e-mail - wordpress.com€¦  · web view2012. 3. 1. · ค่าเฉลี่ย (mean) 4.50...

42
ชชชชชชชชชชช “กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก(Online)กกก กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก (Social Media) กกกกกกกกก กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก กกกกกกกกกก ( Pronoun )กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก 6/2 กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก กกกกกกกกกกกกกกก” ชชชชชชชช ชชชชชชชชชชชชชชชช 1. กกก กกกกกก กกกกกก 2. กกก กกกกกก กกกกกกกกกกกกก 3. กกก กกกกกกกก กกกกกกก 4. กกก กกกกกกกก กกกกกกกก 5. กกกกกก กกกกกก กกกกกกกก 6. กกกกกก กกกกกกกก กกกกกกกก 7. กกกกกก กกกกกกก กกกกกกกก ชชชชชชชชชชชชชชชช กกก กกกก กกกกกกกกก ชชชชชชชชชชชชช กกกกกกกกกกกกกกกกกกก 6/2 ชชชช กกกกกกกกกก ชชชชชชชช/ชชชชชชชชชช 2/2554 ชชชชชชชช กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก (1) กกกกก กกกกกกกกกกกกกกกกกกก (Online) กกกกกกกกกกกกกกก กกกกกกกกก (Social Media) กกกกกกกกกกกกกกกกกกกก กกกกกกกกกกกกกก กกกกกก กกกกกกกกกก (Pronoun)กกกกก กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก 6/2 (2) กกกกก กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก กกกกกกก (Online) กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก

Upload: others

Post on 15-Feb-2021

1 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

ชื่อโครงงาน “การพัฒนาบทเรียนออนไลน์(Online)โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศเรื่อง คำสรรพนาม ( Pronoun )สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/2โรงเรียนร้อยเอ็ดวิทยาลัย จังหวัดร้อยเอ็ด”

บทคัดย่อ

ผู้จัดทำโครงงาน 1.  นาย  วรัชญ์  อาวรณ์2.  นาย วิศรุต  จิระโรจน์สกุล3.  นาย  เจนวิทย์  เหลือผล4.  นาย  ชัชวาลย์  วัฒวิเศษ5.  นางสาว  กาญจนา  วินทะไชย6.  นางสาว  เฟื่องฝน  ศรีสุภาพ7.  นางสาว  สุพัตรา  อินทะสอนอาจารย์ที่ปรึกษา นาย มงคล คลังมนตรีระดับการศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/2วิชา ภาษาอังกฤษภาคเรียน/ปีการศึกษา 2/2554บทคัดย่อ

โครงงานครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อพัฒนาบทเรียนออนไลน์ (Online) โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ เรื่อง คำสรรพนาม (Pronoun)สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/2 (2) เพื่อศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อบทเรียนออนไลน์ (Online) โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ เรื่อง คำสรรพนาม ( Pronoun )

กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการทดสอบประสิทธิภาพเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/2 โรงเรียนร้อยเอ็ดวิทยาลัย จำนวน 20 คน โดยเลือกตัวอย่างแบบเจาะจง(Purposive Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในโครงงาน ประกอบด้วย (1) บทเรียนออนไลน์(Online) โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศเรื่องคำสรรพนาม( Pronoun ) ที่ http://jenwitrw101.wordpress.com/ (2) แบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรียนที่เรียนบทเรียนออนไลน์(Online) โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศเรื่อง คำสรรพนาม( Pronoun ) จำนวน 10 ข้อสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ร้อยละ

ผลการทำโครงงาน พบว่า (1) บทเรียนออนไลน์(Online) โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม(Social Media) กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศเรื่องคำสรรพนาม( Pronoun ) ที่พัฒนาขึ้นมีประสิทธิภาพ (2) ความคิดเห็นของนักเรียนที่เรียนด้วยบทเรียนออนไลน์(Online) โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศเรื่องคำสรรพนาม( Pronoun ) มีความคิดเห็นเฉลี่ยรวมอยู่ในระดับเห็นด้วย

สารบัญ

เรื่อง หน้า

บทคัดย่อกกิตติกรรมประกาศขคำนำคสารบัญงสารบัญตารางจสารบัญรูปภาพชบทที่ 1 บทนำ1ความเป็นมาและความสำคัญ1 วัตถุประสงค์ของโครงงาน1ขอบเขตของการศึกษาค้นคว้า1ผลที่คาดว่าจะได้รับ2บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง3โครงงาน3Website Wordpress4บทที่ 3 วิธีการดำเนิน5โครงงานประชากรและกลุ่มตัวอย่าง5เครื่องมือในการวิจัย5การสร้างและพัฒนาเครื่องมือในการวิจัย5การวิเคราะห์ข้อมูลและสถิติที่ใช้7บทที่ 4 ผลการดำเนินงาน10บทที่ 5 สรุปผลการศึกษา11วัตถุประสงค์ของการศึกษา11ขอบเขตของการศึกษาค้นคว้า11เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้า11สรุป12ข้อเสนอแนะ12เอกสารอ้างอิงaภาคผนวกb

สารบัญตาราง

ตาราง หน้า

ตารางที่ 4.1 แสดงผลการดำเนินงาน 10

สารบัญรูปภาพ

รูปภาพหน้า

ภาพที่ 1 ขั้นตอนการสร้างและพัฒนาบทเรียนออนไลน์(Online)7

โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media)

ภาพที่ 2 ขั้นตอนการสร้างและพัฒนาแบบสอบถามความคิดเห็น8

คำนำ

โครงงานภาษาอังกฤษเรื่อง คำสรรพนาม (Pronoun) ประจำปี การศึกษา 2554 เล่มนี้ เป็นโครงงานที่จัดทำขึ้นโดยมีจุดประสงค์เพื่อศึกษาความรู้ที่ได้จากโครงงานมีหัวข้อย่อย คือ คำสรรพนาม (Pronoun) เป็นคำที่ใช้เรียกแทนสรรพนามบุคคลที่ 1 เป็นประโยชน์อย่างมากในการใช้ภาษาอังกฤษในชีวิตประจำวัน

ผู้จัดทำจะต้องขอขอบคุณ คุณครูมงคล คลังมนตรี ผู้ให้ความรู้ และแนวทางการศึกษา  เพื่อนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/2 ทุกคนที่ให้ ความช่วยเหลือมาโดยตลอด คณะผู้จัดทำหวังว่าโครงงานเรื่อง คำสรรพนาม (Pronoun) นี้จะให้ความรู้ และเป็นประโยชน์แก่ผู้อ่านทุกท่าน 

คณะผู้จัดทำ

กลุ่มที่ 5 เรื่อง คำสรรพนาม (Pronoun)

กิตติกรรมประกาศ

คณะผู้จัดทำขอขอบพระคุณครู มงคล คลังมนตรี ที่ถ่ายทอดความรู้เรื่อง คำสรรพนาม (Pronoun) และวิธีการทำโครงงาน ด้วยความรักความเมตตาของคุณครู มงคล คลังมนตรีที่กรุณาในเรื่องข้อมูลในการจัดทำโครงงานในครั้งนี้ให้คำปรึกษาเป็นอย่างดีถ้ามิได้มีคำแนะนำจากคุณครู มงคล คลังมนตรี แล้วละก็เชื่อได้ว่าโครงงานชิ้นนี้ก็ไม่เสร็จสิ้นสมบรูณ์อย่างแน่นอน

คณะผู้จัดทำ

กลุ่มที่ 5 เรื่อง คำสรรพนาม ( Pronoun )

บทนำ

บทที่ 1

1. ความเป็นมาและความสำคัญ

ปัจจุบันการใช้ภาษาอังกฤษของนักเรียนในประเทศไทยถ้าเปรียบกับประเทศในอาเซียนแล้วเด็กไทยของเรายังด้อยกว่านักเรียนในอาเซียนอยู่และอีกไม่นานนี้ประเทศไทยก็จะก้าวเข้าสู่ประชาคมอาเซียนซึ่งจะต้องมีการพัฒนาในเรื่องของภาษาอังกฤษให้ทัดเทียมเท่ากับประเทศในอาเซียนเพื่อเป็นประโยชน์ในการแข็งขันทางเศรษฐกิจและอนาคตของประเทศไทยในการจัดทำโครงงานชิ้นนี้ดำเนินงานโดยใช้เทคโนโลยีเข้ามาเกี่ยวข้องในการถ่ายทอดความรู้และใช้ระบบเทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) ในการส่งต่อเรื่องราวต่างรวมไปถึงความรู้ทำให้การเรียนรู้เป็นไปอย่างสะดวกและรวดเร็วโครงงานชิ้นนี้คณะผู้จัดทำได้จัดทำเรื่องคำสรรพนาม( Pronoun )ว่ามีลักษณะการใช้ในรูปแบบใดมีลักษณะการใช้ในรูปแบบใดมีลักษณะอย่างไรเพื่อที่จะทำให้ผู้ได้เข้ามาศึกษาโครงงานชิ้นนี้ได้มีความรู้ความเข้าใจมากยิ่งขึ้นในการใช้คำสรรพนาม (Pronoun )ให้ถูกต้อง

2. วัตถุประสงค์ของโครงงา 2.1 เพื่อพัฒนาบทเรียนออนไลน์ (Online) โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศเรื่องคำสรรพนาม(Pronoun)สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/2 ให้มีประสิทธิภาพ 2.2 เพื่อศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อบทเรียนออนไลน์ (Online) โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ เรื่อง คำสรรพนาม(Pronoun)

3. ขอบเขตของการศึกษาค้นคว้า

ประชากรคือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/2 จำนวน 41 คน และกลุ่มตัวอย่างคือนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/2 จำนวน 20 คน โดยเลือกตัวอย่างแบบเจาะจง(Purposive Sampling)

4. ผลคาดว่าจะได้รับ

4.1 สามารถพัฒนาบทเรียนออนไลน์ (Online) โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ เรื่อง คำสรรพนาม (Pronoun)สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/2 ให้มีประสิทธิภาพ 4.2 สามารถศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อบทเรียนออนไลน์ (Online) โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ เรื่อง คำสรรพนาม(Pronoun)

บทที่ 2

เอกสารที่เกี่ยวข้อง

คณะผู้จัดทำได้ศึกษาค้นคว้าเอกสารที่เกี่ยวข้องกับโครงงานเรื่อง คำสรรพนาม ( Pronoun ) ดังหัวข้อดังนี้1. โครงงาน1.1 ความหมายของโครงงาน 1.2 องค์ประกอบของโครงงา 1.3 ลักษณะของโครงงาน 1.4 แนวทางการจัดทำโครงงาน 2. Website Wordpress1. โครงงาน1.1 ความหมายของโครงงานภาษา

  โครงงานภาษาอังกฤษเป็นงานที่ผู้ทำได้คิดอย่างอิสระที่เกี่ยวข้องเช่น โครงงานที่สามารถประยุกต์ใช้ในสถานการณ์ต่างๆ ในชีวิตประจำวัน ภาษาอังกฤษกับสิ่งแวดล้อม ภาษาอังกฤษกับเทคโนโลยี ซึ่งจะช่วยให้นักเรียนได้พัฒนาความคิดและความเชื่อมั่นในการสื่อสารการใช้ภาษาอังกฤษได้ถูกต้องทำให้นักเรียนพัฒนาความคิดริเริ่ม สร้างสรรค์ซึ่งการทำโครงงานอาจเป็นเรื่องเดี่ยวหรืองานกลุ่มก็ได้แล้วมาวางแผนร่วมกัน กันเองจะลงมือทำโครงงานทำให้นักเรียนรู้จักวิธีการทำโครงงานโดยใช้กระบวนการทำงานเป็นกลุ่มที่มีการตั้งจุดประสงค์รวมกันวางแผน/ดำเนินงาน

1.2 องค์ประกอบของโครงงาน

ในการทำโครงงานภาษาอังกฤษ นักเรียนควรจะได้เรียนรู้และแสดงออกถึงศักยภาพของตนเอง

ในเรื่องที่เกี่ยวข้องกับโครงงานดังนี้

1.2.1 จุดประสงค์ของการทำโครงงานเพื่อศึกษา ค้นคว้า พัฒนาหรือแก้ไขปัญหาในเรื่องใดหรือต้องการให้ เกิดผลอะไร

1.2.2เนื้อหาวิชาภาษาอังกฤษและวิชาอื่นๆทักษะ กระบวนการใช้ ซึ่งนักเรียนได้รับความรู้ ฝึกทักษะ

1.2.3 การรวบรวมข้อมูลและการประเมินผลเพื่อเปรียบเทียบ แสดงผลอย่างน่าเชื่อถือเป็นการใช้วิจัยในกระบวนการเรียนรู้

1.2.4 กระบวนการศึกษาค้นคว้า กระบวนการเรียนรู้ กระบวนการทำงานเป็นรายบุคคลหรือเป็นกลุ่ม นักเรียนควรได้แสดงออกถึงการใฝ่รู้ใฝ่เรียน และมีทักษะสัมพันธ์ความฉลาดทางอารมณ์เข้าใจตนเองและผู้อื่น สามารถอยู่ร่วมกับคนอื่นได้อย่างมีความสุข

1.2.5 ความสามารถเฉพาะตัว ความถนัด ความสนใจ ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ คุณธรรม จริยธรรม

1.2.6 ผลงานหรือชิ้นงานที่เป็นรูปธรรม

1.3 ลักษณะของโครงงานภาษาอังกฤษ

โครงงานภาษาอังกฤษสามารถทำได้หลายด้านตามความเข้าใจที่นี้ขอแบ่งเป็นลักษณะใหญ่ๆดังนี้

1.3.1 ลักษณะเชิงประวัติศาสตร์

โครงงานลักษณะนี้ผู้จัดทำต้องเป็นผู้ที่ชอบอ่านและมีแหล่งค้นคว้ามากมาย เช่น ห้องสมุด ศูนย์บริการหรืออินเทอร์เน็ต

1.3.2 ลักษณะตามสาระการเรียน

เป็นโครงงานที่ผู้ทำต้องคิดศึกษาหาความรู้ตามแหล่งข้อมูลต่างๆ ซึ่งสามารถทำได้ตามกลุ่มสาระการเรียนรู้

1.3.3 ลักษณะการประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน

1.3.4 โครงงานประเภทการทดลองเป็นกิจกรรมการจัดสภาพเหตุการณ์ให้เกิดข้อมูลที่มีสิ่งทดลอง

1.4 แนวทางการจัดทำโครงงานภาษาอังกฤษ

การจัดทำโครงงานภาษาอังกฤษมีแนวทางดังนี้

1.4.1 กำหนดจุดประสงค์ของการทำโครงงาน

1.4.2 การเลือกหัวข้อเรื่องเช่น

1.4.2.1 เป็นเรื่องที่น่าสนใจ

1.4.2.2 เป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับชีวิตประจำวัน

1.4.2.3 เป็นเรื่องที่แสดงการสร้างสรรค์

1.4.2.4 เป็นเรื่องที่เชื่อมโยงกับเนื้อหาที่เรียน

2. Website Wordpress

Wordpress เป็นโปรแกรมสำหรับทำบล็อก พัฒนาด้วยภาษา PHP และใช้งานร่วมกับฐานข้อมูล MySQL มีการใช้งานที่ง่าย มีความยืดหยุ่นสูง เป็นที่นิยมของบล็อกเกอร์ทั่วโลกรวมทั้งชาวไทยด้วยเช่นกัน มีผู้พัฒนาปลั๊กอิน และธีม (รูปแบบการแสดงผล) ให้เลือกใช้แบบฟรี ๆ อยู่เป็นจำนวนมาก

Wordpress ถือได้ว่าเป็น CMS ( Contents Management System ) ตัวหนึ่งที่มีความสามารถในการสร้างบล็อกโดยเฉพาะ โดยระบบการจัดการที่ง่ายสะดวกต่อการใช้งาน โดยมีความง่ายตั้งแต่การติดตั้ง จนกระทั่งการเขียน blog หรือการเปลี่ยนรูปแบบดีไซน์ หรือธีมของ blog ก็สามารถทำได้สะดวกง่ายดาย จึงเป็นที่นิยมอยู่ในขณะนี้ ซึ่ง wordpress นี้มีความสามารถในการทำ SEO ที่ดีเยี่ยม นอกจากนี้ Wordpress ยังได้แตกหน่อออกมาเป็น WordpressMU เพื่อให้ผู้ใช้งานสามารถนำไปใช้สร้างเว็บบล็อก เพื่อให้ผู้อื่นใช้งานได้อีกด้วย

Wordpress ยังได้มีการพัฒนาระบบต่างๆ ( Plugin ) ที่ช่วยแต่งเติมสีสันของบล็อก ทั้งในส่วน gallery SEO ฟอร์มเมล์ ่รูปภาพต่างๆ เป็นต้นอีกด้วย

Wordpress นี้พัฒนาต่อยอดมาจาก b2\cafelog ที่พัฒนาโดย Michel Valdrighi และชื่อ Wordpress นี้ก็ได้มาจากการแนะนำของ Christine Selleck ซึ่งเป็นเพื่อนกับหัวหน้าทีมพัฒนา นั่นคือ Matt Mullenweg โดยปรากฏโฉมครั้งแรกในปี 2546 ซึ่งเป็นความร่วมมือกันระหว่าง Matt Mullenweg และ Mike Little เพื่อที่จะสร้าง fork ของ b2

ในปี 2547 บริษัท Six Apart ผู้พัฒนา Moveable Type ได้มีการคิดค่าใช้งาน ทำให้ผู้ใช้หันมาใช้ Wordpress กันเป็นจำนวนมาก

ปัจจุบัน Wordpress ก็ยังเป็น CMS ตัวหนึ่งที่มีความสามารถในการสร้างบล็อกโดยเฉพาะ ได้มีการนำเอา Wordpress มาดัดแปลงเพื่อใช้ในการสร้า้งเว็บไซน์ ซึ่งเจ้า Wordpress ก็เป็นที่ตอบโจทย์อย่างดีเยี่ยม มีการนำเอาประโยชน์จาก SEO จากระบบ Wordpress มาช่วยสร้างอันดับให้กับเว็บของเรา มีระบบ Upload ที่เป็น Tool เข้าช่วย ทำให้การ upload รูป หรือ media ต่างๆง่ายเพียงแค่ปลายนิ้ว มีระบบ Back end หรือ ระบบหลังบ้าน ที่ช่วยให้เราสามารถเข้าไปแก้ไขเนื้อหาภายในเว็บได้ตลอด ทำให้ช่วยลดเวลาในการเขียนลงอย่างมาก จึงเป็นทีชื่นชอบของเหล่านักเขียนเว็บเป็นอย่างมาก

บทที่ 3

วิธีการดำเนินการ

ในการทำโครงงานและพัฒนาบทเรียนออนไลน์(Online)โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ เรื่องคำสรรพนาม(Pronoun)สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/2 โรงเรียนร้อยเอ็ดวิทยาลัย จังหวัดร้อยเอ็ด ซึ่งมีรายละเอียดในการดำเนินการทำโครงงานดังนี้

1. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง

2. เครื่องมือในการวิจัย

3. การสร้างและพัฒนาเครื่องมือในการวิจัย

4. การวิเคราะห์ข้อมูลและสถิติที่ใช้

1. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง

ประชากรคือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/2 จำนวน 41 คน และกลุ่มตัวอย่างคือนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/2 จำนวน 20 คนโดยเลือกตัวอย่างแบบเจาะจง(Purposive Sampling) 2. เครื่องมือในการวิจัย2.1 บทเรียนออนไลน์(Online) โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศเรื่องคำสรรพนาม( Pronoun ) ที่ http://jenwitrw101.wordpress.com/ 2.2 แบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรียนที่เรียนบทเรียนออนไลน์(Online) โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศเรื่อง คำสรรพนาม( Pronoun )

3. การสร้างและพัฒนาเครื่องมือในการวิจัย

3.1 การสร้างและพัฒนาบทเรียนออนไลน์(Online) โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศเรื่อง คำสรรพนาม (Pronoun) ที่ http://jenwitrw101.wordpress.com มีขั้นตอนการสร้างและพัฒนา 9 ขั้นตอนดังนี้

(1.0 ศึกษา ค้นคว้า อบรม เว็บไซต์ที่ใช้ในการสร้างบทเรียนออนไลน์ )

(2.0 วิเคราะห์เนื้อหาที่จะนำมาสร้างบทเรียนออนไลน์ )

(3.0 ออกแบบกิจกรรมการเรียนผ่านออนไลน์)

(4.0 แปลงบทเรียนเป็นสื่อออนไลน์ )

(5.0 นำสื่อออนไลน์เข้าสู่เว็บไซต์)

(6.0 ทดลองระบบบทเรียนออนไลน์)

(7.0 ตรวจสอบคุณภาพโดยผู้เชี่ยวชาญ)

(8.0 ทดสอบหาประสิทธิภาพในขั้นทดลองใช้เบื้องต้น)

(9.0 ปรับปรุง แก้ไข และนำไปใช้สอนจริง)

ภาพที่ 1 ขั้นตอนการสร้างและพัฒนาบทเรียนออนไลน์(Online) โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media)

3.2 การสร้างและพัฒนาแบบสอบถามความคิดเห็น

(1.0 ศึกษาทฤษฎีการสร้าง จากเอกสาร ตำราวิชาการ)

(2.0 กำหนดประเด็นที่ต้องการถาม )

(3.0 ตรวจสอบความตรงโดยผู้เชี่ยวชาญ )

(4.0 หาความเชื่อมั่น (Reliability))

(5.0 สร้างเป็นแบบสอบถามที่สมบูรณ์)

ภาพที่ 2 ขั้นตอนการสร้างและพัฒนาแบบสอบถามความคิดเห็น

4. การวิเคราะห์ข้อมูลและสถิติที่ใช้

การวิเคราะห์ความคิดเห็นของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/2 ที่เรียนจากบทเรียนออนไลน์(Online) โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศเรื่องคำสรรพนาม (Pronoun) ที่ http://jenwitrw101.wordpress.com/ โดยใช้แบบสอบถามความคิดเห็นมีลักษณะที่ใช้มาตราส่วนประเมินค่าของลิเคิร์ต (Likert’s Rating Scale) มี 5 ระดับ ดังนี้

เห็นด้วยอย่างยิ่งมีค่าน้ำหนัก 5เห็นด้วยมีค่าน้ำหนัก 4ไม่แน่ใจมีค่าน้ำหนัก 3ไม่เห็นด้วยมีค่าน้ำหนัก 2ไม่เห็นด้วยอย่างยิ่งมีค่าน้ำหนัก 1

การนำคะแนนมาหาค่าเฉลี่ย(Mean) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) นำค่าเฉลี่ย (Mean) ดังนี้

ค่าเฉลี่ย (Mean) 4.50 – 5.00หมายถึง เห็นด้วยอย่างยิ่งค่าเฉลี่ย (Mean) 3.50 – 4.49หมายถึง เห็นด้วยค่าเฉลี่ย (Mean) 2.50 – 3.49หมายถึง ไม่แน่ใจค่าเฉลี่ย (Mean) 1.50 – 2.49หมายถึง ไม่เห็นด้วยค่าเฉลี่ย (Mean) 1.00 – 1.49หมายถึง ไม่เห็นด้วยอย่างยิ่ง

บทที่ 4

ผลการดำเนินงาน

จากแบบประเมินเว็บบล็อกของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี่ที่ 6/2 ซึ่งมี นักเรียนกลุ่มตัวอย่างจำนวน 20 คน โดยใช้วิธีเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling)ในการจัดทำโครงงานและพัฒนาบทเรียนออนไลน์(Online) โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ เรื่อง คำสรรพนาม (Pronoun) ได้ดังนี้

ตารางที่ 4.1 แสดงผลการดำเนินงาน

ข้อที่

รายการ

ระดับการประเมิน

ค่าเฉลี่ย

ร้อยละ

ผลการประเมิน

1

ความชัดเจนของเนื้อหา

4.45

89

เห็นด้วย

2

ความถูกต้องและความสมบูรณ์ของข้อมูล

4.6

92

เห็นด้วยอย่างยิ่ง

3

การนำสู่เว็บไซต์มีความน่าสนใจ

4.4

88

เห็นด้วย

4

การใช้ภาษาสามารถสื่อความหมายได้ชัดเจน

4.25

85

เห็นด้วย

5

การออกแบบหน้าจอมีความสวยงามเหมาะสม

4.1

82

เห็นด้วย

6

ตัวอักษรมีความเหมาะสม

4.00

80

เห็นด้วย

7

การแสดงผลสามารถให้ข้อมูลได้รวดเร็ว

3.85

77

เห็นด้วย

8

มีการเชื่อมโยงเนื้อหาภายใน ภายนอกของบทเรียน

3.95

79

เห็นด้วย

9

การเน้นส่วนสำคัญของเนื้อหา

4.2

84

เห็นด้วย

10

ความสอดคล้องกับจุดประสงค์กับเนื้อหาวิชาภาษาอังกฤษ

3.95

79

เห็นด้วย

รวม

4.2

83.5

เห็นด้วย

จากตาราง 4.1 สรุปได้ว่า ผลการประเมินในภาพรวมพบว่ามีผลการประเมินค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.2 อยู่ในระดับเห็นด้วยทั้งนี้เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่า ความถูกต้องและความสมบูรณ์ของข้อมูล มีค่าเฉลี่ยเห็นด้วยมากที่สุดเท่ากับ 4.6 รองลงมาได้แก่ ความชัดเจนของเนื้อหา การนำสู่เว็บไซต์มีความน่าสนใจ การใช้ภาษาสามารถสื่อความหมายได้ชัดเจน การเน้นส่วนสำคัญของเนื้อหา การออกแบบหน้าจอมีความสวยงามเหมาะสม ตัวอักษรมีความเหมาะสม มีการเชื่อมโยงเนื้อหาภายใน ภายนอกของบทเรียน ความสอดคล้องกับจุดประสงค์กับเนื้อหาวิชาภาษาอังกฤษ การแสดงผลสามารถให้ข้อมูลได้รวดเร็ว มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.45, 4.4, 4.25, 4.2, 4.1, 4.00, 3.95, 3.95, 3.85 ตามลำดับ

บทที่ 5

สรุปและอภิปรายผลการศึกษา

จากการศึกษาในครั้งนี้เป็นการสร้างเว็บไซต์นำเสนอ เรื่อง คำสรรพนาม (Pronoun) สามารถสรุปและอภิปรายผลการศึกษาและข้อเสนอแนะดังนี้

1. วัตถุประสงค์การศึกษาค้นคว้า

2. ขอบเขตของการศึกษา

3. เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้า

4. สรุปผลการศึกษาค้นคว้า

5. ข้อเสนอแนะ

1. วัตถุประสงค์ของการศึกษาค้นคว้า

1.1 เพื่อพัฒนาบทเรียนออนไลน์ (Online) โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศเรื่องคำสรรพนาม(Pronoun)สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่6/2 1.2 เพื่อศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อบทเรียนออนไลน์ (Online) โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ เรื่อง คำสรรพนาม (Pronoun)

2. ขอบเขตของการศึกษาการค้นคว้า

ประชากรคือนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/2 จำนวน 41 คน และกลุ่มตัวอย่างคือนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/2 จำนวน 20 คนโดยเลือกตัวอย่างแบบเจาะจง(Purposive Sampling)

3. เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้า3.1 บทเรียนออนไลน์(Online) โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศเรื่องคำสรรพนาม( Pronoun ) ที่ http://jenwitrw101.wordpress.com/ 3.2 แบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรียนที่เรียนบทเรียนออนไลน์(Online) โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศเรื่อง คำสรรพนาม( Pronoun )

4. สรุปผลการประเมินในภาพรวมพบว่ามีผลการประเมินค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.2 อยู่ในระดับเห็นด้วยทั้งนี้เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่า ความถูกต้องและความสมบูรณ์ของข้อมูล มีค่าเฉลี่ยเห็นด้วยมากที่สุดเท่ากับ 4.6 รองลงมาได้แก่ ความชัดเจนของเนื้อหา การนำสู่เว็บไซต์มีความน่าสนใจ การใช้ภาษาสามารถสื่อความหมายได้ชัดเจน การเน้นส่วนสำคัญของเนื้อหา การออกแบบหน้าจอมีความสวยงามเหมาะสม ตัวอักษรมีความเหมาะสม มีการเชื่อมโยงเนื้อหาภายใน ภายนอกของบทเรียน ความสอดคล้องกับจุดประสงค์กับเนื้อหาวิชาภาษาอังกฤษ การแสดงผลสามารถให้ข้อมูลได้รวดเร็ว มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.45, 4.4, 4.25, 4.2, 4.1, 4.00, 3.95, 3.95, 3.85 ตามลำดับ

5. ข้อเสนอแนะ

5.1 ควรจะส่งเสริมการใช้ภาษาอังกฤษในชีวิตประจำวันของเด็กไทยให้ได้มากกว่านี้

5.2 ส่งเสริมให้นักเรียนในโรงเรียนร้อยเอ็ดวิทยาลัยหันมาใช้เทคโนโลยีในการศึกษาค้นคว้าและพัฒนาภาษาอังกฤษของตนเอง

สรุปแบบประเมินความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/2

จากการทำโครงงานและพัฒนาบทเรียนออนไลน์(Online)โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ เรื่อง คำสรรพนาม ( Pronoun ) โดยใช้เกณฑ์การประเมินดังต่อไปนี้

เห็นด้วยอย่างยิ่ง มีค่าน้ำหนัก 5 เห็นด้วย มีค่าน้ำหนัก 4 ไม่แน่ใจ มีค่าน้ำหนัก 3 ไม่เห็นด้วย มีค่าน้ำหนัก 2 ไม่เห็นด้วยอย่างยิ่ง มีค่าน้ำหนัก 1

ข้อที่

รายการ

การประเมิน

รวม

5

4

3

2

1

1

ความชัดเจนของเนื้อหา

10

8

2

-

-

20

2

ความถูกต้องและความสมบูรณ์ของข้อมูล

12

8

-

-

-

20

3

การนำสู่เว็บไซต์มีความน่าสนใจ

10

8

1

1

-

20

4

การใช้ภาษาสามารถสื่อความหมายได้ชัดเจน

8

9

3

-

-

20

5

การออกแบบหน้าจอมีความสวยงามเหมาะสม

6

10

4

-

-

20

6

ตัวอักษรมีความเหมาะสม

7

6

7

-

-

20

7

การแสดงผลสามารถให้ข้อมูลได้รวดเร็ว

7

7

5

1

-

20

8

มีการเชื่อมโยงเนื้อหาภายใน ภายนอกของบทเรียน

6

10

1

3

-

20

9

การเน้นส่วนสำคัญของเนื้อหา

6

11

2

-

1

20

10

ความสอดคล้องกับจุดประสงค์กับเนื้อหาวิชาภาษาอังกฤษ

6

11

-

2

1

20

แบบประเมินความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/2

จากการทำโครงงานและพัฒนาบทเรียนออนไลน์(Online)โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ เรื่อง คำสรรพนาม ( Pronoun ) โดยใช้เกณฑ์การประเมินดังต่อไปนี้คำชี้แจง ให้นักเรียนทำเครื่องหมายถูกในช่องการประเมินตามระดับความพึงพอใจ โดยใช้เกณฑ์การประเมินดังต่อไปนี้เห็นด้วยอย่างยิ่ง มีค่าน้ำหนัก 5เห็นด้วย มีค่าน้ำหนัก 4ไม่แน่ใจ มีค่าน้ำหนัก 3ไม่เห็นด้วย มีค่าน้ำหนัก 2ไม่เห็นด้วยอย่างยิ่ง มีค่าน้ำหนัก 1

ข้อที่

รายการ

การประเมิน

5

4

3

2

1

1

ความชัดเจนของเนื้อหา

2

ความถูกต้องและความสมบูรณ์ของข้อมูล

3

การนำสู่เว็บไซต์มีความน่าสนใจ

4

การใช้ภาษาสามารถสื่อความหมายได้ชัดเจน

5

การออกแบบหน้าจอมีความสวยงามเหมาะสม

6

ตัวอักษรมีความเหมาะสม

7

การแสดงผลสามารถให้ข้อมูลได้รวดเร็ว

8

มีการเชื่อมโยงเนื้อหาภายใน ภายนอกของบทเรียน

9

การเน้นส่วนสำคัญของเนื้อหา

10

ความสอดคล้องกับจุดประสงค์กับเนื้อหาวิชาภาษาอังกฤษ

รวม

ข้อเสนอแนะ…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ประวัติผู้จัดทำ

1. นาย วรัชญ์ อาวรณ์ (ช๊อปปิ้ง)

e-mail [email protected]

เบอร์โทร 080-4602322

เกิดวันที่ 16 สิงหาคม 2536

บ้านเลขที่ 157 ม. 13 ต.ขอนแก่น อ.เมือง จ. ร้อยเอ็ด 45000

2. นาย วิศรุต จิระโรจน์สุกล (ป็อด)

e-mail [email protected]

เบอร์โทร 084-7855966

เกิดวันที่ 21 พฤษภาคม 2537

บ้านเลขที่ 57/43 ถนน รณชัยชาญยุทธ์ ต.ในเมือง อ.เมือง จ.ร้อยเอ็ด 45000

3. นาย ชัชวาลย์ วัฒวิเศษ (เท่)

เบอร์โทร 085-4675371

e-mail [email protected]

เกิดวันที่ 22 มิถุนายน 2536

บ้านเลขที่ 150 ม. 1 บ. ดอนทอง ต. สะอาดสมบรูณ์ อ. เมือง จ. ร้อยเอ็ด 45000

4. นาย เจนวิทย์ เหลือผล (ป็อบปี้)

เบอร์โทร 0896227318

e-mail [email protected]

เกิดวันที่ 19 พฤษภาคม 2536

บ้านเลขที่ 54 ม. 13 ต. ศรีสมเด็จ อ.ศรีสมเด็จ จ.ร้อยเอ็ด 45000

5. นางสาว เฟื่องฝน ศรีสุภาพ ( ฝน )

e-mail [email protected]

เบอร์โทร 088-0702166

เกิดวันที่ 12 กันยายน 2536

บ้านเลขที่ 26 ม. 9 บ. หนองเรือ ต. เหนือเมือง อ. เมือง จ. ร้อยเอ็ด 45000

6. นางสาว  กาญจนา  วินทะไชย

e-mail [email protected]

เบอร์โทร 089-5879624

เกิดวันที่ 12 เมษายน 2537

บ้านเลขที่ 29 ม. 6 บ. หนองกะกล้า ต. เหนือเมือง อ. เมือง จ. ร้อยเอ็ด 45000

7. นางสาว  สุพัตรา  อินทะสอน

e-mail [email protected]เบอร์โทร 084-2569874เกิดวันที่ 19 กรกฎาคม 2536บ้านเลขที่ 63 ม. 7 บ. ท่ากลาง ต. ท่ากลาง อ. กมลาไสย จ. กาฬสินธุ์ 46130

ภาพที่ 1 แสดง หน้าหลัก

ภาพที่ 2 แสดง หน้า Members

ภาพที่ 3 แสดง หน้า Pronoun

ภาพที่ 4 แสดงหน้า Test

ภาคผนวก ก

รูปภาพบทเรียนออนไลน์

ภาคผนวก ข

แบบการประเมิน

ภาคผนวก

ประวัติผู้จัดทำ

Projects

The Development of E-learning by Using Social Media for Education in Topic

“ Pronoun ”

By

Mr. Varuch Arwron Class 6/2 Number 4 B

Mr. Wisarut Jirarossakul Class 6/2 Number 8 B

Mr. Chatchawarn Watwisat Class 6/2 Number 1 B

Mr. Jenwit Luepon Class 6/2 Number 6 B

Miss Fuangfon Sisupap Class 6/2 Number 15 B

Miss Kanjana Wintachai Class 6/2 Number 10 B

Miss Suputtra Intason Class 6/2 Number 19 B

Presented to

Mr.Mongkol Klungmontree

This Project presented in Partial Fulfillment of the Requirements of English Subject for

Mattayomsuksa Learners 6/2

Roi-Et Wittayalai School

โครงงาน

เรื่อง

การพัฒนาบทเรียนออนไลน์(Online)

โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media)

รายวิชา ภาษาอังกฤษ (อ 33102)

เรื่อง Pronoun สำหรับนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 6/2

โรงเรียนร้อยเอ็ดวิทยาลัย

เสนอ

คุณครู มงคล คลังมนตรี

โรงเรียนร้อยเอ็ดวิทยาลัย อำเภอ เมือง จังหวัด ร้อยเอ็ด

เขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 27

กระทรวงศึกษาธิการ

พ.ศ. 2555