design and development peeling machine coconut · 2011. 9. 5. · conut shell peeling machine by...

4
657 การประชุมวิชาการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประจำาปี 2554 “การพัฒนาอนาคตชนบทไทย : ฐานรากที่มั่นคงเพื่อการพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืน” 27-29 มกราคม 2554 บทคัดย่อ งานวิจัยนี้เป็นแนวทางในการออกแบบ และ พัฒนาเครื่อง ปอกเปลือกมะพร้าวแห้ง โดยอาศัยหลักการของแรงบิดจากมอเตอร์ ไฟฟ้า เครื่องปอกเปลือกมะพร้าวนี้เหมาะสำาหรับใช้ในการประกอบ อุตสาหกรรมภายในครัวเรือนเป็นอย่างยิ่ง การปอกเปลือกมะพร้าววิธี ดั้งเดิมคือการใช้ง้าวเป็นอุปกรณ์ในการปอกเปลือกซึ่งทำาการปอกยาก ลำาบาก และ เสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุ ปัจจุบันเป็นยุคแห่งเทคโนโลยี จึงคิดประดิษฐ์และสร้างเครื่องปอกเปลือกมะพร้าวเพื่อลดระยะเวลาใน การปอกเปลือกมะพร้าว งานวิจัย มีวัตถุประสงเพื่อพัฒนาเครื่องปอก เปลือกมะพร้าวขึ้นเพื่อช่วยในการประหยัดเวลาในการปอกที่เร็วขึ้น จากเดิมใช้คนปอกโดยประมาณ 5 นาที / 2 ลูก แต่จากการทดสอบ ประสิทธิภาพของเครื่องปอกเปลือกมะพร้าวที่กล่าวมาโดยประมาณ 5นาที / 12ลูก โครงสร้างของเครื่องปอกเปลือกมะพร้าว ขนาดของ มอเตอร์ 2 HP ส่งกำาลังโดยการใช้โซ่ในการบิดเพื่อปอกเปลือกของ มะพร้าว ใช้ขนาดของตัวปอกเปลือกมะพร้าวขนาด 4 นิ้ว ขนาด ของเพลาทำาด้วยเหล็กเส้นผ่าศูนย์กลาง 1 นิ้ว ขนาดของลูกมะพร้าว เฉลี่ยโดยทั่วไป ในการเลือกลูกมะพร้าวที่ใช้ในการปอกจะเลือกลูก มะพร้าวที่มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางเฉลี่ย 15 - 20 เซ็นติเมตร ซึ่ง จะมีผลด้านการใช้งานของลูกมะพร้าวที่สมบูรณ์จากการทดลองผล ที่ทำาการทดลอง โดยจำากัดเวลาใช้เวลา 1 นาที ปอกได้ 2-3 ลูก ใน 1 ชั่วโมง จะปอกเปลือกมะพร้าวได้ประมาณถึง 150 ลูก คำ�สำ�คัญ : มะพร้าว เครื่องปอกเปลือกมะพร้าว Abstract This research is the development and design of a co- conut shell peeling machine by principle of torque. The machine is suitable to use in industrial operations within the household are extremely. The research aims to develop the coconut shell peeling machine to save time for peeling the coconut shell. That is, the effectiveness of this machine should be about 5 minute / 12 balls. As conventional peeling by human have effective- ness as 5 minute / 2 balls. The structure of machine has the 2 horsepower motor to generate torques to 1 inch diameter shaft for peeling 4 inch diameter of coconut. The experimental results show that the machine can peel coconut shells for coconut size of 15-20 centimeter as 2-3 balls and 150 balls for 1 minute and 1 hour, respectively. ก�รออกแบบและพัฒน�เครื่องปอกเปลือกมะพร้�วแห้ง Design and Development Peeling Machine Coconut ปิยชาติ ธาตรีนรานนท์ 1 1 คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ 450 ถ.สุพรรณบุรี-ชัยนาท ต.ย่านยาว อ.สามชุก จ.สุพรรณบุรี 72130 โทรศัพท์ : 035-543016 E-mail: [email protected] Keywords: coconut, coconut peeling machine 1.บทนำ� ปัจจุบันประเทศไทยได้มีการทำาการเกษตรซึ่งถือว่าเป็น อาชีพหลักของคนไทย และได้มีการปลูกต้นมะพร้าวซึ่งถือว่าเป็นพืช หลักอีกชนิดหนึ่งของประเทศไทย ทางภาคใต้ปลูกกันเป็นจำานวนมาก เริ่มตั้งแต่จังหวัดเพชรบุรี จังหวัดชุมพร จังหวัดสุราษฎร์ธานี ฯลฯ เพื่อ นำาเอาลูกมะพร้าวมาใช้ประโยชน์ในหลายๆด้าน คือการนำาเอาไปใช้ ทำาอาหาร ทำาขนม ทำาผลิตภัณฑ์ต่างๆจึงถือว่าเป็นพืชเศรษฐกิจอีก ชนิดหนึ่ง ที่ทำารายได้ให้กับประเทศไทยเพราะเราได้นำาผลผลิต ที่ได้ จากมะพร้าวส่งออกไปยังต่างเทศมากมายไม่ว่าจะเป็นนำ้ากะทิบรรจุ กล่อง หรือเป็นรูปของผลิตภัณฑ์สำาเร็จรูปเครื่องประดับหรือแม้กระทั่ง เปลือกมะพร้าว ก็สามารถนำามาเป็นปุ๋ยในการปลูกต้นไม้ได้[1] ในอดีต การปอกเปลือกมะพร้าวโดยใช้วิธีการแบบดั้งเดิม เราจะต้องใช้แรงงาน คนเป็นจำานวนมากทำาให้เสียเวลาและค่าใช้จ่ายในการจ้างคน การปอก เปลือกมะพร้าวจะต้องอาศัยความชำานาญ และประสบการณ์เนื่องจาก เปลือกมีความแข็งมาก ส่วนอุปกรณ์ที่ใช้ในการปอกเปลือกมะพร้าว ต้องใช้ง้าวทำาให้เกิดอันตรายขณะทำางาน จากการศึกษาข้อมูลที่กล่าว มานี้กลุ่มผู้จัดทำาจึงมีแนวคิดที่จะพัฒนา ให้มีขั้นตอนในการทำางานใหมีการผลิตที่ดีขึ้นกว่าแบบเดิม จึงได้มีการออกแบบและพัฒนาเครื่อง ปอกเปลือกมะพร้าวให้มีอัตราการผลิตมากขึ้น และผลผลิตที่ได้มี คุณภาพมากกว่าแบบเดิม ซึ่งแบบเดิมที่มีใช้กันอยู่ในปัจจุบันยังมีข้อ บกพร่องหลายอย่างและผลผลิตที่ออกมายังไม่สมบูรณ์ แต่เครื่องใหมที่จะทำาขึ้นมานี้จะสามารถผลิตได้ 150 ลูกต่อชั่วโมงและผลผลิตที่ออก มาจากเครื่องนี้จะมีคุณภาพที่ดีกว่า และมีราคาต้นทุนในการสร้าง เครื่องปอกเปลือกมะพร้าวตำากว่า เครื่องเดิม 2.วัตถุประสงค์ 1. เพื่อออกแบบและพัฒนาเครื่องปอกเปลือกมะพร้าว 2.เพื่อเปรียบเทียบการเปลือกมะพร้าวแห้งระหว่างการใช้ มือกับการใช้เครื่อง

Upload: others

Post on 26-Mar-2021

5 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: Design and Development Peeling Machine Coconut · 2011. 9. 5. · conut shell peeling machine by principle of torque. The machine is suitable to use in industrial operations within

657

การประชุมวิชาการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประจำาปี 2554“การพัฒนาอนาคตชนบทไทย : ฐานรากที่มั่นคงเพื่อการพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืน” 27-29 มกราคม 2554

บทคัดย่อ งานวิจัยนี้เป็นแนวทางในการออกแบบ และ พัฒนาเครื่อง

ปอกเปลือกมะพร้าวแห้ง โดยอาศัยหลักการของแรงบิดจากมอเตอร์

ไฟฟ้า เครื่องปอกเปลือกมะพร้าวนี้เหมาะสำาหรับใช้ในการประกอบ

อตุสาหกรรมภายในครวัเรอืนเปน็อยา่งยิง่ การปอกเปลอืกมะพรา้ววธิี

ดัง้เดมิคอืการใชง้า้วเปน็อปุกรณใ์นการปอกเปลอืกซึง่ทำาการปอกยาก

ลำาบาก และ เสีย่งตอ่การเกดิอบุตัเิหต ุปจัจบุนัเปน็ยคุแหง่เทคโนโลยี

จงึคดิประดษิฐแ์ละสรา้งเครือ่งปอกเปลอืกมะพรา้วเพือ่ลดระยะเวลาใน

การปอกเปลอืกมะพรา้ว งานวจิยั มวีตัถปุระสงเพือ่พฒันาเครือ่งปอก

เปลือกมะพร้าวขึ้นเพื่อช่วยในการประหยัดเวลาในการปอกที่เร็วขึ้น

จากเดิมใช้คนปอกโดยประมาณ 5 นาที / 2 ลูก แต่จากการทดสอบ

ประสิทธิภาพของเครื่องปอกเปลือกมะพร้าวที่กล่าวมาโดยประมาณ

5นาที / 12ลูก โครงสร้างของเครื่องปอกเปลือกมะพร้าว ขนาดของ

มอเตอร์ 2 HP ส่งกำาลังโดยการใช้โซ่ในการบิดเพื่อปอกเปลือกของ

มะพร้าว ใช้ขนาดของตัวปอกเปลือกมะพร้าวขนาด 4 นิ้ว ขนาด

ของเพลาทำาด้วยเหล็กเส้นผ่าศูนย์กลาง 1 นิ้ว ขนาดของลูกมะพร้าว

เฉลี่ยโดยทั่วไป ในการเลือกลูกมะพร้าวที่ใช้ในการปอกจะเลือกลูก

มะพร้าวที่มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางเฉลี่ย 15 - 20 เซ็นติเมตร ซึ่ง

จะมีผลด้านการใช้งานของลูกมะพร้าวที่สมบูรณ์จากการทดลองผล

ที่ทำาการทดลอง โดยจำากัดเวลาใช้เวลา 1 นาที ปอกได้ 2-3 ลูก ใน

1 ชั่วโมง จะปอกเปลือกมะพร้าวได้ประมาณถึง 150 ลูก

คำ�สำ�คัญ : มะพร้าว เครื่องปอกเปลือกมะพร้าว

Abstract This research is the development and design of a co-

conut shell peeling machine by principle of torque. The machine

is suitable to use in industrial operations within the household

are extremely. The research aims to develop the coconut shell

peeling machine to save time for peeling the coconut shell. That

is, the effectiveness of this machine should be about 5 minute

/ 12 balls. As conventional peeling by human have effective-

ness as 5 minute / 2 balls. The structure of machine has the 2

horsepower motor to generate torques to 1 inch diameter shaft

for peeling 4 inch diameter of coconut. The experimental results

show that the machine can peel coconut shells for coconut size

of 15-20 centimeter as 2-3 balls and 150 balls for 1 minute and

1 hour, respectively.

ก�รออกแบบและพัฒน�เครื่องปอกเปลือกมะพร้�วแห้ง

Design and Development Peeling Machine Coconut

ปิยชาติ ธาตรีนรานนท์ 1

1 คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ

450 ถ.สุพรรณบุรี-ชัยนาท ต.ย่านยาว อ.สามชุก จ.สุพรรณบุรี 72130 โทรศัพท์ : 035-543016 E-mail: [email protected]

Keywords: coconut, coconut peeling machine

1.บทนำ� ปัจจุบันประเทศไทยได้มีการทำาการเกษตรซึ่งถือว่าเป็น

อาชีพหลักของคนไทย และได้มีการปลูกต้นมะพร้าวซึ่งถือว่าเป็นพืช

หลกัอกีชนดิหนึง่ของประเทศไทย ทางภาคใตป้ลกูกนัเปน็จำานวนมาก

เริม่ตัง้แตจ่งัหวดัเพชรบรุ ีจงัหวดัชมุพร จงัหวดัสรุาษฎรธ์าน ีฯลฯ เพือ่

นำาเอาลูกมะพร้าวมาใช้ประโยชน์ในหลายๆด้าน คือการนำาเอาไปใช้

ทำาอาหาร ทำาขนม ทำาผลิตภัณฑ์ต่างๆจึงถือว่าเป็นพืชเศรษฐกิจอีก

ชนิดหนึ่ง ที่ทำารายได้ให้กับประเทศไทยเพราะเราได้นำาผลผลิต ที่ได้

จากมะพร้าวส่งออกไปยังต่างเทศมากมายไม่ว่าจะเป็นนำ้ากะทิบรรจุ

กลอ่ง หรอืเปน็รปูของผลติภณัฑส์ำาเรจ็รปูเครือ่งประดบัหรอืแมก้ระทัง่

เปลอืกมะพรา้ว กส็ามารถนำามาเปน็ปุย๋ในการปลกูตน้ไมไ้ด[้1] ในอดตี

การปอกเปลอืกมะพรา้วโดยใชว้ธิกีารแบบดัง้เดมิ เราจะตอ้งใชแ้รงงาน

คนเปน็จำานวนมากทำาใหเ้สยีเวลาและคา่ใชจ้า่ยในการจา้งคน การปอก

เปลอืกมะพรา้วจะตอ้งอาศยัความชำานาญ และประสบการณเ์นือ่งจาก

เปลือกมีความแข็งมาก ส่วนอุปกรณ์ที่ใช้ในการปอกเปลือกมะพร้าว

ตอ้งใชง้า้วทำาใหเ้กดิอนัตรายขณะทำางาน จากการศกึษาขอ้มลูทีก่ลา่ว

มานี้กลุ่มผู้จัดทำาจงึมีแนวคิดทีจ่ะพัฒนา ใหม้ีขัน้ตอนในการทำางานให้

มีการผลิตที่ดีขึ้นกว่าแบบเดิม จึงได้มีการออกแบบและพัฒนาเครื่อง

ปอกเปลือกมะพร้าวให้มีอัตราการผลิตมากขึ้น และผลผลิตที่ได้มี

คุณภาพมากกว่าแบบเดิม ซึ่งแบบเดิมที่มีใช้กันอยู่ในปัจจุบันยังมีข้อ

บกพรอ่งหลายอยา่งและผลผลติทีอ่อกมายงัไมส่มบรูณ ์แตเ่ครือ่งใหม่

ทีจ่ะทำาขึน้มานีจ้ะสามารถผลติได ้150 ลกูตอ่ชัว่โมงและผลผลติทีอ่อก

มาจากเครื่องนี้จะมีคุณภาพที่ดีกว่า และมีราคาต้นทุนในการสร้าง

เครื่องปอกเปลือกมะพร้าวต่ำากว่า

เครื่องเดิม

2.วัตถุประสงค์ 1. เพื่อออกแบบและพัฒนาเครื่องปอกเปลือกมะพร้าว

2.เพื่อเปรียบเทียบการเปลือกมะพร้าวแห้งระหว่างการใช้

มือกับการใช้เครื่อง

Page 2: Design and Development Peeling Machine Coconut · 2011. 9. 5. · conut shell peeling machine by principle of torque. The machine is suitable to use in industrial operations within

658

การประชุมวิชาการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประจำาปี 2554“การพัฒนาอนาคตชนบทไทย : ฐานรากที่มั่นคงเพื่อการพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืน” 27-29 มกราคม 2554

3.วัตถุดิบในก�รทดลอง ลูกมะพร้าวที่ใช้ในการทดลองนั้นจะต้องเป็นลูกมะพร้าว

แห้งและควรมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางเฉลี่ยอยู่ที่ 15 - 20 เซนติเมตร

ถา้หากไมใ่ชข้นาดตามนี ้ลกูมะพรา้วทีป่อกออกมาอาจไดค้ณุภาพทีไ่ม่

ด ีในการทดลองแตล่ะครัง้ควรเตรยีมอยา่งนอ้ยครัง้ละ 15 – 18 ลกูตอ่

การทดลองที่เวลา 5 นาที

4.คุณลักษณะของเครื่องที่ใช้ในก�รทดลอง การออกแบบและการสรา้งเครือ่งปอกเปลอืกมะพรา้ว เพือ่

ปอกเปลอืกมะพรา้วมขีนาดเหมาะสม[2][3][4] กบัการทำางานจากการ

ศกึษาขัน้ตอนของขัน้ตอนในการปอกมะพรา้ว ใชเ้หลก็ทิม่เปลอืกแลว้

ฉีกออกโดยใช้แรงของคน เครื่องปอกมะพร้าวจึงเป็นเครื่องที่ช่วยลด

เวลา และแรงของคนงานในการปอกเปลือกดังนั้นจึงมีจุด ประสงค์ใน

การศึกษาและพัฒนาโครงสร้างของเครื่องปอกเปลือกมะพร้าวโดย

เครื่อง มีส่วนประกอบดังนี้

1.โครงสร้างขนาดตัวเครื่อง มีความกว้าง 40 cm.

ความยาว 80 cm. ความสูง 51 cm.

2. มอเตอร์ขนาด 2 HP 1,450 รอบต่อนาที

3. เกียร์ทดขนาด 1/10

4. เพลาตันขนาด 1 นิ้ว ยาว 90 cm

5. ลกูปนืตุก๊ตาขนาดเสน้ผา่นศนูยก์ลาง 1 นิว้ จำานวน 4 ตวั

ผลิตมากขึ้น และผลผลิตที่ไดมีคุณภาพมากกวาแบบเดิม ซึ่งแบบเดิมที่มีใชกันอยูในปจจุบันยังมีขอบกพรองหลายอยางและผลผลิตที่ออกมายังไมสมบูรณ แตเคร่ืองใหมที่จะทําขึน้มานี้จะสามารถผลิตได 150 ลูกตอชั่วโมงและผลผลิตที่ออกมาจากเคร่ืองนี้จะมีคุณภาพที่ดีกวา และมีราคาตนทุนในการสรางเคร่ืองปอกเปลือกมะพราวตํ่ากวา เคร่ืองเดิม

2.วัตถุประสงค 1. เพื่อออกแบบและพัฒนาเคร่ืองปอกเปลือกมะพราว 2.เพื่อเปรียบเทียบการเปลือกมะพราวแหงระหวางการใชมือกับการใชเคร่ือง 3.วัตถุดิบในการทดลอง ลูกมะพราวที่ใชในการทดลองนั้นจะตองเปนลูกมะพราวแหงและควรมีขนาดเสนผานศูนยกลางเฉล่ียอยูที่ 15 - 20 เซนติเมตร ถาหากไมใชขนาดตามน้ี ลูกมะพราวที่ปอกออกมาอาจไดคุณภาพที่ไมดี ในการทดลองแตละคร้ังควรเตรียมอยางนอยคร้ังละ 15 – 18 ลูกตอการทดลองที่เวลา 5 นาที

4.คุณลักษณะของเครื่องท่ีใชในการทดลอง

การออกแบบและการสรางเคร่ืองปอกเปลือกมะพราว เพื่อปอกเปลือกมะพราวมีขนาดเหมาะสม[2][3][4] กับการทํางานจากการ ศึกษาขั้นตอนของขั้นตอนในการปอกมะพราว ใชเหล็กทิ่มเปลือกแลวฉีกออกโดยใชแรงของคน เคร่ืองปอกมะพราวจึงเปนเคร่ืองที่ชวยลดเวลา และแรงของคนงานในการปอกเปลือกดังนั้นจึงมีจุด ประสงคในการศึกษาและพัฒนาโครงสรางของเคร่ืองปอกเปลือกมะพราวโดยเคร่ือง มีสวนประกอบดังนี้ 1.โครงสรางขนาดตัวเคร่ือง มีความกวาง 40 cm. ความยาว 80 cm. ความสูง 51 cm. 2. มอเตอรขนาด 2 HP 1,450 รอบตอนาที 3. เกียรทดขนาด 1/10 4. เพลาตันขนาด 1 นิ้ว ยาว 90 cm

5. ลูกปนตุกตาขนาดเสนผานศูนยกลาง 1 นิ้ว จํานวน 4 ตัว

รูปที่1 โครงสรางภายในของเคร่ืองที่ใชในการทดลอง

4.1 ขั้นตอนการทดลอง

คํานวณออกแบบ

ศึกษารวบรวมขอมูลที่เก่ียวของ

ตรวจสอบแบบ

จัดซื้ออุปกรณ

ดําเนินการจัดสราง

ทําการทดสอบ

แกไขปรับปรุงเคร่ือง

ผลการทดลอง

สรุปผลและขอเสนอแนะ

ปรับปรุงแกไข

ปรับปรุงแกไข

ผลิตมากขึ้น และผลผลิตที่ไดมีคุณภาพมากกวาแบบเดิม ซึ่งแบบเดิมที่มีใชกันอยูในปจจุบันยังมีขอบกพรองหลายอยางและผลผลิตที่ออกมายังไมสมบูรณ แตเคร่ืองใหมที่จะทําขึน้มานี้จะสามารถผลิตได 150 ลูกตอชั่วโมงและผลผลิตที่ออกมาจากเคร่ืองนี้จะมีคุณภาพที่ดีกวา และมีราคาตนทุนในการสรางเคร่ืองปอกเปลือกมะพราวตํ่ากวา เคร่ืองเดิม

2.วัตถุประสงค 1. เพื่อออกแบบและพัฒนาเคร่ืองปอกเปลือกมะพราว 2.เพื่อเปรียบเทียบการเปลือกมะพราวแหงระหวางการใชมือกับการใชเคร่ือง 3.วัตถุดิบในการทดลอง ลูกมะพราวที่ใชในการทดลองนั้นจะตองเปนลูกมะพราวแหงและควรมีขนาดเสนผานศูนยกลางเฉล่ียอยูที่ 15 - 20 เซนติเมตร ถาหากไมใชขนาดตามน้ี ลูกมะพราวที่ปอกออกมาอาจไดคุณภาพที่ไมดี ในการทดลองแตละคร้ังควรเตรียมอยางนอยคร้ังละ 15 – 18 ลูกตอการทดลองที่เวลา 5 นาที

4.คุณลักษณะของเครื่องท่ีใชในการทดลอง

การออกแบบและการสรางเคร่ืองปอกเปลือกมะพราว เพื่อปอกเปลือกมะพราวมีขนาดเหมาะสม[2][3][4] กับการทํางานจากการ ศึกษาขั้นตอนของขั้นตอนในการปอกมะพราว ใชเหล็กทิ่มเปลือกแลวฉีกออกโดยใชแรงของคน เคร่ืองปอกมะพราวจึงเปนเคร่ืองที่ชวยลดเวลา และแรงของคนงานในการปอกเปลือกดังนั้นจึงมีจุด ประสงคในการศึกษาและพัฒนาโครงสรางของเคร่ืองปอกเปลือกมะพราวโดยเคร่ือง มีสวนประกอบดังนี้ 1.โครงสรางขนาดตัวเคร่ือง มีความกวาง 40 cm. ความยาว 80 cm. ความสูง 51 cm. 2. มอเตอรขนาด 2 HP 1,450 รอบตอนาที 3. เกียรทดขนาด 1/10 4. เพลาตันขนาด 1 นิ้ว ยาว 90 cm

5. ลูกปนตุกตาขนาดเสนผานศูนยกลาง 1 นิ้ว จํานวน 4 ตัว

รูปที่1 โครงสรางภายในของเคร่ืองที่ใชในการทดลอง

4.1 ขั้นตอนการทดลอง

คํานวณออกแบบ

ศึกษารวบรวมขอมูลที่เก่ียวของ

ตรวจสอบแบบ

จัดซื้ออุปกรณ

ดําเนินการจัดสราง

ทําการทดสอบ

แกไขปรับปรุงเคร่ือง

ผลการทดลอง

สรุปผลและขอเสนอแนะ

ปรับปรุงแกไข

ปรับปรุงแกไข

ผลิตมากขึ้น และผลผลิตที่ไดมีคุณภาพมากกวาแบบเดิม ซึ่งแบบเดิมที่มีใชกันอยูในปจจุบันยังมีขอบกพรองหลายอยางและผลผลิตที่ออกมายังไมสมบูรณ แตเคร่ืองใหมที่จะทําขึน้มานี้จะสามารถผลิตได 150 ลูกตอชั่วโมงและผลผลิตที่ออกมาจากเคร่ืองนี้จะมีคุณภาพที่ดีกวา และมีราคาตนทุนในการสรางเคร่ืองปอกเปลือกมะพราวตํ่ากวา เคร่ืองเดิม

2.วัตถุประสงค 1. เพื่อออกแบบและพัฒนาเคร่ืองปอกเปลือกมะพราว 2.เพื่อเปรียบเทียบการเปลือกมะพราวแหงระหวางการใชมือกับการใชเคร่ือง 3.วัตถุดิบในการทดลอง ลูกมะพราวที่ใชในการทดลองนั้นจะตองเปนลูกมะพราวแหงและควรมีขนาดเสนผานศูนยกลางเฉล่ียอยูที่ 15 - 20 เซนติเมตร ถาหากไมใชขนาดตามน้ี ลูกมะพราวที่ปอกออกมาอาจไดคุณภาพที่ไมดี ในการทดลองแตละคร้ังควรเตรียมอยางนอยคร้ังละ 15 – 18 ลูกตอการทดลองที่เวลา 5 นาที

4.คุณลักษณะของเครื่องท่ีใชในการทดลอง

การออกแบบและการสรางเคร่ืองปอกเปลือกมะพราว เพื่อปอกเปลือกมะพราวมีขนาดเหมาะสม[2][3][4] กับการทํางานจากการ ศึกษาขั้นตอนของขั้นตอนในการปอกมะพราว ใชเหล็กทิ่มเปลือกแลวฉีกออกโดยใชแรงของคน เคร่ืองปอกมะพราวจึงเปนเคร่ืองที่ชวยลดเวลา และแรงของคนงานในการปอกเปลือกดังนั้นจึงมีจุด ประสงคในการศึกษาและพัฒนาโครงสรางของเคร่ืองปอกเปลือกมะพราวโดยเคร่ือง มีสวนประกอบดังนี้ 1.โครงสรางขนาดตัวเคร่ือง มีความกวาง 40 cm. ความยาว 80 cm. ความสูง 51 cm. 2. มอเตอรขนาด 2 HP 1,450 รอบตอนาที 3. เกียรทดขนาด 1/10 4. เพลาตันขนาด 1 นิ้ว ยาว 90 cm

5. ลูกปนตุกตาขนาดเสนผานศูนยกลาง 1 นิ้ว จํานวน 4 ตัว

รูปที่1 โครงสรางภายในของเคร่ืองที่ใชในการทดลอง

4.1 ขั้นตอนการทดลอง

คํานวณออกแบบ

ศึกษารวบรวมขอมูลที่เก่ียวของ

ตรวจสอบแบบ

จัดซื้ออุปกรณ

ดําเนินการจัดสราง

ทําการทดสอบ

แกไขปรับปรุงเคร่ือง

ผลการทดลอง

สรุปผลและขอเสนอแนะ

ปรับปรุงแกไข

ปรับปรุงแกไข

รูปที่1 โครงสร้างภายในของเครื่องที่ใช้ในการทดลอง

4.1 ขั้นตอนก�รทดลอง

5.ผลก�รทดลอง ในการออกแบบโครงสร้าง คำานึงถึงความแรงเป็นหลัก

มีขนาดที่ไม่ใหญ่โตจนเกินไปประหยัดพื้นที่ เราจึงเลือกขนาดของ

วัสดุที่มีนำ้าหนักมากเพื่อความแข็งแรงทนทานซึ่งเครื่องปอกเปลือก

มะพร้าวใช้แรงมากในการฉีกเปลือกมะพร้าวออกกำาลังของมอเตอร์

และระบบส่งกำาลังจึงต้องมีกำาลังมากทั้งสิ้นดังรูปที่ 2-4 ในการเลือก

ลูกมะพร้าวนั้นโดยทั่วไปในการเลือกลูกมะพร้าวที่ใช้ในการปอกจะ

เลอืกลกูมะพรา้วทีม่ขีนาดเสน้ผา่นศนูยก์ลางเฉลีย่ 15 - 20 เซน็ตเิมตร

เนือ่งจากถา้มะพรา้วมลีกัษณะเลก็จนเกนิไปหรอืแหง้จนเกนิไปในการ

ปอกเปลือกอาจจะทำาให้มะพร้าวที่ปอกออกมาไม่สมบูรณ์นั่นเอง

Page 3: Design and Development Peeling Machine Coconut · 2011. 9. 5. · conut shell peeling machine by principle of torque. The machine is suitable to use in industrial operations within

659

การประชุมวิชาการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประจำาปี 2554“การพัฒนาอนาคตชนบทไทย : ฐานรากที่มั่นคงเพื่อการพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืน” 27-29 มกราคม 2554

รูปที่2 เครื่องที่ใช้ทดลองด้านข้าง รูปที่3 เครื่องที่ใช้ทดลองด้านหน้า

5.ผลการทดลอง ในการออกแบบโครงสราง คํานึงถึงความแรงเปนหลักมีขนาดที่ไมใหญโตจนเกินไปประหยัดพื้นที่ เราจึงเลือกขนาดของวัสดุที่มีน้ําหนักมากเพื่อความแข็งแรงทนทานซึ่งเคร่ืองปอกเปลือกมะพราวใชแรงมากในการฉีกเปลือกมะพราวออกกําลังของมอเตอร และระบบสงกําลังจึงตองมีกําลังมากทั้งสิ้นดังรูปที่ 2-4 ในการเลือกลูกมะพราวนั้นโดยทั่วไปในการเลือกลูกมะพราวที่ใชในการปอกจะเลือกลูกมะพราวที่มีขนาดเสนผานศูนยกลางเฉลี่ย 15 - 20 เซ็นติเมตร เนื่องจากถามะพราวมีลักษณะเล็กจนเกินไปหรือแหงจนเกินไปในการปอกเปลือกอาจจะทําใหมะพราวที่ปอกออกมาไมสมบูรณนั่นเอง

รูปท่ี2 เครื่องท่ีใชทดลองดานขาง รูปท่ี3 เครื่องท่ีใชทดลองดานหนา

รูปที่4 เคร่ืองที่ใชทดลองดานบน ทําการทดลองทั้งหมด5คร้ังโดยใชเวลาคร้ังละ5นาที จํานวนลูกมะพราวที่ปอกไดจะอยูที่ 12-13 ลูกตอเวลาที่ใช 5 นาที เพือ่ใหเขาใจไดงายขึ้นจึงทําการเปรียบเทียบตอ 1 ชั่วโมงก็จะพบวาถาทดลองปอกเปลือกมะพราวแหง1 ชั่วโมง ก็ไดคาเฉลีย่ประมาณ 150 ลูก ดังแสดงในตารางท่ี1 และรูปที่5

ตารางท่ี1 ผลการทดลองของเครื่องปอกเปลอืกมะพราว

ครั้งท่ี จํานวนลูก

มะพราวท่ีใชปอกเปลือก5นาที (ลูก)

จํานวนลูกมะพราวท่ีปอกเปลอืกตอชั่วโมง(ลูก)

1 12 144 2 13 156 3 12 144 4 12 144 5 13 156

คาเฉลีย่ 12.4 148.8

รูปที่5 แสดงผลการทดลอง

สวนในตารางท่ี2 และรูปที่ 6 นั้นจะเปรียบเทยีบผลการทดลองระหวางการใชเคร่ืองกับการใชมือปอกเปลือกมะพราว ซึ่งเราจะทราบวาถาหากใชมือปอกเปลือกนั้นในเวลา 10 นาทีจะไดมะพราว 4 ลูก ถาหากใชเคร่ืองในเวลา10 นาทีจะไดมะพราว 24 ลูก ผูทดลองจึงเปรียบเทยีบผลการทดลองท่ีเวลาเพิ่มขึ้นคร้ังละ 10 นาทีเปน 20 นาที 30 นาที จนถึง 60 นาทีหรือเวลา 1 ชั่วโมงน้ันเองเพื่อใหมองเห็นตัวเลขไดชัดเจนขึน้ เพราะฉะน้ันที่เวลา1 ชั่วโมง ถาใชมือจะได 24 ลูก แตถาหากใชเคร่ืองจะได 144 ลูก

คร้ังที่

จํานวนตอชั่วโมง (ลูก)

5.ผลการทดลอง ในการออกแบบโครงสราง คํานึงถึงความแรงเปนหลักมีขนาดที่ไมใหญโตจนเกินไปประหยัดพื้นที่ เราจึงเลือกขนาดของวัสดุที่มีน้ําหนักมากเพื่อความแข็งแรงทนทานซึ่งเคร่ืองปอกเปลือกมะพราวใชแรงมากในการฉีกเปลือกมะพราวออกกําลังของมอเตอร และระบบสงกําลังจึงตองมีกําลังมากทั้งสิ้นดังรูปที่ 2-4 ในการเลือกลูกมะพราวนั้นโดยทั่วไปในการเลือกลูกมะพราวที่ใชในการปอกจะเลือกลูกมะพราวที่มีขนาดเสนผานศูนยกลางเฉลี่ย 15 - 20 เซ็นติเมตร เนื่องจากถามะพราวมีลักษณะเล็กจนเกินไปหรือแหงจนเกินไปในการปอกเปลือกอาจจะทําใหมะพราวที่ปอกออกมาไมสมบูรณนั่นเอง

รูปท่ี2 เครื่องท่ีใชทดลองดานขาง รูปท่ี3 เครื่องท่ีใชทดลองดานหนา

รูปที่4 เคร่ืองที่ใชทดลองดานบน ทําการทดลองทั้งหมด5คร้ังโดยใชเวลาคร้ังละ5นาที จํานวนลูกมะพราวที่ปอกไดจะอยูที่ 12-13 ลูกตอเวลาที่ใช 5 นาที เพือ่ใหเขาใจไดงายขึ้นจึงทําการเปรียบเทียบตอ 1 ชั่วโมงก็จะพบวาถาทดลองปอกเปลือกมะพราวแหง1 ชั่วโมง ก็ไดคาเฉลีย่ประมาณ 150 ลูก ดังแสดงในตารางท่ี1 และรูปที่5

ตารางท่ี1 ผลการทดลองของเครื่องปอกเปลอืกมะพราว

ครั้งท่ี จํานวนลูก

มะพราวท่ีใชปอกเปลือก5นาที (ลูก)

จํานวนลูกมะพราวท่ีปอกเปลอืกตอชั่วโมง(ลูก)

1 12 144 2 13 156 3 12 144 4 12 144 5 13 156

คาเฉลีย่ 12.4 148.8

รูปที่5 แสดงผลการทดลอง

สวนในตารางท่ี2 และรูปที่ 6 นั้นจะเปรียบเทยีบผลการทดลองระหวางการใชเคร่ืองกับการใชมือปอกเปลือกมะพราว ซึ่งเราจะทราบวาถาหากใชมือปอกเปลือกนั้นในเวลา 10 นาทีจะไดมะพราว 4 ลูก ถาหากใชเคร่ืองในเวลา10 นาทีจะไดมะพราว 24 ลูก ผูทดลองจึงเปรียบเทยีบผลการทดลองที่เวลาเพิ่มขึ้นคร้ังละ 10 นาทีเปน 20 นาที 30 นาที จนถึง 60 นาทีหรือเวลา 1 ชั่วโมงน้ันเองเพื่อใหมองเห็นตัวเลขไดชัดเจนขึน้ เพราะฉะน้ันที่เวลา1 ชั่วโมง ถาใชมือจะได 24 ลูก แตถาหากใชเคร่ืองจะได 144 ลูก

คร้ังที่

จํานวนตอชั่วโมง (ลูก)

รูปที่4 เครื่องที่ใช้ทดลองด้านบน

ทำาการทดลองทั้งหมด5ครั้งโดยใช้เวลาครั้งละ 5 นาที จำานวนลูก

มะพร้าวที่ปอกได้จะอยู่ที่ 12-13 ลูกต่อเวลาที่ใช้ 5 นาที เพื่อให้เข้าใจ

ไดง้า่ยขึน้จงึทำาการเปรยีบเทยีบตอ่ 1 ชัว่โมงกจ็ะพบวา่ถา้ทดลองปอก

เปลือกมะพร้าวแห้ง 1 ชั่วโมง ก็ได้ค่าเฉลี่ยประมาณ 150 ลูก ดังแสดง

ในตารางที่1 และรูปที่ 5

ต�ร�งที่1 ผลการทดลองของเครื่องปอกเปลือกมะพร้าว

5.ผลการทดลอง ในการออกแบบโครงสราง คํานึงถึงความแรงเปนหลักมีขนาดที่ไมใหญโตจนเกินไปประหยัดพื้นที่ เราจึงเลือกขนาดของวัสดุที่มีน้ําหนักมากเพื่อความแข็งแรงทนทานซึ่งเคร่ืองปอกเปลือกมะพราวใชแรงมากในการฉีกเปลือกมะพราวออกกําลังของมอเตอร และระบบสงกําลังจึงตองมีกําลังมากทั้งสิ้นดังรูปที่ 2-4 ในการเลือกลูกมะพราวนั้นโดยทั่วไปในการเลือกลูกมะพราวที่ใชในการปอกจะเลือกลูกมะพราวที่มีขนาดเสนผานศูนยกลางเฉลี่ย 15 - 20 เซ็นติเมตร เนื่องจากถามะพราวมีลักษณะเล็กจนเกินไปหรือแหงจนเกินไปในการปอกเปลือกอาจจะทําใหมะพราวที่ปอกออกมาไมสมบูรณนั่นเอง

รูปท่ี2 เครื่องท่ีใชทดลองดานขาง รูปท่ี3 เครื่องท่ีใชทดลองดานหนา

รูปที่4 เคร่ืองที่ใชทดลองดานบน ทําการทดลองทั้งหมด5คร้ังโดยใชเวลาคร้ังละ5นาที จํานวนลูกมะพราวที่ปอกไดจะอยูที่ 12-13 ลูกตอเวลาที่ใช 5 นาที เพ่ือใหเขาใจไดงายขึ้นจึงทําการเปรียบเทียบตอ 1 ชั่วโมงก็จะพบวาถาทดลองปอกเปลือกมะพราวแหง1 ชั่วโมง ก็ไดคาเฉลีย่ประมาณ 150 ลูก ดังแสดงในตารางท่ี1 และรูปที่5

ตารางท่ี1 ผลการทดลองของเครื่องปอกเปลอืกมะพราว

ครั้งท่ี จํานวนลูก

มะพราวท่ีใชปอกเปลือก5นาที (ลูก)

จํานวนลูกมะพราวท่ีปอกเปลอืกตอชั่วโมง(ลูก)

1 12 144 2 13 156 3 12 144 4 12 144 5 13 156

คาเฉลีย่ 12.4 148.8

รูปที่5 แสดงผลการทดลอง

สวนในตารางท่ี2 และรูปที่ 6 นั้นจะเปรียบเทยีบผลการทดลองระหวางการใชเคร่ืองกับการใชมือปอกเปลือกมะพราว ซึ่งเราจะทราบวาถาหากใชมือปอกเปลือกนั้นในเวลา 10 นาทีจะไดมะพราว 4 ลูก ถาหากใชเคร่ืองในเวลา10 นาทีจะไดมะพราว 24 ลูก ผูทดลองจึงเปรียบเทยีบผลการทดลองที่เวลาเพิ่มขึ้นคร้ังละ 10 นาทีเปน 20 นาที 30 นาที จนถึง 60 นาทีหรือเวลา 1 ชั่วโมงน้ันเองเพื่อใหมองเห็นตัวเลขไดชัดเจนขึน้ เพราะฉะน้ันที่เวลา1 ชั่วโมง ถาใชมือจะได 24 ลูก แตถาหากใชเคร่ืองจะได 144 ลูก

คร้ังที่

จํานวนตอชั่วโมง (ลูก)

5.ผลการทดลอง ในการออกแบบโครงสราง คํานึงถึงความแรงเปนหลักมีขนาดที่ไมใหญโตจนเกินไปประหยัดพื้นที่ เราจึงเลือกขนาดของวัสดุที่มีน้ําหนักมากเพื่อความแข็งแรงทนทานซึ่งเคร่ืองปอกเปลือกมะพราวใชแรงมากในการฉีกเปลือกมะพราวออกกําลังของมอเตอร และระบบสงกําลังจึงตองมีกําลังมากทั้งสิ้นดังรูปที่ 2-4 ในการเลือกลูกมะพราวนั้นโดยทั่วไปในการเลือกลูกมะพราวที่ใชในการปอกจะเลือกลูกมะพราวที่มีขนาดเสนผานศูนยกลางเฉลี่ย 15 - 20 เซ็นติเมตร เนื่องจากถามะพราวมีลักษณะเล็กจนเกินไปหรือแหงจนเกินไปในการปอกเปลือกอาจจะทําใหมะพราวที่ปอกออกมาไมสมบูรณนั่นเอง

รูปท่ี2 เครื่องท่ีใชทดลองดานขาง รูปท่ี3 เครื่องท่ีใชทดลองดานหนา

รูปที่4 เคร่ืองที่ใชทดลองดานบน ทําการทดลองทั้งหมด5คร้ังโดยใชเวลาคร้ังละ5นาที จํานวนลูกมะพราวที่ปอกไดจะอยูที่ 12-13 ลูกตอเวลาที่ใช 5 นาที เพือ่ใหเขาใจไดงายขึ้นจึงทําการเปรียบเทียบตอ 1 ชั่วโมงก็จะพบวาถาทดลองปอกเปลือกมะพราวแหง1 ชั่วโมง ก็ไดคาเฉลีย่ประมาณ 150 ลูก ดังแสดงในตารางท่ี1 และรูปที่5

ตารางท่ี1 ผลการทดลองของเครื่องปอกเปลอืกมะพราว

ครั้งท่ี จํานวนลูก

มะพราวท่ีใชปอกเปลือก5นาที (ลูก)

จํานวนลูกมะพราวท่ีปอกเปลอืกตอชั่วโมง(ลูก)

1 12 144 2 13 156 3 12 144 4 12 144 5 13 156

คาเฉลีย่ 12.4 148.8

รูปที่5 แสดงผลการทดลอง

สวนในตารางท่ี2 และรูปที่ 6 นั้นจะเปรียบเทยีบผลการทดลองระหวางการใชเคร่ืองกับการใชมือปอกเปลือกมะพราว ซึ่งเราจะทราบวาถาหากใชมือปอกเปลือกนั้นในเวลา 10 นาทีจะไดมะพราว 4 ลูก ถาหากใชเคร่ืองในเวลา10 นาทีจะไดมะพราว 24 ลูก ผูทดลองจึงเปรียบเทยีบผลการทดลองที่เวลาเพิ่มขึ้นคร้ังละ 10 นาทีเปน 20 นาที 30 นาที จนถึง 60 นาทีหรือเวลา 1 ชั่วโมงน้ันเองเพื่อใหมองเห็นตัวเลขไดชัดเจนขึน้ เพราะฉะน้ันที่เวลา1 ชั่วโมง ถาใชมือจะได 24 ลูก แตถาหากใชเคร่ืองจะได 144 ลูก

คร้ังที่

จํานวนตอชั่วโมง (ลูก)

รูปที่ 5 แสดงผลการทดลอง

สว่นในตารางที2่ และรปูที ่6 นัน้จะเปรยีบเทยีบผลการทดลองระหวา่ง

การใช้เครื่องกับการใช้มือปอกเปลือกมะพร้าว ซึ่งเราจะทราบว่าถ้า

หากใช้มือปอกเปลือกนั้นในเวลา 10 นาทีจะได้มะพร้าว 4 ลูก ถ้า

หากใช้เครื่องในเวลา10 นาทีจะได้มะพร้าว 24 ลูก ผู้ทดลองจึงเปรียบ

เทียบผลการทดลองที่เวลาเพิ่มขึ้นครั้งละ 10 นาทีเป็น 20 นาที 30

นาที จนถึง 60 นาทีหรือเวลา 1 ชั่วโมงนั้นเองเพื่อให้มองเห็นตัวเลข

ได้ชัดเจนขึ้น เพราะฉะนั้นที่เวลา1 ชั่วโมง ถ้าใช้มือจะได้ 24 ลูก แต่

ถ้าหากใช้เครื่องจะได้ 144 ลูก

ต�ร�งที่2 ผลเปรียบเทียบระหว่างการใช้มือกับการใช้เครื่อง

ตารางท่ี2 ผลเปรียบเทียบระหวางการใชมือกับการใชเครือ่ง

เวลา ใชมือ (ลูก)

ใชเคร่ือง(ลูก)

10 4 24 20 8 48 30 12 72 40 16 96 50 20 120 60 24 144

ปที่5 กราฟเปรียบเทียบใชมือกับใชเครื่อง

รูปที่6 แสดงกราฟเปรียบเทียบใชมือกับใชเคร่ือง

6.สรุปผลการทดลอง เคร่ืองปอกเปลือกมะพราวแหงจากการท่ีนําไปทดลอง สามารถปอกเปลือกมะพราวได จํานวน 2-3 ลูกตอนาที หรือประมาณ 150 ลูกตอชั่วโมงท่ีความเร็วรอบเม่ือผานการทดรอบที่ประมาณ 130 รอบตอนาที โดยที่มีการทํางานอยางมีประสิทธิภาพที่สมบูรณ และเมื่อเปรียบเทียบกับการใชมือปอกเปลือกมะพราวจะพบวาถาหากใชมือจะใชเวลาโดยประมาณ 24 ลูกตอชั่วโมง ซึ่งจะนอยกวาการใชเคร่ืองถึง 6 เทา

7.ขอเสนอแนะ 7.1 การออกแบบรูปทรงในการออกแบบโครงสราง คํานึงถึงแรงเปนหลักมีขนาดที่ไมใหญโตจนเกินไป ประหยัดพื้นที่ เราจึงเลือกขนาดของวัสดุที่มีน้ําหนักมาก เพื่อความแข็งแรงทนทาน ซึ่งเคร่ืองปอกเปลือกมะพราวใชแรงมากในการฉีกเปลือกมะพราว ออกกําลังของมอเตอร และระบบสงกําลังจึงตองมีกําลังมากทั้งสิ้น 7.2 การเลือกวัตถุดิบในการเลือกลูกมะพราวนั้นโดยทั่วไปในการปอกลูกมะพราวเฉลี่ยที่น้ําหนักของมะพราวที่มีลูกขนาดพอสมควรไมเล็กจนเกินไปเนือ่งจากถามะพราวมลีักษณะเล็กจนเกินไป หรือแหงจนเกินไปในการปอกเปลือกอาจจะทําใหมะพราวทีป่อกออกมาไมสมบูรณ 7.3 การทดสอบตัวเคร่ืองและการปอกเปลือกมะพราวเคร่ืองปอกเปลือกมะพราวอาศยัหลักการของแรงบิดทั้งสิ้นดังนั้นชิ้นสวนของตัวเคร่ืองจึงมีชิ้นสวนที่เคลื่อนที่ไดเปนสวนใหญ จึงตองการความปลอดภัย ในขั้นตอนการทดลองไดมีการสังเกตการณทํางานของเคร่ืองจักรทุกขัน้ตอนพบวาการปอกเปนไปดวยดีมีประสิทธิภาพ แตมีความจําเปนที่จะตองมีอุปกรณปองกันอันตรายท่ีมีประสิทธิภาพอีกดวย 7.กิตติกรรมประกาศ ขอขอบคุณผูที่เก่ียวของทุกทานที่ทําใหงานชิ้นนี้สําเร็จลุลวงไปไดดวยดีและงานวิจัยชิ้นนี้ไดรับทุนสนับสนุนของคณะครุศาสตรอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ 8.เอกสารอางอิง [1] พระหฤทัยคอนแวนต.(2550)ความรูเร่ืองมะพราว.วันที่

สืบคน 4 มีนาคม 2553 เขาจาก www.shc.ac.th [2] วิทยา ทองขาว.ทฤษฎีเชื่อมแกสและเช่ือมไฟฟา

เบื้องตน.กรุงเทพ.ซีเอ็ดยูเคชั่น,2553 [3] มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี.(มปป.)

การควบคุมมอตอร.วันที่สืบคน 14 มิถุนายน 2553,เขาถึงไดจากwww.st.kmutt.ac.th

[4] Walter B.Larew.Automatic transmission.Philadelphia:Chilton Book,1968

เวลา (นาที)

จํานวน (ลูก)

ตารางท่ี2 ผลเปรียบเทียบระหวางการใชมือกับการใชเครือ่ง

เวลา ใชมือ (ลูก)

ใชเคร่ือง(ลูก)

10 4 24 20 8 48 30 12 72 40 16 96 50 20 120 60 24 144

ปที่5 กราฟเปรียบเทียบใชมือกับใชเครื่อง

รูปที่6 แสดงกราฟเปรียบเทียบใชมือกับใชเคร่ือง

6.สรุปผลการทดลอง เคร่ืองปอกเปลือกมะพราวแหงจากการท่ีนําไปทดลอง สามารถปอกเปลือกมะพราวได จํานวน 2-3 ลูกตอนาที หรือประมาณ 150 ลูกตอชั่วโมงท่ีความเร็วรอบเม่ือผานการทดรอบที่ประมาณ 130 รอบตอนาที โดยที่มีการทํางานอยางมีประสิทธิภาพที่สมบูรณ และเมื่อเปรียบเทียบกับการใชมือปอกเปลือกมะพราวจะพบวาถาหากใชมือจะใชเวลาโดยประมาณ 24 ลูกตอชั่วโมง ซึ่งจะนอยกวาการใชเคร่ืองถึง 6 เทา

7.ขอเสนอแนะ 7.1 การออกแบบรูปทรงในการออกแบบโครงสราง คํานึงถึงแรงเปนหลักมีขนาดที่ไมใหญโตจนเกินไป ประหยัดพื้นที่ เราจึงเลือกขนาดของวัสดุที่มีน้ําหนักมาก เพื่อความแข็งแรงทนทาน ซึ่งเคร่ืองปอกเปลือกมะพราวใชแรงมากในการฉีกเปลือกมะพราว ออกกําลังของมอเตอร และระบบสงกําลังจึงตองมีกําลังมากทั้งสิ้น 7.2 การเลือกวัตถุดิบในการเลือกลูกมะพราวนั้นโดยทั่วไปในการปอกลูกมะพราวเฉลี่ยที่น้ําหนักของมะพราวที่มีลูกขนาดพอสมควรไมเล็กจนเกินไปเนือ่งจากถามะพราวมลีักษณะเล็กจนเกินไป หรือแหงจนเกินไปในการปอกเปลือกอาจจะทําใหมะพราวทีป่อกออกมาไมสมบูรณ 7.3 การทดสอบตัวเคร่ืองและการปอกเปลือกมะพราวเคร่ืองปอกเปลือกมะพราวอาศยัหลักการของแรงบิดทั้งสิ้นดังนั้นชิ้นสวนของตัวเคร่ืองจึงมีชิ้นสวนที่เคลื่อนที่ไดเปนสวนใหญ จึงตองการความปลอดภัย ในขั้นตอนการทดลองไดมีการสังเกตการณทํางานของเคร่ืองจักรทุกขัน้ตอนพบวาการปอกเปนไปดวยดีมีประสิทธิภาพ แตมีความจําเปนที่จะตองมีอุปกรณปองกันอันตรายท่ีมีประสิทธิภาพอีกดวย 7.กิตติกรรมประกาศ ขอขอบคุณผูที่เก่ียวของทุกทานที่ทําใหงานชิ้นนี้สําเร็จลุลวงไปไดดวยดีและงานวิจัยชิ้นนี้ไดรับทุนสนับสนุนของคณะครุศาสตรอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ 8.เอกสารอางอิง [1] พระหฤทัยคอนแวนต.(2550)ความรูเร่ืองมะพราว.วันที่

สืบคน 4 มีนาคม 2553 เขาจาก www.shc.ac.th [2] วิทยา ทองขาว.ทฤษฎีเชื่อมแกสและเช่ือมไฟฟา

เบื้องตน.กรุงเทพ.ซีเอ็ดยูเคชั่น,2553 [3] มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี.(มปป.)

การควบคุมมอตอร.วันที่สืบคน 14 มิถุนายน 2553,เขาถึงไดจากwww.st.kmutt.ac.th

[4] Walter B.Larew.Automatic transmission.Philadelphia:Chilton Book,1968

เวลา (นาที)

จํานวน (ลูก)

ตารางท่ี2 ผลเปรียบเทียบระหวางการใชมือกับการใชเครือ่ง

เวลา ใชมือ (ลูก)

ใชเคร่ือง(ลูก)

10 4 24 20 8 48 30 12 72 40 16 96 50 20 120 60 24 144

ปที่5 กราฟเปรียบเทียบใชมือกับใชเครื่อง

รูปที่6 แสดงกราฟเปรียบเทียบใชมือกับใชเคร่ือง

6.สรุปผลการทดลอง เคร่ืองปอกเปลือกมะพราวแหงจากการท่ีนําไปทดลอง สามารถปอกเปลือกมะพราวได จํานวน 2-3 ลูกตอนาที หรือประมาณ 150 ลูกตอชั่วโมงท่ีความเร็วรอบเม่ือผานการทดรอบที่ประมาณ 130 รอบตอนาที โดยที่มีการทํางานอยางมีประสิทธิภาพที่สมบูรณ และเมื่อเปรียบเทียบกับการใชมือปอกเปลือกมะพราวจะพบวาถาหากใชมือจะใชเวลาโดยประมาณ 24 ลูกตอชั่วโมง ซึ่งจะนอยกวาการใชเคร่ืองถึง 6 เทา

7.ขอเสนอแนะ 7.1 การออกแบบรูปทรงในการออกแบบโครงสราง คํานึงถึงแรงเปนหลักมีขนาดที่ไมใหญโตจนเกินไป ประหยัดพื้นที่ เราจึงเลือกขนาดของวัสดุที่มีน้ําหนักมาก เพื่อความแข็งแรงทนทาน ซึ่งเคร่ืองปอกเปลือกมะพราวใชแรงมากในการฉีกเปลือกมะพราว ออกกําลังของมอเตอร และระบบสงกําลังจึงตองมีกําลังมากทั้งสิ้น 7.2 การเลอืกวัตถุดิบในการเลือกลูกมะพราวนั้นโดยทั่วไปในการปอกลูกมะพราวเฉลี่ยที่น้ําหนักของมะพราวที่มีลูกขนาดพอสมควรไมเล็กจนเกินไปเนือ่งจากถามะพราวมลีักษณะเล็กจนเกินไป หรือแหงจนเกินไปในการปอกเปลือกอาจจะทําใหมะพราวทีป่อกออกมาไมสมบูรณ 7.3 การทดสอบตัวเคร่ืองและการปอกเปลือกมะพราวเคร่ืองปอกเปลือกมะพราวอาศยัหลักการของแรงบิดทั้งสิ้นดังนั้นชิ้นสวนของตัวเคร่ืองจึงมีชิ้นสวนที่เคลื่อนที่ไดเปนสวนใหญ จึงตองการความปลอดภัย ในขั้นตอนการทดลองไดมีการสังเกตการณทํางานของเคร่ืองจักรทุกขัน้ตอนพบวาการปอกเปนไปดวยดีมีประสิทธิภาพ แตมีความจําเปนที่จะตองมีอุปกรณปองกันอันตรายท่ีมีประสิทธิภาพอีกดวย 7.กิตติกรรมประกาศ ขอขอบคุณผูที่เก่ียวของทุกทานที่ทําใหงานชิ้นนี้สําเร็จลุลวงไปไดดวยดีและงานวิจัยชิ้นนี้ไดรับทุนสนับสนุนของคณะครุศาสตรอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ 8.เอกสารอางอิง [1] พระหฤทัยคอนแวนต.(2550)ความรูเร่ืองมะพราว.วันที่

สืบคน 4 มีนาคม 2553 เขาจาก www.shc.ac.th [2] วิทยา ทองขาว.ทฤษฎีเชื่อมแกสและเช่ือมไฟฟา

เบื้องตน.กรุงเทพ.ซีเอ็ดยูเคชั่น,2553 [3] มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี.(มปป.)

การควบคุมมอตอร.วันที่สืบคน 14 มิถุนายน 2553,เขาถึงไดจากwww.st.kmutt.ac.th

[4] Walter B.Larew.Automatic transmission.Philadelphia:Chilton Book,1968

เวลา (นาที)

จํานวน (ลูก)

รูปที่6 แสดงกราฟเปรียบเทียบใช้มือกับใช้เครื่อง

Page 4: Design and Development Peeling Machine Coconut · 2011. 9. 5. · conut shell peeling machine by principle of torque. The machine is suitable to use in industrial operations within

660

การประชุมวิชาการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประจำาปี 2554“การพัฒนาอนาคตชนบทไทย : ฐานรากที่มั่นคงเพื่อการพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืน” 27-29 มกราคม 2554

6.สรุปผลก�รทดลอง เครื่องปอกเปลือกมะพร้าวแห้งจากการที่นำาไปทดลอง

สามารถปอกเปลอืกมะพรา้วได ้จำานวน 2-3 ลกูตอ่นาท ีหรอืประมาณ

150 ลูกต่อชั่วโมงที่ความเร็วรอบเมื่อผ่านการทดรอบที่ประมาณ 130

รอบตอ่นาท ีโดยทีม่กีารทำางานอยา่งมปีระสทิธภิาพทีส่มบรูณ ์และเมือ่

เปรยีบเทยีบกบัการใชม้อืปอกเปลอืกมะพรา้วจะพบวา่ถา้หากใชม้อืจะ

ใช้เวลาโดยประมาณ 24 ลูกต่อชั่วโมง ซึ่งจะน้อยกว่าการใช้เครื่องถึง

6 เท่า

7.ข้อเสนอแนะ 7.1 การออกแบบรูปทรงในการออกแบบโครงสร้าง คำานึง

ถึงแรงเป็นหลักมีขนาดที่ไม่ใหญ่โตจนเกินไป ประหยัดพื้นที่ เรา

จึงเลือกขนาดของวัสดุที่มีนำ้าหนักมาก เพื่อความแข็งแรงทนทาน ซึ่ง

เครื่องปอกเปลือกมะพร้าวใช้แรงมากในการฉีกเปลือกมะพร้าว ออก

กำาลังของมอเตอร์ และระบบส่งกำาลังจึงต้องมีกำาลังมากทั้งสิ้น

7.2 การเลอืกวตัถดุบิในการเลอืกลกูมะพรา้วนัน้โดยทัว่ไป

ในการปอกลูกมะพร้าวเฉลี่ยที่นำ้าหนักของมะพร้าวที่มีลูกขนาดพอ

สมควรไม่เล็กจนเกินไปเนื่องจากถ้ามะพร้าวมีลักษณะเล็กจนเกินไป

หรอืแหง้จนเกนิไปในการปอกเปลอืกอาจจะทำาใหม้ะพรา้วทีป่อกออก

มาไม่สมบูรณ์

7.3 การทดสอบตัวเครื่องและการปอกเปลือกมะพร้าว

เครื่องปอกเปลือกมะพร้าวอาศัยหลักการของแรงบิดทั้งสิ้นดังนั้นชิ้น

สว่นของตวัเครือ่งจงึมชีิน้สว่นทีเ่คลือ่นทีไ่ดเ้ปน็สว่นใหญ ่ จงึตอ้งการ

ความปลอดภยั ในขัน้ตอนการทดลองไดม้กีารสงัเกตการณท์ำางานของ

เครื่องจักรทุกขั้นตอนพบว่าการปอกเป็นไปด้วยดีมีประสิทธิภาพ แต่

มคีวามจำาเปน็ทีจ่ะตอ้งมอีปุกรณป์อ้งกนัอนัตรายทีม่ปีระสทิธภิาพอกี

ด้วย

7.กิตติกรรมประก�ศ ขอขอบคุณผู้ที่เกี่ยวข้องทุกท่านที่ทำาให้งานชิ้นนี้สำาเร็จ

ลุล่วงไปได้ด้วยดีและงานวิจัยชิ้นนี้ได้รับทุนสนับสนุนของคณะ

ครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ

8.เอกส�รอ้�งอิง[1] พระหฤทัยคอนแวนต์.(2550)ความรู้เรื่องมะพร้าว.วันที่สืบค้น

4 มีนาคม 2553 เข้าจาก www.shc.ac.th

[2] วิทยา ทองขาว.ทฤษฎีเชื่อมแก๊สและเชื่อมไฟฟ้าเบื้องต้น.

กรุงเทพ.ซีเอ็ดยูเคชั่น,2553

[3] มหาวทิยาลยัเทคโนโลยพีระจอมเกลา้ธนบรุ.ี (มปป.) การควบคมุ

มอตอร์.วันที่สืบค้น 14 มิถุนายน 2553, เข้าถึงได้จาก www.

st.kmutt.ac.th

[4] Walter B.Larew.Automatic transmission.Philadelphia:Chilton

Book,1968