(course syllabus) 2555 1. 2. clinical parasitology in ... · 1. introduction to clinical...

6
ประมวลการสอน (Course Syllabus) ภาคต้น ปีการศึกษา 2555 1. คณะ เทคนิคการสัตวแพทย์ ภาควิชา เทคนิคการสัตวแพทย์ 2. รหัสวิชา 01600411 ชื่อวิชา (ไทย) ปรสิตวิทยาคลินิกทางเทคนิคการสัตวแพทย์ จํานวนหน่วยกิต 2(1-3) (อังกฤษ) Clinical parasitology in veterinary technology วิชาพื้นฐาน 423113 : สัตววิทยาทั่วไป (General zoology) หมู่บรรยาย 1 วันพฤหัสบดี เวลา 11.00 – 12.00 . ห้องบรรยาย 2 ชั้น 4 คณะเทคนิคการสัตวแพทย์ หมู ่ปฏิบัติการ 11 วันพฤหัสบดี เวลา 13.00 – 16.00 . ห้องปฏิบัติการ ชั้น 2 คณะเทคนิคการสัตวแพทย์ 3. ผู้สอน / คณะผู้สอน 3.1 อาจารย์ประจําวิชา ..สพ.วนัท ศรีเจริญ 3.2 คณะผู้สอน รศ.นสพ.ดร.อาคม สังข์วรานนท์ .สพ..ณัฐนรี อินทอง 3.3 นักวิทยาศาสตร์ร่วมสอนปฏิบัติการ คุณนงนุช ภิญโญภานุวัฒน์ คุณวิษณุวัฒน์ ฉิมน้อย คุณนิชนันท์ สินส่องแสง คุณสกุลจิตร วิเชียรโชติ 4. การให้นิสิตเข้าพบและให้คําแนะนํานอกเวลาเรียน 4.1 ..สพ.วนัท ศรีเจริญ ชั้น 3 ห้อง 1302 อาคารเทคนิคการสัตวแพทย์ โทรศัพท์ 02-5798571-4 ต่อ 8307 e-mail : [email protected] 4.2 รศ.นสพ.ดร.อาคม สังข์วรานนท์ ภาควิชาปรสิตวิทยา คณะสัตวแพทยศาสตร์ e-mail : [email protected] 4.4 .สพ..ณัฐนรี อินทอง ชั้น 3 ห้อง 1302 อาคารเทคนิคการสัตวแพทย์ โทรศัพท์ 02-5798571-4 ต่อ 8310 e-mail : [email protected] ** นิสิตสามารถเข้าพบคณาจารย์ผู้สอนได้ในวันและเวลาราชการ โดยมีการนัดหมายล่วงหน้าไว้ก่อน

Upload: others

Post on 26-Aug-2020

7 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: (Course Syllabus) 2555 1. 2. Clinical parasitology in ... · 1. Introduction to clinical parasitology in veterinary technology 2. Measurement of parasites and helminthic eggs with

ประมวลการสอน (Course Syllabus) ภาคต้น ปกีารศกึษา 2555

1. คณะ เทคนิคการสัตวแพทย์ ภาควิชา เทคนิคการสัตวแพทย์ 2. รหัสวิชา 01600411 ชื่อวิชา (ไทย) ปรสิตวิทยาคลินิกทางเทคนิคการสัตวแพทย์ จํานวนหน่วยกติ 2(1-3) (องักฤษ) Clinical parasitology in veterinary technology วิชาพื้นฐาน 423113 : สัตววิทยาท่ัวไป (General zoology) หมูบ่รรยาย 1 วันพฤหสับดี เวลา 11.00 – 12.00 น. ห้องบรรยาย 2 ช้ัน 4 คณะเทคนิคการสัตวแพทย์ หมู่ปฏบิตักิาร 11 วันพฤหัสบดี เวลา 13.00 – 16.00 น. ห้องปฏิบัติการ ช้ัน 2 คณะเทคนคิการสัตวแพทย์ 3. ผู้สอน / คณะผูส้อน 3.1 อาจารยป์ระจําวิชา อ.น.สพ.วนัท ศรีเจริญ

3.2 คณะผู้สอน รศ.นสพ.ดร.อาคม สังข์วรานนท์ อ.สพ.ญ.ณัฐนรี อินทอง 3.3 นักวิทยาศาสตร์ร่วมสอนปฏิบัติการ คุณนงนุช ภิญโญภานุวัฒน์

คุณวิษณุวัฒน์ ฉิมน้อย คุณนิชนันท์ สินส่องแสง คุณสกุลจิตร วิเชียรโชติ

4. การให้นสิติเข้าพบและใหค้ําแนะนาํนอกเวลาเรียน

4.1 อ.น.สพ.วนัท ศรีเจรญิ ช้ัน 3 ห้อง 1302 อาคารเทคนิคการสตัวแพทย์ โทรศัพท์ 02-5798571-4 ต่อ 8307 e-mail : [email protected] 4.2 รศ.นสพ.ดร.อาคม สังข์วรานนท์ ภาควิชาปรสิตวิทยา คณะสัตวแพทยศาสตร ์ e-mail : [email protected] 4.4 อ.สพ.ญ.ณัฐนรี อินทอง ช้ัน 3 ห้อง 1302 อาคารเทคนิคการสัตวแพทย์ โทรศัพท์ 02-5798571-4 ต่อ 8310 e-mail : [email protected]

** นิสิตสามารถเข้าพบคณาจารย์ผู้สอนได้ในวันและเวลาราชการ โดยมีการนัดหมายล่วงหน้าไว้ก่อน

Page 2: (Course Syllabus) 2555 1. 2. Clinical parasitology in ... · 1. Introduction to clinical parasitology in veterinary technology 2. Measurement of parasites and helminthic eggs with

5. จุดประสงค์ของวิชา 1. เพื่อให้นิสติทราบถึงหลักการตรวจอุจจาระและเลือดด้วยวิธีต่าง ๆ และสามารถเตรียมตัวอย่างอุจจาระและเลอืดเพื่อใช้ในการตรวจด้วยวิธีต่าง ๆ ได้อย่างถูกต้อง 2. เพื่อให้นิสิตทราบถึงหลักในการเพาะเลี้ยงตัวอ่อนพยาธิจากอุจจาระและจากเนื้อเยื่อของสัตว์ 3. เพื่อให้นิสิตเข้าใจและสามารถเตรียมสไลด์ถาวรและสไลด์ช่ัวคราวของพยาธิภายในและพยาธิภายนอก รวมทั้งสามารถเตรียมสไลด์ฟิล์มจากอุจจาระได้อย่างถูกต้องและง่ายต่อการวินิจฉัย 4. เพื่อให้นิสิตสามารถเตรียมสารละลายและสีย้อมที่จําเป็นในงานด้านปรสิตวิทยาได้อย่างถูกต้อง 6. คําอธบิายรายวิชา

เทคนิคการเก็บอย่างอุจจาระ เลือด และตัวอย่างปรสิต เทคนิคการเพาะเลี้ยงปรสิต เทคนิคการตรวจหาปรสิตจากตัวอย่างอุจจาระและเลือดของสัตว์ เทคนิคการเตรียมสไลด์ของพยาธิภายในและพยาธิภายนอก 7. เค้าโครงรายวิชา

1. Introduction to clinical parasitology in veterinary technology 2. Measurement of parasites and helminthic eggs with microscope 3. Identification of parasitic eggs (dogs, cats, cattle, horses, pigs, poultry) 4. Faecal examination to diagnosis of parasites 5. Qualitative microscope 6. Quantitative microscope

8. Culture technique of parasite, protozoa and examination of parasites in animal tissues 9. Faecal staining 10. Examination of blood parasites 11. Examination of microfilaria in blood and counting technique for microfilaria in blood 12. Preparation of non-permanent and permanent slides of internal parasites 13. Preparation of non-permanent and permanent slides of external parasites 14. Introduction to immunological techniques for parasitic diagnosis 15. Introduction to molecular biological techniques for parasitic diagnosis

8. วิธีสอนที่เน้นผู้เรยีนเปน็สําคญั การบรรยายใช้สื่อการสอนและเอกสารประกอบการสอน การปฏิบัติการมีอุปกรณ์เครือ่งแก้ว กล้องจุลทรรศน ์ และอุปกรณ์ทางห้องปฏิบัติการอ่ืน ๆ ที่จําเป็นสําหรับงานทางด้านปรสิต โดยให้นิสิตเป็นผู้ศึกษาค้นคว้าและลองปฏิบัติด้วยตนเอง หลังจากการบรรยายสรุปเนื้อหาและสาธิตการปฏิบัติการโดยอาจารย์ผู้สอน 9. อปุกรณส์ื่อการสอน เครื่องฉายภาพจากคอมพิวเตอร์และคอมพิวเตอร์ แผ่นใส เครื่องฉายข้ามศีรษะ หนังสือและเอกสารประกอบคําบรรยาย กล้องจลุทรรศน ์ รูปถา่ย อุปกรณ์เครื่องแก้ว กล้องจุลทรรศน์ และอุปกรณ์ทางห้องปฏิบัติการทางด้านปรสิต

Page 3: (Course Syllabus) 2555 1. 2. Clinical parasitology in ... · 1. Introduction to clinical parasitology in veterinary technology 2. Measurement of parasites and helminthic eggs with

10. การวดัผลสัมฤทธิ์ในการเรียน 10.1 การสอบ - การสอบบรรยายกลางภาค 15 % - การสอบปฏิบัติการกลางภาค 15 % - การสอบบรรยายปลายภาค 15 %

- การสอบปฏิบัติการปลายภาค 15 % - การสอบย่อยก่อนการปฏิบัติงาน 10 %

10.2 การประเมินผลการปฏิบัติการ - ผลงานของการปฏิบัติในแต่ละครั้ง 20 % - การส่งรายงานปฏิบัติการ 5 %

- การส่งงานที่ได้รับมอบหมาย 5 % รวม 100 % หมายเหต ุ : 1. นิสิตต้องมีเวลาเข้าเรียนรวมทั้งภาคบรรยายและภาคปฏิบัติการไม่ตํ่ากว่าร้อยละ 80 จึงจะมีสิทธ์ิ เข้าสอบ 2. การเข้าห้องเรียนทั้งภาคบรรยายและปฏิบัติการนิสิตต้องแต่งกายให้เรียบร้อย จึงจะอนุญาตให ้ เข้าห้องเรียนและเซนต์ช่ือเข้าเรียนได้ 3. การเข้าห้องเรียนนิสิตสามารถเข้าห้องเรียนช้าได้ไม่เกิน 15 นาทีหลังจากนั้นจะถือว่ามาสาย โดย หากมาสาย 3 ครั้งให้ถือเป็นขาด 1 ครั้งและหากเข้าหอ้งเรียนช้าหลังจาก 30 นาทใีห้ถือว่าขาด เรียนในชั่วโมงนั้น 11. การประเมินผลการเรยีน 11.1 ประเมนิผลโดยการสอบทั้งภาคบรรยายและภาคปฏิบัติการ รวมทั้งงานที่ได้รับมอบหมายและความ

สนใจเข้าเรียนอย่างสม่ําเสมอ 11.2 การตัดเกรดแบบอิงเกณฑ์ดังนี้ 80 – 100 คะแนน ระดับเกรด A 60 – 64 คะแนน ระดับเกรด C 75 – 79 คะแนน ระดับเกรด B+ 55 – 59 คะแนน ระดับเกรด D+ 70 – 74 คะแนน ระดับเกรด B 50 – 54 คะแนน ระดับเกรด D 65 – 69 คะแนน ระดับเกรด C+ 0 – 49 คะแนน ระดับเกรด F 12. เอกสารประกอบการสอน 1. ใชเ้อกสารประกอบการสอนของอาจารย์แต่ละท่านที่รว่มสอน 2. อาคม สังข์วรานนท์. 2541 ปาราสิตวิทยาคลินิกทางสัตวแพทย์ (Veterinary Clinical Parasitology).

สํานักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จตุจักร กรุงเทพฯ. 412หน้า 3. นงนุช ภิญโญภานุวัฒน์. คู่มือปฏิบัติการปรสิตวิทยาคลินิก

Page 4: (Course Syllabus) 2555 1. 2. Clinical parasitology in ... · 1. Introduction to clinical parasitology in veterinary technology 2. Measurement of parasites and helminthic eggs with

13. ตารางกจิกรรมการเรียนการสอน

สปัดาห ์ที ่

วันที่ / เวลา หัวข้อ การเรียน อาจารยผ์ู้สอน

1 14 มิ.ย. 55 11.00-12.00 น.

- Introduction to the course - Introduction to the clinical parasitology in veterinary technology

ภาคบรรยาย

อ.น.สพ.วนัท

13.00-16.00 น. - Preparing of the solutions and stains for parasitic laboratory

ภาคปฏิบัติการ คุณนิชนันต์และคณะ

2

21 มิ.ย. 55 11.00-12.00 น.

- Identification of parasitic eggs and protozoal cysts in fecaes of dogs, cats, cattle, horses, pigs and poultry

ภาคบรรยาย

อ.น.สพ.วนัท

13.00-16.00 น. - Identification of parasitic eggs and protozoal cysts in fecaes of dogs, cats, cattle, horses, pigs and poultry

ภาคปฏิบัติการ

คุณนิชนันต์และคณะ

3

28 มิ.ย. 55 11.00-12.00 น.

- Measurement of parasites, helminthic eggs and protozoa with microscope

ภาคบรรยาย

อ.น.สพ.วนัท

13.00-16.00 น.

- Measurement of helminthic eggs with microscope

ภาคปฏิบัติการ

คุณนิชนันต์และคณะ

4

5 ก.ค. 55 11.00-12.00 น. หยดุเนื่องจากพธิีไหว้คร ู

13.00-16.00 น.

Fecal examination to diagnosis of parasites - Gross examination - Qualitative fecal microscopic examination

- Direct smear - Floatation techniques

ภาคบรรยาย และ

ภาคปฏิบัติการ

อ.น.สพ.วนัท และ

คุณนิชนันต์

5 12 ก.ค. 55 11.00-12.00 น.

- Qualitative fecal microscopic examination - Sedimentation techniques

ภาคบรรยาย

รศ.น.สพ.ดร.อาคม

13.00-16.00 น - Sedimentation techniques ภาคปฏิบัติการ คุณนิชนันต์

6 19 ก.ค. 55 11.00-12.00 น.

- Quantitative fecal microscopic examination - Stoll dilution counting - Modified Mc Master technique

ภาคบรรยาย

รศ.น.สพ.ดร.อาคม

13.00-16.00 น - Stoll dilution counting - Modified Mc Master technique

ภาคปฏิบัติการ คุณนงนุชและคณะ

Page 5: (Course Syllabus) 2555 1. 2. Clinical parasitology in ... · 1. Introduction to clinical parasitology in veterinary technology 2. Measurement of parasites and helminthic eggs with

สปัดาห ์ที ่

วันที่ / เวลา หัวข้อ การเรียน อาจารยผ์ู้สอน

7 26 ก.ค. 55 11.00-12.00 น.

Quantitative fecal microscopic examination - Kato-Katz counting technique - Beads technique

ภาคบรรยาย

รศ.น.สพ.ดร.อาคม

13.00-16.00 น. - Kato-Katz counting technique - Beads technique

ภาคปฏิบัติการ คุณนงนุชและคณะ

8 2 ส.ค. 55 หยดุเนื่องในวนัอาสาฬหบชูา

9 4-11 ส.ค. 55 สอบกลางภาค

10 16 ส.ค. 55 11.00-12.00 น.

-Culture techniques of parasites and protozoa -Examination of parasites in animal tissues

ภาคบรรยาย

อ.น.สพ.วนัท

13.00-16.00 น. -Culture technique of parasites and protozoa -Examination of parasites in animal tissues (demonstration)

ภาคปฏิบัติการ คุณนงนุชและคณะ

11 23 ส.ค. 55 11.00-12.00 น.

-Faecal staining - Trichrome technique - Acid Fast staining

ภาคบรรยาย

อ.น.สพ.วนัท

13.00-16.00 น. -Checking of larvae from the cultured tube -Trichrome technique -Acid Fast staining

ภาคปฏิบัติการ คุณนงนุชและคณะ

12 30 ส.ค. 55 11.00-12.00 น.

-Collecting of internal organs of ectoparasites-Collecting of endoparasites and ectoparasites for parasitology

ภาคบรรยาย

คุณวิษณุวัฒน์

13.00-16.00 น. Collecting of endoparasites for Parasitology ภาคปฏิบัติการ คุณวิษณุวัฒน์และคณะ

13 6 ก.ย. 55 11.00-12.00 น.

- Preparation of non-permanent and permanent slides of internal parasites

ภาคบรรยาย

อ.น.สพ.วนัท

13.00-16.00 น. - Preparation of non-permanent and permanent slides of internal parasites

ภาคปฏิบัติการ คุณนงนุชและคณะ

Page 6: (Course Syllabus) 2555 1. 2. Clinical parasitology in ... · 1. Introduction to clinical parasitology in veterinary technology 2. Measurement of parasites and helminthic eggs with

สปัดาห ์ที ่

วันที่ / เวลา หัวข้อ การเรียน อาจารยผ์ู้สอน

14 13 ก.ย. 55 11.00-12.00 น.

- Preparation of non-permanent and permanent slides of external parasites

ภาคบรรยาย

อ.น.สพ.วนัท

13.00-16.00 น. - Preparation of non-permanent and permanent slides of external parasites

ภาคปฏิบัติการ คุณนงนุชและคณะ

15 20 ก.ย. 55 11.00-12.00 น.

Examination of blood parasites - Thick & thin blood smears

ภาคบรรยาย

อ.สพ.ญ.ณัฐนรี

13.00-16.00 น. Thick & thin blood smears ภาคปฏิบัติการ คุณนงนุชและคณะ

16 27 ก.ย. 55 11.00-12.00 น.

-Examination of microfilaria in blood - Modified Knott’s technique -Counting technique for microfilaria in blood - Filtration method

ภาคบรรยาย

อ.สพ.ญ.ณัฐนรี

13.00-16.00 น - Modified Knott’s technique - Filtration method

ภาคปฏิบัติการ คุณนงนุชและคณะ

17-18 1-12 ต.ค. 55 สอบปลายภาค

ลงนาม ........................................................(ผู้รายงาน) ( อ.น.สพ.วนัท ศรีเจริญ ) วันที่ 28 พฤษภาคม 2555