g-magazine volume 04 issue 07: 2013 - 5.47 mb

20
ARCHITECTURE > INTERIOR > DESIGN > LIFESTYLE VOLUME 04 ISSUE 07:2013 WORLD MEDICAL CENTER YOUR WORLD OF HEALTH & HAPPINESS world architecture festival winners 2012

Upload: vucong

Post on 11-Feb-2017

234 views

Category:

Documents


12 download

TRANSCRIPT

Page 1: G-Magazine Volume 04 Issue 07: 2013 - 5.47 MB

ARCH

ITEC

TURE

>INT

ERIO

R >DE

SIGN

>LIF

ESTY

LEVO

LUM

E 04

ISSU

E 07

:201

3

WORLDMEDICAL CENTERYOUR WORLD OF HEALTH & HAPPINESS world architecturefestival winners 2012

Page 2: G-Magazine Volume 04 Issue 07: 2013 - 5.47 MB

G GREETING

เขาสูหนาฝนอยางเต็มรูปแบบดวยทัศนวิสัยของทองฟาที่มืดครื้มพรอมทั้งฝนตกหนักเบาสลับกันไปแตละพื้นที่เกือบตลอดทั้งเดือนกรกฎาคมที่ผานไป ชวงนี้จึงตามมาดวยขาวน้ำทวม ดินโคลนถลม พายุพัดบานเรือน

สรางความเสียหายใหกับชาวบานในหลายจังหวัด หลายทานที่มีประสบการณจากน้ำทวมใหญป 54 คงติดตามขาวความแปรปรวนของธรรมชาติ

ที่นับวันจะยิ่งเพิ่มมากขึ้นอยางใกลชิดและหวังไววาภัยพิบัติตางๆ จะไมสรางความเดือดรอนใหกับทุกทานกันนะคะ

อยางไรก็ตามอากาศครึ้มฟาครึ้มฝนชวงนี้จะทำใหเราเจ็บปวยไดงายดูแลสุขภาพใหแข็งแรง พักผอนเพียงพอ จะชวยไดมากคะ

ในสวนของ G Magazine ของเราฉบับนี้ ตอนรับหนาฝนใหไดชุมฉ่ำกัน ดวยการพาไปรูจักกับโรงพยาบาลแหงใหมลาสุดของกรุงเทพฯ

ที่เพิ่งเปดใหบริการไปเมื่อตนปที่ผานมานี่เอง นั่นคือ “เวิลดเมดิคอลเซ็นเตอร”ผลงานการออกแบบของ Real Estate Planning Consultants

ของคุณพจน สุยะสินธุ ที่จะเปลี่ยนภาพและความคิดของการเขาโรงพยาบาลแบบที่วาไมเจ็บปวยก็มาโรงพยาบาลได ใน Perspective

วาบรรยากาศของโรงพยาบาลสมัยใหมจะเปนอยางไรรวมไปถึงบทสัมภาษณพิเศษใน Interview กับคุณวิกรม จันทรวรชัยกุล

Engineering Director บริษัท บางกอก เชน ฮอสปทอล จํากัด (มหาชน)กับแนวคิดที่มาของโครงการเวิลดเมดิคอลเซ็นเตอร จากนั้นเรื่องพิเศษพบกับWorld Architecture Festival Winners 2012 รางวัลสถาปตยกรรมของโลก

ที่จัดกันมาตอเนื่องตั้งแตป 2008 ไปดูตัวอยางงานไดรางวัลที่นาสนใจโดยเฉพาะงานในเอเชียแถวๆ บานเรานี่เอง ใน G Special

และสาระประโยชนอื่นๆ ในคอลัมนประจำยังคงครบถวนเหมือนเชนเคยสุดทายหากตองการเสนอแนะเพื่อใหปรับปรุงเนื้อหาในเรื่องใด

กรุณาสงมาไดนะคะ ยินดีนอมรับทุกคำติชมคะ

กองบรรณาธิการบริษัท ไทยผลิตภัณฑยิบซั่ม จำกัด (มหาชน)

กลับมาพบกันในฉบับนี้ทามกลางความรอนอบอาวของอากาศในบานเราที่กำลังจะยางเขาสูหนาฝน จากการติดตามขาวสารกันอยูประจำจะสังเกตเห็นวาทุกวันนี้ขาวพยากรณดินฟาอากาศกลายเปนขาวที่อยูในความสนใจของผูคนที่ตองติดตาม

โดยเฉพาะคนกรุงเทพฯ เมื่อเขาหนาฝนผสมกับเรื่่องจราจรรถติด ดวยทุกคนตางไดรับผลกระทบจากธรรมชาติในการดำรงชีวิตไมมากก็นอย ความเปลี่ยนแปลงทาง

ธรรมชาติที่เกิดขึ้นจึงเปนเรื่องที่ทุกคนสนใจใครติดตาม และเพื่อเขากับอุณหภูมิรอนๆของอากาศและบรรยากาศรอนแรงทางการเมืองกอนการเลือกตั้ง ยิปรอคจึงถือเปน

โอกาสดีในการเปดตัวผลิตภัณฑที่ถือเปนนวัตกรรมใหมที่พวกเราภูมิใจนำเสนอนั่นคือ ”แผนยิปซัมกันรอนพิเศษ ยิปรอค เทอรมัลไลน“ แผนยิปซัมกันรอนพิเศษ

มากกวาแผนยิปซัมธรรมดาถึง 5 เทา ทั้งยังปลอดภัยดวยฉนวนโฟมชนิดไมลามไฟผานการทดสอบตามมาตรฐานประเทศญี่ปุน JIS A 9511 พรอมกันนี้ยังเปดตัว

ภาพยนตรโฆษณาชุดใหม “ยิปรอค กันรอน 5 เทา” ที่จะบอกเรื่องราวการบอกลาความรอน เมื่อติดตั้งยิปรอค เทอรมัลไลน ทั้งนี้เพื่อเปนการตอกย้ำการเปนผูนำ

นวัตกรรมระบบผนังและฝาเพดาน ที่ไมหยุดนิ่งที่จะพัฒนาผลิตภัณฑเพื่อตอบสนองคุณภาพชีวิตที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอมอยูเสมอ

สำหรับสาระประโยชนที่นาสนใจในฉบับนี้ยังคงครบถวนเหมือนเชนเคยในเรื่องพิเศษ “การออกแบบเพื่อสภาพแวดลอม Environmental Graphic Design” (EGD)

งานที่กำลังเปนที่นาสนใจในไทยทั้งในสวนของผูประกอบวิชาชีพ สถาปนิก นักออกแบบไปจนถึงเจาของโครงการที่นับวันไดใหความสำคัญกับ EGD มากขึ้นเรื่อยๆ

อานรายละเอียดเพิ่มเติมไดใน G Special ตอเนื่องกับเรื่องพิเศษจะพาไปรูจักกับ G49บริษัทที่ใหบริการดาน Environmental Graphic Design โดยเฉพาะ ติดตามได

ใน Architect Talk จากนั้นขอแนะนำอาคารที่เปนศูนยจัดเก็บและใหบริการขอมูลอันมีคาทางประวัติศาสตรตั้งแตสิ่งพิมพ ภาพถาย เอกสารจดหมายเหตุของพระบรมราชจักรีวงศ

“โครงการศูนยสารสนเทศ สำนักราชเลขาธิการ” ผลงานการออกแบบของ A49ใน Perspective และบทสนทนากับสถาปนิกรับเชิญฉบับนี้คุยกับคุณชา รัชชนันท

Executive Director บริษัท Architect & Associates Co.,Ltd. ใน Interviewทายนี้หวังวาเนื้อหาสาระที่ทีมงานตั้งใจจัดทำจะเปนประโยชนตอทุกทานคะ

กองบรรณาธิการบริษัท ไทยผลิตภัณฑยิบซั่ม จำกัด (มหาชน)

Page 3: G-Magazine Volume 04 Issue 07: 2013 - 5.47 MB

ARCH ITECTU RE>I NTERIOR>DESIGN>LI FESTYLE 03

CONTENTS

เจาของ : บร�ษัท ไทยผลิตภัณฑยิบซั่ม จำกัด (มหาชน) อาคารมหานครยิบซั่ม 539/2 ถนนศร�อยุธยา เขตราชเทว� กรุงเทพฯ 10400

โทรศัพท (662) 0-2640-8600 โทรสาร (662) 0-2640-8770 www.gyproc.co.th E-mail: [email protected]

ที่ปร�กษา : ศิร�นทรา จิตตราวงศ ผูจัดการฝายกลยุทธและการตลาด

บรรณาธิการผูจัดทำ : ฝายการตลาด บร�ษัท ไทยผลิตภัณฑยิบซั่ม จำกัด (มหาชน)

นันทิภัคค บุนนาค ผูจัดการแผนกสื่อสารการตลาด

ณุชรัศมิ์ วุฒิสวัสดิ์ หัวหนาแผนกสื่อสารการตลาด

ออกแบบและจัดทำเนื้อหาโดย : บร�ษัท ฮุยเลฮุย จำกัด 250/107 ถนนโชคชัย 4 แขวงลาดพราว เขตลาดพราว กรุงเทพฯ 10230

โทรศัพท (662) 0-2514-3896-8 โทรสาร (662) 0-2514-3894 www.huilayhui.com E-mail: [email protected]

ทรรศนะหร�อความคิดใดๆ ของผูเข�ยน ที่ปรากฏในนิตยสาร G Magazine เปนทรรศนะหร�อความคิดเห็นของผูเข�ยนเอง โดยมิไดมาจาก

บร�ษัท ไทยผลิตภัณฑยิบซั่ม จำกัด (มหาชน) แตอยางใด

03

2612

08 22

28

24

16

ARCHITECTUREINTERIOR>DESIGN>LIFESTYLE

18

pErspective

ภาพของโรงพยาบาลในอดีตที่เราเคยพบแบบเดิมที่แลดูหดหู ถาไดลองเขาไปโรงพยาบาลแตละครั้งจะตองพบกับภาพคนปวยแสนทุกขนั่งรอคิวตรวจจากหมอ เตียงในวอรดที่คราคร่ำไปดวยคนเจ็บนอนรายเร�ยงกันอยางแออัด ภาพเหลานี้เปนสาเหตุของการทำใหโรงพยาบาลในสายตาคนทั่วไปเปนสถานที่ๆ ไมอยากเขาใกล ไมมาโดยไมจำเปน แตในปจจ�บันหากเราลองมองดูโรงพยาบาลสมัยใหม ที่ไมจำเปนตองดูแลวเปนโรงพยาบาลแบบเดิมแสนคร่ำคร�ก็ได ขอบกพรองในเร�่องการสรางความเปนมิตรตอประชาชนไดเปลี่ยนไปมากเสียแลว แตอะไรคือแนวคิดใหภาพลักษณของงานสถาปตยกรรมโรงพยาบาลเปลี่ยนไปได

World Medical Center Quality by Design

ARCHITECTURE > INTERIOR > DESIGN > LIFESTYLEVOLUME 04 : ISSUE 07/2013

< PERSPECTIVE > 03 WORLD MEDICAL CENTER

< INTERVIEW > 08 ว�กรม จันทรวรชัยกุล ENGINEERING DIRECTOR BANGKOK CHAIN HOSPITAL PUBLIC COMPANY LIIMITED

<G REFERENCE > 12 TITANIC SIGNATURE BUILDING พ�พ�ธภัณฑศิลปะไทยรวมสมัย MOCA โรงพยาบาลเว�ลดเมดิคอลเซ็นเตอร

< G HI-LIGHT > 16 Gyproc ThermaLine® GypCote TOTAL Gypwall™ ROBUST Gyptone® ACTIV air

< G SPECIAL > 18 WORLD ARCHITECTURE FESTIVAL WINNERS 2012

< CORNER > 22 ARCHITECTURE/BLUR/BOUNDARY มองสถาปตยกรรมผานเลนส

< ARCHITECT TALK > 24 มุมมองแหงประสบการณ วัลลภ ใจสงเคราะห

< PROFILE > 26 CHINA CULTURAL CENTER BANGKOK, THAILAND

< G SOLUTIONS > 28 THERMAL SOLUTIONS

< G NEWS > 30 GYPROC ACTIVITIES

< G MOVEMENT > 31 ประกาศรายชื่อผูโชคดี แคมเปญยิปรอค ฉลอง 45 ป แจกทอง 45 บาท

< RECOMMENDED > 32 MELLOW RESTAURANT

< JOURNEY > 33 SHANGHAI MANSION

< GADGETS > 34 INNOVATION FOR BETTER LIVING

< G SOCIETY > 35 ARCHITECT ACTIVITIES

Page 4: G-Magazine Volume 04 Issue 07: 2013 - 5.47 MB

04 G MAGAZINE 07:2013 ARCH ITECTU RE>I NTERIOR>DESIGN>LI FESTYLE 05

ในปจจุบันประเทศไทยเปนจุดหมายปลายทางของคนไขจากทั่วทุกมุมโลกที่ตองการคุณภาพของโรงพยาบาลที่ดี มีมาตรฐานการรักษาที่มั่นใจไดและราคาไมส ูงเมื ่อเทียบกับประเทศอื ่นๆนั่นจึงเปนสาเหตุใหโรงพยาบาลเอกชนหลายแหงปรับตัวกันขนานใหญเพื่อรองรับการเปน MedicalHub ของประเทศไทย จากแนวคิดการเปนศูนยรองร ับผู ป วยในระดับพร ีเม ียมจากตางชาติ ภาพลักษณของโรงพยาบาลจึงถูกปรับปรุงใหแลดูทันสมัย สะอาด เขาถึงงาย การการันตีถึงคุณภาพโรงพยาบาลรุ นใหมเหลานี ้เราจึงไดพบกับการเขามาของชาวตางชาติจำนวนมากที่มาพักผอนพรอมกับมารักษาความเจ็บปวยในประเทศไทยบางโรงพยาบาลเม ื ่ อ เข าไปใช บร ิการแล วเราอาจนึกไดวาอยูประเทศทางตะวันออกกลางเลยทีเดียว เพราะลูกคาจากตางประเทศกลุมนี้เขามาใชบริการกันอยางเนืองแนน จากสภาพการณที่เกิดขึ้น บริษัท บางกอก เชน ฮอสปทอล จำกัด (มหาชน) จึงเกิดความตองการที่จะสรางศูนยการรักษาแบบครบวงจรของความเจ็บปวยหลากหลายที่รองรับคนไขกลุมที่อยูทางสวนเหนือของกรุงเทพมหานคร โดยไดเลือกท่ีต้ังโครงการท่ีถนนแจงวัฒนะไมไกลนักจากบริเวณเมืองทองธานี ซึ่งนับวาเปนยานที่เจริญมากขึ้นทุกวันจากกิจกรรมและความหนาแนนในประชากรที่ขยายตัวมาจากกรุงเทพมหานครในปจจุบัน จากแนวคิดและเหตุผลหลายประการ โครงการ World Medical Center จึงไดถูกสรางขึ้นเพื่อรองรับกลุมลูกคาในระดับสูงทั้งชาวไทยและชาวตางประเทศ “ไมเจ็บปวยก็มาโรงพยาบาลได” คุณพจน สุยะสินธุ MD จาก Real Estate Planning Consultants Co., Ltd. สำนักงานสถาปนิกผูออกแบบ World Medical Center บอกถึงแนวคิดเบ้ืองตนเพ่ือใชในการสรางกรอบการทำงานออกแบบช้ินน้ี ภายในโรงพยาบาลแหงนี ้ประกอบดวยการใชสอยที ่หลากหลาย รองรับกิจกรรมทั้งคลีนิคพิเศษ แพทยเฉพาะทางศ ูนย ห ัวใจท ี ่ม ีความเช ี ่ยวชาญจากเชนของโรงพยาบาลนี้ ศูนยโรคไต หูคอจมูก กายภาพบำบัด ไปจนถึงการบริการทางแพทยดานความงามดวยเชนกัน ทั้งความหลากหลายดูชวนสับสนแบบโรงพยาบาลทั่วไปที่สถาปนิกตองแกไข แลวโจทยทางจิตวิทยาก็เปนสิ่งที่ตองคำนึงถึงผูปวยในโลก

ยุคนี้ดวย สถาปนิกออกแบบใหพื้นที่ภายในมีความโออา ไมไดหดหู อยางกรณีที่แบรนดเดิมของโรงพยาบาลเปนสีมวง แตสถาปนิกก็ไมไดเลือกใชสีมวงเปนCorporate Identity ของงาน แตเลือกใชสีขาวครีมหรือสีโทนออนในหลายสวนเพื่อสื่อถึงความสะอาด อนามัย ความโลงโอโถง เนนไปยังเฉพาะสวนโถงตอนรับท่ีตองการสรางความเปนมิตรตอผูใชบริการ ซ่ึงเปนความประทับใจแรกพบของคนไขที่พื ้นที่สวนนี้ตองดูโปรง โอโถง เรียบหรู ดูลำลองและอนามัยจากสีขาวครีม เพ่ือขับภาพลักษณของโรงพยาบาลไดตามแนวคิดไมจำเปนตองเจ็บปวยก็มาโรงพยาบาลได คำวาการใชงานที่สะดวกสบายของสถาปนิกไมไดถูกตีความออกมาเปนแคการเรียงสวนใชสอยที่แสนวุนวายของพื้นที่การทำงานแพทยแบบโรงพยาบาลเดิมๆ เทานั้น ความสะดวกสบายไดกลายเปนการใหความสำคัญในเรื่องการเขาถึงสวนตางๆ ของโรงพยาบาลอยางมีประสิทธิภาพดวย การคิดถึงการลื่นไหลของผูเขาใชอาคารจึงเปนอีกสวนที่สถาปนิกคำนึงอยางมากเชนกัน การใชงานของอาคารถูกแบงออกเปนสามสวนหลัก สวนแรกคือ สวนปฏิบัติการที่ประกอบไปดวยสวน OPD อยูที่ชั้น 1 - 6 แลวคั่นดวยสวนตรงรอยตออาคาร ซึ่งเปนสวนชวยเบรคอาคารเปนสวนรวมงานระบบตางๆ กอนลงไปชั้นลาง เหนือสวนสวนข้ึนไปจะเปนสวนวอรดคนไขซึ่งออกแบบใหมีพื้นที่กวางถึง 35 - 40 ตารางเมตร และสวนสุดทายคือสวนจอดรถ ทั้งสามสวนนี้ลวนทำงานประสานกันอยางเปนระบบเพื่อการไหลเวียนที่ดีของอาคาร จากที่จอดรถสามารถเขามายังลิฟทเพื่อขึ้นไปสวนวอรดคนไขไดโดยตรง หรือการใชงานสวนบริการจะไมปะปนกับคนไข

Page 5: G-Magazine Volume 04 Issue 07: 2013 - 5.47 MB

06 G MAGAZINE 07:2013 ARCH ITECTU RE>I NTERIOR>DESIGN>LI FESTYLE 07

สวนอ่ืนๆ เสนทางบริการของสวนสะอาดกับขยะท่ีไมปะปนกันในพ้ืนท่ีช้ันบนของสวนวอรดคนไขที่ชั ้น 21 - 22 เปนสวนสำนักงานของโรงพยาบาล นอกจากความสะดวกสบายเหลานี้แลวชั้นดาดฟายังเปนพื้นที่สำหรับการจอดเฮลิคอปเตอรสำหรับกรณีการผาตัดฉุกเฉินที่ตองการความเรงดวน เรียกไดวาครบครันเรื่องความสะดวกสบายของทุกสวน การเลือกใชวัสดุสำหรับโรงพยาบาลที่ทันสมัยก็เปนสิ่งสำคัญ สถาปนิกเลือกใชวัสดุสมัยใหมที่มีการติดตั้งงาย รวดเร็ว แลดูสมัยใหม อยางการเลือกใชผนังระบบ Curtain Wall, Aluminum Composite ที่แมจะมีการลงทุนสูงในระยะแรก แตในการบำรุงรักษาระยะยาวจะลดคาใชจายไดมากกวา ซึ่งรวมถึงการเลือกใชวัสดุผนังภายในที่เปนการกั้นผนังดวยระบบผนังเบาคือผนังยิปซัมบอรด ทั้งในสวนของวอรดคนไข สวนหองเครื่องมือตางๆ สวนสำนักงาน ดวยเหตุผลเพราะติดตั้งงาย ประหยัดเวลา น้ำหนักเบา และท่ีสำคัญคือสามารถปรับเปล่ียนการใชสอยไดงายในอนาคตดีกวาผนังกออิฐฉาบปูนแบบเดิม แมวาในปจจุบันโรงพยาบาลของภาครัฐจะยังขาดแคลนเรื่องของงบประมาณ จนยังไมสามารถบรรลุในเรื่องภาพลักษณใหมของโรงพยาบาลไดเทาภาคเอกชน แตการใชไอเดียเพื่อแกปญหาเหลานี้เปนสิ่งที่เราสามารถนำมาใชปรับแกใหสภาพแวดลอมสังคมเราดีมากขึ้นกวาเดิมไดแนนอน โดยสามารถเลือกใชงบประมาณอยางเหมาะสม

Page 6: G-Magazine Volume 04 Issue 07: 2013 - 5.47 MB

08 G MAGAZINE 07:2013 ARCH ITECTU RE>I NTERIOR>DESIGN>LI FESTYLE 09

intErview

ว�กรม จันทรวรชัยกุล Engineering DirectorBangkok Chain Hospital Public Company Limitedผานไปบนถนนแจงวัฒนะ ถนนสายเศรษฐกิจที่มีการขยายตัวของอาคาร สำนักงาน หางสรรพสินคา ศูนยแสดงสินคา ตลอดไปจนถึงที่พักอาศัยเกิดข�้นอยางมากมายในชวงไมกี่ปที่ผานมาตลอดทั้งสองฝงของถนนเสนนี้ และในวันนี้กับตึกสูงแหงใหมที่ปรากฏให ไดเห็น หลายคนอาจจะนึกไมถึงวาจากรูปลักษณภายนอกที่ดูทันสมัยของตึกนี้คือ “โรงพยาบาล” และแขกรับเชิญคอลัมน Interview ฉบับนี้จะเปนผูที่มาใหรายละเอียดใหเราไดรูจักกับ“โรงพยาบาลเว�ลดเมดิคอลเซ็นเตอร” โดยคุณว�กรม จันทรวรชัยกุล Engineering Director บร�ษัท บางกอก เชน ฮอสปทอล จำกัด (มหาชน)

G : ความเปนมาของเวิลดเมดิคอลเซ็นเตอร คุณวิกรม : เริ่มจากการกอตั้ง บริษัท โรงพยาบาลเกษมราษฏร จำกัด เมื่อป พ.ศ.2527 โดยไดเปดใหบริการเปนแหงแรกในยานบางแค ภายใตการบริหารงานของนายแพทยเฉลิม หาญพาณิชย ตอมาในป พ.ศ.2536 ไดเปล่ียนช่ือบริษัทเปน บริษัท บางกอก เชน ฮอสปทอล จำกัดเพ่ือบริหารกิจการในรูปแบบของโรงพยาบาลและธุรกิจในสายอ่ืนๆ ท่ีเก่ียวของโดยมุงใหบริการทางการแพทยแบบระบบเครือขายขยายบริการสูสวนภูมิภาคและในป พ.ศ.2547 ไดจดทะเบียนเปนบริษัทมหาชน จวบจนปจจุบันบริษัทบางกอก เชน ฮอสปทอล จำกัด (มหาชน) ไดขยายการใหบริการไปสูประชาชนในหลายพื้นที่ ภายใตชื่อโรงพยาบาลเกษมราษฎร โดยมีสาขารวม 6 สาขา คือ สาขาบางแค สาขาประชาชื่น สาขาสุขาภิบาล 3สาขารัตนาธิเบศร สาขาสระบุรี และสาขาศรีบุรินทร และตอมาไดเพิ่มการบริการสูประชาชนภายใตชื ่อโรงพยาบาลเวิลดเมดิคอลเซ็นเตอรซ่ึงเปนสาขาท่ี 7 พ่ึงจะเร่ิมเปดใหบริการเม่ือเดือนมีนาคมท่ีผานมาน้ีเองG : โรงพยาบาลเกษมราษฎรกับเวิลดเมดิคอลเซ็นเตอรตางกันอยางไร คุณวิกรม : เดิมโรงพยาบาลเกษมราษฎรเปน General Hospital ใหการรักษาผูปวยทั่วไปในขั้นทุติยภูมิ นั่นหมายถึงวาเปนการรักษาเฉพาะโรคแตยังไมใชโรคท่ีลึกลงไปมากกวาน้ัน เมนธุรกิจของเกษมราษฎรจะใหบริการผูปวยท่ัวไปกับผูปวยท่ีมีประกันสังคม แตในสวนของ WMC(World Medical Center) จะรับเฉพาะผูปวยทั่วไปเทานั้น ไมรับผูปวยประกันสังคม คือขยับฐานลูกคาจากกลุมบีขึ้นมาเปนบีบวกไปจนถึงกลุมเอ เอบวก ฐานลูกคาจะไมเหมือนกันคนละกลุมกับเกษมราษฎร

G : ศักยภาพของที่ตั้งโรงพยาบาลบนถนนแจงวัฒนะ คุณวิกรม : บังเอิญวาเราไดที่ตรงนี้มาประมานป 2553 และมองแลววาในถนนเสนแจงวัฒนะยานน้ี โรงพยาบาลในระดับพรีเมียมไมมีเลยและผมคิดวานาจะแขงขันกับโรงพยาบาลที่อยูในละแวกนี้ได รวมถึงในระดับเดียวกันที่ตั้งอยูกลางเมืองพวกบำรุงราษฎร สมิติเวช เขาอาจจะไดเปรียบในเรื่องของการที่อยูในใจกลางเมือง แตวาของเราจะไดเปรียบในเร่ืองของการเดินทางท่ีนาจะสะดวกกวา และพ้ืนท่ีท่ีเราอยูใหญพอสมควรยังมีท่ีเหลือสามารถขยายไดมากกวาท่ีอยูในตัวเมืองซ่ึงมีขอจำกัดของท่ีดินG : ในแงธุรกิจโรงพยาบาล ความแตกตางและการแขงขันของธุรกิจอยูตรงจุดไหน คุณวิกรม : นาจะเปนในสวนของเทคโนโลยีที่ทันสมัยและสวนของแพทยที่ทำการรักษา ธุรกิจโรงพยาบาลเปนเรื่องของศรัทธา เพราะถาผูปวยศรัทธาในตัวแพทยในตัวระบบโรงพยาบาลผูรักษาแลว ต้ังอยูตรงไหนเคาก็จะมาหาเราเอง ทำไมอยางศิริราชหรือรามาคนก็ยังมุงไปหา ท้ังๆ ท่ีบานอยูตางจังหวัดเคาก็ยังมานั่งรถนั่งเครื่องบินมารักษา เพราะเคาศรัทธาในแพทยในระบบในเครื่องมือไง และความที่เคาเปนโรงเรียนแพทยดวย ทีน้ีในธุรกิจโรงพยาบาลเอกชนจะทำอยางไรใหมีภาพน้ีเกิดข้ึนนั่นก็คือ อยางแรกตองไดคุณหมอที่ดีมีคุณภาพ ตองไดเครื่องมือที่ดีดวย ถึงจะสามารถทำใหเกิดแบบบอกปากตอปากได ศรัทธามันถึงจะเกิด บางโรงพยาบาลดำเนินธุรกิจโดยการจัดโปรโมชั่นจัดแพคเกจ มารักษาท่ีน่ีเสียเทาไหร มาคลอดลูกท่ีน่ีเสียเทาไหร เอาเขาจริงๆ แลวน่ีคนบางคนไมไดมาเพราะราคาอยางเดียว แตมาเพราะคิดวาเคารักษาใหเราได

Page 7: G-Magazine Volume 04 Issue 07: 2013 - 5.47 MB

10 G MAGAZINE 07:2013 ARCH ITECTU RE>I NTERIOR>DESIGN>LI FESTYLE 11

เพราะเรื่องนี้มันเกี่ยวกับชีวิตของคนนะ สวนของเราก็ไดเชิญคณะแพทยท่ีมีความสามารถสูงมาเสริม โดยในภาพรวมของการรักษาผูปวยจะรูสึกและเขาถึงการรักษาดวยเทคโนโลยีที่จะแสดงการรักษาบางประเภทที่ผูปวยสามารถรับรูไดดวยตัวเอง โดยจะมีคณะแพทยที่เชี่ยวชาญคอยใหการดูแล เราเนนไปที่คณะแพทยที่มีคุณภาพ เครื่องมือทางการแพทยที่ดีและทันสมัย ผมเชื่อวาถาเราสามารถทำในสวนนี้ไดดี หลังจากนั้นก็จะมีการแพรกระจายออกไปแบบปากตอปากเอง G : จุดเริ่มตนของโครงการ WMC คุณวิกรม : ก็เร่ิมจากแผนท่ีจะขยายธุรกิจจากท่ีเราเปนบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย จังหวะพอดีกับท่ีมีคนเอาท่ีแปลงน้ีมานำเสนอ ประกอบกับท่ีเจานายผมไดมองวาถนนเสนน้ียังไมมีโรงพยาบาลแบบพรีเมียมก็เลยตกลงวาทำเลย โดยใหบริษัท REP (Real Estate Planning Consultants Co. Ltd.) เปนผูออกแบบงานสถาปตยภายนอกอาคารทั้งหมด มีพื้นที่ใชสอยประมาณ 82,300 ตารางเมตร สวนการตกแตงภายในเปนของExcon Construction Co., LtdG : แนวทางการออกแบบและจุดเดนทางสถาปตยกรรมหรือวิศวกรรม คุณวิกรม : กอนออกแบบโรงพยาบาลสักโรงหนึ่งนี่ มันจะตองมาจากRequirement กอน แลวทีนี้ Requirement นั้นมาจากไหน ก็มาจากวาโรงพยาบาลตองประกอบไปดวยอะไรบาง ที่ตองมีสวนหลักๆ เลยก็คือOPD, IPD, Operation part, ICU, CCU, หองผาตัด แลวที่เหลือสิ่งที่

ตามมาก็จะเปน Requirement ของทางการตลาด และในสวนของเร่ืองบุคลากรอยางเชนแผนกนี้คนเยอะหรือคนนอยจะตองออกแบบใหใหญหรือเล็ก ดังนั้นโรงพยาบาลเอกชนจึงไมเหมือนกับโรงพยาบาลรัฐบาล เพราะวาในสวนบุคลากรของเอกชนกับรัฐบาลแตกตางกัน ในสวนของตึกนี้เราเนนในเรื่องของพลังงานซ่ึงจะทำยังไงใหเราเสียคาไฟนอยลงเปนเปาหมายของเรา และทำยังไงใหงานระบบของเรามีคุณภาพมากกวาตึกเกาท่ีเคยทำมา หรือมีปญหาของเร่ืองการติดเช้ือนอยลงยกตัวอยางเชน แตเดิมระบบทอน้ำประปาของเราใชเปนทอเหล็กพอใชไปนานๆก็เร่ิมผุร่ัวทำใหปจจุบันเราเร่ิมใชวัสดุท่ีมีคุณภาพมากกวา เพราะวาเราไมอยากเจอปญหาอีก บางทีทอเสียนิดเดียวทำใหบางแผนกตองปดไปทั้งแผนกเลยก็มี

ทีนี้ตึกนี้จริงๆ ตอนที่ออกแบบนั้นความยากมาจากเรื่อง Requirementกอน เสร็จแลวที่เหลือคือเรื่องเทคนิค เราเนนเรื่องการใชพลังงานมากกวาตึกอื่น คือพลังงานแพงขึ้นทุกวันทำยังไงใหเราเสียคาไฟนอยลงเมื่อเทียบกับตึกเกาที่เราเคยทำ นั่นคือเปาของเราในฝายวิศวกรรม ทำยังไงใหงานระบบของเรา Sustain มากกวาตึกเกา หรือมีปญหาเรื่องการติดเชื้อนอยลง เรื่องของแอร รูกันทั่วไปวาแอรนี่เปนตัวกินไฟเลยนะ 70% ของพลังงานที่ใชในอาคารคือปรับอากาศ ยิ่งบานเรารอนชื้นอยางนี้ เราเสียคาไฟไป Extract น้ำออกมาจากระบบมากพอๆ กับที่เราทำใหตัวเรารูสึกเย็น คือถาอากาศมันช้ืนถึงแมวามันเย็นเราก็จะรูสึกไมสบาย อากาศแหงเกินไปแลวมันเย็นเราก็จะรูสึกไมสบาย งั้นมันก็ตองควบคุม ทีนี้บานเรามันมีแตชื้นกับชื้นมากทำยังไงใหมันแหงพอสมคาร อยางเชนทำใหอยูในชวง 50% RH ถึง60% RH (RH : Relative Humidit คาความชื้นสัมพัทธเปรียบเทียบกับสภาพที่เกิดการกลั่นตัวของน้ำในอากาศ) ถาอยางนี้โอเคอยูใน Comfort Zone นั่นคือพลังงานที่เสียไปเราหลีกเลี่ยงไมได ทีนี้ประเด็นก็คือตองเลือกใชวัสดุที่มันไมนำความรอนเขามาในอาคารมาก หรือถาเขามาแลวก็ไมอมความรอนไว อยางผนังพวกนี้เราก็เปลี่ยน แตหลักๆ เลยเราเริ่มแยกระบบแอร

ออกมาเปนระบบยอยๆ แทนท่ีเราจะเลือกใชระบบใหญเหมือนสมัยกอนเปนเซ็นทรัลแอรแบบแอรรวม จายทอน้ำเย็นไปออกชองแอรตัวเล็กๆ ปรากฎวาเอาเขาจริงๆ คุมคาไฟไมไดเลย ผมเลยเปลี่ยนวิธีใหม ไมเอาแลวเปลี่ยนใหมันเปนตัวเล็กๆ ลงมา ตัวไหนไมใชคือปด พลังงานเปนศูนย และพอใชเปนตัวเล็กๆ มันก็เลือกที่จะเปดไดทีละจุด สามารถคุมพื้นที่ไดละเอียดกวาคอนโทรลคาไฟไดงายข้ึน ในแงการลงทุนคร้ังแรกแพงกวาระบบแอรรวมแนประมาณสัก 15% แตพอผานไป 2-3 ป ก็จะรีเทิรนกลับมา หลังจากน้ีไปมันจะคืนกลับมาทุกเดือน เมื่อเทียบกับแอรรวมที่จะลากคาไฟคุณไปยาว 20-30 ปG : เปาหมายของ WMC วางไวอยางไรบาง คุณวิกรม : สุดทายแลวที่ WMC นี้จะเปนศูนยการแพทยเฉพาะทาง สำหรับลูกคาทั่วไป โดยเราจะเนนในการเจาะลึกเฉพาะดานอยางเชน การ รักษาทางดานดวงตาเราจะไมไดรักษาแคพื้นๆ อาการทั่วไปของตา แตเรา จะเนนลงลึกในตาเลย อยางเชน การรักษาระดับเรตินา หรือจะทำยังไงให รักษาความเสถียรภาพของการมองเห็นไดนานที่สุด โดยบางโรงพยาบาลจะแยกสวนการรักษาที่แตกตางกันออกไป ในขณะที่เปาหมายของเราคือ รวมทุกอยางไวในที่เดียว

โรงพยาบาลเวิลดเมดิคอลเซ็นเตอร World Medical Center ใหบริการรักษาโรคเฉพาะทางทุกสาขา ดำเนินงานโดยบริษัท บางกอก เชน ฮอสปทอล จำกัด (มหาชน) ซึ่งเปนบริษัทโรงพยาบาลในตลาด หลักทรัพยแหงประเทศไทย และหนึ่งในบริษัทดีที่สุดของเอเชียตามการจัดอันดับของนิตยสารฟอรบสในป 2552 โรงพยาบาลเวิลดเมดิคอลเซ็นเตอร ออกแบบภายใตกรอบมาตรฐานคุณภาพลาสุดของ Joint Commission International หรือ JCI เปนโรง พยาบาลแนวคิด “Quality by Design” อาคารมีความสูง 24 ชั้น ชั้นใตดิน 2 ชั้น และลานจอดเฮลิคอปเตอรมาตรฐานบนยอดอาคาร โดย 4 ชั้นแรก เปนสวนของเมดิคอลพลาซา มีหองปรึกษาตรวจโรค 79 หอง และหองพักผูปวยใน 324 หอง

Page 8: G-Magazine Volume 04 Issue 07: 2013 - 5.47 MB

Impact Resistant

g reference

12 G MAGAZINE 07:2013 ARCH ITECTU RE>I NTERIOR>DESIGN>LI FESTYLE 13

TITANIC SIGNATURE BUILDING,BELFAST,IRELAND

IMPACT RESISTANT

Location : Belfast, IrelandContractor : Martin McLaughlin Drylining Ltd.Architect : Todd ArchitectsBackground : อาคาร Titanic Signature ในประเทศ ไอรแลนด สถานที่ตั้งของอาคารนี้ เดิมเคยเปนอูตอเรือ Titanic ของบริษัท White Star Line และอาคารนี้สรางขึ้นจากแรงบันดาลใจในวาระครบรอบ 100 ป ที่เรือ Titanic ออกเดินเรือในมหาสมุทรครั้งแรกในป ค.ศ. 1912 อาคาร Titanic Signature แหงนี้มีขนาด 14,000 ตารางเมตร สูง 6 ชั้น ตกแตงดวยอลูมิเนียมและ Glass Pavilion ภายในประกอบไปดวยแกลเลอรี่ รานอาหาร รานกาแฟ และศูนยประชุม

Fire Protection

Speech Intelligibility

Smooth Manual Finish

Page 9: G-Magazine Volume 04 Issue 07: 2013 - 5.47 MB

g reference

เจาของโครงการ : Bangkok Chain Hospital PCL. ผูออกแบบ : Real Estate Planning Consultants Co.,Ltd.ผูรับเหมากอสรางหลัก : Excon Construction Co., Ltd.ผูรับเหมากอสราง : บริษัท สยามอิมเมจดีเวลลอปเมนท จำกัดผลิตภัณฑยิปรอคที่เลือกใช : ฝาฉาบเรียบ Gyproc Framing ML50A, Gyproc Regular Board 9 mm. ผนัง Gypwall Robust (Gypwall 62 + Gyproc DuraLine SEVERE Board 13 mm.)

14 G MAGAZINE 07:2013 ARCH ITECTU RE>I NTERIOR>DESIGN>LI FESTYLE 15

โรงพยาบาลเว�ลดเมดิคอลเซ็นเตอร THE World Medical Center

สถาปนิกผูออกแบบอาคาร : PAA Studio Company Limitedสถาปนิกผูออกแบบภายในอาคาร : PIA Interior Company Limitedผูรับเหมากอสรางหลัก : บริษัท พรีบิลท จำกัด (มหาชน)ผูรับเหมากอสราง : หางหุนสวนจำกัด ณัฏฐพร ดีเวลลอปเมนทผลิตภัณฑยิปรอคที่เลือกใช : Gyproc Framing ML50A, Gyproc Regular Board 9 mm. Gyproc DriLyner, Gyproc Regular Board 12 mm. GypWall 74, Gyproc Regular Board 12 mm. Gyproc Grid 32, Cut Tile 9 mm.

MOCAพ�พ�ธภัณฑศิลปะไทยรวมสมัย

Page 10: G-Magazine Volume 04 Issue 07: 2013 - 5.47 MB

16 G MAGAZINE 07:2013 ARCH ITECTU RE>I NTERIOR>DESIGN>LI FESTYLE 17

นวัตกรรมอีกขั้นของแผนยิปซัมกันรอนพิเศษ ยิปรอค เทอรมัลไลน ในการผสาน 2 คุณสมบัติพิเศษของการลดการสงผานความรอนของแผนยิปซัมรวมกับฉนวนโฟม EPS Hi-Dense ชนิดไมลามไฟ (Expanded PolyStyrene F Grade) ใหประสิทธิภาพสูงสุดในการปองกันความรอนจากภายนอกสูภายในอาคารไดมากกวาแผนยิปซัมธรรมดาถึง 5 เทา แผนยิปซัมกันรอนพิเศษ ThermaLine® เปนทางเลือกใหมที่สามารถชวยลดปริมาณความรอนจากภายนอก และเก็บความเย็นใหคงอยูภายในบานไดอยางดีเยี่ยม เหมาะสำหรับงานฝาเพดานและผนังอาคารภายในที่อยูอาศัยทั้งบานใหมและบานที่มีการซอมแซมคุณสมบัติพิเศษ แผนยิปซัมกันรอนพิเศษ เทอรมัลไลน หนา 59 มม. ประกอบดวย:: แผนยิปซัม ยิปรอค หนา 9 มม. ไดรับมาตรฐาน มอก. 219-2552 :: ฉนวนโฟม EPS F Grade (ชนิดไมลามไฟ) มีสีฟาสม่ำเสมอทั่วทั้งแผน:: ฉนวนโฟม EPS Hi-Dense ความหนาแนนพิเศษ 25 kg/m3 หนา 50 มม. ปองกันความรอน ไดดีกวาฉนวนโฟม EPS ทั่วไป ภายใตความหนาเดียวกัน* :: k value* หรือคาการสงผานความรอนของฉนวนโฟม EPS Hi-Dense มีคาเพียง 0.027 w/m ํc ซึ่งใหคุณสมบัติในการสงผานความรอนนอยมาก เมื่อเปรียบเทียบกับฉนวนกันความรอนชนิดอื่น*หมายเหตุ k value หรือคาการสงผานความรอน คายิ่งนอยยิ่งดี ความรอนจะสงผานวัสดุดังกลาวไดนอยจากผลการทดสอบจากกรมอนุรักษพลังงาน กระทรวงวิทยาศาสตร

Gyproc ThermaLine® แผนยิปซัมกันรอนพิเศษ ยิปรอค เทอรมัลไลน

Gyptone® ACTIV air แผนฝายิปซัมที่สามารถซับเสียงสะทอนภายในหอง ชวยปรับปรุงคุณภาพการสื่อสารภายในหองไดเปนอยางดีดีไซนสวยงามดวยลายฉลุทรงเรขาคณิตแบบตางๆ สรางความกลมกลืนเขากับแนวคิดสถาปตยกรรมสมัยใหมภายในสวนตางๆ ของอาคารแผนฝามีใหเลือกใชทั้งแบบ Gyptone® BIG ฝาฉาบเรียบ และ Gyptone® Ceiling Tile สำหรับงานฝาแขวนที-บาร และดวยนวัตกรรมเทคโนโลยี ACTIV air ซึ่งชวยให Gyptone® สามารถปรับปรุงคุณภาพอากาศภายในหอง เพื่อสุขภาพของผูใชอาคารดวยการทำงานของสารสูตรพิเศษที่ผสมในเนื้อยิปซัม จะชวยดูดซับไอระเหยฟอรมัลดีไฮดที่กอใหเกิดผลเสียตอสุขภาพ สามารถลดปริมาณฟอรมัลดีไฮดในอากาศภายในหองไดมากถึง 70% และทำงานไดผลนานมากกวา 50 ปคุณสมบัติพิเศษ:: สามารถซับเสียงสะทอนไดดี :: สวยงาม เดนดวยลวดลายเรขาคณิต :: สามารถทาสีทับไดตามความตองการ:: ลดมลพิษฟอรมัลดีไฮดในหองไดมากถึง 70% อายุการใชงานนานกวา 50 ป :: ติดตั้งงาย มีความทนทานสูง ไมแอนตัว

เปนระบบผนังที่มีความแข็งแรงและทนตอแรงกระแทกไดสูง เปนทางเลือกใหมที่สามารถใชแทนผนังกออิฐไดดีสำหรับงานภายในเหมาะสำหรับบริเวณที่มีผูคนสัญจรพลุกพลาน ซึ่งตองการความแข็งแรงและทนทานตอการใชงานหนัก เชน โรงแรม โรงพยาบาลหางสรรพสินคา โรงเรียน คอนโดมิเนียม โรงงานอุตสาหกรรมหรือแมแตบานที่อยูอาศัยทั่วไป ดวยระบบ GypWallTM Robust จะไดรับความแข็งแรงความทนทานของผนัง และคุณสมบัติอื่นที่ดีกวาผนังกออิฐทั่วไปคุณสมบัติพิเศษ:: ไดมาตรฐาน BS 5234 ระดับทนทานสูงมาก Severe Duty :: ความหนาแนน 13 มม. ไดพื้นที่ใชสอยมากกวา :: ทนตอแรงกระแทกไดสูงกวายิปซัมทั่วไป:: กันเสียงไดสูงกวายิปซัมทั่วไป :: รับน้ำหนักอางลางหนา และชั้นวางของไดสูง

Gyptone® ACTIV airแผนฝาเพดานโมเดิรน อคูสติก ยิปโทนไทลรุน แอคทีฟแอร

GypWallTM ROBUST ระบบผนังยิปวอลล โรบัสต

GypCote TOTAL ปูนยิปโคท โททอล ปูนฉาบบางภายในปูนยิปโคท โททอล เปนปูนฉาบบางสูตรพิเศษ สีขาว ใชสำหรับงานฉาบบาง 0.5 - 3 มม.โดยไมแตกราว ใชฉาบทับผิวหนาผนัง และเพดานทองพื้น สามารถใชกับพื้นผิวไดหลายชนิดเชน ปูนฉาบทั่วไป, ผนังคอนกรีต, แผนยิปซัม ชวยปกปดรอยผิวเม็ดทราย รูพรุน ปกปดรอยแตกราวลายงา ทำใหพื้นผิวเรียบเนียนสวยงาม โดยใชเฉพาะงานภายในอาคาร และสามารถทาสีทับไดโดยไมตองทาสีรองพื้นคุณสมบัติพิเศษ:: ไมตองทาสีรองพื้น* เนื้อขาวเนียน ประหยัดสีทับหนา ปูนฉาบบางสูตรพิเศษ สีขาวเนียน สามารถทาสีทับหนาไดโดยไมตองทาสีรองพื้น ใหการยึดเกาะสีที่ดีเยี่ยม ชวยประหยัดคาใชจาย:: ปกปดรอยราวดีเยี่ยม ทำใหผนังสวยงาม ไรรอยราว แตกลายงา เพราะมีคาการหดตัวเมื่อแหง(Drying Shrinkage) นอยกวาซีเมนตทั่วไป 3 - 4 เทา ฉาบตกแตงผนังและทองพื้นคอนกรีตได หนาถึง 3 มม. โดยไมตองใชน้ำยาเพิ่มการยึดเกาะ เพราะมีคาการยึดเกาะ (Bonding Strength) สูงกวาซีเมนตทั่วไป 3 เทา:: ฉาบลื่นไดพื้นที่มากกวา 15% ฉาบลื่น เบามือ ไมเปลืองแรง ใชงานงาย เสร็จงานเร็ว ฉาบไดพื้นที่มากกวา 15%:: ใชเฉพาะภายในอาคาร ใหความเรียบเนียนพิเศษ เหมาะกับผนังภายในอาคาร ใชเฉพาะงานภายในอาคารเทานั้น*ขอแนะนำ สามารถทาสีทับหนาได โดยไมตองทาสีรองพื้น (ยกเวน สีทับหนาแบบเงา หรือ High-Gloss),ควรทำความสะอาดพื้นผิวใหสะอาด ปราศจากฝุน กอนทาสีทับหนา

Page 11: G-Magazine Volume 04 Issue 07: 2013 - 5.47 MB

18 G MAGAZINE 07:2013 ARCH ITECTU RE>I NTERIOR>DESIGN>LI FESTYLE 19

G special

World ArchitectureFestival Winners 2012

อีกรางวัลสถาปตยกรรมของโลก World Architecture Festival Winners ที่จัดกันมาตอเนื่องตั้งแตป 2008 โดยการจัดในปแรกมีภัณฑารักษจัดงานคือ ลอรดนอรแมน ฟอสเตอร งานท่ีสงเขามารวมประกวดมาจาก 63 ประเทศทั่วโลกรวมทั้งประเทศไทยเราดวยเชนกันเพ�ยงแตในป 2012 จะไมมีงานจากไทยเขารอบสุดทาย งานสวนใหญมีคุณภาพสูงสะทอนไดถึงมาตรฐานของรางวัล ในครั้งลาสุดที่แจกรางวัลนี้นับเปนครั้งที่ 5 ของการจัดงานในป 2012 มีงานสงมามากกวา 500 ชิ�นทั่วโลกจาก 50 ประเทศ แลวทำการคัดเขารอบชิงเหลือ 301 ชิ�น

ประเด็นของการมอบรางวัลแกสถาปตยกรรมที่เขาขายจะรับรางวัลนี้คือ “Rethink and Renew” ท่ีแสดงถึงนวัตกรรมและความคิดสรางสรรคตอที่ตั้งรอบตัวสถาปตยกรรม ไมไดสรางสถาปตยกรรมที่เขาไปทำลายสภาพแวดลอมเดิม แตเปนการสอดแทรกผสานอยางสรางสรรค เราจะไดพบกับการสรางสรรคจากหลากมุมโลก ที่สวนใหญสงเขามาจากเอเชีย ออสเตรเลีย สิงคโปร จีน และญี่ปุน ซึ่งการใหรางวัลไดแบงประเภทออกเปนแบบตางๆ จากการใชงาน ไมวาจะเปนศูนยชุมชน งานเชิงวัฒนธรรม งานดิสเพลย งานสถาปตยกรรมเพื่อสุขภาพ สถาปตยกรรมเพื่อการศึกษา โรงแรม เคหะการ การอยูรวมกันของใหมและเกา สำนักงาน โรงเรียน และพาณิชยกรรม จากรายชื่องานสถาปตยกรรมที่ไดรับรางวัลลวนบอกถึงแนวทางที่จะเปนเทรนดในวันขางหนาของแนวทางการออกแบบสถาปตยกรรม ซึ่งจะขอกลาวถึงผลงานที่นาสนใจสำหรับรางวัลในปน้ี ประเภทสถาปตยกรรมสำหรับชุมชนท่ีไดรางวัลชนะเลิศมาจากประเทศฝรั่งเศส คือ Town Community ที่ชื่อวา Salorge ออกแบบโดย Atelier Arcau งานนี้ชนะใจกรรมการดวยรูปทรงจั่วเรียบงายแตสะทอนถึงบริบทที่รายรอบที่ตั้ง จากการยอนอดีตสูรูปลักษณของโรงเก็บเกลือเกา อันเปนที่มาของชื่อ “Salorge” การที่สถาปนิกเลือกใชไมดิบเปนวัสดุหลักมาหุมเพื่อเปน Ddouble Skin เพื่อชวยในการประหยัดพลังงานแลว ยังชวยสรางภาพลักษณใหอาคารกลืนเขาไปกับสภาพท่ีต้ังอีกเชนกันเรียกวาทำทีเดียวไดถึงสอง รางวัลของสถาปตยกรรมสำหรับชุมชนจึงตกเปนของงานนี้ ประเภทอาคารทางวัฒนธรรมตกเปนของหองสมุดล่ีหยวนจากจีน โดยฝมือการออกแบบของล่ีเส่ียวตง อารเตอลิเยรสถาปนิกนำเสนอสถาปตยกรรมที่ทำใหสังคมเปลี่ยนไปในทางที่ดีขึ้นดวยโปรแกรมอยางงาน Bridge School ที่ทำใหเขาไดรับชื่อเสียงอยางมากจากงานนั้น สถาปนิกยังนำเสนอการเลือกวัสดุที่ใหมแตมาจากชีวิตประจำวันเดิมๆ เพราะเปนแคไมฟนหุงหาอาหารทั่วไป สถาปนิกเลือกใชไมฟนเปนวัสดุธรรมดาที่พิเศษใหกลายเปนผิวอาคาร เปลือกอาคารถูกหุมจากก่ิงไมท่ีหาไดรอบหมูบาน แตคราวน้ีถูกปรับใหเปนผิวอาคารสุดเทหดวยการติดต้ังเปนลวดลายแนวต้ังซ้ำกันไปมา ธรรมชาติของไมฟนน้ันจะไมตรงมันคดไปมาตามธรรมชาติ ทำใหเกิดเสนหของเปลือกอาคารชวยใหหองสมุดนี้ดูเปนมิตรและกลืนไปกับภูมิทัศนเดิมโดยรอบ จากประเด็นนี้งานนี้จึงชนะใจกรรมการไปในที่สุด ประเภทอาคาร Display ตกเปนของประเทศสิงคโปรเจาภาพ คือสวนกระจก Cooled Conservatories at Gardens by the Bay ที่ตั้งอยูบริเวณมารินาเบยใกลกับงานของMoshe Safdie ออกแบบโดยสถาปนิกจากอังกฤษ Wilkinson Eyre

Salorge / Town CommunityArchitect : Atelier Arcau, VANNES, France

Cooled Conservatories at Gardens by the BayArchitect : Wilkinson Eyre Architects, London, United Kingdom

Liyuan LibraryArchitect : Li Xiaodong Atiler, Beijing, China

Page 12: G-Magazine Volume 04 Issue 07: 2013 - 5.47 MB

20 G MAGAZINE 07:2013 ARCH ITECTU RE>I NTERIOR>DESIGN>LI FESTYLE 21

Binh Duong SchoolArchitect : Vo Trong Nghia Architects, Ho Chi Minh City, Vietnam

Plaza Espana in AdejeArchitect : Menis Arquitectos SLP, Santa Cruz de Tenerife,Spain

University of the Arts London Campus for Central saint Architect : Stanton Williams, London, United Kingdom

Victoria Tower Architect : Wingardh Arkitektkontor AB

The Royal Children’s HospitalArchitect : Billard Leece Partnership and Bates Smart

Darling QuarterArchitect : Francis-Jones Morehen Thorp, Sydney, Australia

หนาขวา ตัวอยางโครงการที่ไดรับรางวัลที่นาสนใจPlaza Espana in Adeje, University of the Arts London Campus forCentral saint, Victoria Tower, Darling Quarter, The Royal Children’s Hospital

Stacking GreenArchitect : Vo Trong Nghia Architects, Ho Chi Minh City,Vietnam

Architects งานนี้เกิดขึ้นจากความตองการของรัฐบาลสิงคโปรตองการสรางสถานที่สำหรับรวบรวมพืชพันธุที่มีความหลากหลายสภาพภูมิอากาศทั่วโลกในโดมกระจก เพื่อใหกลายเปนอีกแหลงทองเที่ยวสำคัญของประเทศในพื้นที่กวา 20,000 ตารางเมตร ความยิ่งใหญของกระจก โครงสรางจัดไดวา แสดงถึงความล้ำหนาของย ุคสมัยท ี ่ส ิงคโปร จะนำเสนอแกชาวโลก ประเด็นนี้จึงเปนจุดที่ไดรับรางวัลไป ประเภทบานนั้นตกไปอยูกับบานใกลเมืองเคียงของเราคือเวียดนามกับงาน Stacking Green ฝมือการออกแบบของสถาปนิกชาวเวียดผูมากดวยรางวัลนานาชาติ Vo Trong Nghia Architects งานน้ีสถาปนิกนำเสนอปญหาของเมืองในเอเชียท่ีมีความหนาแนนมากขึ้น แตจะประสานสถาปตยกรรมเขากับธรรมชาติไดอยางไรในพื้นที่จำกัดที่ตั้งอยูเวียดนามใตในเมืองไซงอน สถาปนิกเลือกแกปญหาดวยการสรางใหเปลือกตัวบานหุมไปดวยพันธุไมที่มีขนาด 20 - 40 เซนติเมตร ที่ออกแบบใหมีการบำรุงรักษางายดวยการวางทอรดน้ำใหงายตอการอยูอาศัยเรียกไดวาชนะใจไปดวย Green Facades ซึ่งชวยลดความวุนวายจอแจของเมืองไซงอนแลวยังสดชื่นดวยธรรมชาติใกลตัวอีก และรางวัลสถาปตยกรรมโรงเรียนก็ตกเปนของ Vo Trong Nghia Architects อีกรางวัล เรียกไดวามาแรงมือรางวัลจริงๆ กับงาน Binh Duong School ที่ประเทศเวียดนาม ที่ตั้งไมไกลจากเมืองไซงอน แคราวสามสิบนาทีก็จะเดินทางมาถึงโรงเรียนนี้แลว ในพื้นที่ 5,300 ตารางเมตร ที่รองรับนักเรียนกวา 800 คน มีจุดนาสนใจตรงที่ออกแบบใหตอบสนองกับเมืองรอนชื้นตามสภาพอากาศแบบบานเรา สถาปนิกเลือกใชวิธีแกปญหาดวยการออกแบบผิวอาคารเปนระแนงคอนกรีตสีขาวหุมโดยรอบใหพ้ืนท่ีภายในสามารถหายใจได และยังเพ่ิมความเปนสวนตัวภายในอาคาร แตในขณะเดียวกันก็สามารถที่จะเชื่อมโยงกับพื้นที่ภายนอก ซึ่งระแนงนี้ไดแรงบันดาลใจมาจากธรรมชาตินี่เองคือการตีความสายฝนในเวียดนามใหเปนผิวโดยรอบ และนอกจากนี้ยังมีอีกหลายรางวัลที่ไมไดเอยถึง แตลวนมีความนาสนใจในแตละงาน ซึ่งเกือบทุกรางวัลสะทอนถึงภาพรวมของรางวัล World Architecture Festival Winners 2012 ที่จัดไดวามีความหลากหลายของรูปแบบ ทั้งเรื่องแนวทางการออกแบบและการแกปญหาของเรามากกวาศตวรรษที่แลว โดยเฉพาะอยางยิ่งในโลกที่สภาวะธรรมชาติกำลังแยลงไปทุกวัน การใหรางวัลจึงควรเปนการใหแรงบันดาลใจแกสถาปตยกรรมที่จะเกิดตามมาอีกมากใหเปนสถาปตยกรรมของโลกเรา

Page 13: G-Magazine Volume 04 Issue 07: 2013 - 5.47 MB

22 G MAGAZINE 07:2013 ARCH ITECTU RE>I NTERIOR>DESIGN>LI FESTYLE 23

Page 14: G-Magazine Volume 04 Issue 07: 2013 - 5.47 MB

architecttalk

24 G MAGAZINE 07:2013 ARCH ITECTU RE>I NTERIOR>DESIGN>LI FESTYLE 25

มุมมองแหงประสบการณวัลลภ ใจสงเคราะหผูรับผ�ดชอบงานออกแบบตกแตงภายในโครงการ โรงพยาบาล World Medical Center

ความเปนมาของโครงการ เปนมาอยางไร โครงการน้ีเร่ิมจาก บริษัท บางกอก เชน ฮอสปทอล จำกัด (มหาชน)ซึ่งเปนผู บริหารงานกลุ มโรงพยาบาลเกษมราษฎรตองการขยายฐานการใหบริการเขาไปในกลุมลูกคาระดับพรีเมี่ยม โดยแยกเปนอีกเซ็กเมนทจากกลุมโรงพยาบาลเกษมราษฎรในปจจุบัน โดยมีโรงพยาบาล Worldmedical center แหงนี้เปนโรงพยาบาลแรกของกลุมแลวถูกกำหนดใหเขามารับผิดชอบในสวนไหน ตอนแรกก็งานออกแบบตกแตงภายใน โดยรับชวงตอจากสถาปนิกผูออกแบบอาคาร แตเนื่องจากงานออกแบบมีการปรับเปลี่ยนหลายครั้ง ทีมงานบริหารโครงการจึงเห็นวาจะตองลดขั้นตอนของงานลง จึงใหผมรับผิดชอบทั้งงานออกแบบตกแตงและงานสถาปตยภายในไปพรอมกันเห็นวางานออกแบบมีการปรับเปลี่ยนหลายครั้ง เพราะอะไร ปญหาหลักๆ ของงานออกแบบ ก็เนื่องมาจากโครงการนี้ถูกกำหนดใหเปนโครงการตนแบบของเซ็กเมนทใหมของกลุมเกษมราษฎร มันจึงไมมีตนแบบท่ีเปนมาตรฐานใหเดินตาม เร่ืองทุกเร่ืองไมวาเล็กใหญตองถูกนำเขาท่ีประชุมเพ่ือกำหนดมาตรฐาน เรียกวาต้ังแตท่ีใสกระดาษชำระยันเคร่ือง MRI เลยทีเดียว ซ่ึงกวาจะผานแตละเร่ืองมันใชเวลาแยะ ทำใหโครงการน้ีใชเวลาไปกับการออกแบบคอนขางมากคอนเซ็ปทในการออกแบบของโครงการนี้คืออะไร ก็อยางที่บอกไปแลววา กลุมเกษมราษฎรตองการสรางแบรนดใหมในเซ็กเมนทท่ีแตกตางไปจากเดิมเปนสินคาระดับพรีเม่ียมของกลุม ฉะน้ันคอนเซ็ปทในการออกแบบจึงถูกจับไปผูกโยงกับทุกเร่ือง เร่ิมต้ังแตการตลาดวาเราจะขายอะไรบาง อะไรเปนสินคาตัวหลัก อะไรเปนสินคาตัวรอง เนนกลุมลูกคากลุมไหนบาง (เชน ลูกคาในประเทศกับตางประเทศอาจจะอยูในสัดสวน 70 - 30 )อายุของกลุมลูกคาควรอยูที่เทาไหรเปนหลัก เพื่อที่เราจะไดปรับภาพลักษณของงานตกแตงใหเขากับฐานกลุมลูกคา ตอมาก็เร่ืองการใหบริการทางการแพทย เชน การแยกการใหบริการระหวางผูปวยและผูไมปวยออกจากกัน แตขณะเดียวกันก็ยังตองมีปฏิสัมพันธตอกัน เพราะตองใชเครื่องมือแพทยรวมกัน การใหบริการทุกจุดจะตองเปนแบบ one stop service ตอมาก็เร่ืองส่ิงอำนวยความสะดวกสำหรับผูมาใชบริการตองมากพอ เชน ปริมาณหองน้ำ เกาอี้นั่งพักคอย ฯลฯ ซึ่งความยากในสวนนี้มันอยูตรงที่ถาเราเพิ่มน้ำหนักของดานหนึ่ง มันก็จะไปลดอีกดานหนึ่ง เชน ใสเกาอี้พักคอยมากจำนวนหองตรวจก็จะลดลง นอกจากนี้ก็ยังตองมองระยะยาวไปในอนาคตเพราะกวาที่โครงการนี้จะแลวเสร็จ เทคโนโลยีหลายอยางมันเปลี่ยนไปแลวของที่เรามองวาเปนของพิเศษ ของพรีเมี่ยม มันจะกลายเปนของธรรมดาสามัญที่ใครๆ ก็สัมผัสได เชน tablet, video wall, digital signage ที่เราตองคิดไวลวงหนา ซึ่งสิ่งที่ตองคำนึงถึงอยางมากก็ไดแกเรื่องตนทุน เรื่องการลงทุนในอนาคต วาอะไรควรใสในตอนนี้ อะไรควรรอไวกอน

เพราะตอไปราคาของเทคโนโลยีเหลานี้มันจะลดลงตามดีมานดที่เพิ่มขึ้นเจาของโครงการกำหนดรูปแบบหรือภาพลักษณของโครงการไวอยางไร ภาพลักษณของโครงการท่ีคุยกันไวก็คือ ภาพของสถานท่ีจะตองทันสมัยดูคลีน ดูสบายตา ผูเขามาใชบริการจะตองไมรูสึกอึดอัด ไมรูสึกกลัว ดูสงบเงียบ ไมสับสนวุนวายเหมือนโรงพยาบาลยุคเกา ที่สำคัญตองทำใหผูใชบริการรูสึกวาคาบริการที่เขาจายไปนั้นคุมคาและอยากจะกลับมาใชบริการอีก ฉะนั้นจะเห็นวา lay-out ภายในของโรงพยาบาลนี้ จะแบงพื้นที่การใหบริการเปน cluster ยอยๆ หลาย cluster ในการกำหนดขอบเขตของแตละแผนก การวางระยะหางระหวางผูใชบริการเพื่อใหผูใชบริการมีความรูสึกเปนสวนตัวมากที่สุดคิดวาอะไรคือจุดเดนที่แตกตางจากคูแขงของโครงการนี้ ที่จริงในทีมงานเราคุยกันเสมอถึงเรื่องนี้ เชนวาโรงพยาบาลนั้นยังไมมีระบบนี้ เราก็เอามาใสเราก็จะดูเดนกวาจะนำหนาเขา หรือแผนกนี้ทางโรงพยาบาลนั้นยังไมมีหรือถึงมีก็ไมเนน เราเอามาใส เราก็จะเดนกวาเขา แตสุดทายเมื่อโรงพยาบาลที่เรามองวาเปนคูแขง เห็นวาสิ่งที่เขามีนั้นดอยกวาเรา เขาก็จะปรับปรุงใหดีขึ้นกวาเรา ของเราที่มีอยูและคิดวาโดดเดน ก็จะกลายเปนของโบราณไปในที่สุด แสดงวาโครงการนี้ไมมีจุดเดน ตอบไดเลยวามี และเปนเรื่องซึ่งคูแขงทางธุรกิจปรับตามไดยาก มันคือเรื่องของสเปซ โดยเราพยายามใหพื้นที่กับผูใชบริการเพื่อสรางความเปนสวนตัวใหมากที่สุดตามที่ไดบอกไปแลว โดยรวมแลวผลงานที่ออกมาคิดวาเปนอยางไร ก็แฮปปในแงของสถานที่มันใหม โดยกระบวนการดีไซนนี่ โรงพยาบาลยากที่สุดแลว ผมก็พยายามรักษาบรรยากาศใหดูสะอาด สดใส โมเดิรน ใหเหมาะกับคนยุคปจจุบัน แตวาสถานที่ในแบบนี้อีก 5 ปก็ดูธรรมดา ก็จะไมใหมแลว ก็คงจะตองมีการปรับปรุงกันเปนระยะๆทรรศนะตอวงการออกแบบในบานเราตอนนี้ จริงๆ แลวก็หลากหลายมาก โดยรวมคือเอาคอนเซปทจากตางประเทศมาเยอะ ประเทศไทยก็จะประเภทอะไรก็ตามใจฉันตามอารมณ มันไมมีคอรคอนเซปท สังเกตเวลาเราขับรถในกรุงเทพจะเห็นวาตึกสองขางทางจะมีความหลากหลายมาก แลวบางทีบางตึกมันไมไดเขากันเลย ซึ่งเรื่องนี้มันจะตองมีกรอบ ถามันมีกรอบ เชน กรอบของกฎหมายบานเมือง แลวตางฝายตางเดินอยูในกรอบนั้นยังไงเสียงานที่ออกมามันก็จะออกมาอยางเปนระเบียบเรียบรอยสวยงาม แตเมื่อกรอบนั้นไมมีเราในฐานะผูออกแบบก็มักจะตองทำตามที่นักลงทุนตองการ เพราะเขาก็ตองรับผิดชอบความสำเร็จในโครงการของเขา เมื่อทำไปแลวโครงการเขาจะกำไรหรือขาดทุนก็จะไมเกี่ยวกับผูออกแบบโดยตรง จึงมีบางที่บางอยางมันก็ฝนกับความคิดของเราแตถาเขาชอบแบบนั้น เราก็ตองทำตามเขา

ในว�ชาชีพของการออกแบบ การทำงานออกแบบบนโตะและงานกอสรางจร�งในภาคสนาม ลวนแลวแตใหประสบการณตอตัวผูออกแบบโดยตรงทั้งในแงว�ธีคิดและการแกปญหา ทั้งหมดเมื่อเกิดการสะสม บมเพาะ จนตกผลึก ก็จะเปนความชำนาญที่สามารถวางแผนงาน“ออกแบบ” ไดอยางเปนขั้นตอนเปนระบบ เหมือนเชนประสบการณของคุณวัลลภ ใจสงเคราะห ผูรับผ�ดชอบงานออกแบบตกแตงภายในโครงการ World Medical Center

Page 15: G-Magazine Volume 04 Issue 07: 2013 - 5.47 MB

26 G MAGAZINE 07:2013 ARCH ITECTU RE>I NTERIOR>DESIGN>LI FESTYLE 27

Page 16: G-Magazine Volume 04 Issue 07: 2013 - 5.47 MB

ระบบผนังกรุทับกันรอนพิเศษ

28 G MAGAZINE 07:2013 ARCH ITECTU RE>I NTERIOR>DESIGN>LI FESTYLE 29

Thermal Solutionsระบบผนังและฝาเพดาน กันความรอนพ�เศษ

Conceal ThermaLine®

ระบบฝาเพดานกันรอนพิเศษระบบฝาเพดานกันรอนพิเศษ Conceal ThermaLine® ติดต้ังโดยใชแผนยิปซัมกันรอนพิเศษGyproc ThermaLine® ที่ประกอบไปดวยแผนยิปซัมยิปรอค 9 มม. ติดทับดวยฉนวนโฟมEPS Hi-Dense ชนิดไมลามไฟ ความหนารวม 59 มม. สามารถกันรอนได 5 เทา เมื่อเทียบกับแผนยิปซัมทั่วไป ชวยลดการถายเทความรอนจากหลังคาลงมายังหองตางๆ ของบานและอาคารไดดี และยังชวยประหยัดคาแอรไดถึง 30%

GypLyner® ThermaLine®

ผนังกรุทับกันรอนพิเศษระบบผนังกรุทับกันรอนพิเศษเพื่อกันความรอนจากภายนอกสูภายในอาคาร แนะนำระบบผนังกรุทับกันรอนพิเศษGypLyner® ThermaLine® โดยตั้งโครงคราว ML50A บนผนังอิฐเดิม ทุกระยะ 60 ซม.ใหมีชองวางหางจากผนังเดิม 20 มม. และกรุทับดวยแผนยิปซัมกันรอนพิเศษGyproc ThermaLine® หนา 59 มม. ซึ่งชวยกันรอนได 8 เทา มากกวาผนังกออิฐทั่วไปและยังชวยประหยัดคาแอรไดถึง 39%

แผนยิปซัมกันรอนพิเศษเทอรมัลไลน หนา 59 มม.

แผนยิปซัมกันรอนพิเศษ เทอรมัลไลน หนา 59 มม.

โครงคราว ML50Aมอก. ระยะ 1.20 x 0.40 m.

ผนังกออิฐเดิม

ระบบผนังยิปลายเนอรกรุทับผนังเดิม

ลักษณะของหอง

คาการใชพลังงาน คาไฟ Ref.No. จากเครื่องปรับอากาศ เครื่องปรับอากาศเฉลี่ย 95% รหัสอางอิง (kW/month) ระบบสองสวาง 5% (บาท/เดือน)

ฝาฉาบเรียบ : แผนยิปซัมธรรมดา 9 มม.ผนัง : อิฐมอญฉาบปูน หนารวม 10 ซม. 2,880 1,218 PSR22001

ฝาฉาบเรียบ : แผนยิปซัมธรรมดา 9 มม.ผนัง : อิฐมอญฉาบปูน หนารวม 10 ซม. กรุทับดวยระบบยิปลายเนอร พรอมแผน ThermaLine® (มีีชองวางอากาศ 20 มม.)

1,920 741 PSR22003

ลักษณะของหอง

คาการใชพลังงาน คาไฟ Ref.No. จากเครื่องปรับอากาศ เครื่องปรับอากาศเฉลี่ย 95% รหัสอางอิง (kW/month) ระบบสองสวาง 5% (บาท/เดือน)

ฝาฉาบเรียบ : แผนยิปซัมธรรมดา 9 มม.ผนัง : อิฐมอญฉาบปูน หนารวม 10 ซม. 2,880 1,218 PSR22001

ฝาฉาบเรียบ : แผนยิปซัม ThermaLine® หนา 59 มม.ผนัง : อิฐมอญฉาบปูน หนารวม 10 ซม. 2,160 855 PSR22002

ระบบฝาเพดานกันรอนพิเศษ

หมายเหตุ : คำนวนคาไฟฟา (เฉลี่ย 12 เดือน) จากพื้นที่ปรับอากาศ 16 ตร.ม. ความสูงหอง 2.5 เมตร จากการเปดเครื่องปรับอากาศเบอร 5 โดยใหมีอุณหภูมิเฉลี่ย 25ํc โดยคิดคาไฟฟาเฉลี่ย 3.8 บาท/ยูนิต เปดแอร 8 ชม./วัน ตลอดระยะเวลา 30 วัน (คำนวณโดย Software OTVEE 1.0a จากสถาบันวิจัยพลังงาน จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

จากภาวะโลกรอน ทำใหอุณหภูมิในทุกวันนี้สูงข�้นตลอดเวลา ซึ่งมีผลทำใหมีคาใชจายที่สูงข�้นตามมาจากการหาว�ธีคลายรอนเชน การเปดเคร�่องปรับอากาศที่เพ�่มข�้น ดังนั้น Gyproc จึงขอแนะนำผลิตภัณฑใหเหมาะกับสภาวะที่เปลี่ยนไปการเลือกใชวัสดุที่ชวยปองกันความรอน และกักเก็บความเย็นที่ผนังและเพดาน ซึ่งเปนตัวคั่นกลางระหวางอากาศภายในและภายนอกเปนสิ�งสำคัญที่จะชวยทำใหบานเย็นข�้นระบบฝาเพดานกันรอนพ�เศษ Conceal ThermaLine® และระบบผนังกรุทับกันรอนพ�เศษ GypLyner® ThermaLine®

2 นวัตกรรมที่มีคุณสมบัติพ�เศษชวยลดปร�มาณการสงผานความรอน กักเก็บความเย็นใหคงอยูภายในบานไดเปนอยางดีและยังสามารถชวยประหยัดไฟฟาจากการลดการทำงานของเคร�่องปรับอากาศไดอีกดวย ไมวาจะรอนนี้ หร�อรอนไหนๆ ให Gyproc ThermaLine® ไดเขาไปเปนสวนหนึ่งในบานคุณ

ประหยัดคาแอร39%

ประหยัดคาแอร30%

Page 17: G-Magazine Volume 04 Issue 07: 2013 - 5.47 MB

30 G MAGAZINE 07:2013 ARCH ITECTU RE>I NTERIOR>DESIGN>LI FESTYLE 31

G movementG NEWS

“ยิปรอค” ฉลองใหญขอบคุณผูแทนจำหนาย>บริษัท ไทยผลิตภัณฑยิบซั่ม จำกัด (มหาชน)รวมกับ บริษัท ทรี ดี แมท จำกัดเปด Gyproc Solution Center คุณแมททิววอลคเกอร กรรมการผูจัดการ พรอมทีมงานฉลองเปดศูนยบริการระบบผนังและฝาเพดานครบวงจร ยิปรอค เซ็นเตอร รวมกับ บริษัททรี ดี แมท จำกัด เมื่อวันที่ 23 มิ.ย. 2556ที่ผานมา โดยศูนยบริการดังกลาวตั้งอยูบนถนนพุทธมณฑล สาย 2 เพื่อรองรับการขยายตัวของบานพักอาศัยในพื้นที่กรุงเทพฯฝงตะวันตก โดยบริการใหคำปรึกษา แนะนำผลิตภัณฑระบบผนังและฝาเพดาน คำนวณแบบ และจำหนายผลิตภัณฑอยางครบวงจรดวยทีมงานมืออาชีพที่ผานการอบรมจากบริษัทฯ พรอมเปดใหบริการแลววันนี้

Gyproc Gypwall RobustChampionships 2013>บริษัท ไทยผลิตภัณฑยิบซั่ม จำกัด (มหาชน)รวมกับ กรรมาธิการสถาปนิกทักษิณ สมาคมสถาปนิกสยามในพระบรมราชูปถัมภ จัดงานDinner Talk และจัดการแขงขัน GyprocGypwall Robust Championships 2013

อบรมเชิงปฏิบัติการหลักสูตรการฝกยกระดับฝมือแรงงาน>กรมพัฒนาฝมือแรงงาน รวมกับ บริษัทไทยผลิตภัณฑยิบซั่ม จำกัด (มหาชน)จัดอบรมเชิงปฏิบัติการหลักสูตรการฝกยกระดับฝมือแรงงาน ในหัวขอการติดตั้งผนังและฝาเพดานยิปซัมฉาบเรียบมาตรฐานสากลทั่วประเทศ โดยประกอบดวย จ.เชียงใหม,จ.ภูเก็ต, จ.กรุงเทพฯ, จ.ชลบุรี และจ.ขอนแกน เพื่อรวมพัฒนาขีดความสามารถของชางติดตั้งผนังและฝาเพดานยิปซัม

Gyproc บรรยายพิเศษเพื่อใหความรูในเรื่องผลิตภัณฑยิปซัม>บริษัท ซินเท็ค คอนสตรัคช่ัน จำกัด (มหาชน)ซึ่งประกอบธุรกิจรับเหมากอสรางไดเชิญเจาหนาที่ศูนยฝกอบรมผลิตภัณฑยิปรอคจากบริษัท ไทยผลิตภัณฑยิบซั่มจำกัด (มหาชน)เปนวิทยากรบรรยายพิเศษเร่ือง “Crack-Free”Finishing systems for Solid Walls & ConcreteSlabs” เพื่อใหความรูกับพนักงานในเรื่องผลิตภัณฑยิปซัมปูนฉาบบางภายในที่มีประสิทธิภาพปกปดพื้นผิวใหเรียบเนียน โดยที่ไมตองทาสีรองพื้นกอนทาสีจริง รวมถึงการใชงานและการติดตั้งอยางถูกวิธีณ หองประชุม สำนักงานใหญบ.ซินเท็คฯ

Gyproc เขารวมงานนิทรรศการแสดงสินคาและบริการกับสถาบันอาคารเขียวไทย>บริษัท ไทยผลิตภัณฑยิบซั่ม จำกัด (มหาชน)เขารวมออกบูทนิทรรศการแสดงสินคาและบริการที่สอดคลองกับการอนุรักษพลังงานและรักษาสิ่งแวดลอม กับสถาบันอาคารเขียวไทยในงาน 2013 Thai Green Building Expoณ ศูนยประชุมและนิทรรศการไบเทค บางนาซึ่งภายในงานประกอบดวยการประชุมสัมมนาวิชาการและนิทรรศการแสดงสินคาและบริการที่สอดคลองกับอาคารเขียว โดยผลิตภัณฑที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอมที่ยิปรอคนำมาแสดงภายในงานคือ แผนยิปซัมกันความรอนพิเศษยิปรอค เทอรมัลไลน ที่ผสานคุณสมบัติพิเศษของแผนยิปซัม เขากับฉนวนโฟม EPS Hi-Denseชนิดไมลามไฟ จึงกันรอนไดมากกวาแผนยิปซัมทั่วไปถึง 5 เทา จึงชวยปองกันความรอนจากภายนอกและกักเก็บความเย็นไวภายในหองไดดีเยี่ยม ประหยัดคาแอรไดถึง 69%

Gyproc Gypwall RobustChampionships 2013>บริษัท ไทยผลิตภัณฑยิบซั่ม จำกัด (มหาชน)รวมกับ กรรมาธิการสถาปนิกลานนา สมาคมสถาปนิกสยามในพระบรมราชูปถัมภ จัดงานDinner Talk และจัดการแขงขัน GyprocGypwall Robust Championships 2013

รายชื่อของผูโชคดีไดรับทองจากแคมเปญ ยิปรอคฉลอง 45 ป แจกทอง 45 บาท ประจำเดือน เมษายน 2556

1. จับรางวัลครั้งที่ 1 ประจำวันเสารที่ 6 เม.ย. 2556 : คุณฉลวย หวักแหวกกลาง ซื้อสินคายิปรอคจาก บจก.วานิชโฮมมารท ไดรับทองคำหนัก 1 บาท

2. จับรางวัลครั้งที่ 2 ประจำวันเสารที่ 13 เม.ย. 2556 : คุณดำรงค ประภูชะกัง ซื้อสินคายิปรอคจาก หจก.จิตรเจริญสุข ไดรับทองคำหนัก 1 บาท

3. จับรางวัลครั้งที่ 3 ประจำวันเสารที่ 20 เม.ย. 2556 : คุณอภิชาติ มีสุข ซื้อสินคายิปรอคจาก หจก.เค.เอ็ม.ซี. อลูมิเนียม ไดรับทองคำหนัก 1 บาท

4. จับรางวัลครั้งที่ 4 ประจำวันเสารที่ 27 เม.ย. 2556 : คุณธีรพงษ กิจปญญาเจริญ ซื้อสินคายิปรอคจากรานธนชัยรุงเรือง ไดรับทองคำหนัก 5 บาท

รายชื่อของผูโชคดีไดรับทองจากแคมเปญ ยิปรอคฉลอง 45 ป แจกทอง 45 บาท ประจำเดือน พฤษภาคม 2556

5. จับรางวัลครั้งที่ 5 ประจำวันเสารที่ 4 พ.ค. 2556 : คุณอาสินธ ไชยชนะ ซื้อสินคายิปรอคจาก ราน ซี&ที ไดรับทองคำหนัก 1 บาท

6. จับรางวัลครั้งที่ 6 ประจำวันเสารที่ 11 พ.ค. 2556 : คุณทองใบ สุทธิสิงห ซื้อสินคายิปรอคจาก รานอึ้งชุนฮะ ไดรับทองคำหนัก 1 บาท

7. จับรางวัลครั้งที่ 7 ประจำวันเสารที่ 18 พ.ค. 2556 : คุณอรพินท ชูศรี ซื้อสินคายิปรอคจาก รานราชบุรี กิมเซงฮวด ไดรับทองคำหนัก 1 บาท

8. จับรางวัลครั้งที่ 8 ประจำวันเสารที่ 25 พ.ค. 2556 : คุณพงศศักดิ์ คงวัฒนานนท ซื้อสินคายิปรอคจาก หจก.สมพรมารเก็ตติ้ง หาดใหญ ไดรับทองคำหนัก 5 บาท

รายชื่อของผูโชคดีไดรับทองจากแคมเปญ ยิปรอคฉลอง 45 ป แจกทอง 45 บาท ประจำเดือน มิถุนายน 2556

9. จับรางวัลครั้งที่ 9 ประจำวันเสารที่ 1 มิ.ย. 2556 : ดญ.อนงคกานต แซเขา ซื้อสินคายิปรอคจาก รานอานนท อลูมิเนียม ยะลา ไดรับทองคำหนัก 1 บาท

10. จับรางวัลครั้งที่ 10 ประจำวันเสารที่ 8 มิ.ย. 2556 : คุณนรงค วุฒิพันธ ซื้อสินคายิปรอคจาก บริษัท บิวเดอสมารท จำกัด (มหาชน) ไดรับทองคำหนัก 1 บาท

11. จับรางวัลครั้งที่ 11 ประจำวันเสารที่ 15 มิ.ย. 2556 : คุณพรพรรณ ปยโชคธนากุล ซื้อสินคายิปรอคจาก รานเจริญชัยอลูมินั่ม ไดรับทองคำหนัก 1 บาท

12. จับรางวัลครั้งที่ 12 ประจำวันเสารที่ 22 มิ.ย. 2556 : คุณสิทธิศักดิ์ สิงหแกว ซื้อสินคายิปรอคจาก บจก.สยามโกลบอลเฮาส สาขาระยอง ไดรับทองคำหนัก 1 บาท

13. จับรางวัลครั้งที่ 13 ประจำวันเสารที่ 29 มิ.ย. 2556 : คุณภัทรชัย ลิขิตดารา ซื้อสินคายิปรอคจาก บจก.โชคชัย 2 กระจกพัทยา ไดรับทองคำหนัก 5 บาท

รายชื่อของผูโชคดีไดรับทองจากแคมเปญ ยิปรอคฉลอง 45 ป แจกทอง 45 บาท ประจำเดือน กรกฎาคม 2556

14. จับรางวัลครั้งที่ 14 ประจำวันเสารที่ 6 ก.ค. 2556 : ดญ.อนงคกานต แซเขา ซื้อสินคายิปรอคจาก หจก.สมพรมารเก็ตติ้ง หาดใหญ ไดรับทองคำหนัก 1 บาท

15. จับรางวัลครั้งที่ 15 ประจำวันเสารที่ 13 ก.ค. 2556 : คุณสุภาพร ยิ่งตระกูล ซื้อสินคายิปรอคจาก รานเอ็น เค ซีไลย ไดรับทองคำหนัก 1 บาท

16. จับรางวัลครั้งที่ 16 ประจำวันเสารที่ 20 ก.ค. 2556 : คุณทวีป พุกวงษ ซื้อสินคายิปรอคจาก บจก.เค ซี อินเตอรเฟรม ไดรับทองคำหนัก 1 บาท

17. จับรางวัลครั้งที่ 17 ประจำวันเสารที่ 27 ก.ค. 2556 : ด.ญ.ภคปภา ปติชูวงศ ซื้อสินคายิปรอคจาก บจก.เกียรติทวีคาไม ไดรับทองคำหนัก 2 บาท

18. จับรางวัลครั้งที่ 17 ประจำวันเสารที่ 27 ก.ค. 2556 : คุณจีรนันท สุขสุเพชร ซื้อสินคายิปรอคจาก รานเพิ่มสิน ไดรับทองคำหนัก 5 บาท

19. จับรางวัลครั้งที่ 17 ประจำวันเสารที่ 27 ก.ค. 2556 : คุณเอกลักษณ กล่ำเอม ซื้อสินคายิปรอคจาก บจก.เอส วรรณ ซัพพลายส ไดรับทองคำหนัก 10 บาท

ยิปรอค ผูนำนวัตกรรมระบบผนังและฝาเพดานอันดับหนึ่งของโลก ภายใตการดำเนินงานของ บริษัท ไทยผลิตภัณฑยิบซั่ม จำกัด (มหาชน)ฉลองครบรอบ 45 ป คืนกำไรแกลูกคาดวยแคมเปญ “ยิปรอคฉลอง 45 ป แจกทอง 45 บาท” เพียงลูกคาซื้อสินคายิปรอคชนิดใดก็ไดครบ 4,500 บาทรับคูปองชิงโชคสรอยคอทองคำหนัก 1 บาท ทุกสัปดาห สัปดาหสุดทายของเดือนแจกทองคำหนัก 5 บาท และสัปดาหสุดทายของรายการแจกทองคำหนักรวม 17 บาท เริ่มจับรางวัลตั้งแตวันนี้ถึง 27 กรกฎาคม ที่ผานมา ทุกวันเสารทางรายการศึกจาวมวยไทย ชอง 3

ประกาศรายชื่อผูโชคดี แคมเปญยิปรอค 45 ปแจกทอง 45 บาท

Page 18: G-Magazine Volume 04 Issue 07: 2013 - 5.47 MB

32 G MAGAZINE 07:2013

rEcommendED journey

หากใครที่เคยติดใจในบรรยากาศและรสชาติอาหารจากตนฉบับดั้งเดิมที่ทองหลอของราน Mellow มาที่นี่ใน Crystal Park ถนนเลียบทางดวน รามอินทรา-อาจณรงค ยังคงนำอารมณและกลิ่นอายสไตลลอฟทอันเปนเอกลักษณของ Mellow มาไวไดอยางครบถวน ภายในสบายๆ กับการตกแตงอยางเปนกันเองมีหลายมุมใหเลือกนั่ง ไดอารมณเหมือนนั่งอยูในหองนั่งเลนที่บาน มีโตะ เกาอี้ โซฟา หลายรูป แบบใหเลือกนั่งตามใจชอบ หรือจะเลือกนั่งเคานเตอรบารสำหรับคนชอบดริ๊งคมีทั้งบรั่นดี ไวน ค็อกเทล ไปจนถึงสาเกและเหลาบวยแบบญี่ปุน แตถาใครชอบนั่งแบบ outdoor ก็มีระเบียงดานนอกใหรับลมเย็นสบาย เรื่องอาหารของที่นี่ตองบอกวาเปนอาหารแนวฟวชั่นแบบฟรีสไตล คือคิดคนสูตรอาหารขึ้นมาเองโดยเฉพาะ ทำใหหลายเมนูมีความแปลกใหมผสม กลมกลอมกับความจัดจานแบบไทยๆ แตละเมนูเนนคัดสรรวัตถุดิบที่มีความสดใหมมีคุณภาพ เชน พวกผักออรแกนิคเอามาใช ขอเมนูมาสั่งอาหาร กันเลย เริ่มจากเมนูเบาๆ เรียกน้ำยอย Smoked Duck Spring Roll อกเปดรมควันหอชีสที่มีทั้งมาสคาโปเนและมอซซาเรลลา มาพรอมกับซอส มะมวงเพื่อตัดเลี่ยน ตอดวย Mellow Wings ปกไกบนที่กรอบนุมซึมลึกถึงรสชาติซอสพริกสูตรเด็ดของทางรานเผ็ดไดใจจริงๆ จานถัดไป Crab Cake เอาเนื้อปูทะเลกอนมาคลุกเคลากับเครื่องปรุงตามสูตรเด็ดแลวคลุกดวยเกล็ดขนมปงทอด เสิรฟมาพรอมกับซอสพีชสูตรพิเศษ กรอบนอกนุมใน เต็มปากเต็มคำ ขอแนะนำจานอรอยสูตรเด็ดของที่นี่ 24-Hour Marinated B.B.Q Pork Spareribs ซี่โครงหมูอบซอสบารบีคิว รสหวาน เนื้อนุมเคี้ยวงายกำลังดี ตามติดมาดวย Calzone Larb Clam Cheese เนื้อแปงแบบพิซซาสไตลอิตาเลียนพับครึ่งสอดไสดวยลาบหอยลายรสเด็ดแบบไทย อบเสิรฟมารอนๆ ขอบอกวาไดรสชาติแปลกใหมตรงหอมกรุน เนื้อแปงที่ชุมดวยลาบหอยลายลงตัวพอดี นอกจากเมนูเดนที่คนมักจะสั่งกันแลว ก็ยังมีเมนูเด็ดอีกหลายรายการใหลิ้มลอง และถาใครชื่นชอบการฟงเพลง ทุกศุกร-เสารจะมีวงดนตรีบรรเลง เพลงแจสใหฟงสด สวนวันอื่นมีดีเจมาเปดเพลงใหฟงชวยเพิ่มอรรถรสใหกับมื้ออาหารไดอยางดีเยี่ยม

How to get there? : Mellow Restaurant & BarThe Crystal Park ถนนเลียบทางดวนเอกมัย-รามอินทราโทร. 02 5150748

“เยาวราช” ไชนาทาวนของเมืองไทยท่ีสองฝากฝงของถนนเต็มไปดวยตึกแถวเกาแกเรียงรายสลับกับตึกสมัยใหมแทรกอยูเปนระยะ และท่ีขาดไมไดเอกลักษณของถนนสายน้ีคือ ปายไฟโฆษณาที่ยื่นออกมาเหนือถนนทั้งเล็กทั้งใหญ สีสันฉูดฉาดแขงกันอวดโฉมอยูริมถนนใหเห็นไดแตไกลวามาถึงแลว ที่นี่ “เยาวราช” ทามกลางความสับสนวุนวายทั้งผูคนและการจราจรที่ติดขัดทั้งวันของเยาวราช ยานนี้ยังมีท่ีพักบริการนักทองเท่ียวอยูหลายท่ี ซ่ึงลวนไดรับความนิยมเปนอยางมาก โดยเฉพาะชาวตางชาติเพราะคอนขางสะดวกตอการเดินทางออกไปเที่ยวแถวนี้หรือใจกลางกรุงเทพฯ และที่พักหลายที่ก็ตั้งอยูในตึกแถวริมถนนนั่นเอง เหมือนกับ Shanghai Mansion โรงแรมแบบบูติกเล็กๆแหงนี้ อยูในตึกเกาอายุกวา 60 ป มาปรับปรุงหนาตาใหม มองจากริมถนนถาไมสังเกตดีๆอาจจะเดินผานไปเลย แตหากเดินเขาตึกผานบันไดเลื่อนขึ้นไปชั้น 2 เหมือนจะหลุดยอนยุคไปสมัยเจาพอเซี่ยงไฮดวยมูดแอนดโทนที่ใหอารมณนั้นจริงๆ การตกแตงภายในเซี่ยงไฮแมนชั่นผสมผสานสไตลและความสงางาม ในยุคป 1930 ของเซ่ียงไฮ เมืองทาชายทะเลท่ีเจริญท่ีสุดของจีนในยุคอดีตเคียงคูมาพรอมกับฮองกง ดวยความเจริญจากตะวันตกหล่ังไหลเขาสูจีนผานทางเซ่ียงไฮจนไดสมญานามวา “ปารีสแหงตะวันออก” บรรยากาศภายในตองการใหความรูสึกแบบ “feel at home” เหมือนบานในอดีตของคหบดีชาวจีนผูมีอันจะกิน การเลือกเฟอรนิเจอร ของประดับตกแตง โคมไฟแบบไชนีสสไตล รวมถึงรายละเอียดเล็กๆ นอยๆ เชน กรอบรูป ภาพเขียน ผามาน ผาบุเฟอรนิเจอร ทุกสิ่งมีความกลมกลืนกันอยางลงตัว ทั้งความเปนจีนโบราณผสมผสานกับความทันสมัยภายใตความโดดเดนของการคุมโทนสีที่มีสีแดงชาดเปนสีหลัก ส่ิงอำนวยความสะดวกและบริการภายในโรงแรมมีครบตามมาตรฐาน ยกเวนท่ีจอดรถอาจจะไมคอยสะดวกเทาไหรตองไปจอดอาคารขางเคียง เพราะท่ีทางคอนขางจำกัดแนวซิต้ีโฮเทลแบบกลางคืนนอนเชาออกไปเที่ยว หากอยากจะยอนเวลาสำรวจยานการคาเกาแกของเมืองไทยรวมทั้งตระเวนชิมของอรอยสำหรับนักชิม ใชเวลากับที่นี่สักคืนรับรองวาคุณไดหวลคืนอดีตอยางประทับใจแนนอน

How to get there? : Shanghai Mansion Bangkok Hotelถ.เยาวราช สัมพันธวงศโทร. 02 221 2121 www.shanghaimansion.com

MellowRestaurant & Bar

ShanghaiMansionMaking you feel at home

ARCH ITECTU RE>I NTERIOR>DESIGN>LI FESTYLE 33

Page 19: G-Magazine Volume 04 Issue 07: 2013 - 5.47 MB

34 G MAGAZINE 07:2013 ARCH ITECTU RE>I NTERIOR>DESIGN>LI FESTYLE 35

Sky Wifi Smartpen ปากกาไฮเทค ที่จะชวยใหการจดบันทึกเปนเรื่องงายขึ้นปากกาที่ชวยใหการจดบันทึกเปนเรื่องงายขึ้น มันจะทำหนาที่บันทึกเสียงทุกอยางที่เราไดยิน พรอมทั้งยังสามารถจดบันทึกสิ่งตางๆ ไดในขณะที่ทำการบันทึกเสียงโดยจะทำงานรวมกับสมารทโฟนหรือแท็บเล็ตตางๆ ผานสัญญาณ Wi-Fi ซึ่งขอมูลเหลานี้จะถูกบันทึกลงในแอพพลิเคชั่นที่เรียกวา Evernote วิธีการใชงานงายๆ เพียงแคกดปากกาลงบนสมุดจดหนึ่งครั้ง เจาปากกาตัวนี้ก็จะเริ่มทำการบันทึกเสียงพรอมกับบันทึกทุกสิ่งอยางที่เราจด ซึ่งขอมูลทั้งหมดจะถูกบันทึกใน Evernoteโดยขอมูลเหลานี้เราสามารถยอนกลับมาเปดอานไดภายหลัง และยังสามารถเปดอานซ้ำๆ ได รวมทั้งยังสามารถแชรขอมูลที่เราบันทึกไวใหกับผูอื่นได

Lapka เครื่องมือตรวจวัดสภาพแวดลอมและอินทรียวัตถุ สำหรับ iPhoneจาก NASA และ YSLเรียกไดวาเปนอุปกรณเชิงวิทยาศาสตรขนาดเล็ก ที่มีความสามารถในการตรวจวัดสภาพแวดลอมรอบตัวคุณที่อาจมีสภาวะไมเหมาะสำหรับกิจวัตรประจำวันตางๆทั้งการกินไปจนถึงการนอน รวมถึงสิ่งของอุปโภคและบริโภคตางๆ ไมวาจะเปนสารพิษในอาหาร, สภาพอากาศที่มีความชื้นสูง, การรบกวนจากคลื่นแมเหล็กและรังสีที่เปนอันตรายตอรางกายตางๆ ซึ่งมนุษยไมสามารถมองเห็นไดดวยตาเปลาLapka จึงเปนเครื่องมือที่คิดคนขึ้นเพื่อความปลอดภัยตอสุขภาพการดำรงชีวิตของมนุษยนั่นเอง

เปลี่ยน iPad ใหกลายเปนเครื่องแคชเชียร พรอมแอพพลิเคชั่น Square Registerเมื่อสมารทโฟนและแท็บเล็ตตางมีแอพพลิเคชั่นที่ชวยใหเราสามารถใชงานแทนอุปกรณอื่นๆ ไดแทบทุกอยางแลว ตอไปเราคงไมจำเปนตองมีอุปกรณหลายๆ ชนิดในชีวิตประจำวัน ลาสุด Square บริษัทผูออกแบบแอพพลิเคชั่นสำหรับการชำระเงินSquare Register ไดเปดตัว Square Stand ขาตั้งสำหรับ iPad ที่ทำงานรวมกับแอพพลิเคชั่นไดทันที กลายเปนเครื่องคิดเงินแคชเชียรไดอยางไฮเทค

W/Me wristband สายรัดขอมือวัดระดับอารมณเพื่อสุขภาพจิตมาพรอมเซ็นเซอรตรวจวัดระดับอารมณของผูใช และทำงานรวมกับสมารทโฟนโดยจะชวยแสดงผลตามอารมณของผูใช เพื่อใหผูใชเขาใจและปรับเปลี่ยนกิจกรรมที่มีความเสี่ยงตอปญหาสุขภาพจิต ใชเซ็นเซอรทางการแพทยที่จับสัญญาณจากระบบประสาทที่ควบคุมกลามเนื้อ หรือระบบประสาทอัตโนมัติ (ANS) ผนวกกับระบบประมวลผลที่สามารถถอดรหัสบนความแปรปรวนของอัตราการเตนของหัวใจซึ่งจะแสดงถึงสภาพจิตใจของผูใชในขณะนั้น เชน ความรูสึกเฉยๆ หรือความรูสึกตื่นเตน ไปจนถึงความกระวนกระวาย ผานบนแอพพลิเคชั่น

Robi หุนยนตตัวจิ๋วจากผูสรางหุนยนตที่มีชื่อเสียงระดับโลกอยาง Tomotaka Takahashi ผลงานการออกแบบที่แตกตางจากหุนยนตทั่วๆ ไป โดยสามารถเคลื่อนไหวรางกายไดอยางราบรื่นและเปนธรรมชาติ Robi ถูกออกแบบใหมีความแมนยำตอการเคลื่อนไหวและการสนทนา โดยสามารถเรียนรูและเขาใจภาษาหรือคำสั่งไดมากกวา 200 คำ ขณะที่ฟงคนพูดเจาหุนยนตก็จะพูดโตตอบพรอมกับการแสดงสีหนาทาทางไปดวย และยังสามารถยืน นั่ง เดิน เตนไปพรอมกับจังหวะเพลง หรือจะสั่งใหไปเปดโทรทัศนก็ทำไดเชนกัน

ที่มา : http://www.siamphone.com, http://www.sanook.com, http://news.itmoamun.com

เช ิญชวนรวมผลงานเขาประกวดในหัวขอ “Asian Youth Center” สมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ รวมกับสภาคณบดีคณะสถาปตยกรรมศาสตร ขอเชิญนิสิตชั้นปที่ 3 และชั้นปที่ 4 คณะสถา-ปตยกรรมศาสตร รวมสงผลงานเขาประกวดในหัวขอ “Asian Youth Center” โดยผลงานที่ไดรับการคัดเลือกจากสมาคมฯ จะไดเขารวมประกวดในงาน ARCASIA Students' Architectural Design Competition 2013 ณ กรุงกาฐมาณฑุ ประเทศเนปาล ในวันที่ 6-10 ต.ค. 2556 ทั้งนี้ สามารถสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมไดที่โทร. 02-319-6555 ตอ 121งานสัมมนาวิชาการและแสดงนิทรรศการ

ประจำป 2556 "2013 Thai Green Building Expo" สถาบันอาคารเขียวไทย โดยคณะกรรมการจัดงาน Thai Green Building Expo กำหนดจัดงานประชุมสัมมนาวิชาการและแสดงนิทรรศการประจำป 2556 ภายใตช่ืองาน "2013 Thai GreenBuilding Expo" ภายในงานประกอบดวยการประชุมสัมมนาวิชาการและนิทรรศการแสดงสินคาและบริการที่สอดคลองกับอาคารเขียว เปดใหชม วันเสารที่ 27 ก.ค. 2556 เวลา 10.00 - 17.00 น.ณ ศูนยประชุมและนิทรรศการไบเทค บางนา สถาบันฯ ขอเรียนเชิญผูประกอบการดาน Green Product ผูผลิต ผูจำหนาย บริษัทท่ีปรึกษา อาคารเขียว องคกรผูใหความรูดานสิ่งแวดลอมและการประหยัดพลังงาน มารวมแสดงศ ักยภาพในการนำเสนอนว ัตกรรมเทคโนโลยีดานการประหยัดพลังงานที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม ผานการแสดงนิทรรศการในคร้ังน้ี นับเปนโอกาสอันดีในการขยายลูทางธุรกิจโดยการนำเสนอผลิตภัณฑ Green Product แกผู ประกอบการและประชาชนทั่วไปที่ใสใจสิ่งแวดลอมมารวมเปนสวนหนึ่งในการผลักดันใหเกิดอาคารเขียวขึ้นอยางจริงจัง เปนรูปธรรมเพื่อความยั่งยืนในอนาคต ดวยการสนับสนุนจัดงานที่สำคัญยิ่งครั้งนี้ใหสำเร็จลุลวงดวยดี

รายการอบรมสัมมนา-ดูงาน โครงการพัฒนาวิชาชีพของ สถาบันสถาปนิกสยาม (ISA)ในป 2556 สถาบันสถาปนิกสยามไดจัดวางหัวขอสัมมนาและดูงานในแตละเดือนตลอดป 2556 ไวเพื่อใหสมาชิกสมาคมสถาปนิกสยามฯ หรือผูสนใจท่ัวไปสามารถติดตามและวางแผนเวลาเขารวมสัมมนาได โดยในปนี้สถาบันสถาปนิกสยามไดจัดใหมีการอบรมภาคปฏิบัติการ (Workshop) เพ่ิมมากข้ึนเพื่อใหผูเขาอบรมสามารถนำไปปฏิบัติได เชน การประมาณราคา, BIM (Building Information Modeling), การคำนวณคาการถายเทความรอนรวมผานเปลือกอาคาร (OTTV&RTTV) ที่ตองสงประกอบการยื่นรายงาน EIA ผูเขารวมการสัมมนาในแตละครั้งนอกจากจะไดรับบัตร isa plus เพื่อแลกรับของที่ระลึกจากสมาคมฯ แลว ยังจะไดรับวุฒิบัตรจากสถาบันสถาปนิกสยาม ซึ่งสามารถใชเปนหลักฐานขอหนวยการพัฒนาวิชาชีพตอเนื่อง (พวต.) ของสภาสถาปนิก เพื ่อเปนประโยชนในการประกอบวิชาชีพที ่สภาสถาปนิกอาจกำหนดขึ้นในอนาคต เชน การขึ้นทะเบียนเปนสถาปนิกอาเซียน เปนตน17 ส.ค. 2556 : Material info seminarหองประชุมใหญ อาคารสมาคมสถาปนิกสยามฯ31 ส.ค. 2556 : Lighting Designหองประชุมใหญ อาคารสมาคมสถาปนิกสยามฯ14 ก.ย. 2556 : Material info site visit (ดูงาน)21 ก.ย. 2556 : โปรแกรมชวยออกแบบแสงสวางหองประชุมใหญ อาคารสมาคมสถาปนิกสยามฯ28-29 ก.ย. / 5-6 ตค. 2556 :อบรมความรูสำหรับสถาปนิกใหม 5619 ต.ค. 2556 : Material info seminarหองประชุมใหญ อาคารสมาคมสถาปนิกสยามฯ26 ต.ค. 2556 : Lighting Designหองประชุมใหญ อาคารสมาคมสถาปนิกสยามฯ

2 พ.ย. 2556 : OTTV & RTTV Workshopหองประชุมใหญ อาคารสมาคมสถาปนิกสยามฯ16 พ.ย. 2556 : Material info site visit (ดูงาน)14 ธ.ค. 2556 : Lighting Design (ทัศนศึกษานอกสถานที่)หัวขอและกำหนดการอบรมอาจมีการเปล่ียนแปลงตามความเหมาะสม สามารถติดตามไดจากwww.asa.or.th หรือสอบถามรายละเอียดไดท่ี02-3196555 ตอ 204 และ 206

ผลการประกวดสุดยอดนวัตกรรม ในงานสถาปนิก’56 ประกาศผลเปนท่ีเรียบรอยสำหรับการประกวดนวัตกรรมในงานสถาปนิก’56 คร้ังท่ี 27 จัดแสดงนวัตกรรมเทคโนโลยีและการบริการดานงานสถาปตยกรรมจากเหลาผูแสดงสินคาช้ันนำ ท้ังในและตางประเทศ ซ่ึงในปน้ีไดจัดใหมีการประกวดนวัตกรรมจากผูแสดงสินคามีผูแสดงสินคาเขารวมประกวดทั้งหมด 15 ราย สำหรับผูท่ีไดรับรางวัลการประกวดนวัตกรรมในงานสถาปนิก ’56 คือ รางวัลชนะเลิศผลิตภัณฑนวัตกรรมIDOLSYSTEMS CO.,LTD Aidol MYH เปนบานสำเร็จรูประบบ Mudoral ไดรับมิติการออกแบบกอสรางอยางชาญฉลาด รางวัลรองชนะเลิศผลิตภัณฑนวัตกรรมDESIGN SURFACE CO.,LTD เปนนวัตกรรมท่ีสามารถนำพลาสติกมารีไซเคิลใชเปนวัสดุ 3D SURFACE รางวัลชมเชยผลิตภัณฑนวัตกรรมSTARMARK CO.,LTD. ชุดครัวหลังบานเปนการคิดคนนวัตกรรมโครงสรางสรางโดยใชวัสดุกันน้ำเสริมความแข็งแรงดวยโครงเหล็กกันสนิม

Page 20: G-Magazine Volume 04 Issue 07: 2013 - 5.47 MB