจ�กเทคนิคก�รติดแก้วอังวะ เทคนิคก�รประดับกระจกให้เกิดคว�ม

รู้สึกแววว�วระยิบระยับต�จ�กก�รหักเหของแสงที่ม�ตกกระทบ เกิดมิติบนเนื้อไม้ พื้นผิว

แต่ละชนิดของเทคนิคต่�งๆ จะนำ�ม�ซึ่งคว�มรู้สึกต่�งกัน ช่�งในสมัยโบร�ณมีคว�มถนัดใน

แต่ละเทคนิค จึงสร้�งสรรค์ผลง�นออกม�อย่�งหล�กหล�ยขึ้นอยู่กับแต่ละบุคคล

Page 26: Lanna dhamma book chest Phrae
Page 27: Lanna dhamma book chest Phrae

25 ตู้และหีบธรรม จังหวัดแพร่

การจำาแนกข้อมูลตู้และหีบพระธรรม

ตู้และหีบพระธรรมภ�ยในวัดสูงเม่นและวัดพระธ�ตุหลวงเนิ้ง ซึ่งตู้และหีบพระ

ธรรมที่พบในทั้งสองวัดก็จะมีรูปทรงเทคนิคก�รตกแต่งและร�ยละเอียดของลวดล�ยที่แตก

ต่�งกันออกไปไม่เหมือนกัน

หีบพระธรรมรูปทรงสี่เหลี่ยมคางหมู

รูปสี่เหลี่ยมรูปหนึ่งจะเป็นรูปสี่เหลี่ยมค�งหมู ก็ต่อเมื่อมุมที่อยู่ติดกันรวมเป็นมุม

ประกอบสองมุมฉ�ก (180 องศ�) จำ�นวนสองคู่ เงื่อนไขอีกอย่�งหนึ่งที่สำ�คัญและเพียงพอ

คือ เส้นทแยงมุมตัดกันด้วยอัตร�ส่วนของคว�มย�วเท่�กัน (ค่�นี้เป็นค่�เดียวกับอัตร�ส่วน

ระหว่�งด้�นคู่ขน�น) กล่�วคือ หีบพระธรรมที่มีลักษณะรูปทรงก้นแคบแต่ป�กหีบผ�ย

ออก หีบพระธรรมที่มีรูปทรงในลักษณะนี้ จะถูกจัดให้อยู่ในกลุ่มของหีบพระธรรมรูปทรง

สี่เหลี่ยมค�งหมู

ลักษณะรูปทรงของตัวหีบพระธรรมในส่วนล่�งของตัวหีบจะมีลักษณะแคบกว่�

บริเวณป�กหีบ คือ ก้นแคบป�กผ�ยออก

ฝาหีบพระธรรม

ตัวฝ�หีบพระธรรมก็จะมีลักษณะคล้�ยกันกับตัวหีบพระธรรม แต่กลับกันตรงที่

ฝ�หีบนั้นจะมีลักษณะสอบเข้� มี 2 ลักษณะด้วยกับ คือ แบบฝ�ตัด และฝ�คุ่ม

ฐานหีบพระธรรม ฐ�นหีบพระธรรมส่วนใหญ่จะนิยมทำ�ฐ�นหีบธรรมเป็นฐ�นบัวหรือฐ�นปัทม์ธรรม

ลูกแก้วออกไก่ ฐ�นสอบ คล้�ยกับฐ�นของตู้พระธรรมทรงสี่เหลี่ยมผืนผ้�แต่มีลักษณะที่

เตี้ยกว่�

Page 28: Lanna dhamma book chest Phrae
Page 29: Lanna dhamma book chest Phrae

27 ตู้และหีบธรรม จังหวัดแพร่

ตู้พระธรรมทรงตู้

ลักษณะของตู้พระธรรมทรงตู้ ก็กล่�วคือ ตู้ที่มีลักษณะ มีประตู เปิด – ปิด ด้�น

หน้� และมีลักษณะรูปทรงสี่เหลี่ยมอ�จจะมีข�หรือไม่มีข� แต่ขอมีประตูสำ�หรับ ปิด – เปิด

ก็จะจำ�แนกจัดอยู่ในกลุ่มของตู้พระธรรมทรงตู้

ตัวตู้พระธรรม ตัวตู้เป็นรูปทรงสี่เหลี่ยมผืนผ้� ด้�นหน้�ของตู้ มีประตู เปิด – ปิด ได้สองบ�น โดย

ใช้บ�นพับเป็นตัวยึด

ฐานตู้พระธรรม มีลักษณะเป็นฐ�นข�หมู แบบมีลิ้นชักและไม่มีลิ้นชัก

Page 30: Lanna dhamma book chest Phrae
Page 31: Lanna dhamma book chest Phrae

29 ตู้และหีบธรรม จังหวัดแพร่

ตู้พระธรรมทรงสี่เหลี่ยมผืนผ้า

รูปสี่เหลี่ยมชนิดหนึ่งที่มุมทั้งสี่ของมันเป็นมุมฉ�ก ส่วนคำ�ว่� รูปสี่เหลี่ยมผืนผ้�

หม�ยถึงรูปสี่เหลี่ยมมุมฉ�กที่ไม่ใช่รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส หีบธรรมนั้นก็จะจัดอยู่ในกลุ่มของรูป

ทรงสี่เหลี่ยมผืนผ้�

ตัวหีบธรรม เป็นรูปทรงสี่เหลี่ยมผืนผ้� มีด้�นกว้�งคูณด้�นย�ว

ฐานตู้พระธรรม เป็นฐ�นบัว ลูกแก้วอกไก่ ต�มีลักษณะคว�มสูงค่อนข้�งม�กกว่�ฐ�นหีบพระธรรม

ทรงสี่เหลี่ยมค�งหมู

Page 32: Lanna dhamma book chest Phrae
Page 33: Lanna dhamma book chest Phrae

31 ตู้และหีบธรรม จังหวัดแพร่

การจำาแนกตามเทคนิคตกแต่งของตู้และหีบพระธรรม

เทคนิคลายรดน้ำา

ลวดล�ยหรือภ�พรวมไปถึงภ�พประกอบล�ยต่�งๆ ที่ปิดด้วยทองคำ�เปลวบนพื้น

รัก โดยลวดล�ยหรือภ�พล�ยทองที่ปร�กฏ สำ�เร็จในขั้นสุดท้�ยด้วยก�รเอ�น้ำ�รด กล่�ว

โดยย่อ “ล�ยรดน้ำ�” คือ ล�ยทองที่ล้�งด้วยน้ำ� ล�ยรดน้ำ�จัดเป็นง�นประณีตศิลป์ ประเภท

ก�รตกแต่งประเภทหนึ่ง ลักษณะพิเศษของล�ยรดน้ำ� คือ มีกรรมวิธีในก�ร เขียนผิดแผก

แตกต่�งไปจ�กง�นจิตรกรรมทั่วไป ที่ใช้สีหล�ยสี หรือแม้แต่ง�นจิตรกรรมประเภทเอกรงค์

เองก็ต�ม ที่เป็นเช่นนี้ เพร�ะก�รเขียนล�ยรดน้ำ� ใช้น ้ำ�ย�หรด�ลเขียนบนพื้นซึ่งท�ด้วยย�งที่

ได้จ�กต้นรัก เมื่อเขียนเสร็จแล้วจึงเช็ดรัก ปิดทองแล้วเอ�น้ำ�รดน้ำ�ย�หรด�ลที่เขียน เมื่อถูก

น้ำ�ก็จะหลุดออก ส่วนที่เป็นลวดล�ยทองก็ติดอยู่ ทำ�ให้ลวดล�ยหรือรูปภ�พที่ปร�กฏหลัง

ก�รรดน้ำ�เป็นสีทองเพียงสีเดียว บนพื้นสีดำ�หรือสีแดง

เทคนิคล�ยรดน ้ำ�นี้เป็นเทคนิคที่ทำ�สืบเนื่องกันม�แต่โบร�ณ จัดเป็นง�นช่�งศิลป์

ประเภทหนึ่งซึ่งรวมอยู่ในช่�งรักอันเป็นช่�งหมู่ หนึ่งในบรรด�ช่�งหลวง หรือช่�งประจำ�ร�ช

สำ�นักซึ่งเรียกกันว่� “ช่�งสิบหมู่”

Page 34: Lanna dhamma book chest Phrae
Page 35: Lanna dhamma book chest Phrae

33 ตู้และหีบธรรม จังหวัดแพร่

เทคนิคฉลุลายกระดาษปิดทอง

เป็นก�รสร้�งลวดล�ยประดับตกแต่งโดย ใช้วิธีทำ�แบบลวดล�ยขึ้นบนกระด�ษ

บ้�ง หนังแพะบ้�ง แล้วฉลุตัวล�ยให้ข�ดเป็นช่องๆ ต�มรูปแบบล�ยนั้น ขึ้นไว้บนพื้นกระด�ษ

นั้น เมื่อจะทำ�ลวดล�ย ก็เอ�น้ำ�ย�ขึ้นไปท�พื้น ตรงที่จะทำ�ให้เป็นลวดล�ย แล้วเอ�แบบ

ลวดล�ยปะติดเข้�ตรงที่ต้องก�รให้ติดแน่น จึงเอ�ทองคำ�เปลวปิดลงตรงช่องที่เจ�ะ ทำ�เป็น

ตัวล�ยบนแบบนั้นให้ทั่ว พอทองจับติดพื้นดี แล้วจึงแกะแบบถอนออกจ�กพื้น ต�มแบบ

ล�ยฉลุที่ได้ทำ�ขึ้นเป็นแบบนั้น แบบล�ยฉลุนี้อ�จใช้ทำ�ลวดล�ยต่อเนื่องกันไปได้ไม่จำ�กัด

ลวดล�ย และวิธีทำ�ให้เกิดเป็นลวดล�ย ลักษณะเช่นนี้จึงเรียกว่� ง�นลงรักปิดทองฉลุล�ย

เทคนิคนี้จัดได้ว่�เป็นเทคนิคดั้งเดิมของช�วล้�นน� จะพบลักษณะง�นเทคนิค

ฉลุล�ยกระด�ษปิดทองเหล่�นี้ได้ต�มวัดล้�นน�ทั่วไปโดยเฉพ�ะวัดล้�นน�ที่มีอ�ยุเก่�แก่

Page 36: Lanna dhamma book chest Phrae
Page 37: Lanna dhamma book chest Phrae

35 ตู้และหีบธรรม จังหวัดแพร่

เทคนิคปั้นรักประดับกระจก

เป็นเทคนิคก�รสร้�งลวดล�ยประดับโดยเริ่มจ�กก�รนำ�เอ�รักที่ผ่�นก�รกรอง

เรียบร้อยแล้ว นำ�เอ�ม�ท�ในบริเวณที่ต้องก�รประดับกระจก บ�งที่ก็อ�จจะใช้ช�ดสีแดง

ห�บนพื้นรัก จ�กนั้นก็นำ�เอ�กระจกสีต่�งๆ หรือที่เรียกกันว่� กระจกจืน ม�ติดบริเวณที่

ต้องก�ร โดยก�รตัดแต่งรูปทรงต�มคว�มต้องก�รของช่�ง อ�จจะทำ�เป็นจุดไข่ปล� ล�ย

ประจำ�ย�ม ล�ยพันธ์พฤกษ� เป็นต้น เทคนิคนี้เป็นเทคนิคที่ได้ม�จ�กช่�งพม่� ซึ่งพบได้จ�ก

ง�นเครื่องเขินนั้นเอง

Page 38: Lanna dhamma book chest Phrae
Page 39: Lanna dhamma book chest Phrae

37 ตู้และหีบธรรม จังหวัดแพร่

เทคนิคเขียนชาด

เป็นเทคนิคก�รสร้�งลวดล�ยโดยก�รเขียนสี โดยไม่มีก�รใช้ทองในก�รประดับ

ตกแต่ง หรือมีทองบ้�งเพียงน้อยนิด ซึ่งเทคนิคนี้ ก็ไม่ต่�งจ�กเทคนิคทั่วไปโดยก�รเขียน

ช�ดลงไปในพื้นรัก เป็นเส้นดอกไม้ เครือเถ� และล�ยพันธ์พฤกษ� อ�จจะหม�ยคว�มได้ว่�

จะพบในกลุ่มช่�งต�มชนบทที่ไม่มีก�รใช้ทอง แต่ใช้ช�ดในก�รเขียนลวดล�ยประดับตกแต่ง

ในตัวตู้หรือหีบพระธรรมแทน

Page 40: Lanna dhamma book chest Phrae
Page 41: Lanna dhamma book chest Phrae

39 ตู้และหีบธรรม จังหวัดแพร่

การจำาแนกตามลวดลายประดับตกแต่งของตู้และหีบธรรม

กลุ่มลวดลายที่ใช้สัญลักษณ์เป็นหลัก

ลวดล�ยประดับตกแต่งที่ปร�กฏอยู่ในตู้และหีบพระธรรม ลักษณะเป็นลวดล�ย

ประดับที่ต้องก�รใช้สัญลักษณ์ในก�รสื่อคว�มหม�ยออกม� แทนคว�มหม�ยในท�ง

พระพุทธศ�สน� และเพื่อให้ตัวล�ยนั้นเป็นตัวแทนของพุทธศ�สนิกชน

ภาพบุคคล หรือเทวดา

เป็นภ�พที่มีก�รประดับตกแต่งโดยที่มีลักษณะเป็นตัวภ�พบุคคล หรือตัวเทวด�

เป็นสัญลักษณ์ในก�รสร้�งเพื่อเป็นก�รแทนก�รสักก�ระบูช�พุทธศ�สน� เช่น ตัวภ�พพนม

มือบนตัวหีบพระธรรม ก็อ�จจะหม�ยคว�มได้ว่� เป็นก�รสักก�ระคำ�สอนของพระพุทธเจ้�

แต่แสดงออกม�เป็นตัวแทนในเชิงสัญลักษณ์ ต่อผู้ที่สร้�งหีบพระธรรมใบนี้ก็แสดงถึงคว�ม

ศรัทธ�ต่อพระพุทธศ�สน�

Page 42: Lanna dhamma book chest Phrae
Page 43: Lanna dhamma book chest Phrae

41 ตู้และหีบธรรม จังหวัดแพร่

ตัวภาพหม้อบูรณฆฏะ

เป็นตัวภ�พที่สื่อถึงคติคว�มเชื่อของช�วล้�นน�ได้อย่�งชัดเจน คือ คว�มหม�ย

ของหม้อบูรณฆฏะ เป็นหม้อแห่งคว�มอุดมสมบูรณ์ คนล้�นน�เชื่อว่�ดอกไม้ คือ สิ่งที่

สวยง�มและมีคุณค่�ในตัวเอง ดอกไม้ทุกดอกจะส่งกลิ่นหอมหวน และเมื่อนำ�ม�รวม

กันในหม้อไหดอกบูรณฆฏะแล้ว กลิ่นหอมและคว�มหล�กหล�ยที่ม�รวมกันนั้น จะยิ่ง

ใหญ่ประม�ณไม่ได้ โดยสิ่งที่จะกล่�วถึงต่อไปนี้ก็คือ คำ�ว่� บูรณฆฏะ ที่ใช้ในก�รบูช�

พระพุทธเจ้� ที่แสดงถึงคว�มศรัทธ�ที่มีต่อพระพุทธศ�สน�

Page 44: Lanna dhamma book chest Phrae
Page 45: Lanna dhamma book chest Phrae

43 ตู้และหีบธรรม จังหวัดแพร่

ตัวภาพวัด หรือปราสาท

ตัวภ�พวัดหรือปร�ส�ทที่นำ�ม�เป็นลวดล�ยประดับบนตัวหีบพระธรรมนั้นพบ

น้อยม�ก โดยส่วนใหณ่จะเป็นลวดล�ยที่สร้�งสรรค์ขึ้นม�จ�กช่�งผู้ที่ศรัทธ�ต่อวัดนั้นๆ

และสร้�งขึ้นม�เพื่อที่จะถว�ยแก่วัด ตัวลวดล�ยประดับจึงเป็นตัววิห�ร หรือตัวอุโบสถ ไม่ก็

เป็น ตัวเจดีย์ ที่จะแสดงให้เห็นถึง คว�มศรัทธ�ที่มีต่อวัดนั้นๆ

ตัวภาพผสม

เป็นกลุ่มภ�พเชิงสัญลักษณ์ ที่มีคว�มหม�ยในตัวภ�พนั้นๆ ซึ่งอ�จจะประกอบไป

ด้วยตัวเหตุก�รณ์ หรือ ตัวภ�พบุคคลที่แสดงถึงเรื่องร�ว ซึ่งเร�เรียกตัวภ�พกลุ่มนี้ว่� กลุ่ม

ภ�พเชิงสัญลักษณ์แบบผสม

Page 46: Lanna dhamma book chest Phrae
Page 47: Lanna dhamma book chest Phrae

45 ตู้และหีบธรรม จังหวัดแพร่

กลุ่มที่ใช้ลวดลายประดับตกแต่งเป็นหลัก

กลุ่มที่ใช้ลวดล�ยประดับตกแต่งนี้จะเน้นลวดล�ยประดับที่มีคว�มสวยง�มเป็น

หลัก ไม่มีภ�พเล่�เรื่อง ตัวลวดล�ยไม่มีคว�มหม�ยแอบแฝง

ลายพันธ์พฤกษา

คือ ลวดล�ยประดับตกแต่งที่มีลักษณะเป็นล�ยธรรมช�ติ เช่น ดอกไม้ ใบไม้ เครือ

เถ�ต่�งๆ ที่มีรูปทรงอิสระพลิ้วไหว ส่วนม�กมักจะอยู่ในฐ�นวงกลมเป็นส่วนใหญ่ รวมไปถึง

กระทั่งล�ยดอกไม้ประดิษฐ์ด้วย ล�ยพันธ์พฤกษ�นี้โดยส่วนใหญ่แล้ว มักจะพบม�ที่สุดใน

ก�รตกแต่งลวดล�ยบนตัวหีบพระธรรม

Page 48: Lanna dhamma book chest Phrae
Page 49: Lanna dhamma book chest Phrae

47 ตู้และหีบธรรม จังหวัดแพร่

ลวดลายผสม

คือ ลวดล�ยประดับ ที่มีก�รผสมล�ยกัน อย่�งตัวล�ยประจำ�ย�ม ล�ยพันธ์

พฤกษ� ล�ยเรข�คณิต หรือเพียงแค่ 2 อย่�ง ก็เรียกว่�ล�ยผสม ล�ยผสมนี้ ถือว่�พบค่อน

ข้�งม�กในกลุ่มลวดล�ยประดับตกแต่งเพื่อคว�มสวยง�ม

ตู้และหีบพระธรรมภ�ยในวัดสูงเม่นและวัดพระหลวงธ�ตุเนิ้ง พบตู้และหีบพระ

ธรรมซึ่งส�ม�รถจำ�แนกรูปทรงของตู้และหีบพระธรรมได้ 3 รูปทรง ได้แก่ รูปทรงตู้ รูปทรง

สี่เหลี่ยมผืนผ้� และรูปทรงสี่เหลี่ยมค�งหมู

จ�กรูปทรงของตู้พระธรรมและหีบพระธรรม ที่พบม�กที่สุดคือ ตู้พระธรรมทรงตู้

ซึ่งเป็นรูปทรงที่ม�จ�กท�งภ�คกล�ง ส่วนใหญ่ทรงตู้จะมีม�กในวัดพระหลวงธ�ตุเนิ้ง และ

นอกจ�กนี้ ยังมี ตู้พระธรรมทรงสี่เหลี่ยมผืนผ้� และหีบพระธรรมทรงสี่เหลี่ยมค�งหมู ซึ่งมี

เทคนิคก�รตกแต่งที่ส�ม�รถจำ�แนกออกม�ได้อีก 4 เทคนิค ได้แก่ เทคนิคล�ยรดน้ำ� เทคนิค

ฉลุล�ยกระด�ษปิดทอง เทคนิคปั้นรักประดับกระจก และเทคนิคเขียนช�ด

เทคนิคก�รประดับตกแต่งที่พบม�กที่สุด คือ เทคนิคฉลุล�ยกระด�ษปิดทอง ซึ่ง

เป็นเทคนิคที่มีม�ตั้งแต่โบร�ณ ส่วนเทคนิคล�ยรดน้ำ� ปั้นรักประดับกระจก และเขียนช�ด

ก็มีบ้�ง แต่ไม่ม�กนัก ลวดล�ยที่นิยมนำ�ม�ตกแต่งตัวตู้และหีบพระธรรมนั้น จะเป็นตัวล�ย

สัญลักษณ์และล�ยพันพฤกษ� เนื่องจ�กช�วบ้�นอ�จจะศรัทธ�ต่อพระพุทธศ�สน�ม�ก

และใกล้ชิดกับธรรมช�ติ จึงมักจะสร้�งตู้และหีบพระธรรมที่มีลวดล�ยประดับเหล่�นี้ แบ่ง

เป็น 2 กลุ่ม ได้แก่

ลวดล�ยสัญลักษณ์เป็นหลัก คือ ภ�พบุคคล และภ�พผสม

ลวดล�ยประดับตกแต่งเป็นหลัก คือ ล�ยพันธุ์พฤกษ� และล�ยผสม

Page 50: Lanna dhamma book chest Phrae

ตู้และหีบธรรม จังหวัดแพร่

© 2015 (พ.ศ. 2558) โดย พันธวัช ภิราญคำา

สงวนลิขสิทธิ์ พิมพ์ครั้งแรกเมื่อ ตุลาคม พ.ศ. 2558

จัดพิมพ์โดย ภาควิชาศิลปะไทย คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

เรียบเรียงและออกแบบโดย พันธวัช ภิราญคำา

ออกแบบโดยใช้ฟอนท์ TH Niramit AS

หนังสือเล่มนี้เป็นส่วนหนึ่งของการเรียนการสอน

เพื่อส่งเสริมและต่อยอดศักยภาพการศึกษา

ภายในภาควิชาศิลปะไทย คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม

Page 51: Lanna dhamma book chest Phrae
Page 52: Lanna dhamma book chest Phrae