oxyuris equi (schrank,1788) rodalphi,...

8
Oxyuris equi (Schrank,1788) Rodalphi, 1803 ชื่อพอง Oxyuris curvula หรือ O.mastigodes ชื่อสามัญ horse pinworm พบมากในลําไสใหญของมา ลา และมาลายทั่วโลก เปนพยาธิที่พบตามธรรมดาในมา รูปรางลักษณะ ลําตัวหนาและมีสีขาว ปลายลําตัวจะเรียวแหลมคลายแส มีริมฝปาก 3 อันแตเห็นไม เดนชัด เปนพยาธิตัวกลมที่มีขนาดเล็ก มองเห็นไดดวยตาเปลา รูปรางยาวเรียว ปลายหางแหลม สีขาว บริเวณสวนหัวจะมีลักษณะจําเพาะของ cephalic alae ซึ่งเปนสวนแผออกดานขางของ cuticle มีหลอดอาหาร(esophagus)แบบoxyuriform (double-bulb shape) ซึ่งประอบดวย corpus, isthmus และ bulb หลอดอาหารจะแคบบริเวณตรงกลาง และสวนปลายของหลอด อาหารจะโปรงเปนกระเปาะ (esophageal bulb,bulbous esophagus) ซึ่งเห็นชัดผานผิวทีคอนขางโปรงใส (semitransparent cuticle) นอกจากนี้จะมี lateral alae ทางดานขางของลําตัว โดยยื่นออกเล็กนอยจากตลอดสองขางลําตัว เมื่อดูภาพตัดขวาง(cross section)จะเห็น lateral alae ชัดเจน รูปที1 พยาธิเข็มหมุด Enterobius vermicularis ตัวเมีย ที่มา http://cai.md.chula.ac.th/lesson/ent/contents/end_frame.htm

Upload: hacong

Post on 09-May-2019

217 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: Oxyuris equi (Schrank,1788) Rodalphi, 1803vet.kku.ac.th/pathology/somboon/Nemat-Horse-Poultry/...Oxyuris equi (Schrank,1788) Rodalphi, 1803 ช Oxyuris curvula องอพ หร

Oxyuris equi (Schrank,1788) Rodalphi, 1803

ชื่อพอง Oxyuris curvula หรือ O.mastigodes ชื่อสามัญ horse pinworm

พบมากในลาํไสใหญของมา ลา และมาลายทั่วโลก เปนพยาธิทีพ่บตามธรรมดาในมา รูปรางลักษณะ

ลําตัวหนาและมีสีขาว ปลายลําตัวจะเรียวแหลมคลายแส มีริมฝปาก 3 อันแตเห็นไมเดนชัด เปนพยาธิตัวกลมที่มีขนาดเล็ก มองเห็นไดดวยตาเปลา รูปรางยาวเรียว ปลายหางแหลม สีขาว บริเวณสวนหัวจะมีลักษณะจําเพาะของ cephalic alae ซึ่งเปนสวนแผออกดานขางของ cuticle มีหลอดอาหาร(esophagus)แบบoxyuriform (double-bulb shape) ซึ่งประอบดวย corpus, isthmus และ bulb หลอดอาหารจะแคบบริเวณตรงกลาง และสวนปลายของหลอดอาหารจะโปรงเปนกระเปาะ (esophageal bulb,bulbous esophagus) ซึ่งเห็นชัดผานผิวที่คอนขางโปรงใส (semitransparent cuticle) นอกจากนี้จะมี lateral alae ทางดานขางของลําตัว โดยยื่นออกเล็กนอยจากตลอดสองขางลําตัว เมื่อดูภาพตัดขวาง(cross section)จะเห็น lateral alae ชัดเจน

รูปที่ 1 พยาธิเข็มหมุด Enterobius vermicularis ตัวเมีย

ที่มา http://cai.md.chula.ac.th/lesson/ent/contents/end_frame.htm

Page 2: Oxyuris equi (Schrank,1788) Rodalphi, 1803vet.kku.ac.th/pathology/somboon/Nemat-Horse-Poultry/...Oxyuris equi (Schrank,1788) Rodalphi, 1803 ช Oxyuris curvula องอพ หร

รูปที่ 2 สวนหวัของพยาธิเขม็หมุด ทัง้ตัวผูและตัวเมีย ทีส่วนหัวมีลักษณะสําคัญคือ มีแผนเนื้อเยื่อ

บางๆ แผออก 2 ขาง (dorsal-ventral) เรียกวา Cephalic alae ที่มา http://cai.md.chula.ac.th/lesson/ent/contents/end_frame.htm

ตัวผู ยาว9-12มม. หางทู มsีpicule 1อัน รูปหวัเข็มหมุด (pin-shape) มี caudal papillae 3คู ไมgubernaculums

รูปที่ 3 oxyuris equi เพศผู

ที่มา http://cai.md.chula.ac.th/lesson/ent/contents/end_frame.htm

Page 3: Oxyuris equi (Schrank,1788) Rodalphi, 1803vet.kku.ac.th/pathology/somboon/Nemat-Horse-Poultry/...Oxyuris equi (Schrank,1788) Rodalphi, 1803 ช Oxyuris curvula องอพ หร

รูปที่ 4 พยาธิ oxyuris equi ตัวผู

ที่มา http://cal.nbc.upenn.edu/merial/oxyurids/imahes/oxy

รูปที่ 5 พยาธิเข็มหมุดตัวผู มีขนาดยาว 9-12 มิลลิเมตร ปลายหางงอเขาทางดาน ventral มีอวัยวะเพศ (spicule) 1 อัน

ที่มา http://cai.md.chula.ac.th/lesson/ent/contents/end_frame.htm ตัวเมีย ลําตัวพยาธิตัวเมียจะแคบบริเวณหลัง anus พยาธิตัวเมียขณะที่ยงัออนอยูจะมีสีเกือบขาว ลําตัวโคงเล็กนอย และมหีางแหลมสั้น mature female จะมีสีเทาหรือสีน้าํตาล หางจะแคบ ซึ่งอาจจะยาวมากกวา3เทาของความยาวลําตัวที่เหลือ vulva จะตั้งอยูในบริเวณตอนหนาของลําตัว vagina จะมทีิศทางไปทาง posterior uterus เปน single และยื่นยาวมาจนถงึตอนหนาของหาง

Page 4: Oxyuris equi (Schrank,1788) Rodalphi, 1803vet.kku.ac.th/pathology/somboon/Nemat-Horse-Poultry/...Oxyuris equi (Schrank,1788) Rodalphi, 1803 ช Oxyuris curvula องอพ หร

รูปที่ 6 พยาธิเข็มหมุด oxyuris equi ตัวเมีย ที่มา http://cai.md.chula.ac.th/lesson/ent/contents/end_frame.htm

ตารางที ่1 ลักษณะรูปรางของพยาธิเข็มหมุด (oxyuris equi) ตัวเมียเปรียบเทียบกบัตัวผู

พยาธิเข็มหมดุ (oxyuris equi) ลักษณะ ตัวเมีย ตัวผู

ความยาวลําตัว 40-150มม. 9-12มม. หาง เรียวแหลมชี้ตรง ปลายหางงอมาก vulva เปดที่ 1/3 ของความยาวลําตัว - spicule - 1 อัน

ที่มา http://cai.md.chula.ac.th/lesson/ent/contents/ent_frame.htm

Page 5: Oxyuris equi (Schrank,1788) Rodalphi, 1803vet.kku.ac.th/pathology/somboon/Nemat-Horse-Poultry/...Oxyuris equi (Schrank,1788) Rodalphi, 1803 ช Oxyuris curvula องอพ หร

ไขพยาธิ มีลักษณะเรียวยาว(elongate)ดานหนึง่ของไขจะแบนเล็กนอย และม ีplug หรือ operculum ที่ปลายดานหนึง่ของไข ขนาดของไขพยาธยิาว 85-95 ไมครอน และมีตัวออนอยูภายในขณะออกมา

รูปที่ 7-8 ไขพยาธ ิoxyuris equi

ที่มา www.cvm.okstate edu/…/htdoc/disk1/image/img0042.jpg

วงชวีิต(Life cycle) พยาธิตัวผูและตัวเมียที่อาศยัอยูใน caecum และ colon หลังจากผสมพันธุกนัแลวตัวเมียจะเคลื่อนไปอยูที ่rectum แลวเอาลําตัวสวนหนาโผลออกมาทางปลายทวารหนักเพื่อวางไข ไขพยาธิจะติดอยูเปนกลุมตามผิวหนงับริเวณฝเย็บ(perineal) กลุมหนึง่ๆ มีไขพยาธิประมาณ 8,000 ถึง 60,000 ใบ ไขจะเจริญเปนไขพยาธิระยะติดตอภายใน 4-5วัน ไขพยาธินี้บางครั้งหลดุหลนลงบนดนิ ปนอยูกับอาหาร น้าํ ส่ิงปนูอน และมีชวีิตคงทนอยูนานหลายเดือน มาเปนพยาธิ โดยกินไขพยาธิระยะติดตอที่อยูบริเวณฝเย็บ หรือที่ตกอยูในอาหาร น้ําหรือส่ิงปนูอน หลังจากกิน

Page 6: Oxyuris equi (Schrank,1788) Rodalphi, 1803vet.kku.ac.th/pathology/somboon/Nemat-Horse-Poultry/...Oxyuris equi (Schrank,1788) Rodalphi, 1803 ช Oxyuris curvula องอพ หร

เขาไปจะพบพยาธิตัวออนระยะที ่ 3 อยูเปนอิสระใน crypt ของลําไสใหญและลอกคราบเปนพยาธิตัวออนระยะที4่ ประมาณ8-10 วัน หลงัจากกนิไขพยาธริะยะติดตอเขาไปและจะเกาะติดอยูที่ผนังลําไสใหญพบไขพยาธิปนออกมากับอุจจาระ ประมาณ4-5 เดือน หลังจากกินไขพยาธิระยะติดตอเขาไป พยาธิตัวออนระยะที่ 4 มีชีวิตอยูดวยการกินเยื่อเมือกของลําไสเปนอาหาร และอาจจะเปนไปไดวาตัวออนระยะนี้ดูดเลือดกินเปนอาหารดวย แมวาเรื่องนี้ ยังไมมีหลักฐานชัดแจงนักก็ตาม แตตามความเปนจริงที่สังเกตไดคือ ลําตัวของมันมักมีสีน้ําตาลแดงเกิดขึ้นบอยๆสาํหรบัพยาธิตัวแกที่อาศัยอยูใน lumen ของลําไส จะกินสิ่งมีชีวิตที่อยูในลําไสเปนอาหาร

รูปที่ 9 วงจรชวีิตของพยาธหิัวเข็มหมุด

ที่มา http://cal.nbc.upenn.edu/merial/oxyurids.oxy2a.html

Page 7: Oxyuris equi (Schrank,1788) Rodalphi, 1803vet.kku.ac.th/pathology/somboon/Nemat-Horse-Poultry/...Oxyuris equi (Schrank,1788) Rodalphi, 1803 ช Oxyuris curvula องอพ หร

ความสาํคัญ/อันตรายที่เกิดกับ host ลักษณะสําคญัของการติดพยาธินี ้(oxyuriasis) ในมา ไดแก การคันกน ซึ่งเกิดจากการวางไขของพยาธิตัวเมยี การระคายเคอืงทาํใหเกิดการคันกน มาทีเ่ปนพยาธจิะกระวนกระวาย กินอาหารลดลง ซึง่จะทําใหเกิดสภาพทัว่ไปไมสดใส และขนหยาบ มาปวยจะถูบริเวณโคนหางกับส่ิงตางๆ ในคอก ทําใหขนบริเวณดังกลาว หลุดรวง และหางมีลักษณะที่เรียกวา “ rat-tailed” appearance

รูปที่ 10 รอยโรคที่เกิดจาก oxyuris equi ที่มา http://bigfive.il.co.za/oxyuris.htm

การรักษา (treatment) การถายพยาธ ิstrongyle ในมา ตามปกติใชควบคุมพยาธิoxyuris equi ไดดวย ปญหาในการรักษา เกิดเนื่องจาก

- ระยะ preparent ของพยาธนิี้ยาวนาน - สวนใหญของยาถายพยาธทิี่ใชไมมีประสิทธิภาพสูง ในการกําจัดระยะ immature

ของพยาธ ิยาถายพยาธปิระสิทธิภาพสูง สําหรับการถายพยาธินี้ไดแก 1.Mebendazole ขนาด5-10 mg/kg 2.Cambendazole ขนาด 20mg/kg 3.Dichlorvos ขนาด26-52mg/kg ยาถายพยาธอ่ืินๆซึ่งโดยทั่วไปใชสําหรับมา ไดแก 1.Thiabendazole 2.Fenbendazole

Page 8: Oxyuris equi (Schrank,1788) Rodalphi, 1803vet.kku.ac.th/pathology/somboon/Nemat-Horse-Poultry/...Oxyuris equi (Schrank,1788) Rodalphi, 1803 ช Oxyuris curvula องอพ หร

3.Oxibendazole 4.Pyrantel การควบคุม(Control) -มาทีน่ํามาเลีย้งใหม ตองไดรับการถายพยาธิเรียบรอยแลว -คอกที่เลี้ยงมา ตองมีการจดัการสุขาภิบาลที่ดี -กําจัดสิ่งที่ปูรองในคอกทิ้งบอยๆ -น้ําที่ใหมากนิตองสะอาด -อาหารที่ใชเลีย้งมา จะตองไมปนเปอนดวยสิ่งปูรองภายในคอก

เอกสารอางอิง 1. ประภาศรี จงสุขสันติกุล การควบคุมโรคหนอนพยาธใินประเทศไทย รายงานกองโรคติดตอทั่วไป กรมควบคุมโรคติดตอ กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2535 2.อ.สุภรณ โพธิ์เงนิ หนอนพยาธวิิทยา สาขาสัตวแพทยศาสตร พิมพคร้ังที่1 สํานักพิมพจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย พ.ศ. 2525 หนา157-158,161-162,181-183 3.ร.ศ. ภิรมย ศีรวรนารถ มหาวิยาลยัเกษตรศาสตร 2528