digital economy plan of thailand

22
การพัฒนาดิจิทัล เพื่อเศรษฐกิจและสังคมไทย: อนาคตและเปาหมายของประเทศ โดย ดร.อุตตม สาวนายน รัฐมนตรีวาการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 30 สิงหาคม 2559

Upload: boonlert-aroonpiboon

Post on 19-Feb-2017

14 views

Category:

Government & Nonprofit


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: Digital Economy Plan of Thailand

การพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมไทย:

อนาคตและเปาหมายของประเทศโดย

ดร.อุตตม สาวนายน

รัฐมนตรีวาการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร

30 สิงหาคม 2559

Page 2: Digital Economy Plan of Thailand

เทคโนโลยีดิจิทัลกับการเปล่ียนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคม

ทิศทางการพัฒนาประเทศตามแผนพัฒนาดจิิทัลเพือ่เศรษฐกิจและสงัคม-ดิจทิัลไทยแลนด

การขับเคล่ือนแผนฯ ในระยะเรงดวนอยางเปนรปูธรรมและตอเน่ือง

• ยกระดับและขยายโครงขายพื้นฐานเพื่อการเขาถึงที่ทั่วถึงและเทาเทยีม

• สรางศักยภาพใหกับชุมชนทั่วประเทศ

• เสริมทักษะและโอกาสในการเรียนรูของประชาชน

• สงเสริมภาคธุรกิจใหเขมแข็งดวยเทคโนโลยีและขอมูล

• ปรับเปล่ียนภาครัฐสูรัฐบาลดิจิทัล

การเตรียมความพรอมของประเทศสูดิจทิัลไทยแลนด

• ขับเคล่ือนอยางบูรณาการทั้งระดับนโยบายและปฏิบัติ

• ปรับปรุงกฎหมาย กฎระเบียบใหรองรับการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมดิจิทัล

• เตรียมความพรอมของหนวยงานภาครัฐเขาสูยุคดิจิทัล

2

Page 3: Digital Economy Plan of Thailand

เทคโนโลยีดิจิทัลกับการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคม

3

1

Page 4: Digital Economy Plan of Thailand

เทคโนโลยีที่สงผลตอระบบเศรษฐกิจและสังคมยุคดิจิทัล

4

Mobile Internet &

Broadband InternetAutomation Internet of Things

100% ของแอพพลิเคชัน่จะอยู่บนมือถือภายในปี 2017

อปุกรณ์กว่า 75 พนัล้านเครื่องจะ

เช่ือมต่อกนัภายในปี 202090% ของข้อมลูในโลกถกู

สร้างขึน้เพียงแค่ 2 ปีท่ีผา่นมา

Source: Shaun Ray of AWS Amazon

Connecting People Creating Innovation Accelerating Pace

Page 5: Digital Economy Plan of Thailand

บริบทความทาทายในการพัฒนาประเทศไทย

5

กาวขามกับดักรายไดปานกลางพัฒนาขีดความสามารถของเกษตร อุตสาหกรรม และบริการ

ปรับตัวและฉกฉวยโอกาสจากเวทีการคาและการ

ลงทุนระดับโลก

แกปญหาความเหล่ือมลํ้าของสังคม

บริหารจัดการสังคมผูสูงอายุ

แกปญหาคอรัปช่ัน

พัฒนาศักยภาพคนในประเทศ

เทคโนโลยีดิจิทัลในรูปแบบท่ีเหมาะสมสามารถชวยในการจัดการปญหาเหลาน้ีไดอยางท่ัวถึงและมีประสิทธิภาพ

Page 6: Digital Economy Plan of Thailand

6

Big Data และ Analytics – ทรัพยากรแหลงใหมของโลก

Big Data of

Healthcare Data

ขอมูลสุขภาพ (personal health and wellness) ขอมูลโรงพยาบาล (hospital) ขอมูล public health ขอมูล personal health กับ IoT

Image: http://www.ibmbigdatahub.com/infographic/flood-big-data

Presenter
Presentation Notes
Healthcare Data ข้อมูลสุขภาพ (personal health and wellness) ข้อมูลโรงพยาบาล (hospital) ข้อมูล public health ข้อมูล personal health กับ IoT ข้อมูลแต่ละ Item ก็จะมี Big Data ที่ต่างกัน และ มี model ที่ต่างกัน เช่น ข้อมูลสุขภาพ สามารถนำข้อมูลคนไทยที่ออกกำลังกายมาทำเป็น model ว่า ออกกำลังกายอย่างไรถึงจะสุขภาพดี แล้วก็เชื่อมต่อกับข้อมูลสุขภาพใน Apple Watch เพื่อเปรียบเทียบว่าจะสุขภาพเป็นอย่างไรจากการเดินในสิบวัน และrecommend วิธีการออกกำลังกายเพิ่มให้อีก
Page 7: Digital Economy Plan of Thailand

Sensors in smart phones

• Microphones• Cameras• Video• Ambient Light sensor• Moisture sensor• Temperature sensor• Blood vessel reader

7

Data

Data

Data

Data

Data

Data

• GPS/GNSS• Accelerometers• Gyroscope• Compass• Very precise clock• Fingerprint reader

Source: Dr.Thaweesak Koanantakool

Page 8: Digital Economy Plan of Thailand

8

Source: http://digitalhealthpost.com/wp-content/uploads/2014/08/infographic_dh.jpg

Page 9: Digital Economy Plan of Thailand

คาใชจายในการถอดรหัสพันธุกรรมที่ลดลงเร็วมาก

9

อีกไมเกินสามป บริการถอดรหัสพันธุกรรมใหแกบุคคลทั่วไป จะมีราคาไมเกิน 1000 เหรียญสหรัฐ

Page 10: Digital Economy Plan of Thailand

10

เช่ือมโยงระบบการให้บริการเวช

ระเบียนอิเลค็โทรนิคของโรงพยาบาลในเครือทัว่

ประเทศ (Single Patient Electronic

Medical Record: EMR)

ตนแบบ Smarter Healthcare ในประเทศไทย

ใชประโยชนจากขอมูลตางๆ ในองคกรไดอยางถูกตองแมนยําในแบบเรียลไทม เพ่ือสรางความ

แตกตางใหกับการบริการสุขภาพทั่วๆ ไป

ลูกคาและผูปวยจะไดรับการบริการทีต่รงกับความตองการเฉพาะบุคคลมากขึ้น เพราะโรงพยาบาลสามารถนําขอมูลเกี่ยวกับผลการตรวจรางกายของลูกคาแตละรายมาวิเคราะหสถิติที่บงชี้โรคที่เกิดขึ้นในอดีตถึงปจจุบัน เชน ประวัติการปวย ประวัติการปวยของคนในครอบครัว เปนตน เพื่อคาดการณแนวโนมสุขภาพของผูปวยพรอมทั้งวางแผนการรักษาและดูแลสุขภาพที่

เหมาะกับแตละคนไดตั้งแตการปองกัน การรักษาและดูแลฟนฟูหลังการรักษา

Source: http://www.pawoot.com/4-trends-change-world

Presenter
Presentation Notes
โรงพยาบาลกรุงเทพเป็นเครือโรงพยาบาลเอกชนแห่งแรกๆ ในประเทศไทย ที่ได้นำเทคโนโลยีเพาเวอร์ซิสเต็มของไอบีเอ็มมาใช้ในการเข้าถึงระบบสารสนเทศโรงพยาบาล (Hospital Information System: HIS) ที่เชื่อมโยงระบบการให้บริการเวชระเบียนอิเล็คโทรนิค (Single Patient Electronic Medical Record: EMR) ของของโรงพยาบาลในเครือทั่วประเทศ รวม 30 โรงพยาบาล ตั้งอยู่ใน 11 จังหวัด ระบบเพาเวอร์ซิสเต็มส์ช่วยประมวลผลจากข้อมูลทั้งที่เกี่ยวกับลูกค้าและการบริหารจัดการโรงพยาบาล เพื่อช่วยให้โรงพยาบาลให้บริการได้ดียิ่งขึ้น และบริหารได้มีประสิทธิภาพมากขึ้น ประโยชน์ได้แก่ ประโยชน์ต่อลูกค้าและผู้ป่วย – ลูกค้าและผู้ป่วยจะได้รับการบริการที่ตรงกับความต้องการเฉพาะบุคคลมากขึ้น  เพราะโรงพยาบาลสามารถนำข้อมูลเกี่ยวกับผลการตรวจร่างกายของลูกค้าแต่ละรายมาวิเคราะห์สถิติที่บ่งชี้โรคที่เกิดขึ้นในอดีตถึงปัจจุบัน เช่น ประวัติการป่วย ประวัติการป่วยของคนในครอบครัว เป็นต้น เพื่อคาดการณ์แนวโน้มสุขภาพของผู้ป่วยพร้อมทั้งวางแผนการรักษาและดูแลสุขภาพที่เหมาะกับแต่ละคนได้ตั้งแต่การป้องกัน การรักษาและดูแลฟื้นฟูหลังการรักษา ผลลัพธ์ได้แก่      จำนวนผู้ป่วยนอกที่เข้ามารับการรักษาเพิ่มขึ้น 25% ต่อวัน      จำนวนลูกค้าที่มีความพึงพอใจในบริการและเข้ามารับบริการจากโรงพยาบาลต่อเนื่อง เพิ่มขึ้นเป็น 30%      เพิ่มประสิทธิภาพ ความปลอดภัย และให้การดูแลรักษาที่ต่อเนื่องได้อย่างดี ประโยชน์ต่อโรงพยาบาล – สามารถวางแผนการลงทุน การบริหารการเงิน การจัดการ และการสร้างสรรค์บริการใหม่ๆ ที่เหมาะกับลูกค้าของตนเอง  และเพิ่มผลประกอบการให้แก่โรงพยาบาล  เช่น ในด้านการวางแผนการสร้างสรรค์บริการใหม่ๆ โรงพยาบาลกรุงเทพสามารถเชื่อมโยงข้อมูลสถิติเกี่ยวกับผู้ป่วยและการตรวจรักษา เข้ากับการบริหารจัดการ  ทำให้ผู้บริหารสามารถคาดการณ์ล่วงหน้าได้ว่า ผู้ป่วยส่วนมากเข้ารับการรักษาด้วยโรคอะไร  หรือมาหาแพทย์เพราะอะไร ทำให้สามารถจัดโปรแกรมการตรวจสุขภาพที่ตรงตามความต้องการของลูกค้า หรือเตรียมตัวได้ว่าแนวโน้มคนไข้จะต้องการการรักษาด้านใด และสามารถเตรียมบุคลากร เครื่องมือ และบริการไว้รองรับแนวโน้มดังกล่าว ส่วนในด้านการบริหารจัดการ จากข้อมูลเรื่องความต้องการของผู้ป่วย ทำให้โรงพยาบาลวางแผนล่วงหน้าเรื่องการลงทุนในเครื่องมือ บุคลากรด้านต่างๆ ที่จะช่วยให้ดูแลผู้ป่วยได้ดีขึ้น  สามารถคาดการณ์และเตรียมตัวได้ว่าต้องออกบริการใหม่สำหรับลูกค้ากลุ่มใด มีตลาดเท่าไร และต้องการเงินลงทุนเท่าไร  จะคุ้มทุนในกี่ปี เพื่อให้รองรับทิศทางการขยายตัวและการบริการของโรงพยาบาลในอนาคต Source: http://www.pawoot.com/4-trends-change-world
Page 11: Digital Economy Plan of Thailand

11

ใชซูเปอรคอมพิวเตอร IBM Watson ชวยวิเคราะหโรคมะเร็ง

ใช IBM Watson for Oncology เพ่ือชวยใหแพทยวางแผนการรักษาอยางมีประสิทธิภาพมากท่ีสุดสําหรับผูปวยมะเร็ง โดยการอางอิงจากขอมูลประวัติผูปวยแตละราย รวมถึงหลักฐานทางการแพทย เอกสารทางวิชาการ และความเชี่ยวชาญทางการแพทย โดยไอบีเอ็มวัตสันจะทําหนาท่ีวิเคราะหขอมูลจํานวนมหาศาล และนําเสนอขอสรุปเปนแนวทางตางๆ อยางสอดคลองกับผูปวยแตละราย ซ่ึงรวมถึงทางเลือกในการรักษาท่ีอางอิงตามหลักปฏิบัติของ

เครือขายมะเร็งครบวงจรแหงชาติ (National Comprehensive Cancer Network: NCCN)

Source: https://www.bumrungrad.com/th/horizon-cancer-treatment-center-chemotherapy-bangkok-thailand/supportive-technology/ibm-watson

Page 12: Digital Economy Plan of Thailand

12

Page 13: Digital Economy Plan of Thailand

ทิศทางการพัฒนาประเทศตามแผนพัฒนาดจิิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม - ดิจิทัลไทยแลนด

13

2

Page 14: Digital Economy Plan of Thailand

การพัฒนาเศรษฐกิจสังคมดิจิทัลนําไปสู...

14

วิธีการคิดใหม - กระบวนการเรียนรูใหม –กระบวนการทํางานใหม - โมเดลธุรกิจใหม -

วิถีชีวิตใหม

ประเทศไทย 1.0สังคมเกษตรกรรม

ประเทศไทย 2.0สังคมอุตสาหกรรมเบา

ประเทศไทย 3.0สังคมอุตสาหกรรมหนัก

ประเทศไทย 4.0

Page 15: Digital Economy Plan of Thailand

ดิจิทัลไทยแลนด (Digital Thailand)หมายถึง ประเทศไทยสามารถสรางสรรค และใช

ประโยชนจากเทคโนโลยีดิจิทัลอยางเต็มศักยภาพในการพัฒนา โครงสรางพื้นฐาน นวัตกรรม ขอมูล ทุนมนุษย และทรัพยากรอ่ืนใด เพื่อขับเคล่ือนการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ ไปสูความม่ันคง ม่ังคั่ง และยั่งยืน

ปฏิรูปประเทศไทยสูดิจิทัลไทยแลนด

วิสัยทัศน

15

Page 16: Digital Economy Plan of Thailand

ภูมิทัศนดิจิทัลของไทยในระยะเวลา ๒๐ ป

16

ระยะท่ี ๑Digital Foundation

ประเทศไทยลงทุน และสรางฐานรากในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมดิจิทัล

ระยะที่ ๒

Digital Thailand I: Inclusionทุกภาคสวนของประเทศไทยมีสวนรวมในเศรษฐกิจและสังคมดิจิทัลตามแนวทาง

ประชารัฐ

ระยะที่ ๓Digital Thailand II: Full Transformation

ประเทศไทยกาวสูการเปนดิจิทัลไทยแลนดที่ขับเคลื่อนและใชประโยชนจากนวัตกรรมดิจิทัลได

อยางเต็มศักยภาพ

ระยะที่ ๔

Global Digital Leadershipประเทศไทยอยูในกลุมประเทศที่พัฒนาแลว

สามารถใชเทคโนโลยีดิจิทัลสรางมูลคาทางเศรษฐกิจ

และคุณคาทางสังคมอยางยั่งยืน

๑ ป ๖ เดือน

๕ ป

๑๐ ป

๑๐ - ๒๐ ป

Page 17: Digital Economy Plan of Thailand

๑. เพิ่มขีดความสามารถในการแขงขัน กาวทันเวทีโลก

ขีดความสามารถในการแขงขันของประเทศใน World Competitiveness

Scoreboard อยูในกลุมประเทศท่ีมีการพัฒนาสูงสุด ๑๕ อันดับแรก

อุตสาหกรรมดิจิทัลมีสวนสําคัญในการขับเคล่ือนประเทศไทยสูการเปนประเทศท่ีมีรายไดสูง โดยสัดสวนมูลคาอุตสาหกรรมดิจิทัลตอ GDP เพ่ิมขึ้น เปนรอยละ ๒๕

๒. สรางโอกาสและความเทาเทียมทางสังคม

ประชาชนทุกคนตองสามารถเขาถงึอินเทอรเน็ตความเร็วสงูอันถอืเปนสาธารณูปโภคพ้ืนฐานประเภทหนึ่ง

ประชาชนทุกคน มีความรู ความเขาใจ ความตระหนัก และทักษะในการใชเทคโนโลยดิีจิทัลใหเกิดประโยชนและสรางสรรค (Digital Literacy)

๓. พัฒนาทนุมนุษยสูยุคดิจิทัล

๔.ปฏิรูปภาครัฐ

อันดับการพัฒนาดานรัฐบาลดิจิทัล ในการจัดลําดับของ UN e-Government rankings อยูในกลุมประเทศท่ีมีการพัฒนาสูงสุด ๕๐ อันดับแรก ดิจิทัลไทยแลนด

อันดับการพัฒนาดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศในดัชน ีICT Development Index (IDI) อยูในกลุมประเทศท่ีมีการพัฒนาสูงสุด ๔๐ อันดับแรก

เปาหมาย ๑๐ ป

17ลดความเหล่ือมลํ้า

Digital Divide

พลกิโฉมประเทศไทยDigital Transformation

สรางคน สรางงาน Smart People & High Value Job

เขาถึงขอมูล/บรกิารภาครฐัOpen Government

Presenter
Presentation Notes
เป้าหมาย 1 WCS ตอนนี้อยู่ที่ 30 จาก 61 ประเทศ GDP contribution ตอนนี้ปี 53 อยู่ที่ 14.3 เป้าหมาย 2 ปัจจุบันประมาณร้อยละ 53 ของจำนวนหมู่บ้าน (ทั้งหมด 74,965 หมู่บ้าน) มีโครงข่ายให้บริการอินเทอร์เน็ตความเร็วสูงแบบใช้สาย ประมาณร้อยละ 7 ของจำนวนหมู่บ้านอยู่ในพื้นที่ห่างไกลมาก และไม่เหมาะกับการติดตั้งโครงข่ายอินเทอร์เน็ตแบบใช้สาย FCC (USA) 2015 กำหนดความเร็วอินเทอร์เน็ตความเร็วสูงคือ 25 Mbps (down)/3Mbps (up) จากเดิม 4 Mbps (down)/ 1Mbps (up) รัฐบาลมีโครงการสนับสนุนการดำเนินโครงการสร้างโครงข่ายอินเทอร์เน็ตความเร็วสูงครอบคลุมหมู่บ้านอีก 30,000 หมู่บ้าน (ประมาณร้อยละ 40) ปัจจุบันพื้นที่ในเขตเทศบาลเมืองทุกจังหวัดและพื้นที่เศรษฐกิจ มีโครงข่ายอินเทอร์เน็ตเข้าถึงแล้ว แต่หากผู้ใช้ต้องการขอใช้บริการ จะต้องมีสร้างการเชื่อมต่อโครงข่ายในส่วนปลาย last mile และปรับปรุงอุปกรณ์ที่ชุมสายให้ทันสมัยรองรับบริการอินเทอร์เน็ตความเร็วสูง 100 Mbps IDI อยู่ที่ 74 จาก 161 เป้าหมาย 3 ยังไม่มีการวัดที่ชัดเจน กำลังจะจัดทำ แต่กรอบ ict2020 ตั้งไว้ที่ 75% ภายในปี 2020 เป้าหมายที่ 4 ปัจจุบัน 102 จาก 193
Page 18: Digital Economy Plan of Thailand

ยุทธศาสตร

18

๑.พัฒนาโครงสรางพื้นฐานดิจิทัล

ประสิทธิภาพสูง ใหครอบคลุมทั่วประเทศเขาถึง พรอมใช จายได

๒. ขับเคล่ือนเศรษฐกิจดวยเทคโนโลยีดิจิทัล

ขับเคล่ือน New S-Curve เพ่ิมศักยภาพ สรางธุรกิจ เพ่ิมมูลคา

๓. สรางสังคมคุณภาพดวยเทคโนโลยีดิจิทัล

สรางการมีสวนรวม การใชประโยชนอยางท่ัวถงึ และ

เทาเทียม

๕. พัฒนากําลังคนใหพรอมเขาสูยุคเศรษฐกิจและสังคมดิจิทัลสรางคน สรางงาน

สรางความเขมแข็งจากภายใน

๔. ปรับเปล่ียนภาครัฐสูการเปนรัฐบาลดิจิทัล

โปรงใส อํานวยความสะดวก รวดเร็ว เชื่อมโยงเปนหนึ่งเดียว

๖. สรางความเชื่อม่ันในการใชเทคโนโลยีดิจิทัล

กฎระเบียบทันสมยั เชื่อมั่นในการลงทุน

มีความมั่นคงปลอดภยั

แนวทางประชารัฐขับเคลื่อนยุทธศาสตร

ขยายโครงขายโทรคมนาคมท่ีทันสมัย

กาวทันเวทีโลกดวยดิจิทัล

สรางโอกาส สรางความเทาเทียมยกระดับประสิทธิภาพ

และประสิทธิผลสูรัฐบาลดิจิทัล

สรางคนไทย 4.0 + ดิจิทัล

สรางระบบนิเวศดิจิทัลยั่งยืน เปนท่ียอมรับในระดับสากล

Page 19: Digital Economy Plan of Thailand

การขับเคลื่อนแผนพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมใน Healthcare Industry

19

3

Page 20: Digital Economy Plan of Thailand

โครงการพัฒนาระบบระเบียนสุขภาพอิเล็กทรอนิกสสวนบุคคลเพื่อการบริการดานสาธารณสุข

เปนการนําเทคโนโลยีดิจิทัลมาสนับสนุนการบริการระบบสุขภาพสวนบุคคลใหกับประชาชนและบุคลากรทางการแพทย เพ่ือใหเกิดประโยชนดานการใหบริการดานสุขภาพและเพ่ิมการเขาถึงเทคโนโลยีดิจิทัลในภาคประชาชน

20

Page 21: Digital Economy Plan of Thailand

ขอบเขตการขยายผลระยะที่ 3

1. ขยายจังหวัดนํารอง จํานวน 4 จังหวัด ไดแก

• จังหวัดภูเก็ต

• จังหวัดเพชรบูรณ

• จังหวัดรอยเอ็ด

• จังหวัดกาญจนบุรี

2. นํารองการใชงานระบบระเบียนสุขภาพอิเล็กทรอนิกสสวนบุคคล (Personal Health Record: PHR) ของแตละจังหวัดนํารอง 4 จังหวัด

3. อบรมการใชงานระบบระเบียนสุขภาพอิเล็กทรอนิกสสวนบุคคล

21

Page 22: Digital Economy Plan of Thailand

ขอบคุณ

47www.digitalthailand.in.th/