Transcript
Page 1: Oxyuris equi (Schrank,1788) Rodalphi, 1803vet.kku.ac.th/pathology/somboon/Nemat-Horse-Poultry/...Oxyuris equi (Schrank,1788) Rodalphi, 1803 ช Oxyuris curvula องอพ หร

Oxyuris equi (Schrank,1788) Rodalphi, 1803

ชื่อพอง Oxyuris curvula หรือ O.mastigodes ชื่อสามัญ horse pinworm

พบมากในลาํไสใหญของมา ลา และมาลายทั่วโลก เปนพยาธิทีพ่บตามธรรมดาในมา รูปรางลักษณะ

ลําตัวหนาและมีสีขาว ปลายลําตัวจะเรียวแหลมคลายแส มีริมฝปาก 3 อันแตเห็นไมเดนชัด เปนพยาธิตัวกลมที่มีขนาดเล็ก มองเห็นไดดวยตาเปลา รูปรางยาวเรียว ปลายหางแหลม สีขาว บริเวณสวนหัวจะมีลักษณะจําเพาะของ cephalic alae ซึ่งเปนสวนแผออกดานขางของ cuticle มีหลอดอาหาร(esophagus)แบบoxyuriform (double-bulb shape) ซึ่งประอบดวย corpus, isthmus และ bulb หลอดอาหารจะแคบบริเวณตรงกลาง และสวนปลายของหลอดอาหารจะโปรงเปนกระเปาะ (esophageal bulb,bulbous esophagus) ซึ่งเห็นชัดผานผิวที่คอนขางโปรงใส (semitransparent cuticle) นอกจากนี้จะมี lateral alae ทางดานขางของลําตัว โดยยื่นออกเล็กนอยจากตลอดสองขางลําตัว เมื่อดูภาพตัดขวาง(cross section)จะเห็น lateral alae ชัดเจน

รูปที่ 1 พยาธิเข็มหมุด Enterobius vermicularis ตัวเมีย

ที่มา http://cai.md.chula.ac.th/lesson/ent/contents/end_frame.htm

Page 2: Oxyuris equi (Schrank,1788) Rodalphi, 1803vet.kku.ac.th/pathology/somboon/Nemat-Horse-Poultry/...Oxyuris equi (Schrank,1788) Rodalphi, 1803 ช Oxyuris curvula องอพ หร

รูปที่ 2 สวนหวัของพยาธิเขม็หมุด ทัง้ตัวผูและตัวเมีย ทีส่วนหัวมีลักษณะสําคัญคือ มีแผนเนื้อเยื่อ

บางๆ แผออก 2 ขาง (dorsal-ventral) เรียกวา Cephalic alae ที่มา http://cai.md.chula.ac.th/lesson/ent/contents/end_frame.htm

ตัวผู ยาว9-12มม. หางทู มsีpicule 1อัน รูปหวัเข็มหมุด (pin-shape) มี caudal papillae 3คู ไมgubernaculums

รูปที่ 3 oxyuris equi เพศผู

ที่มา http://cai.md.chula.ac.th/lesson/ent/contents/end_frame.htm

Page 3: Oxyuris equi (Schrank,1788) Rodalphi, 1803vet.kku.ac.th/pathology/somboon/Nemat-Horse-Poultry/...Oxyuris equi (Schrank,1788) Rodalphi, 1803 ช Oxyuris curvula องอพ หร

รูปที่ 4 พยาธิ oxyuris equi ตัวผู

ที่มา http://cal.nbc.upenn.edu/merial/oxyurids/imahes/oxy

รูปที่ 5 พยาธิเข็มหมุดตัวผู มีขนาดยาว 9-12 มิลลิเมตร ปลายหางงอเขาทางดาน ventral มีอวัยวะเพศ (spicule) 1 อัน

ที่มา http://cai.md.chula.ac.th/lesson/ent/contents/end_frame.htm ตัวเมีย ลําตัวพยาธิตัวเมียจะแคบบริเวณหลัง anus พยาธิตัวเมียขณะที่ยงัออนอยูจะมีสีเกือบขาว ลําตัวโคงเล็กนอย และมหีางแหลมสั้น mature female จะมีสีเทาหรือสีน้าํตาล หางจะแคบ ซึ่งอาจจะยาวมากกวา3เทาของความยาวลําตัวที่เหลือ vulva จะตั้งอยูในบริเวณตอนหนาของลําตัว vagina จะมทีิศทางไปทาง posterior uterus เปน single และยื่นยาวมาจนถงึตอนหนาของหาง

Page 4: Oxyuris equi (Schrank,1788) Rodalphi, 1803vet.kku.ac.th/pathology/somboon/Nemat-Horse-Poultry/...Oxyuris equi (Schrank,1788) Rodalphi, 1803 ช Oxyuris curvula องอพ หร

รูปที่ 6 พยาธิเข็มหมุด oxyuris equi ตัวเมีย ที่มา http://cai.md.chula.ac.th/lesson/ent/contents/end_frame.htm

ตารางที ่1 ลักษณะรูปรางของพยาธิเข็มหมุด (oxyuris equi) ตัวเมียเปรียบเทียบกบัตัวผู

พยาธิเข็มหมดุ (oxyuris equi) ลักษณะ ตัวเมีย ตัวผู

ความยาวลําตัว 40-150มม. 9-12มม. หาง เรียวแหลมชี้ตรง ปลายหางงอมาก vulva เปดที่ 1/3 ของความยาวลําตัว - spicule - 1 อัน

ที่มา http://cai.md.chula.ac.th/lesson/ent/contents/ent_frame.htm

Page 5: Oxyuris equi (Schrank,1788) Rodalphi, 1803vet.kku.ac.th/pathology/somboon/Nemat-Horse-Poultry/...Oxyuris equi (Schrank,1788) Rodalphi, 1803 ช Oxyuris curvula องอพ หร

ไขพยาธิ มีลักษณะเรียวยาว(elongate)ดานหนึง่ของไขจะแบนเล็กนอย และม ีplug หรือ operculum ที่ปลายดานหนึง่ของไข ขนาดของไขพยาธยิาว 85-95 ไมครอน และมีตัวออนอยูภายในขณะออกมา

รูปที่ 7-8 ไขพยาธ ิoxyuris equi

ที่มา www.cvm.okstate edu/…/htdoc/disk1/image/img0042.jpg

วงชวีิต(Life cycle) พยาธิตัวผูและตัวเมียที่อาศยัอยูใน caecum และ colon หลังจากผสมพันธุกนัแลวตัวเมียจะเคลื่อนไปอยูที ่rectum แลวเอาลําตัวสวนหนาโผลออกมาทางปลายทวารหนักเพื่อวางไข ไขพยาธิจะติดอยูเปนกลุมตามผิวหนงับริเวณฝเย็บ(perineal) กลุมหนึง่ๆ มีไขพยาธิประมาณ 8,000 ถึง 60,000 ใบ ไขจะเจริญเปนไขพยาธิระยะติดตอภายใน 4-5วัน ไขพยาธินี้บางครั้งหลดุหลนลงบนดนิ ปนอยูกับอาหาร น้าํ ส่ิงปนูอน และมีชวีิตคงทนอยูนานหลายเดือน มาเปนพยาธิ โดยกินไขพยาธิระยะติดตอที่อยูบริเวณฝเย็บ หรือที่ตกอยูในอาหาร น้ําหรือส่ิงปนูอน หลังจากกิน

Page 6: Oxyuris equi (Schrank,1788) Rodalphi, 1803vet.kku.ac.th/pathology/somboon/Nemat-Horse-Poultry/...Oxyuris equi (Schrank,1788) Rodalphi, 1803 ช Oxyuris curvula องอพ หร

เขาไปจะพบพยาธิตัวออนระยะที ่ 3 อยูเปนอิสระใน crypt ของลําไสใหญและลอกคราบเปนพยาธิตัวออนระยะที4่ ประมาณ8-10 วัน หลงัจากกนิไขพยาธริะยะติดตอเขาไปและจะเกาะติดอยูที่ผนังลําไสใหญพบไขพยาธิปนออกมากับอุจจาระ ประมาณ4-5 เดือน หลังจากกินไขพยาธิระยะติดตอเขาไป พยาธิตัวออนระยะที่ 4 มีชีวิตอยูดวยการกินเยื่อเมือกของลําไสเปนอาหาร และอาจจะเปนไปไดวาตัวออนระยะนี้ดูดเลือดกินเปนอาหารดวย แมวาเรื่องนี้ ยังไมมีหลักฐานชัดแจงนักก็ตาม แตตามความเปนจริงที่สังเกตไดคือ ลําตัวของมันมักมีสีน้ําตาลแดงเกิดขึ้นบอยๆสาํหรบัพยาธิตัวแกที่อาศัยอยูใน lumen ของลําไส จะกินสิ่งมีชีวิตที่อยูในลําไสเปนอาหาร

รูปที่ 9 วงจรชวีิตของพยาธหิัวเข็มหมุด

ที่มา http://cal.nbc.upenn.edu/merial/oxyurids.oxy2a.html

Page 7: Oxyuris equi (Schrank,1788) Rodalphi, 1803vet.kku.ac.th/pathology/somboon/Nemat-Horse-Poultry/...Oxyuris equi (Schrank,1788) Rodalphi, 1803 ช Oxyuris curvula องอพ หร

ความสาํคัญ/อันตรายที่เกิดกับ host ลักษณะสําคญัของการติดพยาธินี ้(oxyuriasis) ในมา ไดแก การคันกน ซึ่งเกิดจากการวางไขของพยาธิตัวเมยี การระคายเคอืงทาํใหเกิดการคันกน มาทีเ่ปนพยาธจิะกระวนกระวาย กินอาหารลดลง ซึง่จะทําใหเกิดสภาพทัว่ไปไมสดใส และขนหยาบ มาปวยจะถูบริเวณโคนหางกับส่ิงตางๆ ในคอก ทําใหขนบริเวณดังกลาว หลุดรวง และหางมีลักษณะที่เรียกวา “ rat-tailed” appearance

รูปที่ 10 รอยโรคที่เกิดจาก oxyuris equi ที่มา http://bigfive.il.co.za/oxyuris.htm

การรักษา (treatment) การถายพยาธ ิstrongyle ในมา ตามปกติใชควบคุมพยาธิoxyuris equi ไดดวย ปญหาในการรักษา เกิดเนื่องจาก

- ระยะ preparent ของพยาธนิี้ยาวนาน - สวนใหญของยาถายพยาธทิี่ใชไมมีประสิทธิภาพสูง ในการกําจัดระยะ immature

ของพยาธ ิยาถายพยาธปิระสิทธิภาพสูง สําหรับการถายพยาธินี้ไดแก 1.Mebendazole ขนาด5-10 mg/kg 2.Cambendazole ขนาด 20mg/kg 3.Dichlorvos ขนาด26-52mg/kg ยาถายพยาธอ่ืินๆซึ่งโดยทั่วไปใชสําหรับมา ไดแก 1.Thiabendazole 2.Fenbendazole

Page 8: Oxyuris equi (Schrank,1788) Rodalphi, 1803vet.kku.ac.th/pathology/somboon/Nemat-Horse-Poultry/...Oxyuris equi (Schrank,1788) Rodalphi, 1803 ช Oxyuris curvula องอพ หร

3.Oxibendazole 4.Pyrantel การควบคุม(Control) -มาทีน่ํามาเลีย้งใหม ตองไดรับการถายพยาธิเรียบรอยแลว -คอกที่เลี้ยงมา ตองมีการจดัการสุขาภิบาลที่ดี -กําจัดสิ่งที่ปูรองในคอกทิ้งบอยๆ -น้ําที่ใหมากนิตองสะอาด -อาหารที่ใชเลีย้งมา จะตองไมปนเปอนดวยสิ่งปูรองภายในคอก

เอกสารอางอิง 1. ประภาศรี จงสุขสันติกุล การควบคุมโรคหนอนพยาธใินประเทศไทย รายงานกองโรคติดตอทั่วไป กรมควบคุมโรคติดตอ กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2535 2.อ.สุภรณ โพธิ์เงนิ หนอนพยาธวิิทยา สาขาสัตวแพทยศาสตร พิมพคร้ังที่1 สํานักพิมพจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย พ.ศ. 2525 หนา157-158,161-162,181-183 3.ร.ศ. ภิรมย ศีรวรนารถ มหาวิยาลยัเกษตรศาสตร 2528


Top Related