bio medical engineering swu

69
หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมชีวการแพทย (หลักสูตรใหม .. ๒๕๕๑) คณะวิศวกรรมศาสตร รวมกับ คณะแพทยศาสตร คณะสหเวชศาสตร คณะเภสัชศาสตร และคณะทันตแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

Upload: preeyanan

Post on 17-Nov-2014

5.543 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: Bio Medical Engineering SWU

หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมชีวการแพทย

(หลักสูตรใหม พ.ศ. ๒๕๕๑)

คณะวิศวกรรมศาสตร รวมกับ คณะแพทยศาสตร คณะสหเวชศาสตร คณะเภสัชศาสตร และคณะทันตแพทยศาสตร

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

Page 2: Bio Medical Engineering SWU

หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมชีวการแพทย

คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (หลักสูตรใหม พ.ศ.2551)

1. ชื่อหลักสูตร

ช่ือเต็มภาษาไทย หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวชิาวิศวกรรมชีวการแพทย ช่ือเต็มภาษาองักฤษ Bachelor of Engineering Program in Biomedical Engineering 2. ชื่อปริญญา ช่ือเต็มภาษาไทย วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (วิศวกรรมชีวการแพทย) ช่ือยอภาษาไทย วศ.บ. (วิศวกรรมชีวการแพทย) ช่ือเต็มภาษาองักฤษ Bachelor of Engineering (Biomedical Engineering) ช่ือยอภาษาอังกฤษ B.Eng. (Biomedical Engineering)

1

3. หนวยงานรับผิดชอบ คณะวิศวกรรมศาสตร ดําเนินการรวมกับ คณะแพทยศาสตร คณะสหเวชศาสตร คณะเภสัชศาสตร และคณะทันตแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

4. หลักการและเหตุผล วิศวกรรมชีวการแพทยเปนศาสตรแขนงใหมเชิงสหวิชาการท่ีเกิดจากการผสมผสานระหวาง

วิศวกรรมศาสตร การแพทยสาธารณสุขและวิทยาศาสตรดานตางๆ เชน ชีววิทยา ฟสิกส และเคมี เขาดวยกันและประยุกตเชิงบูรณาการเพื่อกอใหเกิดประโยชนในการแกไขปญหาหรือชวยในการออกแบบสรางอุปกรณพิเศษท่ีจําเปนตอการบําบัดรักษา การตรวจวินิจฉัยทางการแพทย รวมถึงการใชประโยชนจากอุปกรณเคร่ืองมือท่ีใชเทคโนโลยีข้ันสูงไดอยางมีประสิทธิภาพมากยิ่งข้ึน ตัวอยางท่ีรูจักกันแพรหลาย ไดแก การสรางอวัยวะเทียม การสรางอุปกรณตรวจวัดทางชีววิทยาเปนตน จะเห็นไดวาวิศวกรรมชีวการแพทยเปนศาสตรท่ีมีความสําคัญและจําเปนอยางยิ่งท่ีจะตองพัฒนาควบคูไปกับการพัฒนาวิทยาศาสตรเทคโนโลยีและวิทยาศาสตรสุขภาพ เพื่อประโยชนตอประเทศชาติท้ังในปจจุบันและอนาคต เนื่องจากวิศวกรรมชีวการแพทยเปนสาขาที่มีความสัมพันธแบบสหวิชาการดังท่ีไดกลาวมาแลวขางตน ดังนั้นผูท่ีสําเร็จการศึกษาทางดานวิศวกรรมชีวการแพทย จะตองมีพื้นความรูและประสบการณท่ีกวางและมองปญหาในประเด็นตางๆเชิงบูรณาการไดดี ในหนวยงานทางการแพทยและสาธารณสุข เชน โรงพยาบาล วิศวกรชีวการแพทย จะเปนผูรับผิดชอบในการฝกอบรมการใชงาน ดูแลรักษาซอมบํารุงเคร่ืองมือทางการแพทย การจัดการบริหาร

Page 3: Bio Medical Engineering SWU

เทคโนโลยีและระบบตางๆ ในโรงพยาบาล สวนในภาคอุตสาหกรรมท่ีเกี่ยวกับการแพทย และบริษัทดานเคร่ืองมือทางการแพทย วิศวกรสาขานี้ จะทําหนาท่ีเปนท่ีปรึกษาหรือผูเช่ียวชาญพิเศษในการผลิตอุปกรณทางการแพทย หรืออาจเปนผูประกอบการเชิงพาณิชยจากผลงานของตนเอง หรือเปนนักวิจัยหรือทํางานในสายวิชาการ เมื่อประเทศมีวิศวกรชีวการแพทย ท่ีเปนนักวิจัยและมีความสามารถในการสรางสรรคนวตักรรมใหมได จะทําใหสามารถลดการนําเขาอุปกรณและผลิตภัณฑทางการแพทยได และสามารถพ่ึงพาตัวเองไดตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง จากขอมูลของกรมสงเสริมการสงออกในตลาดตางประเทศ พบวา ประเทศไทยมีผูผลิตเคร่ืองมือและอุปกรณทางการแพทยประมาณ 250 ราย รวมจํานวนคนงานท้ังส้ินประมาณ 200,000 คน โดยมีการสงออกเคร่ืองมือและอุปกรณทางการแพทยในป 2544 มูลคารวมประมาณ 12,000 ลานบาท อัตราการเติบโตเฉล่ียของการสงออกในชวง 10 ปท่ีผานมาเทากับ 24 % ตอป (พิกัดศุลกากร HS9018-HS9022) ในขณะท่ีสํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ สวทช. ไดกําหนดใหคลัสเตอรอุตสาหกรรมการแพทยและสาธารณสุข เปนหนึ่งในหกกลุมอุตสาหกรรมท่ีอยูในแผนกลยุทธของ สวทช. (NSTDA strategic planning alliance) ในปงบประมาณ 2549-2553 ซ่ึงเปนชวงของแผนกลยุทธแผนท่ี 4 ดังนั้น คณะวิศวกรรมศาสตร โดยความรวมมือกับ คณะแพทยศาสตร คณะสหเวชศาสตร คณะเภสัชศาสตรและคณะทันตแพทยศาสตร ไดเห็นถึงความสําคัญและประโยชนเหลานี้ จึงไดทําการพัฒนาหลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิศวกรรมชีวการแพทยข้ึน เพื่อตอบสนองนโยบายและความตองการบุคลากรท่ีมีความสามารถในการบูรณาการความรูทางดานวิศวกรรมและการแพทย เพื่อการวิจัยและพัฒนางานดานนี้ในภาคอุตสาหกรรมของประเทศ และผลิตวิศวกรชีวการแพทยท่ีมีคุณสมบัติเปนนักวิจัย และมีความสามารถในการออกแบบและสรางนวัตกรรมใหมๆ ทางดานนี้ ตลอดจนสามารถดูแลบํารุงรักษา บริหารจัดการเคร่ืองมือและอุปกรณทางการแพทยในโรงพยาบาลไดอยางมีประสิทธิภาพ

5. ปรัชญาและวัตถุประสงคของหลักสูตร 5.1 ปรัชญาของหลักสูตร “บูรณาการความรูสูการวิจัยและสรางสรรคนวัตกรรมทางวิศวกรรมการแพทย เพื่อการพึ่งพาตนเอง ตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง”

5.2. วัตถุประสงคของหลักสูตร 1. เพื่อผลิตบัณฑิตวิศวกรรมชีวการแพทยท่ีมีความรู ความคิดสรางสรรค มีจรรยาบรรณใน

วิชาชีพ และมีทักษะในการวิจัยและพัฒนาทางวิศวกรรมไดอยางมีคุณภาพ 2. เพื่อผลิตบัณฑิตวิศวกรรมชีวการแพทยท่ีมีความรูความสามารถในการบูรณาการความรูดาน

วิศวกรรมศาสตร และวิทยาศาสตรการแพทยไดอยางเพียงพอ ตอการวิจัยและพัฒนางานนวัตกรรมใหม ใหเหมาะสมกับสภาพอุตสาหกรรมและการบริการของประเทศ และเปนผูมีความพรอมท่ีจะศึกษาตอในระดับสูงข้ึนตอไปได

2

Page 4: Bio Medical Engineering SWU

6. คุณสมบัตขิองผูเขาศึกษา สําเร็จการศึกษามัธยมศึกษาตอนปลาย หรือเทียบเทา สาขาวิทยาศาสตร และมีคุณสมบัติตาม

ขอบังคับวาดวยการศึกษาระดับปริญญาตรี ของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

7. การคัดเลือกผูเขาศึกษา คัดเลือกโดยวิธีการสอบขอเขียน และ/หรือ สอบสัมภาษณ โดยผานสํานักงานคณะกรรมการการ

อุดมศึกษา หรือมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ เพื่อเขาศึกษาในคณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัย ศรีน

ครินทรวิโรฒตามขอบังคับมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒวาดวยการศึกษาระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2548

8. ระบบการศึกษา ใหเปนไปตามขอบังคับมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ วาดวยการศึกษาภาคปกติข้ันปริญญาตรีของ

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒและประกาศทบวงมหาวิทยาลัยเร่ืองเกณฑมาตรฐานหลักสูตรระดับปริญญาตรี พ.ศ.2538 มีรายละเอียดดังนี้

8.1 ใชระบบทวิภาคและสหกิจศึกษาโดยหนึ่งปการศึกษาแบงออกเปน 2 ภาคการศึกษา คือ ภาคตน และภาคปลาย มีเวลาเรียนแตละภาคการศึกษาไมนอยกวา 15 สัปดาห และอาจจะมีภาคฤดูรอนได โดยมีระยะเวลาเรียนและจํานวนหนวยกิต ท่ีมีสัดสวนเทียบเคียงกันไดกับภาคการศึกษาปกติ

8.2. หนวยกิตการศึกษากําหนดดังนี้ 8.2.1. รายวิชาภาคทฤษฎีท่ีใชเวลาบรรยายหรืออภิปราย 1 ช่ัวโมงตอสัปดาห หรือไมนอยกวา 15

ช่ัวโมง ตลอดหน่ึงภาคการศึกษาปกติใหมีคาเทากับ 1 หนวยกิต 8.2.2. รายวิชาปฎิบัติท่ีใชเวลาปฎิบัติหรือทดลอง 2 ถึง 3 ช่ัวโมงตอสัปดาห หรือตั้งแต 30 ถึง 45

ช่ัวโมง ตลอดหน่ึงภาคการศึกษาปกติใหมีคาเทากับ 1 หนวยกิต 8.2.3. การฝกงานหรือฝกภาคสนามใชเวลาไมนอยกวา 200 ช่ัวโมง

9. ระยะเวลาการศึกษา ระยะเวลาการศึกษาตามหลักสูตร 4 ปการศึกษา โดยใหใชเวลาศึกษาอยางมากไมเกิน 8 ปการศึกษา

10. อาจารยประจํารวมสอน 1. อาจารยประจําคณะวิศวกรรมศาสตร มศว

2. อาจารยประจําคณะแพทยศาสตร มศว 3. อาจารยประจําคณะเภสัชศาสตร มศว

4. อาจารยประจําคณะสหเวชศาสตร มศว 5. อาจารยประจําคณะทันตแพทยศาสตร

6. อาจารยประจําคณะวิทยาศาสตร มศว 7. อาจารยประจําคณะสังคมศาสตร มศว

8. อาจารยประจําคณะมนษุยศาสตร มศว 9. อาจารยประจําคณะพลศึกษาศาสตร มศว

3

Page 5: Bio Medical Engineering SWU

11. อาจารยผูสอน 11.1 อาจารยประจําหลักสูตร

ลําดับ รายชื่ออาจารย คุณวุฒิท่ีสําเร็จการศึกษา สถาบันท่ีสําเร็จการศึกษา 1 อาจารย ดร.วงศวิทย เสนะวงศ B.Eng (Biomedical Engineering)

M.Sc (Biomedical Engineering) Ph.D. (Biomedical Engineering)

University of Kent, UK Imperial College London, UK Imperial College London, UK

2 ผูชวยศาสตราจารยวัชรชัย วิริยะสุทธิวงศ วศ.บ. (วิศวกรรมไฟฟา) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วศ.ม (วิศวกรรมไฟฟา) มหาวิทยาลัยเชียงใหม

สถาบันเทคโนโลยีพระจอม-เกลาธนบุรี

3 ผูชวยศาสตราจารยเกียรติชัย รักษาชาติ วศ.บ. (วิศวกรรมเครื่องกล) วศ.ม. (วิศวกรรมเครื่องกล) สถาบันเทคโนโลยีพระจอม-

เกลาพระนครเหนือ โรงพยาบาลรามาธิบดี 4 ผูชวยศาสตราจารย นพ.ภาวิน พัวพรพงษ แพทยศาสตรบัณฑิต โรงพยาบาลรามาธิบดี ป. ช้ันสูงทางวิทยาศาสตร การแพทยคลินิก โรงพยาบาลรามาธิบดี วุฒิบัตรวิชาชีพเวชกรรม สูติศาสตรนรีเวชวิทยา

อนุมัติบัตรเวชศาสตรครอบครัว แพทยสภา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 5

อาจารย นพ.ชลวิช จันทรลลิต แพทยศาสตรบัณฑิต

มหาวิทยาลัยขอนแกน ป. ช้ันสูงทางวิทยาศาสตร การแพทยคลินิก

วุฒิบัตรศัลยศาสตรออรโธปดิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน

11.2 อาจารยรับผิดชอบหลักสูตร

ลําดับ รายชื่ออาจารย คุณวุฒิท่ีสําเร็จการศึกษา สถาบันท่ีสําเร็จการศึกษา 1 อาจารย ดร.วงศวิทย เสนะวงศ B.Eng (Biomedical Engineering)

M.Sc (Biomedical Engineering) Ph.D. (Biomedical Engineering)

University of Kent, UK Imperial College London, UK Imperial College London, UK

2 ผูชวยศาสตราจารยวัชรชัย วิริยะสุทธิวงศ วศ.บ. (วิศวกรรมไฟฟา) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วศ.ม. (วิศวกรรมไฟฟา) มหาวิทยาลัยเชียงใหม

สถาบันเทคโนโลยีพระจอม-เกลาธนบุรี

3 ผูชวยศาสตราจารยเกียรติชัย รักษาชาติ วศ.บ. (วิศวกรรมเครื่องกล) วศ.ม. (วิศวกรรมเครื่องกล) สถาบันเทคโนโลยีพระจอม-

เกลาพระนครเหนือ

4

Page 6: Bio Medical Engineering SWU

11.2 อาจารยรับผิดชอบหลักสูตร (ตอ)

ลําดับ รายช่ืออาจารย คุณวุฒิที่สําเร็จการศึกษา สถาบันที่สําเร็จการศึกษา โรงพยาบาลรามาธิบดี 4 ผูชวยศาสตราจารย นพ.ภาวิน แพทยศาสตรบัณฑิต โรงพยาบาลรามาธิบดี พัวพรพงษ ป. ช้ันสูงทางวิทยาศาสตร การแพทยคลินิก โรงพยาบาลรามาธิบดี วุฒิบัตรวิชาชีพเวชกรรม สูติศาสตรนรีเวชวิทยา

อนุมัติบัตรเวชศาสตรครอบครัว แพทยสภา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ5 อาจารย นพ.ชลวิช จันทรลลิต แพทยศาสตรบัณฑิต

ป. ช้ันสูงทางวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน การแพทยคลินิก วุฒิบัตรวิชาชีพเวชกรรมศัลยศาสตรออรโธปดิกส

มหาวิทยาลัยขอนแกน

11.3 อาจารยประจํารวมสอน มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

ลําดับ รายชื่ออาจารย คุณวุฒิท่ีสําเร็จการศึกษา สถาบันท่ีสําเร็จการศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล 1 ศาสตราจารย นพ. สมเกียรติ วท.บ.วิทยาศาสตรการแพทย โรงพยาบาลรามาธิบดี วัฒนศิริชัยกุล พ.บ. (เกียรตินิยม) คณะแพทยศาสตรศิริราชพยาบาล

วท.ม.การแพทยคลินิก

มหาวิทยาลัยขอนแกน วุฒิบัตรวิชาชีพเวชกรรมศัลยศาสตรทั่วไป เกียรติบัตรผูเช่ียวชาญสาขาศัลยศาสตรบําบัดวิกฤต

Harvard University, USA

2 โรงพยาบาลรามาธิบดี แพทยศาสตรบัณฑิต ผูชวยศาสตราจารย นพ.สรวุฒิ พงศโรจนเผา (เกียรตินิยม)

โรงพยาบาลรามาธิบดี ป. ช้ันสูงทางวิทยาศาสตร การแพทยคลินิก

โรงพยาบาลรามาธิบดี วุฒิบัตรวิชาชีพเวชกรรมกุมารเวชศาสตร

โรงพยาบาลรามาธิบดี เกียรติบัตรผูเช่ียวชาญสาขากุมารเวชศาสตรระบบทางเดินหายใจ อนุมัติบัตรเวชศาสตร ครอบครัว แพทยสภา

5

Page 7: Bio Medical Engineering SWU

11.3 อาจารยประจํารวมสอน มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (ตอ)

ลําดับ รายชื่ออาจารย คุณวุฒิท่ีสําเร็จการศึกษา สถาบันท่ีสําเร็จการศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร 3 อาจารย นพ.สมพร รี้พลมหา แพทยศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ป. ช้ันสูงทางวิทยาศาสตร การแพทยคลินิก

วุฒิบัตรวิชาชีพเวชกรรม จักษุวิทยา

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร

4 ผูชวยศาสตราจารย ดร. รัมภา บุญสินสุข วท.บ. (กายภาพบําบัด) มหาวิทยาลัยมหิดล Postgraduate diploma in physical therapy (Neuroscience) Ph.D. (Rehabilitation Science)

Curtin university, Australia McGill University, Canada

5 มหาวิทยาลัยเชียงใหม อาจารย นพ. สุเมธ พัฒนาสุทธินนท แพทยศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยเชียงใหม ป. ช้ันสูงทางวิทยาศาสตร การแพทยคลินิก มหาวิทยาลัยเชียงใหม วุฒิบัตรวิชาชีพเวชกรรม สูติศาสตรนรีเวชวิทยา จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย เกียรติบัตรผูเช่ียวชาญสาขาเวช

ศาสตรการเจริญพันธุ

6 รองศาสตราจารย นพ.สงวนศักด์ิ แพทยศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยเชียงใหม ฤกษศุภผล ประกาศนียบัตรบัณฑิตทาง

วิทยาศาสตรการแพทยคลินิก มหาวิทยาลัยเชียงใหม

วุฒิบัตรวิชาชีพเวชกรรมกุมารเวชศาสตร

โรงพยาบาลรามาธิบดี

เกียรติบัตรผูเช่ียวชาญ สาขาโภชนาการเด็ก

โรงพยาบาลรามาธิบดี

เกียรติบัตรผูเช่ียวชาญ สาขาทางเดินอาหาร และโภชนาการคลินิก

Royal Children's Hospital, Melbourne, Australia

7 ผูชวยศาสตราจารย ดร.ปฐมทัศน จิระเดชะ วศ.บ. (วิศวกรรมไฟฟา) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร MS. (Electrical Engineering) Ph.D. (Electrical Engineering)

Oklahoma State University, USA Oklahoma State University, USA

8 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒผูชวยศาสตราจารย ดร.นําคุณ ศรีสนิท วศ.บ. วิศวกรรมไฟฟา MS. (Electrical Engineering) Ph.D. (Electrical Engineering)

University of Miami, USA University of Miami, USA

6

Page 8: Bio Medical Engineering SWU

11.3 อาจารยประจํารวมสอน มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (ตอ)

ลําดับ รายชื่ออาจารย คุณวุฒิท่ีสําเร็จการศึกษา สถาบันท่ีสําเร็จการศึกษา มหาวิทยาลัยขอนแกน 9 ผูชวยศาสตราจารย ดร.จุฑารัตน คุรุเจริญ วศ.บ. (วิศวกรรมเครื่องกล)

M.Eng (Mechanical Engineering) Ph.D. (Mechanical Engineering)

University of Hertfordshire, UK University of Hertfordshire, UK

10 ผูชวยศาสตราจารย มิตรมาณี ตรีวัฒนาวงศ วศ.บ. (วิศวกรรมอุตสาหการ) มหาวิทยาลัยเชียงใหม วศ.ม. (วิศวกรรมอุตสาหการ) จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี- 11 ผูชวยศาสตราจารย ดร.กัณฑวริชญ วศ.บ. (วิศวกรรมอุตสาหการ) ราชมงคล พลูปราชญ สถาบันเทคโนโลยีพระจอม-เกลาพระนครเหนือ

วศ.ม. (วิศวกรรมเครื่องกล) Ph.D. (Mechanical Engineering) Czech Technical University,

Czech 12 อาจารยสมภพ รอดอัมพร อส.บ. (วิศวกรรมไฟฟา) มหาวิทยาลัยเอเชียอาคเนย

วศ.ม. (วิศวกรรมไฟฟา) มหาวิทยาลัยเชียงใหม ลาศึกษาตอระดับปริญญาเอก (BioElectronics) ณ University of Southampton, UK

วท.บ. (กายภาพบําบัด) อาจารย ดร. สายธิดา ตัณศิริ มหาวิทยาลัยมหิดล 13 วท.ม. (กายภาพบําบัด) มหาวิทยาลัยมหิดล ปร.ด. (กายวิภาคศาสตร) มหาวิทยาลัยมหิดล

14 อาจารยวิภาพร ตัณฑสุระ วท.บ. (กายภาพบําบัด) มหาวิทยาลัยมหิดล วท.ม (สรีรวิทยาการออกกําลังกาย) มหาวิทยาลัยมหิดล

15 อาจารยวาสนา เตโชวาณิชย วท.บ. (กายภาพบําบัด) มหาวิทยาลัยมหิดล วท.ม.(กายภาพบําบัด) มหาวิทยาลัยมหิดล

16 รองศาสตราจารย ดร. โกสุม จันทรศิริ Ph.D. (Biochemistry and Molecular Genetics)

University of New South Wales, Australia

17 สพ.ญ. ดร. นลินา ประไพรักษสิทธิ์ Ph.D. (Neuroscience) Iowa State University, USA 18 มหาวิทยาลัยเชียงใหม อาจารย นพ. สุทัศน รุงเรืองหิรัญญา พ.บ. (เกียรตินิยมอันดับ 1)

George Washington University Medical Center University of Miami

Straight Internship & Residency in Internal Medicine Fellowship in Pulmonary and Critical Care Medicine

7

Page 9: Bio Medical Engineering SWU

11.3 อาจารยประจํารวมสอน มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (ตอ)

ลําดับ รายชื่ออาจารย คุณวุฒิท่ีสําเร็จการศึกษา สถาบันท่ีสําเร็จการศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล 19 อาจารย ดร.อมรทัศน สดใส ภบ. มหาวิทยาลัยมหิดล ภม. (เภสัชวิทยา)

ปร.ด. (พิษวิทยา) มหาวิทยาลัยมหิดล 20 รองศาสตราจารย ดร.สมชาย สันติวัฒนกุล Ph.D. (Microbiology) Virginia Institute of

Technology, USA 21 มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร นายแพทยชัชดนัย มุสิกไชย แพทยศาสตรบัณฑิต

วุฒิบัตรวิชาชีพเวชกรรมศัลยกรรมหัวใจ)

มหาวิทยาลัยปารีส 6 และ 7

จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 22 อาจารย ทันตแพทยขนิษฐ ธเนศวร ทันตแพทยศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยมหิดล หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต

ทางวิทยาศาสตรการแพทยคลินิก (ศัลยศาสตรชองปากและแม็กซิลโลเฟเชียล)

มหาวิทยาลัยมหิดล ประกาศนียบัตรทันตแพทยประจํา

บานสาขาศัลยศาสตรชองปากและแม็กซิลโลเฟเชียล

อนุมัติบัตรแสดงความรูความชํานาญในการประกอบวิชาชีพทันตกรรม สาขาศัลยศาสตรชองปากและแม็กซิลโลเฟเชียล

ทันตแพทยสภา

จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 23 ผูชวยศาสตราจารย ทันตแพทยกิติ ศิริวัฒน ทันตแพทยศาสตรบัณฑิต จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย วุฒิบัตรศัลยศาสตรชองปาก

และแม็กซิลโลเฟเชียล อนุมัติบัตรแสดงความรูความชํานาญในการประกอบวิชาชีพทันตกรรม สาขาศัลยศาสตรชองปากและแม็กซิลโลเฟเชียล

ทันตแพทยสภา

B.Sc.(Physics) Ph.D.(Material Science & Engineering)

Cornell University, USA Massachusette Institute of Technology, USA

24 อาจารย ดร.ปณิธาน วนากุล

8

Page 10: Bio Medical Engineering SWU

11.3 อาจารยประจํารวมสอน มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (ตอ)

ลําดับ รายชื่ออาจารย คุณวุฒิท่ีสําเร็จการศึกษา สถาบันท่ีสําเร็จการศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม 25 อาจารย ดร.อารียา เอี่ยมบู วท.บ.(วัสดุศาสตร)

วท.ม.(ฟสิกสประยุกต) วท.ด.(วัสดุศาสตร)

มหาวิทยาลัยเชียงใหม มหาวิทยาลัยเชียงใหม

26 อาจารยธีรศักด์ิ จันทรวิเมเลือง วศ.ม. (อิเล็กทรอนิกสชีวการแพทย) สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

27 อาจารยสุชาดา ตันติสถิระพงษ M.Eng (Biomedical Engineering) University of New South Wales, Australia

11.4 อาจารยพิเศษ

ลําดับ รายชื่ออาจารย คุณวุฒิท่ีสําเร็จการศึกษา สถาบันท่ีสําเร็จการศึกษา สถาบันเทคโนโลยีพระจอม-เกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

1 รองศาสตราจารย ดร. มนัส สังวรศิลป วศ.บ. (วิศวกรรมไฟฟา) M.Eng. (Electronics) D.Eng. (Electronics)

Tokai University, Japan Tokai University, Japan

2 มหาวิทยาลัยมหิดล รองศาสตราจารย ดร. ชูชาติ ปณฑวิรุจน วท.บ. (รังสีเทคนิค) มหาวิทยาลัยมหิดล วท.ม. (อุปกรณชีวการแพทย)

MS. (Biomedical Engineering) Ph.D. (Biomedical Engineering)

Worcester Polytech Institute, USA Drexel University, USA

3 ผูชวยศาสตราจารย ดร. สุพันธุ ต้ังจิตกุศลมั่น

BS.(Electrical Engineering) MS. (Electrical Engineering) Ph.D. (Electrical Engineering)

University of Pennsylvania, USA University of Wisconsin, USA University of Wisconsin, USA

4 สถาบันเทคโนโลยีพระจอม-เกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

ดร. ศิริเดช บุญแสง วศ.บ.วิศวกรรมไฟฟา M.Sc. (Electrical Engineering) Ph.D. (Instrumentation)

University of Manchester Institute of Science and Technology, UK University of Manchester Institute of Science and Technology, UK

9

Page 11: Bio Medical Engineering SWU

11.4 อาจารยพิเศษ (ตอ)

ลําดับ รายชื่ออาจารย คุณวุฒิท่ีสําเร็จการศึกษา สถาบันท่ีสําเร็จการศึกษา 5 รองศาสตราจารย พล.ต.ดร. ชัยณรงค เชิดชู Ph.D. University of Nebraska

Medical Center, Omaha, Nebraska, U.S.A.

6 อาจารยสุภาภรณ เกียรติสิน วศ.บ. (วิศวกรรมคอมพิวเตอร) มหาวิทยาลัยเชียงใหม วศ.ม. (วิศวกรรมไฟฟา) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี-

พระจอมเกลาธนบุรี 7 Assoc.Prof. Dr.Kazuhiko Hamamoto B.Eng.

M.Eng. D.Eng.

Tokai University of Agriculture and Technology, Japan Tokai University of Agriculture and Technology, Japan Tokai University of Agriculture and Technology, Japan

8 ผูชวยศาสตราจารย ดร. พรชัย พฤกษภัทรานนต

Ph.D. (Electrical Engineering) University of Minnesota , U.S.A

9 ผูชวยศาสตราจารยสุรนันท นอยมณี วศ.ม. (วิศวกรรมไฟฟา) มหาวิทยาลัยเชียงใหม 10 รองศาสตราจารย ดร. ชูศักด์ิ ลิ่มสกุล Ph.D. (Electrical Engineering) INSAT , France 11 ผูชวยศาสตราจารยนันทชัย ทองแปน วท.ม. ฟสิกส จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 12 ดร. อดิศร ลีลาสันติธรรม วศ.ด. (วิศวกรรมไฟฟา) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร 13 ดร. วีรพล จิรจริต วศ.ด. (วิศวกรรมไฟฟา) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี-

พระจอมเกลาธนบุรี 14 ศาสตราจารย ดร. เกตุ กรุดพันธ Ph.D.(Analytical Chemistry) Liverpool John Moores

University, UK 15 อาจารยปยะมาศ เสือเพ็ง วท.บ. ฟสิกส มหาวิทยาลัยนเรศวร

วท.ม. อุปกรณการแพทย สถาบันเทคโนโลยีพระจอม-เกลาพระนครเหนือ

16 ศาสตราจารย พญ. ผาสุก MD. Certification of Medical education

มหาวิทยาลัยเชียงใหม มหรรฆานุเคราะห Thai borad of Rehab Med

17 มหาวิทยาลัยมหิดล พล.อ.ต.ดร. เพียร โตทาโรง วท.บ ฟสิกส (เกียรตินิยม) M.Sc. (Electrical Engineering) Ph.D. (Electrical Engineering)

Ohio University, USA University of Pittsburgh, USA

18 นายวลิตะ นาคบัวแกว วศ.บ. (วิศวกรรมไฟฟา) เกียรตินิยม มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒวศ.ม. (วิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส) สถาบันเทคโนโลยีพระจอม-

เกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

10

Page 12: Bio Medical Engineering SWU

12. จํานวนนสิิต จํานวนนิสิตท่ีจะรับเขาเรียนในชวง 4 ป (2551-2554) ดังน้ี

ปการศึกษา/พ.ศ. ปท่ี / ชั้นป

2551 2552 2553 2554 1. ช้ันปท่ี 1 40 40 40 40

2. ช้ันปท่ี 2 - 40 40 40

3. ช้ันปท่ี 3 - - 40 40

4. ช้ันปท่ี 4 - - - 40 รวม 40 80 120 160

ผูสําเร็จการศึกษา - - - 40 13. การลงทะเบียนเรียน ใหเปนไปตามขอบังคับของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ วาดวยการศึกษาระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2548 (หมวด 4 วาดวยการลงทะเบียน) ยกเวนการลงทะเบียนในรายวิชาท่ีหลักสูตรกําหนดวาตองเรียนรายวิชาอ่ืนกอนหรือมีบุรพวิชา นิสิตตองเรียนและสอบไดรายวิชาหรือบุรพวิชาท่ีกําหนดไวกอน จึงจะมีสิทธ์ิลงทะเบียนรายวิชานั้นได

14. การวัดผลและสําเร็จการศึกษา นิสิตท่ีสําเร็จการศึกษาจะตองเปนผูท่ีสอบไดจํานวนหนวยกิตครบตามหลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิศวกรรมชีวการแพทย และไดระดับเฉลี่ยสะสมของหลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิตสาขาวิศวกรรมชีวการแพทยไมต่ํากวา 2.00 และเปนไปตามขอบังคับมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ วาดวยการศึกษาระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2548 (หมวด 5 วาดวยการวัดและประเมินผลการศึกษา และหมวด 8 วาดวยการขอรับและการใหปริญญา)

15. สถานท่ีและอุปกรณ 1) สถานท่ี หองบรรยาย และหองปฏิบัติการของภาควิชาตางๆ คณะวิศวกรรมศาสตร 2) อุปกรณและเคร่ืองอํานวยความสะดวกของภาควิชาตางๆ คณะวิศวกรรมศาสตร 3) หองปฏิบัติการของคณะแพทยศาสตร คณะเภสัชศาสตร คณะสหเวชศาสตร และคณะทันตแพทยศาสตร

16. หองสมุด นิสิตศึกษาคนควาจากหอสมุดกลาง และหอสมุดองครักษ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

11

Page 13: Bio Medical Engineering SWU

17. งบประมาณ การเปดสอนตามหลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมชีวการแพทย ปการศึกษา 2551 งบประมาณเปนไปตามระบบท้ังงบประมาณแผนดิน งบประมาณรายไดคณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

18. การบริหารจัดการหลักสูตร จัดใหมีคณะกรรมการบริหารหลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมชีวการแพทย โดยมีองคประกอบของคณะกรรมการจากคณะวิศวกรรมศาสตร คณะแพทยศาสตร คณะสหเวชศาสตร คณะเภสัชศาสตร และคณะทันตแพทยศาสตร เพื่อทําหนาท่ีบริหารจัดการการเรียนการสอน หลักสูตร และทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน

19. การประกันคุณภาพหลักสูตร 19.1. ประเด็นการบริหารหลักสูตร

แตงต้ังอาจารยผูรับผิดชอบหลักสูตร เพื่อทําหนาท่ีบริหารหลักสูตรและการเรียนการสอน การพัฒนาหลักสูตร และการติดตามประเมินผลหลักสูตร

19.2. ประเด็นทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน 19.2.1 มีอุปกรณ เคร่ืองมือการทดลอง และส่ือการสอนท่ีทันสมัย สอดคลองกับหลักสูตร 19.2.2 มีหนังสือ ตํารา และเอกสารอางอิงท่ีทันสมัยและเพียงพอของหอสมุดกลางของ

มหาวิทยาลัย 19.3. ประเด็นการสนับสนุนและการใหคําแนะนํานิสิต

19.3.1 มีอาจารยท่ีปรึกษาเพือ่ใหคําแนะนําแกนิสิตในดานการลงทะเบียน การศกึษา การพัฒนาความรู และพัฒนาศักยภาพนิสิต

19.3.2 มีระบบชวยสอน (Tutor) เพื่อใหคําแนะนําและชวยเหลือนิสิตทางดานการเรียน 19.4. ประเด็นความตองการของตลาดแรงงาน สังคม และ/หรือความพงึพอใจของผูใชบัณฑิต

มีการสํารวจและวิเคราะหความตองการของตลาดแรงงาน สังคม และความพึงพอใจของผูใชบัณฑติ เพื่อใหบัณฑิตท่ีจบการศึกษาเปนท่ีตองการของตลาดแรงงาน สังคม และผูใชบัณฑิตมีความพึงพอใจตอคุณภาพของบณัฑิต

20. การพัฒนาหลักสูตร 20.1. มาตรฐานดานคุณภาพบัณฑิต

20.1.1 บัณฑิตท่ีไดงานทําใน 1 ป รวมท้ังการประกอบอาชีพอิสระและการเรียนตอในระดับบัณฑิตศึกษา ไมนอยกวารอยละ 80 ของบัณฑิตท่ีจบการศึกษาและใหขอมูล

20.1.2 นายจาง และ/หรือผูประกอบการ และ/หรือผูใชบัณฑิตท่ีมีความพึงพอใจตอบัณฑิตในระดับมากข้ึนไป ไมนอยกวารอยละ 70 ของบัณฑิตท่ีจบการศึกษาและใหขอมูล

12

Page 14: Bio Medical Engineering SWU

20.2. มาตรฐานดานกระบวนการเรียนรู 20.2.1 หลักสูตรมีการปรับปรุงเม่ือครบรอบหลักสูตร 20.2.2 จํานวนอาจารยท่ีไดรับผลการประเมินคุณภาพการสอนต้ังแตระดับคอนขางมากข้ึนไป

จากการประเมินของนิสิต ไมนอยกวารอยละ 80 ของจํานวนอาจารยท่ีไดรับการประเมิน 20.2.3 จํานวนงานวจิัยเพื่อพัฒนากระบวนการเรียนรู ไมนอยกวา 1 เร่ืองตอป

20.3. มาตรฐานดานการสนบัสนุนการเรียนรู 20.3.1 อาจารยประจําทุกระดบัตอจํานวนนสิิตเต็มเวลาเทียบเทา เปนไปตามมาตรฐานของ

สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา และกระทรวงศึกษาธิการ 20.3.2 อาจารยประจําท่ีมีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเทา ไมนอยกวารอยละ 40 ของจํานวน

อาจารยประจําท้ังหมด 20.3.3 จํานวนคอมพิวเตอรท่ีใชในการเรียนการสอนตอจํานวนนิสิตเต็มเวลาเทียบเทา

ไมเกินกวา 1:15 20.4 มาตรฐานดานการพัฒนานิสิต

20.4.1 จํานวนกิจกรรม/โครงการพัฒนานิสิตตอจํานวนนสิิตทั้งหมด ไมเกินกวา 1:50 จํานวนกิจกรรม/โครงการที่สงเสริมและพัฒนานิสิตดานคุณธรรมและจริยธรรมตอจํานวนกิจกรรม/โครงการพัฒนานิสิตท้ังหมด ไมนอยกวารอยละ 20

20.4.2

21. หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมชีวการแพทย โครงสรางหลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมชีวการแพทย เปนหลักสูตร 4 ป มีจํานวนหนวยกิตรวมตลอดหลักสูตรไมนอยกวา 146 หนวยกิต

13

Page 15: Bio Medical Engineering SWU

22. จํานวนหนวยกิต และรายละเอียดของหลักสูตร จํานวนหนวยกิตรวมตลอดหลักสูตร 146 หนวยกิต

จํานวนหนวยกิตรวมตลอดหลักสูตร หลักสูตร 4 ป ก. 30

11 2 2 6 1 8

หนวยกิต หมวดการศึกษาท่ัวไป - กลุมภาษา หนวยกิต - กลุมวิชาสารสนเทศ หนวยกิต - กลุมมนุษยศาสตร หนวยกิต - กลุมสังคมศาสตร หนวยกิต - กลุมพลศึกษา หนวยกิต - กลุมวิชาบูรณาการ หนวยกิต

ข. หนวยกิต 110 12 32 35 22 9

หมวดวิชาเฉพาะ - กลุมวิชาวิทยาศาสตร/คณิตศาสตร หนวยกิต - กลุมวิชาพื้นฐานทางวิศวกรรม หนวยกิต - กลุมวิชาพื้นทางวิศวกรรมชีวการแพทย หนวยกิต - กลุมวิชาเอกบังคับ หนวยกิต - กลุมวิชาเอกเลือก หนวยกิต

ค. 6 6

หนวยกิต หมวดวิชาเลือกเสรี - กลุมวิชาเลือกเสรี หนวยกิต

- - ง. หมวดวิชาการฝกงาน รวมหนวยกิตตลอดหลักสูตร ไมนอยกวา 146 หนวยกิต

14

Page 16: Bio Medical Engineering SWU

โครงสรางของหลักสูตรและรายวิชา กําหนดใหเรียนไมนอยกวา 146 หนวยกิต

ก. หมวดวิชาการศึกษาท่ัวไป จํานวน 30 หนวยกิต โดยแบงเปนกลุมวิชาตางๆ ดังนี ้

1. กลุมวิชาภาษา จํานวน 11 หนวยกิต

1.1 ภาษาไทย 2 หนวยกิต

ทย 101 ทักษะทางภาษา 1 2(2-0) TH 101 Language Skills I

1.2 ภาษาอังกฤษ กําหนดใหเลือกเรียน 9 หนวยกิต จากรายวิชาตอไปนี ้

อก 101 อังกฤษระดับพื้นฐาน 1 3(3-0) EN 101 English for Beginners I อก 102 อังกฤษระดับพื้นฐาน 2 3(3-0) EN 102 English for Beginners II อก 103 อังกฤษระดับตน 1 3(3-0) EN 103 Pre-Intermediate English I อก 104 อังกฤษระดับตน 2 3(3-0) EN 104 Pre-Intermediate English II อก 105 อังกฤษระดับกลาง 1 3(3-0) EN 105 Intermediate English I อก 106 อังกฤษระดับกลาง 2 3(3-0) EN 106 Intermediate English II อก 107 อังกฤษระดับสูง 1 3(3-0) EN 107 Upper-Intermediate English I อก 108 อังกฤษระดับสูง 2 3(3-0) EN 108 Upper-Intermediate English II

15

Page 17: Bio Medical Engineering SWU

2. กลุมวิชามนษุยศาสตร 2 หนวยกิต

มน 102 มนุษยกับการใชเหตุผลและจริยธรรม 2(2-0) HM 102 Man, Reasoning and Ethics

3. กลุมวิชาสารสนเทศ 2 หนวยกิต

บส 101 ทักษะการรูสารสนเทศ 2(2-0) LIS 101 Information Literacy skills

4. กลุมวิชาสังคมศาสตร กาํหนดใหเลือกเรียน 6 หนวยกิต จากรายวชิาตอไปนี้

ธร 100 ความรูท่ัวไปเกี่ยวกับธุรกิจ 2(2-0) BU 100 General Business ศฐ 100 ประวัติศาสตรเศรษฐกิจไทย 2(2-0) EC 100 Economic History of Thailand ศฐ 101 เศรษฐกิจไทยปจจุบัน 2(2-0) EC 101 Contemporary Thai Economy ภม 102 การอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ 2(2-0) GE 102 Conservation of Natural Resources รฐ 102 มนุษยกับการเมือง 2(2-0) PO 102 Man and Politics ปศ 103 มนุษยกับอารยธรรม 2(2-0) HI 103 Man and Civilization ภม 103 ภูมิศาสตรประเทศไทย 2(2-0) GE 103 Geography of Thailand ภม 104 มนุษยกับส่ิงแวดลอม 2(2-0) GE 104 Man and Environment สค 111 สังคมและวัฒนธรรมไทย 2(2-0) SO 111 Thai Society and Culture

16

Page 18: Bio Medical Engineering SWU

5. กลุมวิชาบูรณาการ 8 หนวยกิต

มศว 201 บูรณาการ 1 3(3-0) SWU 201 Integration I มศว 202 บูรณาการ 2 3(3-0) SWU 202 Integration II มศว 301 บูรณาการ 3 2(2-0) SWU 301 Integration III

17

6. กลุมวิชาพลศึกษา กําหนดใหเลือกเรียน 1 หนวยกิต จากรายวิชาตอไปนี้

พล 100 พลศึกษาเพื่อชีวิต 1(1-1) PE 100 Physical Education for Life พล 161 บาสเกตบอล 1 1(1-1) PE 161 Basketball I พล 163 ฟุตบอล 1 1(1-1) PE 163 Football I พล 171 เทนนิส 1 1(1-1) PE 171 Tennis I พล 172 เทเบิลเทนนิส 1(1-1) PE 172 Table Tennis พล 173 แบดมินตัน 1 1(1-1) PE 173 Badminton I พล 182 วายน้ําเบ้ืองตน 1(1-1) PE 182 Fundamental Swimming พล 481 ลีลาศ 1(1-1) PE 481 Ballroom Dance พล 484 กอลฟ 1(1-1) PE 484 Golf

Page 19: Bio Medical Engineering SWU

ข. หมวดวิชาเฉพาะ จํานวน 110 หนวยกิต

1. กลุมวิชาวิทยาศาสตร/คณิตศาสตร 12 หนวยกิต

ฟส 101 ฟสิกสเบ้ืองตน 1 3(3-0) PY 101 Introductory Physics I คม 103 เคมีท่ัวไป 3(3-0) CH 103 General Chemistry คณ 114 คณิตศาสตรท่ัวไป 4(4-0) MA 114 General Mathematics ฟส 181 ปฏิบัติการฟสิกสเบ้ืองตน 1 1(0-3) PY 181 Introductory Physics Laboratory I คม 193 ปฏิบัติการเคมีท่ัวไป 1(0-3) CH 193 General Chemistry Laboratory

2. กลุมวิชาพืน้ฐานทางวิศวกรรม จํานวน 32 หนวยกิต

วศ 121 ปฏิบัติการทางวิศวกรรม 2(1-3) EG 121 Engineering Workshop วศช 131 วิศวกรรมไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส 3(3-0) BME 131 Electrical and Electronics Engineering วศ 111 คณิตศาสตรวศิวกรรม 1 3(3-0) EG 111 Mathematics for Engineering I วศ 151 วัสดุวิศวกรรม 3(3-0) EG 151 Engineering Materials วศ 141 เขียนแบบวิศวกรรม 3(2-3) EG 141 Engineering Drawing วศ 201 ภาษาอังกฤษเฉพาะทาง 1 3(3-0) EG 201 English for Specific Purposes I วศ 202 ภาษาอังกฤษเฉพาะทาง 2 3(3-0) EG 202 English for Specific Purposes II วศ 231 มาตรวิทยาและเคร่ืองมือวัดทางไฟฟา 3(3-0) EG 231 Metrology and Electrical Instrumentations

18

Page 20: Bio Medical Engineering SWU

วศฟ 280 พื้นฐานวงจรดจิิตอลและวงจรตรรก 3(2-3) EE 280 Introduction to Digital Circuit and Logic วศ 241 กลศาสตรวิศวกรรม 3(3-0) EG 241 Engineering Mechanics วศ 211 คณิตศาสตรวศิวกรรม 2 3(3-0) EG 211 Mathematics for Engineering II

3. กลุมวิชาพ้ืนฐานทางวิศวกรรมชีวการแพทย จํานวน 35 หนวยกิต

วศช 210 เทอรโมฟลูอิดส 3(3-0) BME 210 Thermofluids วศช 200 ระบบรางกายมนุษยสําหรับวิศวกรรมชีวการแพทย 1 3(3-0) BME 200 Human Body System for biomedical engineering I วศช 202 ระบบรางกายมนุษยสําหรับวิศวกรรมชีวการแพทย 2 3(3-0) BME 202 Human Body System for biomedical engineering II วศช 203 ชีววิทยาของเซลลและโมเลกุล 3(3-0) BME 203 Cell and Molecular Biology วศช 230 ไมโครโปรเซสเซอรและการอินเตอรเฟส 3(2-3) BME 230 Microprocessor and Interfacing วศช 240 การออกแบบและพัฒนาซอตฟแวร 3(2-3) BME 240 Software Design and Development

19

วศช 280 ฟสิกสชีวภาพ 3(3-0) BME 280 Biophysics วศช 330 สัญญาณและระบบควบคุมทางวิศวกรรมชีว

การแพทย 3(3-0)

BME 330 Signal and Control Systems in Biomedical Engineering

วศช 331 อิเล็กทรอนิกสชีวภาพ 3(3-0) BME 331 Bioelectronics

วศช 332 อุปกรณชีวการแพทย 3(3-0) BME 332 Biomedical Instrumentations วศช 370 สถิติสําหรับวิศวกรชีวการแพทย 3(3-0) BME 370 Statistics for Biomedical Engineer

Page 21: Bio Medical Engineering SWU

วศช 371 วิธีวิทยาการวจิัยทางวิศวกรรม 2(2-0) BME 371 Research Methodology in Engineering

4. กลุมวิชาเอกบังคับ จํานวน 22 หนวยกิต

วศช 201 ปฏิบัติการวิศวกรรมชีวการแพทยพื้นฐาน 1(0-3) BME 201 Basic Biomedical Engineering Laboratory วศช 281 หลักการวิศวกรรมชีวการแพทย 3(3-0) BME 281 Principle of Biomedical Engineering วศช 300 ปฏิบัติการวิจัยทางวิศวกรรมชีวการแพทย 1 1(0-3) BME 300 Biomedical Engineering Research Laboratory I วศช 301 ปฏิบัติการวิจัยทางวิศวกรรมชีวการแพทย 2 1(0-3) BME 301 Biomedical Engineering Research Laboratory II วศช 310 วัสดุชีวภาพ 3(3-0) BME 310 Biomaterials วศช 311 กลศาสตรชีวภาพ 3(3-0) BME 311 Biomechanics วศช 341 การออกแบบระบบผูเช่ียวชาญทางการแพทย 3(3-0) BME 341 Medical Expert Systems Design วศช 460 วิศวกรรมโรงพยาบาล 3(3-0) BME 460 Hospital Engineering วศช 490 โครงงานวิจัยวิศวกรรมชีวการแพทย 1 1(0-3) BME 490 Biomedical Engineering Research Project I วศช 491 โครงงานวิจัยวิศวกรรมชีวการแพทย 2 3(0-9) BME 491 Biomedical Engineering Research Project II

5. กลุมวิชาเอกเลือก จํานวน 9 หนวยกิต

5.1 แขนงวิชาวิศวกรรมชีวภาพ (Bioengineering) วศช 410 ฟสิกสของการสรางภาพทางการแพทย 3(3-0) BME 410 Physics of Medical Imaging วศช 411 การเขากันไดทางชีววิทยา 3(3-0) BME 411 Biocompatibility วศช 412 วิศวกรรมฟนฟูสภาพ 3(3-0) BME 412 Rehabilitation Engineering

20

Page 22: Bio Medical Engineering SWU

วศช 413 กลศาสตรของระบบไหลเวียนโลหิต 3(3-0) BME 413 Cardiovascular Mechanics วศช 414 กลศาสตรของระบบหายใจ 3(3-0) BME 414 Respiratory Mechanics วศช 415 กลศาสตรของกลามเนื้อและกระดูก 3(3-0) BME 415 Musculoskeletal Mechanics วศช 416 อวัยวะเทียม 3(3-0) BME 416 Artificial Organ วศช 450 พื้นฐานทางวศิวกรรมเนื้อเยือ่ 3(3-0) BME 450 Fundamental of Tissue Engineering วศช 451 แบบจําลองระบบทางชีววิทยา 3(3-0) BME 451 Biological System Modeling วศช 452 การวิเคราะหโดยใชวิธีไฟไนตเอลิเมนต 3(3-0) BME 452 Finite Element Analysis วศช 480 เภสัชวิทยาเบือ้งตนสําหรับวิศวกรรมชีวการแพทย 3(3-0) BME 480 Basic Pharmacology for Biomedical Engineering วศช 492 หัวขอพิเศษทางวิศวกรรมชีวภาพ 3(3-0) BME 492 Special Topics in Bioengineering

5.2 แขนงวิชาเวชสารสนเทศศาสตร (Medical Informatics) วศช 420 การประมวลสัญญาณและภาพทางการแพทย 3(3-0) BME 420 Medical Signal and Image Processing วศช 421 การวิเคราะหสัญญาณชีวการแพทย 3(3-0) BME 421 Biomedical Signal Analysis วศช 422 การสรางแบบจําลองอยางรวดเร็ว 3(3-0) BME 422 Rapid Prototyping วศช 441 การวางแผนผาตัดโดยความชวยเหลือจากคอมพิวเตอร 3(3-0) BME 441 Computer-aided Surgery Planning วศช 442 ปญญาประดิษฐ 3(3-0) BME 442 Artificial Intelligence วศช 443 ทฤษฎีระบบพซัซี 3(3-0) BME 443 Fuzzy Systems Theory

21

Page 23: Bio Medical Engineering SWU

วศช 444 ระบบประสาทเทียม 3(3-0) BME 444 Aritificial Neural Systems วศช 445 ความฉลาดทางชีววิทยา 3(3-0) BME 445 Biological Intelligence วศช 446 ชีวสารสนเทศศาสตร 3(3-0) BME 446 Bioinformatics วศช 447 ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล 3(3-0) BME 447 Hospital Information System วศช 448 ระบบสนับสนุนการตัดสินใจทางการแพทย 3(3-0) BME 448 Medical Decision Support Systems วศช 493 หัวขอพิเศษทางเวชสารสนเทศศาสตร 3(3-0) BME 493 Special Topics in Medical Informatics

5.3 แขนงวิชาอุปกรณทางการแพทย (Medical Instrumentations) วศช 430 การออกแบบอุปกรณชีวการแพทย 3(3-0) BME 430 Biomedical Instruments Design

22

วศช 431 อุปกรณทางการแพทยและการตรวจวัดสภาพทางสรีระวิทยา 3(3-0) BME 431 Medical Instruments and Physiological Monitoring วศช 432 อิเล็กทรอนิกสทางแสงและอุปกรณเลเซอร 3(3-0) BME 432 Optical Electronics and Laser Device วศช 433 หุนยนตทางการแพทย 3(3-0) BME 433 Medical Robotics วศช 434 การออกแบบระบบฝงตัว 3(3-0) BME 434 Embedded System Design วศช 435 อุปกรณรับรูทางชีวการแพทย 3(3-0) BME 435 Biomedical Sensors วศช 494 หัวขอพิเศษทางอุปกรณทางการแพทย 3(3-0) BME 494 Special Topics in Medical Instrumentations

Page 24: Bio Medical Engineering SWU

ค. หมวดวิชาเลือกเสรี 6 หนวยกิต หมวดวชิาเลือกเสรี ใหนิสิตเลือกศึกษารายวิชาท่ีมีการเปดสอนในมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

ง. หมวดวิชาการฝกงาน

วศช 302 ฝกงานทางวิศวกรรมชีวการแพทย ไมนอยกวา 200 ช่ัวโมง BME 302 Pratical Training in Biomedical Engineering

ความหมายตัวเลขรหัสวิชา วศช หรือ BME หมายถึง สาขาวิชาวิศวกรรมชีวการแพทย ตัวเลขหลักรอย หมายถึง ช้ันป ตัวเลขหลักสิบ หมายถึง แขนงวิชา ตัวเลขหลักหนวย หมายถึง ลําดับวิชาในแขนงวิชานั้นๆ

ความหมายตัวเลขรหัสวิชา 0 หมายถึง กระบวนวิชาในกลุมวิชาพืน้ฐานท่ัวไปทางวิศวกรรมชีวการแพทย

1 ” กระบวนวิชาในกลุมวิชาวัสดุและกลศาสตรชีวภาพ 2 ” กระบวนวิชาในกลุมวิชาสัญญาณและระบบ 3 ” กระบวนวิชาในกลุมวิชาอิเล็กทรอนิกสและอุปกรณชีวการแพทย 4 ” กระบวนวิชาในกลุมวิชาเวชสารสนเทศศาสตร 5 ” กระบวนวิชาในกลุมวิชาวิศวกรรมชีวภาพ 6 ” กระบวนวิชาในกลุมวิชาวิศวกรรมคลินิก 7 ” กระบวนวิชาในกลุมวิชาวิจยัและสัมมนา 8 ” กระบวนวิชาในกลุมวิชาบูรณาการความรูจากหลายกลุมวิชา

กระบวนวิชาในกลุมวิชาโครงงาน และหัวขอพิเศษ 9 ”

แผนการเรียน วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิศวกรรมชวีการแพทย

23

Page 25: Bio Medical Engineering SWU

(สําหรับผูสําเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย)

1. แผนการเรียน

ปท่ี 1 ภาคเรียนท่ี 1

รหัส ชื่อวิชา ประเภทวิชา นก.(ท-ป) ฟส 101 ฟสิกสเบื้องตน 1 วิทยาศาสตร/คณิตศาสตร 3(3-0) ทย 101 ทักษะทางภาษา 1 2(2-0) ศึกษาทั่วไป อก 101 อังกฤษระดับพ้ืนฐาน 1 ศึกษาทั่วไป 3(3-0) คณ 114 คณิตศาสตรทั่วไป วิทยาศาสตร/คณิตศาสตร 4(4-0) ฟส 181 ปฏิบัติการฟสิกสเบื้องตน 1 วิทยาศาสตร/คณิตศาสตร 1(0-3) วศ 121 ปฏิบัติการทางวิศวกรรม พ้ืนฐานทางวิศวกรรม 2(1-3) คม 103 เคมีทั่วไป วิทยาศาสตร/คณิตศาสตร 3(3-0) คม 193 ปฏิบัติการเคมีทั่วไป วิทยาศาสตร/คณิตศาสตร 1(0-3)

รวม 19(16-9)

ปท่ี 1 ภาคเรียนท่ี 2

รหัส ชื่อวิชา ประเภทวิชา นก.(ท-ป) บส 101 ทักษะการรูสารสนเทศ ศึกษาทั่วไป 2(2-0) อก 102 อังกฤษระดับพ้ืนฐาน 2 ศึกษาทั่วไป 3(3-0) วศ 111 คณิตศาสตรวิศวกรรม 1 พ้ืนฐานทางวิศวกรรม 3(3-0) วศช 131 วิศวกรรมไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส พ้ืนฐานทางวิศวกรรม 3(3-0) วศก 141 เขียนแบบวิศวกรรม พ้ืนฐานทางวิศวกรรม 3(2-3) วศช 240 การออกแบบและพัฒนาซอตฟแวร พ้ืนฐานทางวิศวกรรมชีวการแพทย 3(2-3) วศ 241 กลศาสตรวิศวกรรม พ้ืนฐานทางวิศวกรรม 3(3-0) รวม 20(18-6)

ปท่ี 2 ภาคเรียนท่ี 1

รหัส ชื่อวิชา ประเภทวิชา นก.(ท-ป)

24

Page 26: Bio Medical Engineering SWU

วศ 151 วัสดุวิศวกรรม พ้ืนฐานทางวิศวกรรม 3(3-0) 3(3-0) วศ 201 ภาษาอังกฤษเฉพาะทาง 1 พ้ืนฐานทางวิศวกรรม

วศ 211 คณิตศาสตรวิศวกรรม 2 พ้ืนฐานทางวิศวกรรม 3(3-0) วศ 231 มาตรวิทยาและเครื่องมือวัดทางไฟฟา พ้ืนฐานทางวิศวกรรม 3(3-0) วศช 200 ระบบรางกายมนุษยสําหรับวิศวกรรมชีว

การแพทย 1 พ้ืนฐานทางวิศวกรรมชีวการแพทย 3(3-0)

วศฟ 280 พ้ืนฐานวงจรดิจิตอลและวงจรตรรก พ้ืนฐานทางวิศวกรรม 3(2-3)

พล .... กลุมพลศึกษา ศึกษาทั่วไป 1(1-1)

รวม 19(18-4)

ปท่ี 2 ภาคเรียนท่ี 2

รหัส ชื่อวิชา ประเภทวิชา นก.(ท-ป) วศช 201 ปฏิบัติการวิศวกรรมชีวการแพทยพ้ืนฐาน เอกบังคับ 1(0-3)

3(3-0) วศ 202 ภาษาอังกฤษเฉพาะทาง 2 พ้ืนฐานทางวิศวกรรม วศช 202 ระบบรางกายมนุษยสําหรับวิศวกรรมชีว

การแพทย 2 พ้ืนฐานทางวิศวกรรมชีวการแพทย 3(3-0)

วศช 203 ชีววิทยาของเซลลและโมเลกุล พ้ืนฐานทางวิศวกรรมชีวการแพทย 3(3-0) วศช 210 เทอรโมฟลูอิดส พ้ืนฐานทางวิศวกรรมชีวการแพทย 3(3-0) วศช 230 ไมโครโปรเซสเซอรและการอินเตอรเฟส พ้ืนฐานทางวิศวกรรมชีวการแพทย 3(2-3) วศช 281 หลักการวิศวกรรมชีวการแพทย เอกบังคับ 3(3-0) รวม 19(17-6)

ปท่ี 3 ภาคเรียนท่ี 1

รหัส ชื่อวิชา ประเภทวิชา นก.(ท-ป) วศช 280 ฟสิกสชีวภาพ พ้ืนฐานทางวิศวกรรมชีวการแพทย 3(3-0) วศช 300 ปฏิบัติการวิจัยทางวิศวกรรมชีวการแพทย 1 เอกบังคับ 1(0-3)

25

Page 27: Bio Medical Engineering SWU

วศช 370 สถิติสําหรับวิศวกรชีวการแพทย พ้ืนฐานทางวิศวกรรมชีวการแพทย 3(3-0) วศช 330 สัญญาณและระบบควบคุมทางวิศวกรรม

ชีวการแพทย พ้ืนฐานทางวิศวกรรมชีวการแพทย 3(3-0)

วศช 331 อิเล็กทรอนิกสชีวภาพ พ้ืนฐานทางวิศวกรรมชีวการแพทย 3(3-0) มศว 201 วิชาบูรณาการ 1 ศึกษาทั่วไป 3(3-0) .... ..... ศึกษาทั่วไป กลุมสังคมศาสตร 2(2-0) รวม 18(17-3)

ปท่ี 3 ภาคเรียนท่ี 2

รหัส ชื่อวิชา ประเภทวิชา นก.(ท-ป) วศช 301 ปฏิบัติการวิจัยทางวิศวกรรมชีวการแพทย 2 เอกบังคับ 1(0-3) วศช 371 วิธีวิทยาการวิจัยสําหรับงานวิศวกรรม พ้ืนฐานทางวิศวกรรมชีวการแพทย 2(2-0) วศช 311 กลศาสตรชีวภาพ เอกบังคับ 3(3-0) วศช 310 วัสดุชีวภาพ เอกบังคับ 3(3-0) วศช 332 อุปกรณชีวการแพทย พ้ืนฐานทางวิศวกรรมชีวการแพทย 3(3-0) วศช 341 การออกแบบระบบผูเช่ียวชาญทาง

การแพทย เอกบังคับ 3(3-0)

มศว 202 วิชาบูรณาการ 2 ศึกษาทั่วไป 3(3-0) อก 103 อังกฤษระดับตน 1 ศึกษาทั่วไป 3(3-0) รวม 21(20-3)

ปท่ี 3 ภาคเรียนท่ี 3

รหัส ชื่อวิชา จํานวนชั่วโมง วศช 302 ฝกงานทางวิศวกรรมชีวการแพทย ไมนอยกวา 200 ช่ัวโมง

26

Page 28: Bio Medical Engineering SWU

ปท่ี 4 ภาคเรียนท่ี 1

รหัส ชื่อวิชา ประเภทวิชา นก.(ท-ป) ศึกษาทั่วไป มน 102 มนุษยกับการใชเหตุผลและจริยธรรม 2(2-0)

วศช 460 วิศวกรรมโรงพยาบาล เอกบังคับ 3(3-0) วศช 490 โครงงานวิจัยวิศวกรรมชีวการแพทย 1 เอกบังคับ 1(0-3) มศว 301 วิชาบูรณาการ 3 ศึกษาทั่วไป 2(2-0) วศช .... วิชาเอกเลือก เอกเลือก 3(3-0) วศช .... วิชาเอกเลือก เอกเลือก 3(3-0) …… .... วิชาเลือกเสรี เลือกเสรี 3(3-0) รวม 17(16--3)

ปท่ี 4 ภาคเรียนท่ี 2

27

รหัส ชื่อวิชา ประเภทวิชา นก.(ท-ป) วศช 491 โครงงานวิจัยวิศวกรรมชีวการแพทย 2 เอกบังคับ 3(0-9) วศช .... วิชาเอกเลือก เอกเลือก 3(3-0) .... ..... ศึกษาทั่วไป กลุมสังคมศาสตร 2(2-0) .... ..... ศึกษาทั่วไป กลุมสังคมศาสตร 2(2-0) …… .... วิชาเลือกเสรี เลือกเสรี 3(3-0) รวม 13(10-9)

คําอธิบายรายวิชา ตามหลักสูตรสาขาวิชาวิศวกรรมชีวการแพทย

Page 29: Bio Medical Engineering SWU

ก. หมวดวิชาศึกษาท่ัวไป 1. กลุมวิชาภาษา - กลุมภาษาไทย ทย 101 ทักษะทางภาษา 1 2(2-0) TH 101 Language Skills 1

ฝกทักษะการใชภาษาท้ังดานการฟง อาน พูดและเขียนใหสามารถส่ือสาร ไดอยางมีประสิทธิผล และ สามารถนําความรู ความคิดท่ีไดรับมาพัฒนาตน - กลุมภาษาอังกฤษ อก 101 ภาษาอังกฤษ 1 3 (3-0) EN 101 English I

ฝกการใชภาษาอังกฤษ เพื่อใหสามารถฟง–พูด ในชีวิตประจําวัน เชน การแนะนําตัว การทักทาย การบอกทิศทางและสามารถอานและเขียนขอความส้ัน ๆ ท่ีใชในชีวิตประจําวันได อก 102 ภาษาอังกฤษ 2 3(3-0) EN 102 English II

ฝกการใชภาษาอังกฤษท้ัง 4 ทักษะ ในระดับท่ีสูงข้ึน สามารถเขียนและบรรยายอธิบายความได ในระดับท่ีสูงข้ึน อก 103 อังกฤษระดับตน 1 3(3-0) EN 103 Pre-Intermediate English I

พัฒนาความสามารถของนิสิตในการใชภาษาอังกฤษในการส่ือสารท่ัวไป เพื่อแสดงความรูสึกความคิดเห็นไดอยางมีประสิทธิภาพ สามารถอานบทความท่ัวไปทั้งเพื่อความบันเทิง เพ่ือการรับรูขอมูลขาวสาร และเพื่อเก็บใจความสําคัญ อก 104 อังกฤษระดับตน 2 3(3-0) EN 104 Pre-Intermediate English II

เพิ่มพูนความสามารถในการใชภาษาอังกฤษของนิสิตท้ังทักษะการฟง พูด อาน เขียน เพื่อใชเปนส่ือในการคนควาแลกเปล่ียนขอมูล และนําไปใชในการสงเสริมการเรียนรูของนิสิตไดอยางมีประสิทธิภาพ

3(3-0) อก 105 อังกฤษระดับกลาง 1

28

Page 30: Bio Medical Engineering SWU

EN 105 Intermediate English I พัฒนาความสามารถในการใชภาษาอังกฤษของนิสิตท้ังทักษะการฟง พูด อานเขียน เพื่อแสดงความ

คิดเห็น ความรูสึก และแลกเปล่ียนขอมูลไดอยางมีประสิทธิภาพ รวมถึงการอานบทความเชิงวิชาการ อก 106 อังกฤษระดับกลาง 2 3(3-0) EN 106 Intermediate English II

เพ่ิมพูนทักษะในการใชภาษาอังกฤษของนิสิตเพ่ือคนควาหาขอมูลเพิ่มเติมไดอยางมีประสิทธิภาพ รวมท้ังอานบทความเชิงวิชาการ และแสดงความคิดเห็นในเชิงวิเคราะห และแสดงเหตุผล อก 107 อังกฤษระดับสูง 1 3(3-0) EN 107 Upper-Intermediate English I

พัฒนาความสามารถในการใชภาษาอังกฤษของนิสิตท้ังทักษะการฟง พูด อาน เขียน เพื่อใชในปริบททางสังคมและบริบททางวิชาการ เพื่อใหสามารถใชภาษาอังกฤษไดอยางเหมาะสมในสถานการณ ตาง ๆ รวมท้ังสามารถใชภาษาอังกฤษเพื่อแสดงความคิดเห็นเชิงวิเคราะหและวิจารณไดอยางถูกตอง อก 108 อังกฤษระดับสูง 2 3(3-0) EN 108 Upper-Intermediate English II

เพ่ิมพูนความสามารถในการใชภาษาอังกฤษของนิสิตท้ังทักษะการฟง พูด อาน เขียน เพื่อใชในบริบททางสังคมและบริบททางวิชาการ เพื่อใหสามารถใชภาษาอังกฤษไดอยางเหมาะสมในสถานการณ ตาง ๆ รวมท้ังสามารถใชภาษาอังกฤษเพื่อแสดงความคิดเห็นเชิงวิเคราะหและวิจารณไดอยางถูกตอง 2. กลุมวิชาสารสนเทศ บส 101 ทักษะการรูสารสนเทศ 2(2-0) LIS 101 Information Services and Study Fundamentals

ศึกษาความหมาย ความสําคัญของแหลงสารสนเทศ การเขาถึงแหลงสารสนเทศ และ การใชเทคโนโลยีทางสารสนเทศ การเลือก การสังเคราะห และการนําเสนอสารสนเทศ ตลอดจนเสริมสราง ให ผูเขียนมีเจตคติท่ีดีและมีนิสัยในการใฝหาความรู 3. กลุมวิชามนษุยศาสตร

29

Page 31: Bio Medical Engineering SWU

มน 102 มนษุยกับการใชเหตุผลและจริยธรรม 2(2-0) HM 102 Man, Reasoning and Eltics

ศึกษาการใชเหตุผล และจริยธรรมสรางเสริมใหเปนผูใฝรูความจริง และคิดอยางมีเหตุผลและ เปนผูมีคุณธรรมและจริยธรรม 4. กลุมวิชาสังคมศาสตร ธร 100 ความรูท่ัวไปเก่ียวกับธุรกิจ 2(2-0) BU 100 General Business

ศึกษารูปแบบการดําเนินธุรกิจและการจัดการในองคกรธุรกิจ รวมท้ังบทบาทและความสัมพันธของธุรกิจท่ีมีตอสังคมและส่ิงแวดลอม ปศ 103 มนุษยกับอารยธรรม 2(2-0) HI 103 Man and Civilization

ศึกษาและเปรียบเทียบวิวัฒนาการ และลักษณะของอารยธรรมตะวันตกและตะวันออก ตั้งแตใน ยุคโบราณจนถึงปจจุบัน ตลอดจนการแพรขยายและการถายทอด แลกเปล่ียนอารยธรรมในดินแดนตาง ๆ อันมีผลตอสภาพการเมืองเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมของโลกปจจุบันรวมท้ังศึกษาในสวนท่ีเกี่ยวของกับอารยธรรมไทย ภม 102 การอนุรักษทรัพยากรธรรมชาต ิ 2(2-0) GE 102 Conservation of Natural Resources

ศึกษาการใชทรัพยากรในประเทศไทย โดยเนนถึงผลเสียอันเกิดจากการใชทรัพยากร หลักเกณฑ และมาตราการตาง ๆ ของการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ โดยเฉพาะท่ีจําเปนสําหรับประเทศไทย ภม 103 ภูมิศาสตรประเทศไทย 2(2-0) GE 103 Geography of Thailand

ศึกษาภูมิศาสตรประเทศไทยโดยท่ัวไปอยางมีระบบหลักเกณฑ โดยพิจารณาวิเคราะหลักษณะสัมพันธ ระหวางดานกายภาพ เศรษฐกิจ และวัฒนธรรมของดินแดนท่ีมีผลตอการพัฒนาประเทศ

2(2-0) ภม 104 มนุษยกับส่ิงแวดลอม

30

Page 32: Bio Medical Engineering SWU

GE 104 Man and Environment ศึกษาสภาวะแวดลอมท่ีเกี่ยวกับมนุษย อิทธิพลและความพยายามปรับตัวหรือ ดัดแปลงภาวะ

แวดลอมใหเกิดประโยชน เนนถึงส่ิงแวดลอมท่ีเปนพิษเปนภัยตอประชากรในประเทศ และวิธีแกปญหา ท่ีเกิดขึ้นกับส่ิงแวดลอม รฐ 102 มนุษยกับการเมือง 2(2-0) PO 102 Man and Politics

ศึกษาถึงความสัมพันธระหวางมนุษยกับการรวมกลุมการเมือง การเมืองภายในรัฐ การเมืองระหวางรัฐ การเมืองเปรียบเทียบ รัฐประศาสนศาสตร และกฎหมายมหาชน ศฐ 100 ประวัติศาสตรเศรษฐกิจไทย 2(2-0) EC 100 Economic History of Thailand

ศึกษาและวิเคราะหลักษณะโครงสรางพ้ืนฐานของระบบเศรษฐกิจไทย ตั้งแตมีสนธิสัญญาเบาวร่ิงจนถึงปจจุบัน โดยเนนปจจัยท่ีกอใหเกิดการเปล่ียนแปลงปญหา วิธีการแกปญหาในระบบเศรษฐกิจรูปแบบตาง ๆ ศฐ 101 เศรษฐกิจไทยปจจุบัน 2(2-0) EC 101 Contemporary Thai Economy

ศึกษาสภาพปญหา สาเหตุ และแนวทางแกไขปญหาเศรษฐกิจไทยที่สําคัญ โดยเนนการวิเคราะหขอมูลเศรษฐกิจท่ีเปนปจจุบัน สค 111 สังคมและวัฒนธรรมไทย 2(2-0) SO 111 Thai Society and Culture

ศึกษาสภาพพื้นฐานท่ัวไปของสังคมและวัฒนธรรมไทย ในดานครอบครัวและประชากร เศรษฐกิจ สังคม การเมืองการปกครอง การศึกษา ศีลธรรม-ศาสนา และคานิยม การเปล่ียนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมรวมท้ังสภาพปญหาตางๆ ของสังคมและวัฒนธรรมไทย ตลอดจนวิธีการแกไข 5. กลุมวิชาบูรณาการ

31

Page 33: Bio Medical Engineering SWU

มศว 201 บูรณาการ 1 3(3-0) SWU 201 Integration I

ประวัติความเปนมาของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ การเปล่ียนแปลงของมหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒท่ีเกิดข้ึนจากผลกระทบในดานตาง ๆ สภาพการเปล่ียนแปลงของสังคมโลกกับ การกําหนดวิสัยทัศนของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ การดํารงตนเปนผูมีคุณธรรมเพ่ือการพัฒนาตนเอง การใชชีวิตในมหาวิทยาลัยและสังคม การสํารวจ วิเคราะหภูมิปญญาตนเอง ผู อ่ืน และชุมชนรอบมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ เพื่อรูจัก เขาใจ และเห็นคุณคาแหงศักดิ์ศรีความเปนมนุษย การวิเคราะห วิจารณ และแสดงใหเห็นถึงความสัมพันธของปรากฏการณท่ี เปนปญหาตาง ๆ ในมหาวิทยาลัย ศรีนครินทร วิโรฒ แนวคิดเชิงบูรณาการ และการระบุบทบาทของตนเองในการมีสวนรวมเพ่ือการแกไขปญหาท่ีเกิดข้ึน มศว 202 บูรณาการ 2 3(3-0) SWU 202 Integration II

การแสวงหาความรูความจริงดวยแนวคิดกระแสหลักและกระแสทางเลือก การกําหนด ทบทวน และปรับเปล่ียนวิสัยทัศนกับการแกปญหาทางสังคม กลยุทธทางการคิด การมีวุฒิภาวะทางความคิดในการมองปญหาทางสังคม คุณธรรม หลักการ วิธีการ เพื่อการสรางวัฒนธรรมแหงการวิจารณและการนําไปปรับใช ผลกระทบของเทคโนโลยี ตอการพัฒนาในดานตาง ๆ การกอกําเนิด เปล่ียนแปลง และปรับตัวของภูมิปญญาทองถ่ิน และการประยุกตใชความรูเพื่อการดํารงชีวิตอยูในสังคมดวยแนวคิดเชิงนิเวศน มศว 301 บูรณาการ 3 2(2-0) SWU 301 Integration III

การเปดพื้นท่ีใหกับความรูทางเลือกดวยวิธีการศึกษาอัตชีวประวัติ (Autobiography) คุณลักษณะของการเปนผูรูจักช้ีนําตนเอง (Self-directed) มีการเรียนรูตลอดชีวิต (Life-long learning) และมีการวางแผนเพื่อการพัฒนาตนเอง การจัดทําโครงการรวมกันเพ่ือสรางความมีจิตสํานึกรับผิดชอบตอสวนรวมและสังคม 6. กลุมวิชาพลศึกษา

32

Page 34: Bio Medical Engineering SWU

พล 152 วายน้าํ 1 1(1-1) PE 152 Swimming I

ศึกษาเกีย่วกับทฤษฎี หลักการและฝกทักษะ เทคนิคเบ้ืองตนของการวายน้ํา

พล 161 บาสเกตบอล 1 1(1-1) PE 161 Basketball I

ศึกษาเกีย่วกับทฤษฎี หลักการและฝกทักษะ เทคนิคเบ้ืองตนของบาสเกตบอล

พล 163 ฟุตบอล 1 1(1-1) PE 163 Football I

ศึกษาเกีย่วกับทฤษฎี หลักการและฝกทักษะ เทคนิคเบ้ืองตนของฟุตบอล

พล 171 เทนนิส 1 1(1-1) PE 171 Tennis I

ศึกษาเกีย่วกับทฤษฎี หลักการและฝกทักษะ เทคนิคเบ้ืองตนของเทนนสิ

พล 172 เทเบิลเทนนิส 1 1(1-1) PE 172 Table Tennis I

ศึกษาเกีย่วกับทฤษฎี หลักการและฝกทักษะ เทคนิคเบ้ืองตนของเทเบิลเทนนิส

พล 173 แบดมินตัน 1 1(1-1) PE 173 Badminton I

ศึกษาเกีย่วกับทฤษฎี หลักการและฝกทักษะ เทคนิคเบ้ืองตนของแบดมินตัน

พล 481 ลีลาศ 1(1-1) PE 481 Ballroom Dance

การปลูกฝงใหมีทัศนคติท่ีดีตอการลีลาศ การฝกทักษะเบ้ืองตนในการลีลาศใหมีความรู ความเขาใจในการเตนรําแบบตาง ๆ เสริมสรางความสามารถและประสบการณในการลีลาศ

พล 484 กอลฟ 1(1-1) PE 484 Golf

ศึกษาเกีย่วกับทฤษฎี หลักการและฝกทักษะ เทคนิคของกอลฟ

33

Page 35: Bio Medical Engineering SWU

ข. หมวดวิชาเฉพาะ 1. กลุมวิชาวิทยาศาสตร และคณิตศาสตร

ฟส 101 ฟสิกสเบื้องตน 1 3(3-0) PY 101 Introductory Physics I

เวกเตอร แรงและการเคล่ือนท่ี สนามโนมถวง โมเมนตัมและพลังงาน การเคล่ือนท่ีแบบหมุน กลศาสตรของระบบอนุภาคและวัตถุแข็งเกร็ง การเคล่ือนท่ีแบบส่ัน สมบัติของสสารกลศาสตรของไหล การเคล่ือนท่ีแบบคล่ืนเสียงความรอน และอุณหพลศาสตร ฟส 181 ปฎิบตัิการฟสิกสเบือ้งตน 1 1(0-2) PY 181 Introductory Physics Laboratory I

ปฏิบัติการในเร่ืองท่ีสอดคลองกับ ฟส 101 คม 103 เคมีท่ัวไป 3(3-0) CH 103 General Chemistry

ศึกษาพื้นฐานของทฤษฎีอะตอมและโครงสรางอะตอมปริมาณสัมพันธ สมบัติของแก็ส ของเหลวและสารละลายของแข็ง สมดุลของไอออน จลนพลศาสตรเคมี พันธะเคมีตารางธาตุ และแนวโนมของสมบัติธาตุเรตพรีเซนเตติฟอโลหะและธาตุทรานซิซัน คม 193 ปฎิบัติการเคมีท่ัวไป 1(0-3) CH 193 General Chemistry Laboratory

ปฏิบัติการในเร่ืองท่ีสอดคลองกับ คม 103 คณ 114 คณิตศาสตรท่ัวไป 4(4-0) MA 114 General Mathematics

คุณสมบัติของระบบจํานวนและอุปนัยเชิงคณิตศาสตร เรขาคณิตวิเคราะหในระบบพิกัดฉากและพิกัดเชิงข้ัว ลิมิตและความตอเนื่อง การหาอนุพันธ และการประยุกต การหาปริพันธและการประยุกต การหาปริพันธเชิงตัวเลข ปริพันธแบบไมตรงแบบ รูปแบบยังไมกําหนด ลําดับและอนุกรม การกระจายอนุกรมเทยเลอรของฟงกชันมูลฐาน

34

Page 36: Bio Medical Engineering SWU

2. กลุมวิชาพ้ืนฐานทางวิศวกรรม

วศ 111 คณิตศาสตรวิศวกรรรม 1 3(3-0) EG 111 Engineering Mathematics I

เสน ระนาบ และผิวในปริภูมิสามมิติ พีชคณิต เวกเตอรในระบบสามมิติ การวิเคราะหเวกเตอร การหาอนุพันธและปริพนธของฟงกชันคาเวกเตอร แคลคูลัสของฟงกชันคาจริงสองตัวแปร แคลคูลัสของฟงกชันคาจริงหลายตัวแปรและการประยุกต ปริพนธตามเสน ปริพนธตามผิว ทฤษฎีบทของกรีน ทฤษฎีบทของสโตค สมการเชิงอนุพันธอันดับหนึ่งและอันดับสูงกวาหนึ่ง และการหาผลเฉลยดวยวิธีตาง ๆ ระบบสมการเชิงอนุพันธเชิงเสน และการแกดวยวิธีตางๆ ผลการแปลงลาปลาซ ผลการแปลงลาปลาซผกผัน วศ 211 คณิตศาสตรวิศวกรรม 2 3(3-0) EG 211 Engineering Mathematics II บุรพวิชา : วศ 111 คณิตศาสตรวิศวกรรรม 1

สมการเชิงผลตางอันดับหนึ่ง สมการเชิงผลตางอันดับสองเอกพันธุและไมเอกพันธุ สมการเชิงผลตางโคชี-ออยเลอร อนุกรมฟูเรียร ฟูเรียรอินทิกรัล ผลการแปลงฟูเรียร สมการเชิงอนุพันธยอยและปญหาคาขอบเขต ระนาบเชิงซอน ฟงกชันเชิงซอน ฟงกชันวิเคราะห สมการโคชี-รีมันน การสงคงแบบ การหาอนุพันธและปริพนธเชิงซอน ทฤษฎีบทปริพนธของโคชี อนุกรมเทยเลอร อนุกรมแมคลอริน อนุกรม โลรองต ภาวะเอกฐาน การหาปริพนธเรซิดู ทฤษฎีบทของคาเรซิดู วศ 201 ภาษาอังกฤษเฉพาะทาง 1 3(3-0) EG 201 English for Specific Purpose I

ทักษะการใชภาษาอังกฤษในการสื่อสารในระดับท่ีสูงท้ังการฟงพูดและเขียนในระดับสูงข้ึน เพื่อประโยชนในการประกอบอาชีพในสาขาวิชาเฉพาะทางของผูเรียน วศ 202 ภาษาอังกฤษเฉพาะทาง 2 3(3-0) EG 202 English for Specific Purpose II บุรพวิชา : วศ 201

ฝกทักษะการใชภาษาอังกฤษทางดานการเขียน และในการส่ือสารในระดับท่ีสูงข้ึน เพ่ือประโยชนในการประกอบอาชีพในสาขาวิชาเฉพาะทางของผูเรียน วศ 151 วัสดุวิศวกรรม 3(3-0)

35

Page 37: Bio Medical Engineering SWU

EG 151 Engineering Materials โครงสรางพื้นฐานของวัสดุวิศวกรรม ชนิด คุณสมบัติ และการทดสอบวัสดุท่ีมีความสําคัญตองาน

อุตสาหกรรมเฟสไดอะแกรม กรรมวิธีทางความรอน การกัดกรอนวัสดุโลหะประเภทตางๆ วัสดุอโลหะ เชนโพลิเมอร เซรามิกส วัสดุสังเคราะห จุดกําเนิดความเสียหายการตรวจสอบ และการปองกัน การเลือกใชวัสดุ วศ 141 เขียนแบบวิศวกรรม 3(3-2) EG 141 Engineering Drawing

เทคนิคการเขียนแบบ การเขียนตัวอักษร รูปทรงเรขาคณิตประยุกต ทฤษฎีการเขียนภาพฉายแบบออโธกราฟฟค การเขียนภาพฉาย การเขียนภาพพิคทอเรียล การกําหนดขนาดและภาพตัด การรางแบบเสน และระนาบข้ันพื้นฐาน สัญลักษณในแบบวิศวกรรมโยธา ไฟฟา เคร่ืองกล เบ้ืองตน วศช 131 วิศวกรรมไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส 3(3-0) BME 131 Electronics and Electrical Engineering

ศึกษาทฤษฎีพื้นฐานของวงจรไฟฟา กฎของโอหม กฎของเคอรชอฟฟ การวิเคราะหโหนด การวิเคราะหเมซ ทฤษฎีของเทวินินและนอรตัน อุปกรณท่ีเก็บพลังงานได วงจรไฟฟากระแสสลับ เคร่ืองจักรกลกระแสตรงและกระแสสลับเบ้ืองตน หมอแปลงไฟฟาเบ้ืองตน ไดโอดในอุดมคติ ไดโอดแบบหลอด แบบสารกึ่งตัวนํา แบบซีเนอร แบบทันเนล แบบกําลัง แบบแวริแคป และระบบโฟโต พรอมท้ังการใชงานของเทอรมิสเตอร แวริสเตอร แรคติไฟเออร และฟลเตอร ทรานซิสเตอร การไบแอสวงจรดวยไฟตรงแบบตาง ๆ การวิเคราะหวงจรแบบสัญญาณขนาดเล็ก คุณสมบัติของเฟต และการใชงานวงจรขยายสัญญาณระบบตาง ๆ ผลตอบสนองความถ่ี ระบบแบบหลายสเตจ

วศ 231 มาตรวิทยาและเคร่ืองมือวัดทางไฟฟา 3(3-0) EG 231 Metrology and Electrical Instrumentations

36

Page 38: Bio Medical Engineering SWU

มาตรวิทยา นิยามและระบบของการวัด หนวยของการวัด มาตรฐานของการวัด ความเที่ยงตรง และความแมนยําในการวัดความคลาดเคล่ือนและการวิเคราะหคาความคลาดเคล่ือนในการวัด การสอบเทยีบ เคร่ืองมือวัด การทดสอบความนาเช่ือถือในเชิงการวัดของเคร่ืองวัด คุณสมบัติทางสถิตยและทางพลศาสตรของเคร่ืองมือวัด การวัดปริมาณทางไฟฟา เคร่ืองมือวัดปริมาณทางไฟฟา วงจรบริดจแบบตาง ๆ การชดเชย คาการวัดปริมาณทางไฟฟา อันเนื่องมาจากสภาวะแวดลอมตาง ๆ เชน อุณหภูมิออสซิลโลสโคป วิธีการ วัดทางดิจิตอล การแปลง และวงจรแปลงสัญญาณอนาล็อก การวัดความถี่เวลา การวัดฮาโมนิคสของ สัญญาณไฟฟา และการทดลอง

วศ 241 กลศาสตรวิศวกรรม 3(3-0) EG 241 Engineering Mechanics บุรพวิชา : ฟส 101 ฟสิกสเบ้ืองตน 1

บทนําเกี่ยวกับสถิตศาสตร ระบบแรงในสองมิติและสามมิติ การหาแรงลัพธ การสมดุลในสองมิติและสามมิติของอนุภาคและวัตถุแข็งเกร็ง สถิตศาสตรของไหล โครงสราง โครงและเคร่ืองจักร ศูนยกลางมวล เซนทรอยดของเสน พื้นท่ีปริมาตร และวัสดุผสม ทฤษฎีแพพพัส ผลของแรงภายนอกและภายในตอคาน สายเคเบิล ความเสียดทาน กฎเคล่ือนท่ีขอท่ีสองของนิวตัน งานเสมือน โมเมนตความเฉ่ือยของพื้นท่ี วศฟ 280 พื้นฐานวงจรดิจิตอลและวงจรตรรก 3(2-3) EE 280 Introduction to Digital Circuit and Logic

ระบบตัวเลข รหัส พีชคณิตบูลีนและการออกแบบวงจรลอจิก แผนผังคารโน วงจรเขารหัส ถอดรหัส วงจรมัลติเพล็กซ ดีมัลติเพล็กซ ฟลิปฟลอป วงจรนับ ชิฟรีจิสเตอร การออกแบบ วงจรลอจิกโดยใชควินแมคคัสกี้ การออกแบบวงจรลอจิกโดยใชการมัลติเพิลเอาทพุต การออกแบบ วงจรซีเควนเช่ียล การวิเคราะหและสังเคราะหวงจรลําดับ วศ 121 ปฏิบัติการวิศวกรรมพื้นฐาน 2(1-3) EG 121 Basic Engineering Practice

ฝกการใชเคร่ืองมือและเทคนิคท่ีใชปฏิบัติงานปรับแตงข้ึนรูปโลหะ งานประกอบช้ินสวน งานเช่ือมไฟฟาและแกส งานแปรรูปดวยเคร่ืองจักร และงานเคร่ืองมือตาง ๆ ในขบวนการผลิตทางวิศวกรรม ข้ันพื้นฐาน ความปลอดภัยในการทํางาน 3. กลุมวิชาพ้ืนฐานทางวิศวกรรมชีวการแพทย

วศช 210 เทอรโมฟลูอิดส 3(3-0)

37

Page 39: Bio Medical Engineering SWU

BME 210 Thermofluids คุณสมบัติของของไหล สมการการไหลแบบตอเนื่อง รูปแบบการไหล การกระจายความดันในของ

ไหล ไฮโดรสแตติกเพรสเซอร การกระจายแรงดันบนวัตถุแข็งเกร็งซ่ึงเคล่ือนท่ีในของไหล กลศาสตรของไหล การไหลของของไหลในระบบทอ การไหลแบบยูนิฟอรม ความหนืดของของไหล การถายเทความรอน การไหลท่ีมีกี่ถายเทความรอน การไหลท่ัวไปในหนึ่ง สอง และสามมิติ วศช 280 ฟสิกสชีวภาพ 3(3-0) BME 280 Biophysics บุรพวิชา : ฟส 101 ฟสิกสเบ้ืองตน 1

สมบัติการยืดหดตัวของกลามเน้ือ กลศาสตรการไหลของโลหิตและระบบหมุนเวียนโลหิต ปรากฏการณของคล่ืนในการไดยินปฏิสัมพันธของแสงกับชีวโมเลกุล การภาพและมองเห็น การแกไขชดเชยการมองเห็น การเกิดและระบายความรอนของรางกาย หลักกลศาสตรสถิติของการซอนทับของโปรตีน การเคล่ือนท่ีของแสงในเน้ือเยื่อทางชีวภาพ การนําของกระแสประสาทตลอดจนการเคล่ือนผานเนื้อเยื่อ วศช 230 ไมโครโปรเซสเซอรและการอินเตอรเฟส 3(2-3) BME 230 Microprocessors and Interfacing

โครงสรางท่ัวไปของไมโครโปรเซสเซอร ภาษาแอสเซมบลี ภาษาเคร่ืองชุดคําส่ังฮารดแวร ของระบบไมโครโปรเซสเซอร ซีพี ยู หนวยความจํ า หนวย รับขอ มูล เข าและส งขอ มูลออก อินเตอรรัพต การเช่ือมตอผานโครงสรางฮารดแวรของไมโครคอมพิวเตอร ไมโครโปรเซสเซอร ไมโครคอนโทรลเลอร หรือในลักษณะขนานทุกสวนประกอบกัน และอนุกรมประกอบกับเทคนิค การเช่ือมตอผานโปรแกรมระดับสูง และการทดลองไมโครคอนโทรลเลอร วศช 240 การออกแบบและพัฒนาซอตฟแวร 3(2-3) BME 240 Software Design and Development

การใชคอมพิวเตอรในการแกปญหาทางวิศวกรรม ภาษาสําหรับการพัฒนาโปรแกรม วงจรการออกแบบและพัฒนาโปรแกรม การออกแบบโปรแกรม การเขียนผังงานของโปรแกรม การเขียนอัลกอริธึม การเขียนรหัสเทียม การนําคอมพิวเตอรไปประยุกตใชทางดานวิศวกรรม วศช 330 สัญญาณและระบบควบคุมทางวิศวกรรมชีวการแพทย 3(3-0) BME 330 Signal and Control Systems in Biomedical Engineering

38

Page 40: Bio Medical Engineering SWU

บุรพวิชา : วศ 131 วิศวกรรมไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส สัญญาณและระบบทางดานวิศวกรรมชีวการแพทย การประมวลผลสัญญาณ ระบบควบคุม

เบ้ืองตน แบบจําลองของระบบทางกายภาพ บล็อกไดะแกรม กราฟการไหลของสัญญาณ และฟงกชันถายโอน แบบจําลองตัวแปรสเตต ผลตอบสนองของระบบ คุณลักษณะของระบบควบคุม การวิเคราะหเสถียรภาพ การออกแบบและวิเคราะหโลกัสของราก การออกแบบและวิเคราะหผลตอบสนองในโดเมนความถ่ี ระบบควบคุมคอมพิวเตอรสําหรับงานทางวิศวกรรมชีวการแพทย วศช 331 อิเล็กทรอนิกสชีวภาพ 3(3-0) BME 331 Bioelectronics

แหลงกําเนิดและระบบการนําสัญญาณชีวไฟฟา การวัดระบบไฟฟาของรางกายส่ิงมีชีวิต หลักการเบ้ืองตนของอิเล็กโทรดและทรานสดิวเซอร อิ เล็กโตรดสําหรับสัญญาณชีวภาพ วงจรสัญญาณอิเล็กทรอนิกสแบบตางๆ ท่ีนํามาใชทางชีวการแพทย ความปลอดภัยทางไฟฟาและการทดสอบ วศช 370 สถิติสําหรับวิศวกรชีวการแพทย 3(3-0) BME 370 Statistics for Biomedical Engineer

วิธีการทางสถิติในการเก็บรวบรวมขอมูล การนําเสนอและการวิเคราะหขอมูลทางดานการแพทยและสาธารณสุข การคํานวณอัตราสถิติชีพ การประมาณประชากร ตารางชีพ และการประยุกตใชในงานดานการแพทยและสาธารณสุข การแจกแจงความนาจะเปน เทคนิคการชักตัวอยาง การแจกแจงของการชักตัวอยาง การประมาณคาและการทดสอบสมมุติฐาน การวิเคราะหความแปรปรวนทางเดียว การวิเคราะหสหสัมพันธและการถดถอยเชิงเสนเชิงเดียว สถิติศาสตรไมอิงพารามิเตอร วศช 371 วิธีวิทยาการวิจัยทางวิศวกรรม 2(2-0) BME 371 Research Methodology in Engineering บุรพวิชา : วศช 370 สถิติสําหรับวิศวกรชีวการแพทย

ความรูเบ้ืองตนเกี่ยวกับการวิจัย ข้ันตอนการวิจัย การออกแบบการวิจัย การวางแผนการทดลอง เทคนิคการรวบรวมขอมูล เคร่ืองมือท่ีใชในการรวบรวมขอมูล รูปแบบการวิจัย การวิเคราะหขอมูลทางสถิติดวยคอมพิวเตอร การเขียนโครงการวิจัย และการเขียนรายงานการวิจัยทางวิศวกรรม รวมถึงจริยธรรมของการทําวิจัย

39

Page 41: Bio Medical Engineering SWU

วศช 200 ระบบรางกายมนษุยสําหรับวิศวกรรมชีวการแพทย 1 3(3-0) BME 200 Human body system for biomedical engineering 1

โครงสราง ความสัมพันธและการทํางานของระบบกลามเนื้อและกระดูกของมนุษยระบบประสาท สมองและไขสันหลัง ระบบประสาทอัตโนมัติ และความผิดปกติท่ีพบบอยของระบบดังกลาว โดยการผสมผสานความรูพื้นฐานทางมหกายวิภาคศาสตร จุลกายวิภาคศาสตร สรีรวิทยา พยาธิสรีรวิทยา วศช 202 ระบบรางกายมนษุยสําหรับวิศวกรรมชีวการแพทย 2 3(3-0) BME 202 Human body system for biomedical engineering 2

โครงสราง ความสัมพันธและหนาท่ีของระบบหัวใจ หลอดเลือดและปอด ระบบผิวหนัง ระบบยอยอาหาร ระบบขับถาย ระบบตอมไรทอ และระบบสืบพันธ และความผิดปกติท่ีพบบอยของระบบดังกลาว โดยการผสมผสานความรูพื้นฐานทางมหกายวิภาคศาสตร จุลกายวิภาคศาสตร สรีรวิทยา พยาธิสรีรวิทยา วศช 203 ชีววิทยาของเซลลและโมเลกุล 3(3-0) BME 203 Cell and Molecular Biology

พื้นฐานโครงสรางและหนาท่ีของเซลล รวมถึงความสัมพันธระหวางเซลล การเจริญเติบโต การเปล่ียนแปลงและการตายของเซลล การศึกษาระดับโมเลกุล ไดแก สารชีวโมเลกุล กระบวนการเมทาบอ-ลิซึมของชีวโมเลกุล การสังเคราะหดีเอ็นเอ อารเอ็นเอ โปรตีน และการศึกษาเบ้ืองตนของการควบคุมการแสดงออกของยีนส

4. กลุมวิชาเอกบังคับ

วศช 281 หลักการวิศวกรรมชีวการแพทย 3(3-0) BME 281 Principle of Biomedical Engineering

แนะนําเกี่ยวกับสหวิทยาการของวิศวกรรมชีวการแพทย การประยุกตใชงานหลักการทางวิศวกรรมพื้นฐานเพื่อใชในระบบทางสรีระวิทยา รวมถึงการแนะนําเกี่ยวกับการใชคอมพิวเตอร และเคร่ืองมือท่ีจาํเปนสําหรับแกไขปญหาทางวิศวกรรม หัวขอของวิชานี้แนะนําแขนงตางๆ ของวิศวกรรมชีวการแพทยซ่ึงไดแก กลศาสตรชีวการแพทย วิศวกรรมเซลและเน้ือเยื้อ อุปกรณชีวการแพทย การสรางภาพทางการแพทย วิศวกรรมคลินิก เทคโนโลยีชีวภาพ วิศวกรรมการฟนฟู เซ็นเซอรชีวภาพ วัสดุวิศวกรรม อวัยวะเทียม เทคโนโลยีสารสนเทศสําหรับงานทางการแพทย และเภสัชวิทยาสําหรับงานวิศวกรรมชีวการแพทย วศช 201 ปฏบิัติการวิศวกรรมชีวการแพทยพื้นฐาน 1(0-3)

40

Page 42: Bio Medical Engineering SWU

BME 201 Basic Biomedical Engineering Laboratory การฝกปฏิบัติทางวงจรไฟฟา อิเล็กทรอนิกส คอมพิวเตอร วัสดุ และการวัด และเรียนรูการทํางาน

ของเคร่ืองมือวิทยาศาสตรการแพทยตาง ๆ วศช 300 ปฏบิัติการวิจัยทางวิศวกรรมชีวการแพทย 1 1(0-3) BME 300 Biomedical Engineering Research Laboratory I

การฝกปฏิบัติการวิจัยทางดานวิศวกรรมชีวการแพทย โดยนิสิตทํางานเปนกลุมภายใตการควบคุมของอาจารยท่ีปรึกษาประจําวิชา นิสิตแตละกลุมทําการสํารวจ และคนควางานวิจัยทางวิศวกรรมชีวการแพทยท่ีผานมา ศึกษาเทคนิค ข้ันตอนวิธีการออกแบบและพัฒนา วิธีทดสอบ และผลการวิจัยของงานวิจัยนั้น วิเคราะหและทําความเขาใจถึงขอดีขอเสียของเทคโนโลยีท่ีงานวิจัยนั้นนํามาใช เพื่อนํามาเปนขอมูลในการฝกปฏิบัติการสรางหรือพัฒนางานวิจัยทางดานนี้ใหแลวเสร็จ โดยนิสิตตองสงผลงาน รายงาน และผานการสอบปากเปลา วศช 301 ปฏบิัติการวิจัยทางวิศวกรรมชีวการแพทย 2 1(0-3) BME 301 Biomedical Engineering Research Laboratory II

การฝกปฏิบัติการวิจัยทางดานวิศวกรรมชีวการแพทย โดยนิสิตทํางานเปนกลุมภายใตการควบคุมของอาจารยท่ีปรึกษาประจําวิชา นิสิตแตละกลุมทําการสํารวจ และคนควางานวิจัยทางวิศวกรรมชีวการแพทยท่ีผานมา ศึกษาเทคนิค ข้ันตอนวิธีการออกแบบและพัฒนา วิธีทดสอบ และผลการวิจัยของงานวิจัยนั้น วิเคราะหและทําความเขาใจถึงขอดีขอเสียของเทคโนโลยีท่ีงานวิจัยนั้นนํามาใช เพื่อนํามาเปนขอมูลในการฝกปฏิบัติการสรางหรือพัฒนางานวิจัยทางดานนี้ใหแลวเสร็จ โดยนิสิตตองสงผลงาน รายงาน และผานการสอบปากเปลา วศช 310 วัสดุทางชีวภาพ 3(3-0) BME 310 Biomaterials บุรพวิชา : วศอ 191 วัสดุวิศวกรรม

วัสดุทางชีวภาพตางๆ คุณสมบัติดานการยืดหยุน คุณสมบัติวัสดุ กลศาสตรการแตกหัก และ การวิเคราะหความเคนและความเครียด ขอจํากัด การนําไปใชงานและการประยุกตใชในงานวิศวกรรมชีวการแพทย วศช 311 กลศาสตรชีวภาพ 3 (3-0) BME 311 Biomechanics บุรพวิชา : วศ 290 กลศาสตรวิศวกรรม

41

Page 43: Bio Medical Engineering SWU

พื้นฐานกลศาสตรชีวภาพ แรงและพลังงาน แรงโนมถวง เสถียรภาพและสมดุล ความเคนและความเครียดของวัสดุ การปอนแรงกระทําตอสวนตางๆ ของรางกาย แรงเสียดทาน การเคล่ือนท่ีของ ขอตอ ลักษณะเฉพาะของระบบโครงกระดูก ระบบกลามเนื้อและระบบการไหลเวียนโลหิต ศึกษาเกี่ยวกับขอกําหนดทางดานกลศาสตรชีวภาพ หนาท่ี และการผลิตของอวัยวะเทียม กลศาสตรของแขนขาบนและลาง หัวขออ่ืนประกอบดวย การใส อวัยวะเทียมสําหรับขอตอและเอ็น ขอกําหนดดานโหลดแบบสถิตและแบบไดนามิก มาตรฐานการผลิตและการทดสอบ การประยุกตในดานตางๆ เชน วิทยาศาสตรการกีฬา การประยุกตกลศาสตรชีวภาพในระบบรางกายของมนุษยและกายอุปกรณ วศช 341 การออกแบบระบบผูเชี่ยวชาญทางการแพทย 3(3-0) BME 341 Medical Expert Systems Design

แนะนําระบบผูเช่ียวชาญ การประยุกตใชระบบผูเช่ียวชาญในงานวิศวกรรม การคนหาคําตอบของปญหา วิธีการแทนความรู กลไกการอนุมานความรู กระบวนการอนุมานความรูภายใตความไมแนนอน กระบวนการทางวิศวกรรมความรู ภาษาคอมพิวเตอรและเครื่องมือสําหรับการพัฒนาระบบผูเช่ียวชาญ การออกแบบและพัฒนาเปลือกระบบผูเช่ียวชาญ การออกแบบระบบผูเช่ียวชาญทางการแพทย ตัวอยางการออกแบบระบบผูเช่ียวชาญทางการแพทย วศช 460 วิศวกรรมโรงพยาบาล 3(3-0) BME 460 Hospital Engineering

หลักการเบ้ืองตนของระบบงานวิศวกรรมในโรงพยาบาล มาตรฐานและคุณภาพของโรงพยาบาล ระบบทางวิศวกรรมสําหรับสถานท่ีตาง ๆ ในโรงพยาบาล อันไดแก หองผาตัด หองรังสี หองไอซียู ระบบทอกาซ ระบบทอสุญญากาศ ระบบไฟฟา ระบบน้ําดีและระบบน้ําเสีย ระบบการขนสงภายใน ระบบความปลอดภัยทางไฟฟาและระบบความปลอดภัยจากรังสีในอุปกรณทางการแพทย หลักวิศวกรรมการบํารุงรักษา รวมท้ังศึกษาเกี่ยวกับกฎหมายและจรรยาบรรณวิชาชีพของวิศวกรในโรงพยาบาล

วศช 490 โครงงานวิจัยวิศวกรรมชีวการแพทย 1 1(0-3) BME 490 Biomedical Engineering Research Project I

42

Page 44: Bio Medical Engineering SWU

ศึกษาและคนควาวิจัยเปนกลุมหรือเดี่ยว ภายใตการควบคุมของอาจารยท่ีปรึกษาโครงงานวิจัยทางวิศวกรรมชีวการแพทย โดยแตละกลุมตองทําการสํารวจ ศึกษา และวิเคราะหงานวิจัยทางดานวิศวกรรม ชีวการแพทยท่ีผานมา เพื่อจัดทําขอเสนอสําหรับการทําโครงงานวิจัยทางวิศวกรรมชีวการแพทย อันประกอบดวย ช่ือเร่ือง ความเปนมาของปญหา แนวทางและทฤษฎีท่ีใชการแกปญหา สรุปสาระสําคัญจากเอกสารที่เกี่ยวของ วัตถุประสงคของโครงงาน ขอบเขตของโครงงาน ข้ันตอนวิธีดําเนินการทําโครงงาน ประโยชนท่ีคาดวาจะไดรับ แผนการดําเนินการ งบประมาณ และเอกสารอางอิง ตามความเห็นชอบจากอาจารยที่ปรึกษาโครงงาน โดยจะไดผลการศึกษาเปนขอเสนอสําหรับการทําโครงงานวิจัยทางวิศวกรรมชีวการแพทยฉบับสมบูรณ และตองผานการสอบปากเปลา

วศช 491 โครงงานวิจัยวิศวกรรมชีวการแพทย 2 3(0-9) BME 491 Biomedical Engineering Research Project II บุรพวิชา : วศช 490 โครงงานวิจยัทางวิศวกรรมชีวการแพทย 1

ศึกษา ออกแบบ และพัฒนาโครงงานวิจัยทางวิศวกรรมชีวการแพทย ตามขอตกลงท่ีระบุไวในขอเสนอสําหรับการทําโครงงานวิจัยทางวิศวกรรมชีวการแพทยสอดคลองกับวิชา วศช 490 ใหแลวเสร็จ ภายใตการควบคุมของอาจารยท่ีปรึกษาโครงงานวิจัยทางวิศวกรรมชีวการแพทย โดยจะไดผลงานวิจัย รายงานโครงงานวิจัยฉบับสมบูรณ และตองผานการสอบปากเปลา

5. กลุมวิชาเอกเลือก

5.1 แขนงวิชาวิศวกรรมชีวภาพ

วศช 410 ฟสิกสการสรางภาพทางการแพทย 3(3-0) BME 410 Physics of Medical Imaging บุรพวิชา : ฟส 101 ฟสิกสเบ้ืองตน 1

เ หลักการพื้นฐานทางฟสิกสและเทคนิคการทดลองท่ีประยุกตใชในทางการแพทยและทางชีววิทยา ทบทวนเกี่ยวกับเอ็กซเรยและแกมมาเรยท่ีใชในดานการวินิจฉัยทางการแพทยและการดานการรักษา หลักการทางฟสิกสของเลเซอร อัลตราซาวด และสนามแมเหล็กไฟฟาในการสรางภาพของโครงสราง กําหนดหนาท่ีการทํางาน การวินิจฉัยและการรักษารางกายมนุษย วศช 411 การเขากันไดทางชีววิทยา 3(3-0) BME 411 Biocompatibility

43

Page 45: Bio Medical Engineering SWU

การเขากันไดทางชีวภาพและการตอบสนองของรางกายตอของวัสดุ ผลกระทบของวัสดุตอเนื่อเยื่อและเนื้อเยื่อท่ีมีตอวัสดุเม่ือถูกนําไปใชในรางกาย ผลกระทบระยะส้ัน ระยะยาว การกอมะเร็ง ข้ันตอนการนําอุปกรณชีวการแพทยจากงานวิจัยสูการนําไปใชจริง และการทดสอบการเขากันไดทางชีววิทยา

วศช 412 วิศวกรรมการฟนฟูสภาพ 3(3-0) BME 412 Rehabilitation Engineering

ทฤษฎีพื้นฐานและการปฏิบัติงานเชิงอาชีพของวิศวกรรมศาตรดานคลินิกตอการฟนฟูคนไขและคนท่ีมีความตองการพิเศษ หัวขอประกอบดวยวิธีการประเมินหนาท่ีท่ีคงเหลืออยูของรางกายและความสัมพันธของหนาท่ีดังกลาวตอความพิการทางรางกายท่ีมีอยู เทคโนโลยีของการวิเคราะห และการชวยการเคล่ือนไหว

วศช 413 กลศาสตรของระบบไหลเวียนโลหิต 3(3-0) BME 413 Cardiovascular Mechanics

กลศาสตรท่ีเกี่ยวของกับโรคหลอดเลือดแข็งตัว สโต็รค และโรคของหลอดเลือด หัวขอท่ีสอนรวมถึงการทําปฏิกิริยาระหวางเลือดและเนื้อเยื่อตามผนังของหลอดเลือด เทคนิคอุลตราซาวดและ MRI

วศช 414 กลศาสตรของระบบหายใจ 3(3-0) BME 414 Respiratory Mechanics

คุณสมบัติทางโครงสรางและกลศาสตรของไหลของระบบหายใจ หัวขอท่ีศึกษาประกอบดวยการหายใจปกติ และโรคของปอดเชน ถุงลมโปงพอง และ การแข็งตัวเปนไฟเบอรของปอด

วศช 415 กลศาสตรของกลามเนื้อและกระดูก 3(3-0) BME 415 Musculoskeletal Mechanics

หนาท่ีของขอตอของรางกายไดแกขอเขา ขอตะโพก ขอศอก และไหล บทบาทของเนื่อเยื่อออน แบบจําลองทางคอมพิวเตอร การทดลอง และจลนศาสตรของขอตอ

วศช 416 อวัยวะเทียม 3(3-0) BME 416 Artificial Organ

พื้นฐานการแทนท่ีอวัยวะท่ีเปนโรคหรือมีความบกพรองดวยอวัยวะเทียม หัวขอประกอบดวยขอพิจารณาดานการออกแบบ วัสดุท่ีใช และประวัติความเปนมาของการใชงานทางการแพทย อวัยวะเทียมท่ีศึกษาไดแก ล้ิน หัวใจ หัวใจ ไต และอ่ืน ๆ เปนตน

44

Page 46: Bio Medical Engineering SWU

วศช 450 พืน้ฐานทางวิศวกรรมเนื้อเยื่อ 3(3-0) BME 450 Fundamental of Tissue Engineering

พื้นฐานของหลักการของวิศวกรรมดานวัสคุและกลศาสตรท่ีนํามาใชในการออกแบบเนื้อเยื่อ ทดแทน ศึกษาเก่ียวกับขบวนการเลือกวัสดุชีวภาพและการผลิต คุณสมบัติทางดานกลศาสตร การขนถายดานของเหลวและมวลสารเม่ือนํามาใชในดานวิศวกรรมเน้ือเยื้อ ศึกษาตัวอยางการออกแบบซ่ึงไดแก หลอดเลือด กระดูก เอ็น ผิวหนัง ตับ และเลือด วศช 451 แบบจําลองระบบทางชีววิทยา 3(3-0) BME 451 Biological System Modeling

หลักการพื้นฐานในการพัฒนาแบบจําลอง แนวทางการประยุกตใชของแบบจําลองทางคณิตศาสตรและทางคอมพิวเตอรของระบบทางกายภาพวิทยา แบบจําลองในการแบงแยกเปนสวนๆซึ่งครอบคลุมการถายเทของของเหลว แบบจําลองของการถายเทของมวล แบบจําลองความสัมพันธของความดันและอัตราการไหล กลศาสตรของปอด พื้นฐานของระบบทางเดินหายใจ และแบบจําลองตางๆ แบบจําลองของการส่ือสารของสัญญาณทางไฟฟาของเซลล แบบจําลองของการถายเทความรอนและมวลสาร การควบคุมการไหลเวียนของความรอน ระบบควบคุมปริมาตรของของเหลวในรางกาย แบบจําลองสําหรับระบบไต และแบบโมเดลของกลูโคส-อินซูลิน วศช 452 การวิเคราะหไฟไนตอิลิเมนท 3(3-0) BME 452 Finite Element Analysis

วิธีไฟไนตอิลิเมนทซ่ึงเปนวิธีทางคอมพิวเตอรท่ีเหมาะสมสําหรับการหา ความเคนและความเครียดท่ีจุดใดๆ ในโครงสรางของวัตถุท่ีมีความซับซอนท้ังทางเรขาคณิตและทางเนื้อวัสดุ ศึกษาเกี่ยวกับโหลด คุณสมบัติของวัสดุ เง่ือนไขของขอบเขตและรอยตอ ตัวอยางการประยุกตใชการวิเคราะหไฟไนตอิลิเมนทสําหรับงานวิศวกรรมชีวการแพทย วศช 480 เภสัชวิทยาเบ้ืองตนสําหรับวิศวกรรมชีวการแพทย 3(3-0) BME 480 Basic Pharmacology for Biomedical Engineering

45

Page 47: Bio Medical Engineering SWU

ความหมายของยาและแหลงท่ีมาของยา การคิดคนและพัฒนายา รูปแบบเภสัชภัณฑ การใชยาอยางถูกตองและการเก็บรักษา มาตรฐานและการควบคุมคุณภาพยา การออกฤทธ์ิของยาในรางกายมนุษย หลักการเบื้องตนของเภสัชจลนศาสตรและเภสัชพลศาสตร ยาท่ีใชรักษาโรคท่ีพบบอยในแตละระบบ ไดแก ยาท่ีใชในโรคระบบทางเดินอาหาร ระบบทางเดินหายใจ ระบบประสาทกลาง ระบบกลามเนื้อ กระดูกและขอ ยาปฏิชีวนะ ยาสําหรับผิวหนังและเคร่ืองสําอาง ยาคุมกําเนิดและการคุมกําเนิด รวมท้ังโรคเร้ือรังตาง ๆ เชน โรคเบาหวาน ความดันเลือดสูง ไขมันในเลือดสูง โรคหัวใจ โรคไต และยาลดความอวน เปนตน โดยเนนกลไกการออกฤทธ์ิ ประโยชนท่ีใชในการรักษาและอาการขางเคียงท่ีสําคัญ รวมถึงพิษจากการใชยา วศช 492 หัวขอพิเศษทางวิศวกรรมชีวภาพ 3(3-0) BME 492 Special Topics in Bioengineering

หัวขอพิเศษความกาวหนาและที่กําลังเปนท่ีนาสนใจในทางวิศวกรรมชีวภาพ

5.2 แขนงวิชาเวชสารสนเทศศาสตร

วศช 420 การประมวลสัญญาณและภาพทางการแพทย 3(3-0) BME 420 Medical Signal and Image Processing

พื้นฐานของสัญญาณทางการแพทย สเปคตรัมและการไดมาซ่ึงสัญญาณ การรบกวน กรณีศึกษาการวิเคราะหสัญญาณในโดเมนเวลา โดเมนความถ่ี และโดเมนเวลา-ความถ่ี การสรางภาพตัดขวางจากขอมูลโปรเจ็คชัน รวมถึงการสรางภาพตัดขวางจากขอมูลโปรเจ็คชันท่ีใชลักษณะทางเรขาคณิตของแนวรังสีท่ีตางกัน เชนแนวรังสีแบบขนาน แบบพัด แบบกรวย เปนตน นอกจากนี้ยังศึกษาเกี่ยวกับการทําทะเบียนภาพ และการสรางรูป 3 มิติจากภาพตัดขวางทางการแพทย

วศช 421 การวิเคราะหสัญญาณชีวทางการแพทย 3(3-0) BME 421 Biomedical Signal Analysis

สัญญาณทางการแพทยช้ันสูง สเปคตรัมและการไดมาซ่ึงสัญญาณ การรบกวน กรณีศึกษาการวิเคราะหสัญญาณตางๆโดยใชเทคนิคสมัยใหม

วศช 422 การสรางแบบจําลองอยางรวดเร็ว 3(3-0) BME 422 Rapid Prototyping บุรพวิชา : วศช 410 ฟสิกสการสรางภาพทางการแพทย

46

Page 48: Bio Medical Engineering SWU

การสรางภาพ 3 มิติดวยเทคนิคตางๆไดแก การวัดระยะดวยสัญญาณแสงเลเซอร, โครงสรางแสง, ทิศทางการไหล การเคล่ือนท่ี, รูปรางและเงา, สเตอริโอสโคป โทโมกราฟฟ และการใชเคร่ืองสรางแบบจําลองอยางรวดเร็ว

วศช 441 การวางแผนผาตัดโดยความชวยเหลือจากคอมพิวเตอร 3(3-0) BME 441 Computer-Aided Surgery Planning

พื้นฐานของการออกแบบทางวิศวกรรมกลศาสตร การประยุกตใชงานโปรแกรม การออกแบบท่ีใชคอมพิวเตอรชวยในการออกแบบอวัยวะเทียม กายอุปกรณและวัสดุฝงใน การใชคอมพิวเตอรชวยในการออกแบบเคร่ืองมือและชวยการผาตัดของอวัยวะตางๆ

วศช 442 ปญญาประดิษฐ 3(3-0) BME 442 Artificial Intelligence

แนะนําเทคโนโลยีปญญาประดิษฐ การคนหาคําตอบของปญหา ทฤษฎีเกมส การแทนความรู กระบวนการคิดหาเหตุผลของมนุษยและคอมพิวเตอร การคิดหาเหตุผลภายใตความไมแนนอน การเรียนรูของมนุษยและคอมพิวเตอร การประมวลผลภาษาธรรมชาติ ภาษาและเทคนิคการโปรแกรมสําหรับปญญาประดิษฐ การออกแบบระบบปญญาประดิษฐ ตัวอยางการประยุกตใชปญญาประดิษฐใน งานทางวิศวกรรมชีวการแพทย

วศช 443 ทฤษฎีระบบฟซซี 3(3-0) BME 443 Fuzzy Systems Theory

ทฤษฎีฟซซีเซต ฟซซีลอจิกและการคิดหาเหตุผลแบบประมาณ ระบบการอนุมานฟซซี สถาปตยกรรมของระบบฟซซี การจําแนกแบบฟซซี การวิเคราะหการถดถอยแบบฟซซี การโปรแกรม เชิงเสนแบบฟซซี การออกแบบระบบควบคุมฟซซี การประยุกตใชฟซซีลอจิกในงานวิศวกรรมชีวการแพทย

วศช 444 ระบบประสาทเทียม 3(3-0) BME 444 Artificial Neural Systems

แนะนําโครงขายประสาทเทียม ประเภทของโครงขายประสาทเทียม หลักการในการจดจํารูปแบบของโครงขายประสาทเทียม กระบวนการเรียนรูและอัลกอริทึม อัลกอริทึมแบบแพรกระจายยอนกลับ การประยุกตใชโครงขายประสาทเทียมในงานวิศวกรรมชีวการแพทย

วศช 445 ความฉลาดทางชีววิทยา 3(3-0) BME 445 Biological Intelligence

47

Page 49: Bio Medical Engineering SWU

แนะนําความฉลาดทางชีววิทยา ทฤษฎีของดารวิน ยีนและโครโมโซม แบบจําลองพ้ืนฐานของการคํานวณแบบมีวิวัฒนาการ จีเนติกอัลกอริทึม วิธีการเลือก ครอสโอเวอรและมิวเตชัน การประยุกตใชจีเนติกอัลกอริทึมในงานวิศวกรรม การเขียนโปรแกรมแบบจีเนติก ตัวอยางการประยุกตใชจีเนติกอัลกอริทึม ในงานวิศวกรรมชีวการแพทย

วศช 446 ชีวสารสนเทศศาสตร 3(3-0) BME 446 Bioinformatics

พื้นฐานการจําลอง การออกแบบ และการใชระบบการคํานวณสําหรับงานทางดาน ชีวการแพทย หัวขอประกอบดวยการความรูพื้นฐาน การนําเสนอ คําศัพทควบคุมในดานการแพทย และวิทยาศาสตรชีวภาพ อัลกอริทึมพื้นฐาน การแยกขอมูล การเรียกคืนขอมูล การคนหา เนนการสอนในดานหลักการการจําลองขอมูลและความรูในดานชีวการแพทย และการแปรผลของแบบจําลองไปสูระบบอัตโนมัติท่ีสามารถใชประโยชนได

วศช 447 ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล 3(3-0) BME 447 Hospital Information System

บทบาทของระบบสารสนเทศโรงพยาบาล ระบบสารสนเทศ องคกร และกระบวนการธุรกิจ โรงพยาบาลอิเล็กทรอนิกส การบริหารทรัพยากรคอมพิวเตอรและแหลงขอมูล ระบบเครือขายคอมพิวเตอรและการส่ือสารขอมูล การจัดการความรู ผลกระทบทางจริยธรรมและสังคมของระบบสารสนเทศ การวิเคราะหและออกแบบระบบสารสนเทศสําหรับโรงพยาบาล

วศช 448 ระบบสนับสนุนการตัดสินใจทางการแพทย 3(3-0) BME 448 Medical Decision Support Systems

แนะนําระบบสนับสนุนการตัดสินใจ สถาปตยกรรมของระบบสนับสนุนการตัดสินใจ การจัดการขอมูล การจัดการแบบจําลอง การจัดการองคความรู การจัดการสวนเชื่อมโยงกับผูใช ระบบสนับสนุนการตัดสินใจแบบกลุม ระบบสนับสนุนการตัดสินใจระดับองคกร แนวทางการพัฒนาระบบสนับสนุนการตัดสินใจทางการแพทย

วศช 493 หัวขอพิเศษทางเวชสารสนเทศศาสตร 3(3-0) BME 493 Special Topics in Medical Informatics

หัวขอพิเศษความกาวหนาและที่กําลังเปนท่ีนาสนใจในทางสารสนเทศศาสตร

5.3 แขนงวิชาอุปกรณทางการแพทย

48

Page 50: Bio Medical Engineering SWU

วศช 430 การออกแบบอุปกรณชีวการแพทย 3(3-0) BME 430 Biomedical Instrument Design

แนะนําเทคนิคการออกแบบอุปกรณทางการแพทยรวมถึงเซนเซอรและอิเล็กทรอนิกสท่ีเกี่ยวของ แบบจําลองทางคณิตศาสตรสําหรับเซนเซอรชนิดตางๆ การออกแบบวงจรอิเล็กทรอนิกสท่ีทําหนาท่ีปรับแตงสัญญาณ การวิเคราะหปญหาเพื่อท่ีจะพัฒนาเคร่ืองมือทางชีวการแพทยโดยเนนในดานประสิทธิภาพ ความเช่ือถือไดตลอดจนความปลอดภัยและเปนไปตามมาตรฐานสากล ตัวอยางการออกแบบอุปกรณชีวการแพทย

วศช 431 อุปกรณการแพทยและการตรวจวัดสภาพทางสรีรวิทยา 3(3-0) BME 431 Medical Instruments and Physiological Monitoring

ความดันและอัตราการไหลท่ีเกี่ยวกับระบบทางเดินหายใจ ความเขมขนของกาซชนิดตางๆในปอด เซนเซอรท่ีใชวัดปริมาณของสารตางๆในเลือด การวัดตางๆทางคลินิก หลักการของเคร่ืองเพสเมกเกอรและดีฟบบิลเลเตอร อุปกรณในการบําบัดโรคตาง ๆ รังสีวิทยา ภาพเอ็มอารไอ การบันทึกภาพทางการแพทยโดยใชอัลตราซาวด ความปลอดภัย และการเช่ือถือไดของอุปกรณทางไฟฟาและทางกลที่ใชทางการแพทย และการปองกันปญหาขัดของท่ีอาจจะเกิดข้ึนไดกับอุปกรณทางการแพทย

วศช 432 อิเล็กทรอนิคสทางแสงและอุปกรณเลเซอร 3(3-0) BME 432 Optical Electronics and Laser Device บุรพวิชา : ฟส 101 ฟสิกสเบ้ืองตน 1

คุณสมบัติของแสงท่ัวไปและแสงเลเซอร ทฤษฎีการเกิดแสงเลเซอร สวนประกอบของแสงเลเซอร คุณสมบัติท่ัวไปของแสงเลเซอร ทฤษฎีไอสไตนและแหลงกําเนิดแสงเลเซอร ลําแสงเกาซเซียน บทบาทของแสงเลเซอรในการประยุกตท่ัวไปและการประยุกตในทางอิเล็คทรอนิคส วงจรอิเล็คทรอนิคสท่ีใชรวมกับแสงเลเซอร

วศช 433 หุนยนตทางการแพทย 3(3-0) BME 433 Medical Robotics

หุนยนตเบ้ืองตน การแปลงเอกพันธ สมการคิเนเมติก การแกสมการคิเนเมติก ความสัมพันธเชิงผลตาง แขนหุนยนต พลวัตของแขนหุนยนต แรงสถิตในแขนหุนยนต การควบคุมหุนยนต เทคโนโลยีของหุนยนตและการมองเห็นของคอมพิวเตอร หัวขอประกอบดวยเคร่ืองควบคุมตําแหนง เคร่ืองควบคุมแรง การประยุกตใชงานเทคโนโลยีของหุนยนตตอออรโธปดิกค การควบคุมขอตอเคล่ือนท่ี 6 ทิศอิสระ ตัวอยางการใชงานหุนยนตทางการแพทย

49

Page 51: Bio Medical Engineering SWU

50

วศช 434 การออกแบบระบบฝงตัว 3(3-0) BME 434 Embedded System Design บุรพวิชา : วศช 230 ไมโครโปรเซสเซอรและการอินเตอรเฟส

แนะนําการพัฒนาระบบฝงตัวสมองกล ระบบไอดีอี ไอดีอีสําหรับโพรเซสเซอร การใชงานเจเท็คการเขียนโปรแกรมสําหรับระบบฝงตัวสมองกล การเช่ือมตอกับอุปกรณภายนอก แนะนําระบบปฏิบัติการไมโครซี การทําพอรตติง และการใชงานแบบตอบสนองทันทีทันใด การเขียนโปรแกรมสําหรับระบบฝงตัว ตัวอยางการออกแบบระบบฝงตัวในงานวิศวกรรมชีวการแพทย วศช 435 อุปกรณรับรูทางชีวการแพทย 3(3-0) BME 435 Biomedical Sensors

พื้นฐานการใชเซ็นเซอรทางการแพทย แบบสารกึ่งตัวนํา เทคโนโลยีเซ็นเซอรแบบสารกึ่งตัวนํา เซ็นเซอรเชิงกล เซ็นเซอรแมเหล็ก เซ็นเซอรคล่ืนแมเหล็กไฟฟา เซ็นเซอรความรอน เซ็นเซอรเคมี เซ็นเซอรชีวภาพ เซ็นเซอรแบบวงจรรวมและการเช่ือมตอเซ็นเซอรกับระบบ โดยเนนประสานหลักการเหลานี้ในการพัฒนาใชและสรางอุปกรณและเคร่ืองมือวัดเพื่อการติดตาม ตรวจสอบ และควบคุมปรากฏการณตางๆในขอบขายของเทคโนโลยีชีวภาพการแพทย วศช 494 หัวขอพิเศษทางอุปกรณการแพทย 3(3-0) BME 494 Special Topics in Medical Instrumentations

หัวขอพิเศษความกาวหนาและที่กําลังเปนท่ีนาสนใจในทางอุปกรณการแพทย ค. หมวดวิชาเลือกเสรี

หมวดวิชาเลือกเสรีใหนิสิตเลือกศึกษารายวิชาท่ีมีการเปดสอน ในมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ง. หมวดวิชาการฝกงาน วศช 302 ฝกงานทางวิศวกรรมชีวการแพทย BME 302 Practical Training in Biomedical Engineering

การฝกงานทางดานวิศวกรรมชีวการแพทยในโรงงานอุตสาหกรรม โรงพยาบาล หรือหนวยงานท่ีภาควิชาใหความเห็นชอบ ท้ังนี้เพื่อเปนการเสริมสรางประสบการณ และเขาใจหนาท่ีของวิศวกรภายในโรงงานอุตสาหกรรม หรือโรงพยาบาล มีกําหนดเวลาไมนอยกวา 200 ช่ัวโมงในภาคการศึกษาฤดูรอน นิสิตตองสงรายงานเพื่อสรุปความรูท่ีไดจากการฝกงาน นําเสนอในชั้นเรียน และผานการสอบปากเปลา

Page 52: Bio Medical Engineering SWU

ภาคผนวก

ประวัติของอาจารยประจําหลกัสตูร

และ ภาระงานสอนของอาจารยประจําหลักสูตร

Page 53: Bio Medical Engineering SWU

ดร. วงศวิทย เสนะวงศ

1. การศึกษา

การศึกษาระดับอุดมศึกษา (เรียงจากคุณวุฒิสูงสุด) 1.1

คุณวุฒ ิ ช่ือสถานศึกษา ป พ.ศ.ท่ีจบ

Doctor of Philosophy (Biomedical Engineering) Thesis: Biomechanics of the Patellofemoral Joint

Imperial College London ประเทศอังกฤษ

2545

Master of Science (Biomedical Engineering) Thesis: 3D Computer Visualization of Wound Healing

Imperial College London ประเทศอังกฤษ

2539

Bachelor of Engineering (Biomedical Engineering) Project: Neurobiology

University of Kent 2537

ประเทศอังกฤษ

50

2. ประสบการณทํางานและการสอน 2550 - มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ อาจารย

วิชา คณิตศาสตรวิศวกรรม 1 และ คณิตศาสตรวิศวกรรม 2 2546 - 2549 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง อาจารย

วิชา หลักการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร, คณิตศาสตรวิศวกรรม, การวิเคราะหเมตริกซ, กลศาสตรชีวภาพ

2546 - 2549 มหาวิทยาลัยมหิดล

อาจารยพิเศษหลักสูตรปริญญาโทวิศวกรรมชีวการแพทย วิชาหลักสูตรนานาชาติ Mechanics and Materials in Medicine, Biocompatibility

2545 - 2546 Imperial College London

Research Associate

3. ผลงาน 3.1 งานแตง เรียบเรียง แปลหนังสือ หรือเขียนบทความทางวิชาการ 3.1.1 Patellofemoral kinematics during knee flexion-extension: An in vitro study (2549) AA Amis, W Senavongse, AM Bull - J Orthop Res, 2006. 3.1.2 Effects of lateral retinacular release on the lateral stability of the patella (2549)

Page 54: Bio Medical Engineering SWU

AMJ Bull, RK Strachan, R Shymkiw, W Senavongse- Knee Surgery, Sports Traumatology, Arthroscopy, 2006 3.1.3 Electromagnetic interference studies using laboratory digital signal analysis with spectrum analyzer (2548) Proceeding international conference on electromagnetic compatibility 2005, July, Phuket 3.1.4 Biomechanics of patellofemoral joint prostheses (2548) Clinical orthopaedic and related research, 2005, 436, July 2005.

3.1.5 Biomechanical study of patellofemoral joint instability (2548) Proceeding of SPIE 2005 vol. 5852, April 2005.

3.1.6 The effects of articular, retinacular or muscular deficiencies on patellofemoral joint stability (2548) Journal of bone and joint surgery, 87-B, April 2005. 3.1.7 Tensile strength of the medial patellofemoral ligament before and after repair or reconstruction (2548) Journal of bone and joint surgery, 87-B, January 2005. 3.1.8 Book chapter: Patellofemoral Disorders: Diagnosis and Treatment (2547) Patellofemoral Disorders ISBN 0470850116, John Wiley&sons, 2004.

3.1.9 Spectral estimation of stator voltage signal of induction motors (2547) Proceeding ITC-CSCC, Sendai, July 2004.

3.2 งานวิจยั 3.2.1 การศึกษา ชีวกลศาสตรของหัวเขา เขาเทียมและกระดูกสันหลัง 3.2.2 ศึกษาวจิัย ขอในสะโพกกับแพทยออโธปดกิส มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 3.3 งานบริการวิชาการ 3.3.1 กรรมการคณะทํางานออกขอสอบใบประกอบวิชาชีพวิศวกรรมไฟฟา 3.3.2 กรรมการคณะทํางานตรวจรับการพัฒนาระบบขอสอบของสภาวิศวกร 3.3.3 กรรมการคณะทํางานท่ีปรึกษาระบบคอมพิวเตอรโครงการพัฒนาวิชาชีพวิศวกรอยาง ตอเนื่อง 3.3.4 กรรมการคณะทํางานรางหลักสูตรวิศวกรรมชีวการแพทยมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร 3.3.5 กรรมการและเลขานุการการจัดประชุมนานาชาติ ICEMC2005 ภูเก็ต 3.3.6 กรรมการจัดประชุมวิชาการทางวิศวกรรมชีวการแพทยนานาชาติ ISBME 2006 กรุงเทพ 3.3.7 กรรมการและเลขาธิการชมรมวิจัยวิศวกรรมชีวการแพทยไทย ThaiBME 3.3.8 กรรมการการจัดประชุมนานาชาติ World Congress on Bioengineering WACBE2007 3.3.9 กรรมการและผูทรงคุณวุฒิในการจัดทํา Roadmap ทางวศิวกรรมชีวการแพทยของประเทศ ไทย

51

Page 55: Bio Medical Engineering SWU

4. สมาชิกในสมาคมและชมรม 4.1 สมาคมวิศวกรรมไฟฟาประเทศอังกฤษ MIEE 4.2 สมาคมวิศวกรรมเคร่ืองกลประเทศอังกฤษ MIMechE 4.3 สมาชิกสามัญ และเลขาธิการสมาคมวิจัยวิศวกรรมชีวการแพทยไทย (Thai Biomedical Engineering Research Association :ThaiBME)

52

5. รางวัลท่ีไดรับ 5.1 ทุน ก.พ. ไปศึกษาตอท่ีประเทศอังกฤษ 5.2 ทุนวิจยัของ Arthritis Research Campaign (ARC) ประเทศอังกฤษ 6. ภาระงานสอนปจจุบัน

ระดับ รายวิชาที่สอน หนวยกิต

ปริญญาตรี วศฟ 291 Mathematics for Engineering II 3

ปริญญาตรี มศว 301 บูรณาการ 3 2

ปริญญาตรี วศฟ 191 Mathematics for Engineering I 3

7. ภาระงานสอนหลักสูตรใหม

วศช 332 อุปกรณชีวการแพทย 3(3-0) 281 หลักการวิศวกรรมชีวการแพทย 3(3-0) วศช

วศช 310 ฟสิกสของการสรางภาพทางการแพทย 3(3-0) วศช 430 การออกแบบอุปกรณชีวการแพทย 3(3-0)

490 โครงงานวิจัยวิศวกรรมชีวการแพทย 1 1(0-3) วศช วศช 491 โครงงานวิจัยวิศวกรรมชีวการแพทย 2 3(0-9) วศช 411 วิศวกรรมฟนฟูสภาพ 3(3-0) วศช 414 กลศาสตรของกลามเนื้อและกระดูก 3(3-0)

415 อวัยวะเทียม 3(3-0) วศช วศช 430 อุปกรณรับรูทางชีวการแพทย 3(3-0) วศช 431 อุปกรณทางการแพทยและการตรวจวดัสภาพทางสรีระวทิยา 3(3-0)

ผูชวยศาสตราจารยวัชรชัย วิริยะสุทธิวงศ

Page 56: Bio Medical Engineering SWU

…………………………………………………………………………………………… ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟา คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ รหัสประจําตัวนักวจิัยแหงชาติ 44-12-0076 (Information Technology) ผลงานวิชาการ เอกสารประกอบการสอน

-วัชรชัย วิริยะสุทธิวงศ การส่ือสารผานคอมพิวเตอรและระบบเครือขายพื้นฐาน (Introduction to Computer Communication and Network) ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟา คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, 2547 : ISBN 974-9613-89-9 -วัชรชัย วิริยะสุทธิวงศ การส่ือสารขอมูลและเครือขาย (Data Communication & Network) คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 2548 : ISBN 974-9849-58-2

ผลงานวิจัยท่ีไดรับการตีพิมพเผยแพรแลว Refereed Conference:

1. W. Wiriyasuttiwong ; K. Kantapanit ; and P. Singhadej. “Development of a Clinical Diagnosis Expert Systems.” Proceedings of the 1999 National Computer Science and Engineering Conference (NCSEC’1999) : p9-16, Bangkok, Thailand,1999. (in Thai)

2. K. Kantapanit ; T. Ualucksakul ; and W. Wiriyasuttiwong “Realization of Passive Electronic Circuit Using Preferred Value Components and Error Feedback Genetic Algorithms.”, Proceedings of the 1st International Conference on Intelligent Technologies (InTech’2000) : p144-148, Bangkok, Thailand, 2000.

3. K. Kantapanit ; C. Treesatayapun ; and W. Wiriyasuttiwong “Neural Adaptive Control with Plant Information Feedback.”, Proceedings of the 1st International Conference on Intelligent Technologies (InTech’2000) : p80-183, Bangkok, Thailand, 2000.

4. K. Kantapanit ; P. Inrawong ; W. Wiriyasuttiwong ; and R. Kantapanit. “Dental Caries Lesions Detection Using Deformable Templates.” The 2001 IEEE International Symposium on Circuits and Systems. (ISCAS 2001) Volume II : p125–128, Sydney , Australia, 2001.

5. K. Kantapanit ; C. Treesatayapun ; and W. Wiriyasuttiwong “Adaptive Neural Network Control with Plant Information Feedback.”, The 3rd International Symposium on Intelligent Processing and Manufacturing of Material (IPMM-2001) : , Vancouver, Canada, July 29 – August 3, 2001.

6. R. Wiriyasuttiwong, W. Wiriyasuttiwong and K. Kantapanit “An Expert Consultation System in Selecting Statistical Methods for a Single Group of Samples”, Extended Abstracts of the 27th Conference of Science and Technology of Thailand (STT27), p287, Lee Garden Plaza, Hat Yai, Songkhla, 16-18 October 2001.

7. W. Wiriyasuttiwong, K. Kantapanit and K. Suriya “A Knowledge-Based Expert System Application to the Economics Analysis of Personal Consumer Credit”, Extended Abstracts of the 27th Conference of Science and Technology of Thailand (STT27), p764, Lee Garden Plaza, Hat Yai, Songkhla, 16-18 October 2001.

8. K. Kantapanit and W. Wiriyasuttiwong “Design of FLC for Electric Ceramics Kiln Using Hard c-Means Clustering”, Proceedings of the 2nd International Conference on Intelligent Technologies (InTech’2001), p81-84, Bangkok, Thailand, 27-29 November, 2001.

9. K. Kantapanit ; P. Inrawong ; W. Wiriyasuttiwong ; and R. Kantapanit. “Detection of Tooth Decays by Adaptive Templates.” Proceedings of the 1st Vietnam-Japan

53

Page 57: Bio Medical Engineering SWU

Bilateral Symposium on Biomedical Imaging and Applications (VJMEDIMAG’2001), p166-169, Hanoi, Vietnam, 24-25 November, 2001.

10. C. Treesatayapun ; K. Kantapanit ; S. Uatrongjit ;and W. Wiriyasuttiwong. “Fuzzy Graphic Inference Networks” Proceedings of the 2nd Vietnam-Japan Symposium on Fuzzy Systems and Applications (VJFUZZY’2001), p332-337, Hanoi, Vietnam, 7-8 December, 2001.

11. W. Wiriyasuttiwong and R. Wiriyasuttiwong. “An Application Software for Forecasting using Moving Average Methods” Proceedings of the MEHDA’S 2nd International Conference on Educational Development for Societies on the Move , Mekong Human Resource Development Agency (MEHDA), p54-58, Uttaradit, Thailand, December 20-21, 2001.

12. W. Wiriyasuttiwong and N. Pacharapruethipakorn “A Fuzzy Expert System for Dental Age Assessment”, Extended Abstracts of the 28th Conference of Science and Technology of Thailand (STT28), p601, Queen Sirikit National Convention Center, Bangkok, 24-26 October 2002.

13. W. Wiriyasuttiwong, R. Wiriyasuttiwong, N. Jarupattanasiregul and K. Kantapanit “An Expert Consultation System in Selecting Statistics for Data Analysis with Two Variables”, Extended Abstracts of the 28th Conference of Science and Technology of Thailand (STT28), p602, Queen Sirikit National Convention Center, Bangkok, 24-26 October 2002.

14. W. Wiriyasuttiwong “A Fuzzy Expert Controller for Pump Start-up Operation”, Extended Abstracts of the 28th Conference of Science and Technology of Thailand (STT28), p743, Queen Sirikit National Convention Center, Bangkok, 24-26 October 2002.

15. P. Juangjandee and W. Wiriyasuttiwong “An Expert System for Turbine Cycle Losses Reduction” Proceedings of the International Conference on Computer, Communication and Control Technologies. (CCCT'03), Vol.VI, p103-107 Sheraton World Resort, Orlando, Florida, USA, July 31 - August 2, 2003.

16. W. Wiriyasuttiwong, P. Puapornpong and W. Narkbuakaew “Designing the Pelvic Inflammatory Expert System” Proceedings of The 4th National Meeting on Biomedical Engineering, p143-150, Rama Garden Hotel, Bangkok, Thailand. August 25-26, 2005.

17. Sumate Pattanasuttinont, Watcharachai Wiriyasuttiwong, and Walita Narkbuakeaw

“A Medical Knowledge-Based System for Ectopic Pregnancy” Proceedings of The 1st Symposium on Thai Biomedical Engineering, Bangkok, Thailand, December 18-19, 2007.

18. P. Puapornpong and W. Narkbuakaew, W. Wiriyasuttiwong, and

Walita Narkbuakeaw

“A Medical Expert System for Preterm Labor” Proceedings of The 1st

Symposium on Thai Biomedical Engineering, Bangkok, Thailand, December 18-19, 2007.

Refereed Journal:

19. K. Kantapanit ;and W. Wiriyasuttiwong. “Face Recognition by Edge Detection of JPEG Compressed Images and Backpropagation Neural Network” The Engineering Journal of Siam University. Volume 4, p42-45, Year 2 , July-December, 2000.

20. W. Wiriyasuttiwong. “An Intelligent Temperature Control for Electric Kiln Using Fuzzy Fast-Direct Chaining Reasoning” The Engineering Journal of Siam University. Volume 6, p51-58, Year 3 , July-December, 2001. (in Thai)

21. C. Wichasilp, W. Wiriyasuttiwong, V. Tunbunheng, and K. Kantapanit “Fuzzy c-Means Clustering Designed FLC for Air-Conditioning System” The Engineering Journal of Siam University. Volume 7, p23-27, Year 3 , January-June, 2002.

22. W. Wiriyasuttiwong and P. Juangjandee “An Expert System for Turbine Energy

54

Page 58: Bio Medical Engineering SWU

Losses Analysis in Mae Moh Lignite Power Plant” The Engineering Journal of Siam University. Volume 8, p28-32, Year 4 , July-December, 2002.

23. C. Wichasilp, W. Wiriyasuttiwong and K. Kantapanit “Design of Fuzzy Logic Controllers by Fuzzy c-Means Clustering” Thammasat International Journal of Science and Technology. p12-16, 2003.

24. W. Wiriyasuttiwong and S. Rodamporn “An Application of Fuzzy c-Means Clustering to FLC Design for Electric Ceramics Kiln.” WSEAS Transactions on Information Science and Applications. Issue 1, Vol. 1, p199-203, July 2004.

25. S. Noimanee, J. Tantakul, S. Chaisupan, W. Wiriyasuttiwong and A. Chayunnakon “The Health Data Monitoring of Patient via GPS System” Journal of Thai Association for Medical Instrumentation, Vol. 5, No. 12, p39-47, July-September 2006.

26. W. Wiriyasuttiwong “Design of an Expert System for Diagnosis by History Taking” Thai Science and Technology Journal of Thammasat University, Vol. 14, No. 2, August-November 2006.

ประสบการณการบริหารโครงการวิจัยและพัฒนา

วัชรชัย วิริยะสุทธิวงศ “โครงการวิจยัสวนวิเคราะหหนวยคําและโครงสรางประโยคภาษาไทย สําหรับระบบการแปลภาษาดวยคอมพิวเตอร” ทุนคณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเชยีงใหม, พฤศจิกายน 2542 – มีนาคม 2545 : หัวหนาโครงการวิจัย

ขจรศักดิ์ คันธพนิต หิ้น ชนสุต และวัชรชยั วิริยะสุทธิวงศ “โครงการวิจัยการพัฒนาชุดควบคุมฟซซีจีเนติกอัลกอริทึม สําหรับการควบคุมอุณหภมิูในเตาเผาเซรามิคแบบไฟฟา” ทุนสํานักคณะกรรมการวจิัยแหงชาติ สถาบันวิจยัและพฒันาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเชียงใหม, ตุลาคม 2544 – กันยายน 2545 : ผูรวมวิจยั

หิ้น ชนสุต วัชรชัย วิริยะสุทธิวงศ และคณะ “โครงการวิจัยการพัฒนาระบบควบคุมแบบอะแดบทีฟฟซซีลอจิกสําหรับควบคุมอุณหภูมิในเตาเผาเซรามิคแบบแก็ส” ทุนสํานักคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตภาคพายัพ ตุลาคม 2545 – กันยายน 2547 : ผูรวมวจิัย

ชูเพ็ญศรี วงศพุทธา วัชรชัย วิริยะสุทธิวงศ ผาสุก มหรรฆานุเคราะห และคณะ “ชุดโครงการวิจัยระบบผูเชี่ยวชาญการวินิจฉัยโรคจากการซักประวัต”ิ ทุนสํานกัคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ สถาบันวิจัยและพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี มหาวทิยาลัยเชียงใหม, ตุลาคม 2545 – มีนาคม 2547 : รองผูอํานวยการชุดโครงการวิจยั

สมภพ รอดอัมพร และวชัรชัย วิริยะสุทธิวงศ “โครงการวิจัยระบบตนแบบสําหรับการแปลภาษาไทย-อังกฤษดวยคอมพิวเตอร” ทุนเงินรายไดมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มิถุนายน 2547 – พฤษภาคม 2548 : ผูรวมวจิัย

สมเกียรติ วัฒนศิริชัยกุล วชัรชัย วิริยะสุทธิวงศ และคณะ “โครงการวิจัยการพัฒนาระบบสารสนเทศการบริหารงานวิจยัของชาติ (NRPM) ” ทุนสํานักงานคณะกรรมการวิจยัแหงชาติ พฤษภาคม – สิงหาคม 2549 : หัวหนานกัวจิัย สมเกียรติ วฒันศิริชัยกุล วัชรชยั วริิยะสุทธิวงศ วลิตะ นาคบัวแกว และยุทธนา ตยิวรนนัท “โครงการวิจัยโปรแกรมประเมินสุขภาพแพทยตนแบบ” โครงการรณรงครักษสุขภาพโดยใชแพทยเปน

55

Page 59: Bio Medical Engineering SWU

ตนแบบ ทุนสํานักงานกองทุนสนับสนุนการสรางเสริมสุขภาพ พฤษภาคม – ตุลาคม 2549 : รองหัวหนาโครงการ

วัชรชัย วิริยะสุทธิวงศ สงวนศักดิ์ ฤกษศุภผล และวลิตะ นาคบัวแกว “โครงการวิจัยการออกแบบและพัฒนาเปลือกระบบผูเช่ียวชาญทางการแพทย” ทุนเงินรายไดคณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ตลุาคม 2549 – กันยายน 2550. : หัวหนาโครงการวิจยั

สมเกียรติ วัฒนศิริชัยกุล วชัรชัย วิริยะสุทธิวงศ และคณะ “โครงการพัฒนาระบบสารสนเทศตําแหนงวิชาการ (APS) ” ทุนสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ตุลาคม 2549 – มกราคม 2550. : รองหัวหนาโครงการ วัชรชัย วิริยะสุทธิวงศ ยุทธนา ติยวรนันท และวลิตะ นาคบัวแกว “โครงการระบบสารสนเทศรักษสุขภาพโดยแพทยรวมกับสหวิชาชีพ” โครงการรณรงครักษสุขภาพโดยแพทยรวมกับสหวิชาชีพ สํานักงานกองทุนสนับสนุนการสรางเสริมสุขภาพ กรกฎาคม 2550 – มกราคม 2551 : หวัหนาโครงการวิจัย

วัชรชัย วิริยะสุทธิวงศ ณัฐพล จารุพัฒนะสิริกุล และนภัสกมล โมงเย็น “โครงการพัฒนาระบบสาํรองขอมูลคูขนานของระบบบรหิารงานวิจัยแหงชาต”ิ ทุนสํานักงานคณะกรรมการวจิยัแหงชาติ สิงหาคม – ตุลาคม 2550 : หัวหนาโครงการ สุนาฎ เตชางาม วัชรชยั วิริยะสุทธิวงศ ชนิดา ปโชติการและคณะ “โครงการพัฒนาระบบสารสนเทศการกินอาหารเพื่อสุขภาพ” โครงการรณรงครักษสุขภาพโดยแพทยรวมกับสหวิชาชีพ สํานักงานกองทุนสนับสนุนการสรางเสริมสุขภาพ กันยายน 2550 – มกราคม 2551 : รองหัวหนาโครงการวิจัย

วัชรชัย วิริยะสุทธิวงศ สุนาฎ เตชางาม ชนิดา ปโชติการและคณะ “โครงการระบบสารสนเทศสําหรับการประเมินและวางแผนการกินอาหารเพ่ือสุขภาพดวยตนเอง” โครงการรณรงครักษสุขภาพโดยแพทยรวมกับสหวิชาชีพ สํานักงานกองทุนสนบัสนุนการสรางเสริมสุขภาพ กันยายน 2550 – มกราคม 2551 : หัวหนาโครงการวิจัย

วัชรชัย วิริยะสุทธิวงศ ณัฐพล จารุพัฒนะสิริกุล และนภัสกมล โมงเย็น “โครงการระบบการติดตามโครงการที่กําลังดําเนินการวิจัย และการประเมินผลหลังสิ้นสุดการวจัิย สําหรับระบบบริหารงานวิจัยแหงชาติ (NRPM II)” ทุนสํานักงานคณะกรรมการวจิัยแหงชาติ กันยายน 2550 – ตุลาคม 2551 : หัวหนาโครงการ

สาขาวิจัยท่ีชาํนาญ Medical Expert Systems, Fuzzy and Knowledge Engineering ทุนท่ีเคยไดรับ

56

Page 60: Bio Medical Engineering SWU

2539-2540 ทุนพัฒนาอาจารย ทบวงมหาวิทยาลัย รางวัลท่ีเคยไดรับ

- 1999 Distinguished Thesis Award in Science and Technology, “Development of Fuzzy Rule-Based Expert System for Clinical Diagnosis”, Graduate School, Chiang Mai University, Thailand.

สมาชิกในสมาคม/ชมรม - กรรมการและนายทะเบียน สมาคมวจิัยวิศวกรรมชีวการแพทยไทย (Thai Biomedical Engineering Research Association :ThaiBME) - กรรมการและเลขานกุาร คณะกรรมการสภาวิชาการ สมาคมวิจัยวิศวกรรมชีวการแพทยไทย (ThaiBME Council Committee) ภาระงานสอนปจจุบัน

ระดับ รายวิชาที่สอน หนวยกิต

ปริญญาตรี วศฟ 291 Mathematics for Engineering II 3

ปริญญาตรี วศฟ 449 Data Communication 3

ปริญญาตรี วศฟ 381 Information System Analysis & Design 3

ปริญญาตรี วศฟ 461 Information Technology for Organization 3

ปริญญาตรี วศฟ 383 Intelligent Systems 3

ปริญญาโท รศ 614 Foundation of Administrative Technology 3

ภาระงานสอนหลักสูตรใหม วศช 240 การพัฒนาซอตฟแวรสําหรับการแกปญหาทางวิศวกรรม 3(2-3) วศช 370 สถิติสําหรับวิศวกรชีวการแพทย 3(3-0) วศช 371 วิธีวิทยาการวจิัยทางวิศวกรรม 2(2-0) วศช 341 การออกแบบระบบผูเช่ียวชาญทางการแพทย 3(3-0) วศช 443 ปญญาประดิษฐ 3(3-0) วศช 444 ทฤษฎีระบบพซัซี 3(3-0) วศช 447 ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล 3(3-0)

ผูชวยศาสตราจารยเกียรติชัย รักษาชาติ

57

Page 61: Bio Medical Engineering SWU

........................................................................................................................................................ การศึกษา 2529 ปริญญาตรี (วิศวกรรมเคร่ืองกล) ภาควิชาวิศวกรรมเคร่ืองกล คณะวิศวกรรมศาสตร สถาบัน

เทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี 2535 ปริญญาโท (วิศวกรรมเคร่ืองกล) ภาควิชาวิศวกรรมเคร่ืองกล คณะวิศวกรรมศาสตร สถาบัน

เทคโนโลยีพระจอมเกลา พระนครเหนือ

ตําแหนงปจจบัุน

ผูชวยศาสตราจารยระดับ 8 สังกัดภาควิชาวิศวกรรมเคร่ืองกล คณะวิศวกรรมศาสตรมหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒ องครักษ วิชาท่ีสอน สถิตยศาสตร พลศาสตร กลศาสตรของแข็ง I,II การออกแบบช้ินสวนเคร่ืองจักรกล I,II ปฏิบัติงานวิศวกรรมยานยนตพื้นฐาน วิศวกรรมยานยนต การทดลองทางดานวิศวกรรมเคร่ืองกลและเคร่ืองมือวัด เทอรโมไดนามิคส กลศาสตรของไหล โครงงานวิศวกรรมเคร่ืองกล

โทร 02-6641000 ตอ 2055 โทรสาร 037-322609 อีเมล : [email protected]

ประสบการณทํางาน

2530-2531 วิศวกรควบคุมการผลิต 2532-2533 วิศวกรควบคุมงานระบบในอาคารสูง 2534-2535 วิศวกรรับเหมางานระบบในอาคารสูง 2537-2541 ท่ีปรึกษาสโมสรนิสิตภาคปกติ 2543-2546 ท่ีปรึกษาสโมสรนิสิตภาคปกติ 2546-2548 ท่ีปรึกษาสโมสรนิสิตภาคปกติ 2549-2550 ท่ีปรึกษาสโมสรนิสิตภาคปกติ 2539-2541 ท่ีปรึกษาสโมสรนิสิตภาคสมทบ 2545-2550 ท่ีปรึกษาสโมสรนิสิตภาคสมทบ 2539-2540 รักษาราชการแทนรองคณบดีฝายกิจการนิสิต 2540-2540 ดูงานดานการศึกษาท่ีประเทศสหรัฐอเมริกา 2541-2541 หัวหนาภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ 2544-2544 รองประธานคณะกรรมการดําเนินการจัดการประชุมวิชาการ เครือขายวิศวกรรมเครื่องกล

แหงประเทศไทยคร้ังท่ี 15

2543-2545 รองหัวหนาภาควิชาวิศวกรรมเคร่ืองกลฝายบริหาร 2545-2545 รองคณบดีฝายโครงการพิเศษ

58

Page 62: Bio Medical Engineering SWU

2548-2549 รอง คณบดีฝายโครงการพิเศษ 2546-2548 รองคณบดีฝายกิจการนิสิต 2550-2550 หัวหนายุทธศาสตรพัฒนาศักยภาพนิสิตคณะวิศวกรรมศาสตร 2548-2550 คณะอนกุรรมการยุทธศาสตรพัฒนาสังคม จริยธรรม และจรรยาบรรณ ของฝายพัฒนา

ศักยภาพนิสิต มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 2548-2550 อาจารยท่ีปรึกษาองคกรนิสิต มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 2539-2540 อาจารยท่ีปรึกษาชมรมดนตรีเพื่อการศึกษา 2547-2550 อาจารยท่ีปรึกษาชมรมดนตรีเพื่อการศึกษา 2543-2543 อาจารยท่ีปรึกษาชมรมวิศวกรรมยานยนต 2548-2550 อาจารยท่ีปรึกษาชมรมวิศวกรรมยานยนต

งานวิจัย การพัฒนาซอฟแวรเพ่ือเสริมวิชาสถิตยศาสตร การจัดสรางตนแบบเตาเผาขยะประหยัดพลังงาน(เอ้ืออาทร)

ผลงานทางวิชาการ

เอกสารประกอบการสอน ช่ือเร่ือง กลศาสตรของแข็ง I ช่ือเร่ือง ระบบไฟฟาในรถยนต งานแตง เรียบเรียง แปลตํารา

ช่ือเร่ือง สถิตยศาสตร บทความ ช่ือเร่ือง สมบัติของวัสด ุ

ช่ือเร่ือง การวิเคราะหความเคนในผาเบรก ใน 12 ป คณะ วิศวกรรมศาสตร ช่ือเร่ือง การออกแบบและสรางเคร่ืองอัดเชื้อเพลิงแข็ง เกียรติคุณทางวิชาการ/วิชาชีพอ่ืนๆ 1. กองพลทหารมาท่ี 2 ไดมอบเข็มเคร่ืองหมายกระเปาคันชีพเคร่ืองแบบเต็มยศทหารมารักษาพระองคในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว และประกาศนียบตัรนี้ไวเพื่อเปนเกียรติประวัติสืบ เนื่องจากไดทําประโยชนใหกับทางราชการและประเทศชาติอยางดียิ่ง ใหไว ณ วันท่ี 15 มิถุนายน 2544

2. รองประธานคณะกรรมการดําเนินการจดัการประชุมวชิาการ เครือขายวิศวกรรมเคร่ืองกล แหงประเทศไทยคร้ังท่ี 15 และประธานอนุกรรมการฝายพิธีการในการจดังาน พ.ศ. 2544-2544

59

Page 63: Bio Medical Engineering SWU

3. ในงานเชิดชูเกียรตินกักจิกรรมดีเดน โดยไดรับโลอาจารยท่ีปรึกษาองคกรนิสิตดีเดน 2ปซอน ประจําปการศึกษา 2548 ในวันท่ี 10 กุมภาพันธ 2549 และประจําปการศึกษา 2549 ในวนัท่ี 14 กุมภาพันธ 2550

ภาระงานสอนปจจุบัน

ระดับ รายวิชาที่สอน หนวยกิต

ปริญญาตรี วศก 226 Mecahnics of Solids 1 3

ปริญญาตรี วศก 381 Measurement and Instrumentation Laboratory 2

ปริญญาตรี วศก 492 Mechanical Engineering Laboratory 1

ปริญญาตรี วศก 493 Mechanical Engineering Project 2

ปริญญาตรี วศก 291 Engineering Mechanics 1 3

ปริญญาตรี วศก 113 Basic Automative Practice 1

ปริญญาตรี วศก 436 Automative Engineering 3

ปริญญาตรี วศก 494 Mechanical Engineering Project II 2

ภาระงานสอนหลักสูตรใหม

วศช 200 ปฏิบัติการวิศวกรรมชีวการแพทยพื้นฐาน 1(0-3) วศช 210 เทอรโมฟลูอิดส 3(3-0) วศ 290 กลศาสตรวิศวกรรม 3(3-0) วศช 281 หลักการวิศวกรรมชีวการแพทย 3(3-0) วศช 300 ปฏิบัติการวิจัยทางวิศวกรรมชีวการแพทย 1 1(0-3) วศช 301 ปฏิบัติการวิจัยทางวิศวกรรมชีวการแพทย 2 1(0-3) วศช 330 ระบบควบคุมทางวิศวกรรมชีวการแพทย 3(3-0) วศช 490 โครงงานวิจัยวิศวกรรมชีวการแพทย 1 1(0-3) วศช 491 โครงงานวิจัยวิศวกรรมชีวการแพทย 2 3(0-9)

ผูชวยศาสตราจารย นพ.ภาวิน พัวพรพงษ …………………………………………………………………………………………………..

60

Page 64: Bio Medical Engineering SWU

ป เดือน ปริญญา พ.ศ. 2545 อนุมัติบัตรเวชศาสตรครอบครัว แพทยสภา

พ.ศ. 2542 วุฒิบัตรวิชาชีพเวชกรรม โรงพยาบาลรามาธิบดี พ.ศ. 2540 ป. ช้ันสูงทางวทิยาศาสตรการแพทยคลินิก

โรงพยาบาลรามาธิบดี พ.ศ. 2536 แพทยศาสตรบัณฑิต โรงพยาบาลรามาธิบดี

ผลงานตีพิมพ (วารสารหรืองานประชุมวิชาการระดับชาติ/นานาชาติ) P. Puapornpong. Outcome of pregnancy with first trimester threatened abortion after ultrasound detecting embryonic

or fetal cardiac activity. Srinakharinwirot medical journal 2000;2:1-4. P. Puapornpong, J Sukpool, P Khemthong. Knowledge, attitude and practice to screening cervical cancer.

Srinakharinwirot medical journal 2001;3:1-6. P. Puapornpong, J Sukpool. Antenatal and labor care problems in Ongkharak district ,Nakorn-nayok province.

Srinakharinwirot medical journal 2002;2:1-7. W. Wiriyasuttiwong, P. Puapornpong and W. Narkbuakaew “Designing the Pelvic Inflammatory Expert System”

Proceedings of The 4th National Meeting on Biomedical Engineering, p143-150, Rama Garden Hotel, Bangkok, Thailand. August 25-26, 2005.

สมาชิกในสมาคมและชมรม - สมาชิกสามัญ และเหรัญญิกสมาคมวิจัยวิศวกรรมชีวการแพทยไทย (Thai Biomedical Engineering Research Association :ThaiBME)

ภาระงานสอนปจจุบัน

ระดับ รายวิชาที่สอน หนวยกิต

ปริญญาตรี สน 401 สูติศาสตรนรีเวชวิทยา 1 4

ปริญญาตรี สน 411 สูติศาสตรนรีเวชวิทยาปฏิบัติการทางคลินิก 1 5

ปริญญาตรี สน 611 สูติศาสตรนรีเวชวิทยาปฏิบัติการทางคลินิก 2 8

ภาระงานสอนหลักสูตรใหม

วศช 281 หลักการวิศวกรรมชีวการแพทย 3(3-0)

61

Page 65: Bio Medical Engineering SWU

วศช 203 ชีววิทยาของเซลลและโมเลกุล วศช 410 ฟสิกสของการสรางภาพทางการแพทย 3(3-0) วศช 300 ปฏิบัติการวิจัยทางวิศวกรรมชีวการแพทย 1 1(0-3) วศช 301 ปฏิบัติการวิจัยทางวิศวกรรมชีวการแพทย 2 1(0-3) วศช 490 โครงงานวิจัยวิศวกรรมชีวการแพทย 1 1(0-3) วศช 491 โครงงานวิจัยวิศวกรรมชีวการแพทย 2 3(0-9)

นพ. ชลวิช จันทรลลิต …………………………………………………………………………………………………….

62

Page 66: Bio Medical Engineering SWU

ประวัติการศึกษา

- 2535 – 2541 คณะแพทยศาสตร มหาวทิยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ - 2541 – 2546 ศัลยศาสตรออรโธปดิกส คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน Trainning - Visiting AO fellowship in orthopedic trauma Germany No V-Dec 2005 สมาชิกในสมาคมและราชวิทยาลัยฯ - สมาคมออรโธปดิกสแหงประเทศไทย (The Thai Orthopaedic Association) - ราชวิทยาลัยออรโธปดิกสแหงประเทศไทย (The Royal College of Orthopaedic Surgeon of Thailand)

- กรรมการอนุสาขากีฬาเวชศาสตร 2006 - สมาชิกสามัญ และกรรมการกลาง สมาคมวิจัยวศิวกรรมชีวการแพทยไทย (Thai Biomedical Engineering Research Association :ThaiBME) ผลงานวิจัย - Value of Clinical Findings,Electrodiagnosis and Magnetic Resonance Imaging

in the Diagnosis of Root Lesions in Traumatic Brachial Plexus Injuries J Med Assoc Thai. 2005 Jan;88(1):66-70.

งานวิจยัท่ีกําลังดําเนินงานอยู ปฏิบัติงานใน

สถานะ หัวหนา / ผูรวม

โครงการ

ช่ือโครงการ แหลงทุน

หัวหนา 1. Mechanical testing in new technique for cancellous chip graft that Buttress with interference screw in avascular necrosis model

การวิจยัคณะแพทยศาสตรและศูนยการแพทยฯ

หัวหนา 2. เร่ือง การศึกษากายวภิาคนอกขอในสะโพกเด็ก โดยอางอิงกับการทําการสองกลองขอสะโพก Infant Hip Anatomical study (Extra-articular), with special reference to the Hip Arthroscope

การวิจยัคณะแพทยศาสตรและศูนยการแพทย

13.การตีพิมพ เผยแพร ช่ือโครงการ ช่ือวารสาร ปที ่ เลมที่ เดือน/ป

63

Page 67: Bio Medical Engineering SWU

1.Poster presentation in title Mechanical testing in new technique for cancellous chip graft that Buttress with interference screw in avascular necrosis model

TOA at pataya 2006

2.Poaster presentation in title Human Chondrocyte Culture for Autologous Chondrocyte Transplantation in Cartilage Injury

TOA at pataya 2006

3. hip arthroscopy จุลสาร Arthroscopy

4. Value of Clinical Findings,Electrodiagnosis and Magnetic Resonance Imaging in the Diagnosis of Root Lesions in Traumatic Brachial Plexus Injuries

.

J Med Assoc Thai 88 1 Jan 2005

รางวัลท่ีไดรับ - Resident paper award in title “Value of Clinical Findings,Electrodiagnosis

and Magnetic Resonance Imaging in the Diagnosis of Root Lesions in Traumatic Brachial Plexus Injuries J Med Assoc Thai. 2005 Jan;88(1):66-70.” Present at Pataya 2001.

ภาระงานสอนปจจุบัน

ระดับ รายวิชาที่สอน หนวยกิต

ปริญญาตรี ศธ 521 ศัลยศาสตรออรโธปดิกสปฏิบัติการทางคลินิก 1 3

64

ปริญญาตรี ศธ 611 ศัลยศาสตรออรโธปดิกสปฏิบัติการทางคลินิก 2 3

ภาระงานสอนหลักสูตรใหม

3(3-0) วศช 281 หลักการวิศวกรรมชีวการแพทย

Page 68: Bio Medical Engineering SWU

65

วศช 300 ปฏิบัติการวิจัยทางวิศวกรรมชีวการแพทย 1 1(0-3) วศช 301 ปฏิบัติการวิจัยทางวิศวกรรมชีวการแพทย 2 1(0-3) วศช 490 โครงงานวิจัยวิศวกรรมชีวการแพทย 1 1(0-3) วศช 491 โครงงานวิจัยวิศวกรรมชีวการแพทย 2 3(0-9) วศช 415 กลศาสตรของกลามเนื้อและกระดูก 3(3-0) วศช 416 อวัยวะเทียม 3(3-0) วศช 431 อุปกรณทางการแพทยและการตรวจวดัสภาพทางสรีระวทิยา 3(3-0)

Page 69: Bio Medical Engineering SWU