bay 42 building management system rev1 - dede.go.th

29
เอกสารเผยแพร ภาคอาคารธุรกิจ หมวดที4 : ระบบบริหารจัดการอาคาร (Building Management System) ชุดการจัดแสดงที42 : ระบบบริหารจัดการอาคาร (Building Management System) หนา 1 จาก 29 หมวดที4 : ระบบบริหารจัดการอาคาร (Building Management System) ชุดการจัดแสดงที42 ระบบบริหารจัดการอาคาร (Building Management System) 1. หลักการของเทคโนโลยี แนวคิดของระบบบริหารจัดการอาคาร คือ การนําระบบควบคุมดวยคอมพิวเตอรและเทคโนโลยี สารสนเทศมาประยุกตใช เพื่อรวบรวมขอมูลตรวจสอบและควบคุมการทํางานของระบบอาคารตางๆเขา ดวยกันเพื่อทําใหเกิดผลดังตอไปนีสภาพอากาศและระดับแสงสวางที่เหมาะสมกับผูอยูในอาคาร สามารถควบคุมการทํางานของอุปกรณและระบบตางๆ อยางมีประสิทธิภาพ ทําใหเกิดการใชพลังงานของอุปกรณและระบบตางๆ อยางมีประสิทธิภาพ ทําใหการบริหารจัดการอาคารมีประสิทธิภาพดวยขอมูลที่แมนยําและทันสมัย สําหรับอาคารขนาดใหญจําเปนตองมีการควบคุมดูแลงานระบบที่มีประสิทธิภาพ เนื่องจาก อาคารขนาดใหญจะมีระบบอํานวยความสะดวกหลายระบบ งานระบบแตละอยางก็มีความยุงยากในการ ควบคุมดูแลตางกันจึงจําเปนตองอาศัยระบบบริหารจัดการอาคารเขามาชวย อุปกรณที่ใชในระบบบริหารจัดการอาคาร ระบบบริหารจัดการอาคารประกอบดวยอุปกรณตางๆ ที่เชื่อมตอกันเปนระบบเพื่อควบคุมระบบ ตางๆ ของอาคารตัวอยางของอุปกรณเหลานี้ไดแก

Upload: others

Post on 30-Oct-2021

9 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: Bay 42 Building Management System Rev1 - DEDE.GO.TH

เอกสารเผยแพร ภาคอาคารธุรกิจ หมวดที่ 4 : ระบบบริหารจัดการอาคาร (Building Management System)

ชุดการจัดแสดงที่ 42 : ระบบบริหารจัดการอาคาร (Building Management System) หนา 1 จาก 29

หมวดที่ 4 : ระบบบรหิารจัดการอาคาร (Building Management System)

ชุดการจัดแสดงที ่42 ระบบบริหารจัดการอาคาร (Building Management System)

1. หลักการของเทคโนโลยี

แนวคิดของระบบบริหารจัดการอาคาร คือ การนําระบบควบคุมดวยคอมพิวเตอรและเทคโนโลยีสารสนเทศมาประยุกตใช เพ่ือรวบรวมขอมูลตรวจสอบและควบคุมการทํางานของระบบอาคารตางๆเขาดวยกันเพ่ือทาํใหเกิดผลดังตอไปน้ี

• สภาพอากาศและระดับแสงสวางที่เหมาะสมกับผูอยูในอาคาร • สามารถควบคุมการทํางานของอุปกรณและระบบตางๆ อยางมีประสิทธิภาพ • ทําใหเกิดการใชพลังงานของอุปกรณและระบบตางๆ อยางมีประสิทธภิาพ • ทําใหการบริหารจัดการอาคารมีประสิทธภิาพดวยขอมูลที่แมนยําและทันสมัย

สําหรับอาคารขนาดใหญจําเปนตองมีการควบคุมดูแลงานระบบที่มีประสิทธิภาพ เน่ืองจากอาคารขนาดใหญจะมีระบบอํานวยความสะดวกหลายระบบ งานระบบแตละอยางก็มีความยุงยากในการควบคุมดูแลตางกันจึงจําเปนตองอาศัยระบบบริหารจัดการอาคารเขามาชวย อุปกรณที่ใชในระบบบริหารจัดการอาคาร

ระบบบริหารจัดการอาคารประกอบดวยอุปกรณตางๆ ที่เชื่อมตอกันเปนระบบเพื่อควบคุมระบบตางๆ ของอาคารตัวอยางของอุปกรณเหลานี้ไดแก

Page 2: Bay 42 Building Management System Rev1 - DEDE.GO.TH

เอกสารเผยแพร ภาคอาคารธุรกิจ หมวดที่ 4 : ระบบบริหารจัดการอาคาร (Building Management System)

ชุดการจัดแสดงที่ 42 : ระบบบริหารจัดการอาคาร (Building Management System) หนา 2 จาก 29

BMS Workstation จะติดตั้งอยูในหองควบคุมสวนกลางเพื่อแสดงผลและรบัคําสั่งควบคมุ

รูปที่ 1 BMS Workstation

Network Control Module ทําหนาที่บริหารจัดการและควบคุมการทาํงานของอุปกรณในระบบเครือขาย

รูปที่ 2 Network Control Module

Page 3: Bay 42 Building Management System Rev1 - DEDE.GO.TH

เอกสารเผยแพร ภาคอาคารธุรกิจ หมวดที่ 4 : ระบบบริหารจัดการอาคาร (Building Management System)

ชุดการจัดแสดงที่ 42 : ระบบบริหารจัดการอาคาร (Building Management System) หนา 3 จาก 29

Direct Digital Control Module เปนตวัประมวลผลสัญญาณจากการวัดและสงสัญญาณไปควบคุมอุปกรณตางๆ

รูปที่ 3 Direct Digital Control Module VAV Module เปนอุปกรณที่ติดตั้งที่ทอสงลมเย็นเพ่ือปรบัปริมาณการจายลมเย็นตามภาระความรอนที่เกิดขึ้น

รูปที่ 4 VAV Module

Page 4: Bay 42 Building Management System Rev1 - DEDE.GO.TH

เอกสารเผยแพร ภาคอาคารธุรกิจ หมวดที่ 4 : ระบบบริหารจัดการอาคาร (Building Management System)

ชุดการจัดแสดงที่ 42 : ระบบบริหารจัดการอาคาร (Building Management System) หนา 4 จาก 29

Wall-mounted temperature sensor ใชสําหรับวัดคาอุณหภูมิเพ่ือสงสัญญาณกลับไปที่ตวัควบคุม

รูปที่ 5 Wall-mounted temperature sensor Humidity sensor เปนอุปกรณที่ทําหนาที่วัดคาความชื้นในทอสงลมเย็นและพื้นที่ใชงานเพื่อสงสัญญาณกลับไปที่ตัวควบคุม

รูปที่ 6 Humidity sensor

Page 5: Bay 42 Building Management System Rev1 - DEDE.GO.TH

เอกสารเผยแพร ภาคอาคารธุรกิจ หมวดที่ 4 : ระบบบริหารจัดการอาคาร (Building Management System)

ชุดการจัดแสดงที่ 42 : ระบบบริหารจัดการอาคาร (Building Management System) หนา 5 จาก 29

Power Meter เปนอุปกรณที่ใชวัดคากําลังไฟฟาของอุปกรณหลักในอาคารและสงสญัญาณไปยังระบบเพื่อแสดงผล

รูปที่ 7 Power Meter

CO2 sensor ใชวัดคาปริมาณความเขมขนของคารบอนไดออกไซคและสงสัญญาณกลับไปยังตวัควบคุมเพ่ือปรับปริมาณการเติมอากาศบริสุทธิเ์ขาสูระบบปรบัอากาศ

รูปที่ 8 CO2 sensor

Page 6: Bay 42 Building Management System Rev1 - DEDE.GO.TH

เอกสารเผยแพร ภาคอาคารธุรกิจ หมวดที่ 4 : ระบบบริหารจัดการอาคาร (Building Management System)

ชุดการจัดแสดงที่ 42 : ระบบบริหารจัดการอาคาร (Building Management System) หนา 6 จาก 29

รูปที่ 9 แผนภาพของระบบบริหารจัดการอาคาร

Page 7: Bay 42 Building Management System Rev1 - DEDE.GO.TH

เอกสารเผยแพร ภาคอาคารธุรกิจ หมวดที่ 4 : ระบบบริหารจัดการอาคาร (Building Management System)

ชุดการจัดแสดงที่ 42 : ระบบบริหารจัดการอาคาร (Building Management System) หนา 7 จาก 29

2. การประยุกตใชงานเทคโนโลยี

สภาพที่เหมาะสมในการใชงาน การใชระบบบริหารจัดการอาคารเหมาะสมกับอาคารเหมาะสําหรับ โรงงานอุตสาหกรรม โรงแรม คอนโดมิเนียม และอพารทเมนท สํานักงานใหเชา หอพัก หางสรรพสินคา รีสอรทขนาดใหญ

ศักยภาพการประหยัดพลังงาน การใชระบบบริหารจัดการอาคารในการอนุรักษพลังงานในปจจุบันจะมีฟงกชันซ่ึงชวยในการลดการใชพลังงานของอาคาร ไดแก การจํากัดระดับความตองการพลังไฟฟารวม (Demand Limiting) ระบบจะบันทกึคาและคาดการณความตองการพลังไฟฟาในแตละชวงเวลา และสัง่ปดอุปกรณไฟฟาที่ไมจําเปน เพ่ือจํากัดความตองการพลังไฟฟาใหอยูภายในคาที่กําหนด

รูปที่ 10 แผนภาพอธิบายการจํากัดระดับความตองการพลังไฟฟารวม

Page 8: Bay 42 Building Management System Rev1 - DEDE.GO.TH

เอกสารเผยแพร ภาคอาคารธุรกิจ หมวดที่ 4 : ระบบบริหารจัดการอาคาร (Building Management System)

ชุดการจัดแสดงที่ 42 : ระบบบริหารจัดการอาคาร (Building Management System) หนา 8 จาก 29

การควบคุมการทํางานของอุปกรณตามตารางเวลา (Time Program) ระบบจะสั่งเปด-ปดอุปกรณภายในอาคารในแตละชวงเวลาตามตารางเวลาที่กําหนด

รูปที่ 11 ตัวอยางจอภาพแสดงโปรแกรมการควบคุมการทํางานตามตารางเวลา การปดเปดของอุปกรณตามภาระการใชงาน (Duty Cycling) ระบบจะสั่งปดอุปกรณบางชนิด เชน เครื่องสงลมเย็นของบางพื้นที่ เปนชวงๆ เพ่ือประหยัดพลังงาน โดยจะตรวจติดตามคาตัวแปรที่เกี่ยวของตางๆ เพ่ือมิใหเกิดผลกระทบตอความสะดวกสบายของผูใชอาคาร

รูปที่ 12 แผนภาพอธิบายการปดเปดของอุปกรณตามภาระการใชงาน

Page 9: Bay 42 Building Management System Rev1 - DEDE.GO.TH

เอกสารเผยแพร ภาคอาคารธุรกิจ หมวดที่ 4 : ระบบบริหารจัดการอาคาร (Building Management System)

ชุดการจัดแสดงที่ 42 : ระบบบริหารจัดการอาคาร (Building Management System) หนา 9 จาก 29

การบันทึกขอมูลของการใชอุปกรณ (History Record & Run Time Totalisation) ระบบจะเก็บขอมูลการใชงาน สถานะและชั่วโมงการทํางานของอุปกรณตางๆ ที่ชวยสนับสนุนการวางแผนการบํารุงรักษาอุปกรณเพ่ือใหทํางานไดอยางมีประสิทธิภาพ

รูปที่ 13 ตัวอยางจอภาพแสดงโปรแกรมบันทึกขอมูลการใชอุปกรณ การควบคุมเวลาการทํางานของอุปกรณ ระบบจะทําการเปด-ปดระบบปรับอากาศในเวลาที่เหมาะสมสัมพันธกับสภาวะอากาศภายนอก ทําใหอุณหภูมิความชื้น อยูในชวงที่ตั้งไวตลอดชวงเวลาทําการของอาคาร เพ่ือการประหยัดพลังงาน

รูปที่ 14 แผนภาพอธิบายการควบคุมเวลาการทํางานของอุปกรณ

Page 10: Bay 42 Building Management System Rev1 - DEDE.GO.TH

เอกสารเผยแพร ภาคอาคารธุรกิจ หมวดที่ 4 : ระบบบริหารจัดการอาคาร (Building Management System)

ชุดการจัดแสดงที่ 42 : ระบบบริหารจัดการอาคาร (Building Management System) หนา 10 จาก 29

ปจจัยพิจารณาสําหรับการใชระบบบริหารจัดการอาคาร การเลือกใชระบบบริหารจัดการอาคาร ควรจะพิจารณาปจจัยตางๆ ดังตอไปน้ี

1. ขีดความสามารถในการทํางานของระบบ 2. ความยากงายในการใชงานและการบํารุงรักษา 3. มาตรฐานความนาเชื่อถือของระบบ 4. การใหบริการหลังการขาย 5. ผลงานอางอิงที่ผานมา 6. การฝกอบรมเจาหนาที่ควบคุมระบบ 7. ความยืดหยุนของระบบ 8. งบประมาณและความคุมคาในการลงทุนเม่ือสภาพและความตองการใชอาคารเปลี่ยนแปลง

ไป

กลุมเปาหมายการประยุกตใชเทคโนโลยี วิศวกร สถาปนิก ผูออกแบบอาคาร ผูรับเหมา สถาบันการศึกษา และประชาชนทัว่ไป

ผลกระทบตอสิ่งแวดลอม ไมมี

Page 11: Bay 42 Building Management System Rev1 - DEDE.GO.TH

เอกสารเผยแพร ภาคอาคารธุรกิจ หมวดที่ 4 : ระบบบริหารจัดการอาคาร (Building Management System)

ชุดการจัดแสดงที่ 42 : ระบบบริหารจัดการอาคาร (Building Management System) หนา 11 จาก 29

3. ตัวอยางขอมูลดานเทคนิคของเทคโนโลยี • ตัวอยาง System Architecture ของระบบ BMS กับระบบปรับอากาศ

Page 12: Bay 42 Building Management System Rev1 - DEDE.GO.TH

เอกสารเผยแพร ภาคอาคารธุรกิจ หมวดที่ 4 : ระบบบริหารจัดการอาคาร (Building Management System)

ชุดการจัดแสดงที่ 42 : ระบบบริหารจัดการอาคาร (Building Management System) หนา 12 จาก 29

• ตัวอยางคุณลักษณะเฉพาะดานเทคนิคของ PC Workstation และ Building Control Unit (BCU)

Page 13: Bay 42 Building Management System Rev1 - DEDE.GO.TH

เอกสารเผยแพร ภาคอาคารธุรกิจ หมวดที่ 4 : ระบบบริหารจัดการอาคาร (Building Management System)

ชุดการจัดแสดงที่ 42 : ระบบบริหารจัดการอาคาร (Building Management System) หนา 13 จาก 29

• ตัวอยางคุณลักษณะเฉพาะดานเทคนิคของ DDC Controller

Page 14: Bay 42 Building Management System Rev1 - DEDE.GO.TH

เอกสารเผยแพร ภาคอาคารธุรกิจ หมวดที่ 4 : ระบบบริหารจัดการอาคาร (Building Management System)

ชุดการจัดแสดงที่ 42 : ระบบบริหารจัดการอาคาร (Building Management System) หนา 14 จาก 29

• ตัวอยางคุณลักษณะเฉพาะดานเทคนิคของ DDC Zone Sensor

Page 15: Bay 42 Building Management System Rev1 - DEDE.GO.TH

เอกสารเผยแพร ภาคอาคารธุรกิจ หมวดที่ 4 : ระบบบริหารจัดการอาคาร (Building Management System)

ชุดการจัดแสดงที่ 42 : ระบบบริหารจัดการอาคาร (Building Management System) หนา 15 จาก 29

• ตัวอยางคุณลักษณะเฉพาะดานเทคนิคของ CO2 Sensor

Page 16: Bay 42 Building Management System Rev1 - DEDE.GO.TH

เอกสารเผยแพร ภาคอาคารธุรกิจ หมวดที่ 4 : ระบบบริหารจัดการอาคาร (Building Management System)

ชุดการจัดแสดงที่ 42 : ระบบบริหารจัดการอาคาร (Building Management System) หนา 16 จาก 29

• ตัวอยางคุณลักษณะเฉพาะดานเทคนิคของ Zone Occupancy Sensor

• ตัวอยางคุณลักษณะเฉพาะดานเทคนิคของ Auxilliary Temperature Sensor

Page 17: Bay 42 Building Management System Rev1 - DEDE.GO.TH

เอกสารเผยแพร ภาคอาคารธุรกิจ หมวดที่ 4 : ระบบบริหารจัดการอาคาร (Building Management System)

ชุดการจัดแสดงที่ 42 : ระบบบริหารจัดการอาคาร (Building Management System) หนา 17 จาก 29

• ตัวอยางคุณลักษณะเฉพาะดานเทคนิคของ Control Relay

• ตัวอยางคุณลักษณะเฉพาะดานเทคนิคของ 2-Postion Water Valve

Page 18: Bay 42 Building Management System Rev1 - DEDE.GO.TH

เอกสารเผยแพร ภาคอาคารธุรกิจ หมวดที่ 4 : ระบบบริหารจัดการอาคาร (Building Management System)

ชุดการจัดแสดงที่ 42 : ระบบบริหารจัดการอาคาร (Building Management System) หนา 18 จาก 29

• ตัวอยางคุณลักษณะเฉพาะดานเทคนิคของ Proportional Water Valve

Page 19: Bay 42 Building Management System Rev1 - DEDE.GO.TH

เอกสารเผยแพร ภาคอาคารธุรกิจ หมวดที่ 4 : ระบบบริหารจัดการอาคาร (Building Management System)

ชุดการจัดแสดงที่ 42 : ระบบบริหารจัดการอาคาร (Building Management System) หนา 19 จาก 29

• ตัวอยางคุณลกัษณะเฉพาะดานเทคนิคของ Differential Pressure Transducer

Page 20: Bay 42 Building Management System Rev1 - DEDE.GO.TH

เอกสารเผยแพร ภาคอาคารธุรกิจ หมวดที่ 4 : ระบบบริหารจัดการอาคาร (Building Management System)

ชุดการจัดแสดงที่ 42 : ระบบบริหารจัดการอาคาร (Building Management System) หนา 20 จาก 29

• ตัวอยางคุณลกัษณะเฉพาะดานเทคนิคของ Wireless Receiver/ Wireless Zone Sensor

Page 21: Bay 42 Building Management System Rev1 - DEDE.GO.TH

เอกสารเผยแพร ภาคอาคารธุรกิจ หมวดที่ 4 : ระบบบริหารจัดการอาคาร (Building Management System)

ชุดการจัดแสดงที่ 42 : ระบบบริหารจัดการอาคาร (Building Management System) หนา 21 จาก 29

• ตัวอยางคุณลักษณะเฉพาะดานเทคนิคของ Humidity Sensor

Page 22: Bay 42 Building Management System Rev1 - DEDE.GO.TH

เอกสารเผยแพร ภาคอาคารธุรกิจ หมวดที่ 4 : ระบบบริหารจัดการอาคาร (Building Management System)

ชุดการจัดแสดงที่ 42 : ระบบบริหารจัดการอาคาร (Building Management System) หนา 22 จาก 29

• ประมวลภาพอุปกรณที่เกี่ยวของในระบบ BMS ในอาคารอนุรักษพลงังานเฉลิมพระเกียรต ิ

Network Control Module

Direct Digital Control Module

Page 23: Bay 42 Building Management System Rev1 - DEDE.GO.TH

เอกสารเผยแพร ภาคอาคารธุรกิจ หมวดที่ 4 : ระบบบริหารจัดการอาคาร (Building Management System)

ชุดการจัดแสดงที่ 42 : ระบบบริหารจัดการอาคาร (Building Management System) หนา 23 จาก 29

Humidity Sensor

Power Meter

Page 24: Bay 42 Building Management System Rev1 - DEDE.GO.TH

เอกสารเผยแพร ภาคอาคารธุรกิจ หมวดที่ 4 : ระบบบริหารจัดการอาคาร (Building Management System)

ชุดการจัดแสดงที่ 42 : ระบบบริหารจัดการอาคาร (Building Management System) หนา 24 จาก 29

Wall Mounted Temperature Sensor

VAV Module

Page 25: Bay 42 Building Management System Rev1 - DEDE.GO.TH

เอกสารเผยแพร ภาคอาคารธุรกิจ หมวดที่ 4 : ระบบบริหารจัดการอาคาร (Building Management System)

ชุดการจัดแสดงที่ 42 : ระบบบริหารจัดการอาคาร (Building Management System) หนา 25 จาก 29

Work Station

Variable Speed Drives

Page 26: Bay 42 Building Management System Rev1 - DEDE.GO.TH

เอกสารเผยแพร ภาคอาคารธุรกิจ หมวดที่ 4 : ระบบบริหารจัดการอาคาร (Building Management System)

ชุดการจัดแสดงที่ 42 : ระบบบริหารจัดการอาคาร (Building Management System) หนา 26 จาก 29

4. กรณีศึกษา หมวดที่ 4 : ระบบการจัดการอาคาร (Building Management System) 14 : ระบบการจัดการอาคาร (Building Management System) ขอมูลบริษัท โรงพยาบาลวิภาวดี สถานที่ตั้ง 51 / 3 ถนน งามวงศวาน ลาดยาว จตุจักร กรุงเทพฯ 10900 รูปแบบธุรกิจ โรงพยาบาล ขนาด 400 เตียง สํานักงานใหเชา และ Service Apartment ชื่อผูติดตอ คุณบัณฑิต งามวัฒนะศิลป ผูจัดการฝายวิศวกรรม เทคโนโลยีทีต่ิดตัง้ การบริหารจัดการงานอนุรักษพลังงานในอาคาร เงินลงทุน มาตรการที่ 1 11,770 บาท มาตรการที่ 2 75,450 บาท ผลการประหยัดพลังงาน พลังงานที่ประหยัดได มาตรการที่ 1 เชื้อเพลิงที่ประหยัดได 730 ลิตร/ป (26,580.6 MJ/ป) มาตรการที่ 2 65,700 กิโลวัตตชั่วโมงตอป คิดเปนคาใชจายดานพลังงานที่ประหยัดได มาตรการที่ 1 9,490 บาท/ป มาตรการที่ 2 175,419 บาท/ป ระยะเวลาคืนทุน มาตรการที่ 1 1.24 ป มาตรการที่ 2 0.43 ป ความเปนมา โรงพยาบาลวิภาวดี เปนโรงพยาบาลที่ใหความสําคัญกับการอนุรักษพลังงานเปนอยางมาก ทางผูบริหารจึงไดมีการจัดทํานโยบายการใชพลังงานการใชพลังงานทุกประเภทอยางมีประสิทิภาพ เพ่ือลดการสูญเสียพลังงานที่ไมจําเปนลงใหลงมากที่สุดตามนโยบายของรัฐบาล โดยยังคงไวซ่ึงความสามารถในการใหบริการทางการแพทยของโรงพยาบาล นอกจากนี้ทางโรงพยาบาลยังไดตั้งเปาหมายจะเปนอาคารควบคุมที่ดีที่สุดอีกดวย ซ่ึงการดําเนินการเพื่อใหบรรลุวัตถุประสงคดังกลาวของโรงพยาบาลจะตองอาศัยความรวมมือจากผูบริหารและพนักงานทุกคนโรงพยาบาลวิภาวดีจึงไดจัดตั้งคณะกรรมการโครงการประหยัดพลังงานซึ่งประกอบดวยผูบริหารระดับสูงในโรงพยาบาลและผูเกี่ยวของทุกฝายในโรงพยาบาล พรอมกับกําหนดขั้นตอนการดําเนินการเพื่อใหเกิดการอนุรักษพลังงาน การดําเนินการ โรงพยาบาลวิภาวดีไดกาํหนดกลยุทธในการดําเนินการเพื่อนํานโยบายไปสูการปฎิบัติ

อยางเปนรูปธรรม โดยใหความสําคัญกับการมีสวนรวมของพนักงานในทุกระดับของโรงพยาบาล และไดกําหนดแนวทางหลกัเพื่อใหเกิดการมีสวนรวม

• จัดใหมีการฝกอมรมเรื่องการอนุรักษพลงังานเพื่อใชในชีวติประจําวนัใหกับพนักงานในโรงพยาบาล

Page 27: Bay 42 Building Management System Rev1 - DEDE.GO.TH

เอกสารเผยแพร ภาคอาคารธุรกิจ หมวดที่ 4 : ระบบบริหารจัดการอาคาร (Building Management System)

ชุดการจัดแสดงที่ 42 : ระบบบริหารจัดการอาคาร (Building Management System) หนา 27 จาก 29

• จัดใหแตละแผนก แตละ Ward นําเสนอแนวทางการอนุรักษพลังงานใหกับคณะกรรมการโครงการประหยัดพลังงาน โดยมีใบประกาศเกียรติคณุใหกับหนวยงานดีเดน

• มีนโยบายที่จะใหรางวัลกบัหนวยงานประหยัดพลังงานดีเดน • มีการรณรงคและประชาสัมพันธขอมูลขาวสารดานการอนุรักษพลังงานภายใน

โรงพยาบาลอยางตอเน่ือง นอกจากการจัดตั้งคณะทํางาน การรณรงคใหความรูเกี่ยวกับการอนุรักษพลังงานใหกับพนักงานในโรงพยาบาลเพื่อใหการอนุรักษพลังงานเกิดขึ้นทั่วทั้งองคกรโดยการบริหารจัดการดานพลังงานแลว โรงพยาบาลวิภาวดียังไดดําเนินการมาตรการอนุรักษพลังงานเพื่อเพ่ิมประสิทธิภาพการใชงานอุปกรณหลักในโรงพยาบาล โดยมีมาตรการดานเทคนิคที่ไดดําเนินการไวหลายมาตรการ ซ่ึง มีมาตรการที่มีขอมูลที่ครบถวนสามารถนําเสนอผลการดําเนินการได 2 เร่ืองไดแก การบริหารการใชหมอไอนํ้า และการปรับปรุงระบบไฟฟาแสงสวาง ซ่ึงรายละเอียดสําหรับแตละมาตรการมีดังน้ี มาตรการที่ 1 การบริหารการใชหมอนํ้า ความเปนมา โรงพยาบาลวิภาวดี มีการผลิตไอน้ําเพื่อใชในการอบและซักผาโดยไดติดตั้งหมอไอนํ้าจํานวน 3 ลูก สลับกันเดินเครื่อง ซ่ึงจากการตรวจสอบของทางโรงพยาบาลพบวา การสลับกันใชหมอไอนํ้าจํานวน 3 ลูก ทําใหอุณหภูมิของนํ้าในหมอไอนํ้าเม่ือหยุดสลับใชงานมีอุณหภูมิต่ําลงามก ดังนั้นทางโรงพยาบาลจึงไดแกปญหาโดยการเปลี่ยนวิธีการเดินหมอไอน้ํามาเปนการสลับกันเดินเพียง 2 ลูก และทําการเก็บแหงหมอไอนํ้า 1 ลูก เพ่ือทําใหเกิดความตอเน่ืองในการเดินเครื่องมากขึ้น ซ่ึงสงผลใหอุณหภูมิของน้ําในหมอไอน้ําขณะหยุดรอสลับใชงาน สูงขึ้นจากเดิม 44 ºC (กรณีสลับงาน 3 ลูก) เปน 51 ºC ทําใหสามารถประหยัดพลังงานจากอุณหภูมินํ้าที่เพ่ิมสูงขึ้น ไดประมาณ 8 ºC การดําเนินการ จากการที่โรงพยาบาลวิภาวดีไดดําเนินการบริหารการใชหมอไอนํ้าใหเกิดประสิทธิ ภาพสูงสุด ทําใหมีหมอไอน้ําเหลือใชงานจํานวน 1 ลูก ดังน้ัน เพ่ือรักษาสภาพของหมอไอน้ําไมใหเสื่อมสภาพทางโรงพยาบาลไดทําการเก็บแหงหมอไอนํ้าขนาด 80 Hp ความดันไอนํ้า 150 psi เพ่ือรักษาสภาพของหมอไอน้ําและยืดอายุการใชงานของหมอไอน้ํา โดยการดําเนินการ เริ่มดวยการทําความสะอาดหมอไอนํ้าทั้งดานทอนํ้าและทอไฟ จากนั้นจึงเติมนํ้าเขาไปตมใหเดือดในหมอไอนํ้าแลวถายออกเพ่ือใหความรอนระเหยความชื้นในหมอไอน้ําออกไปแลวจึงใสสารดูดความชื้น เชน ซิลิกาเจล เขาไปและปดฝา ปดวาลวของหมอไอน้ําใหสนิท ซ่ึงเปนวิธีการรักษาสภาพของหมอไอน้ําที่ไมมีการใชงานเปนระยะเวลานานๆ ใหมีสภาพพรอมใชงาน ไมเกิดสนิมภายในหมอไอน้ํา การลดผลกระทบตอสิ่งแวดลอม ชวยลดกาซรอนจากการเผาไหมเชื้อเพลิงออกสูบรรยากาศคิดเปนอัตราการปลอยกาซ คารบอนไดออกไซด ประมาณ 1.81 ตันตอป มาตรการที่ 2 การปรับปรุงระบบไฟฟาแสงสวาง ความเปนมา ระบบไฟฟาแสงสวางจัดไดวาเปนระบบที่มีการใชพลังงานในสัดสวนที่สูงถึง 15 % ของการใชพลังงานไฟฟาในโรงพยาบาลวิภาวดี ดังน้ัน เพ่ือลดการใชพลังงานในสวนนี้ โรงพยาบาลไดรณรงคใหมีการเปด-ปดไฟตามการใชงานอยางเหมาะสมในเบื้องตนพรองกับดําเนินโครงการปรับปรุง

Page 28: Bay 42 Building Management System Rev1 - DEDE.GO.TH

เอกสารเผยแพร ภาคอาคารธุรกิจ หมวดที่ 4 : ระบบบริหารจัดการอาคาร (Building Management System)

ชุดการจัดแสดงที่ 42 : ระบบบริหารจัดการอาคาร (Building Management System) หนา 28 จาก 29

โคมสําหรับหลอดฟลูออเรสเซนตชนิดธรรมดาจํานวน 2 หลอดตอโคม และบัลลาสตแบบขดลวดธรรมดามาเปนโคมที่มีแผนอะลูมิเนียมสะทอนแสงใชงานรวมกับหลอดฟลูออเรสเซ็นตชนิดไตรฟอสเฟอรจํานวน 1 หลอดตอโคม และเปลี่ยนบัลลาสตเปนแบบความสูญเสียต่ําเพื่อประหยัดพลังงาน การดําเนินการ โรงพยาบาลไดดําเนินการปรับปรุงโคมเดิมซ่ึงใชหลอดฟลูออเรสเซ็นตชนิดธรรมดาขนาด 36 วัตต จํานวน 2 หลอดตอโคม กับบัลลาสตแบบขดลวดธรรมดา จํานวน 150 ชุด โดยเพิ่มแผนอลูมิเนียมสะทอนแสงและเปลี่ยนใชหลอดฟลูออเรสเซ็นตชนิดไตรฟอสเฟอร ขนาด 36 วัตต จํานวน 1 หลอดตอโคม และบัลลาสตความสูญเสียต่ํา การลดผลกระทบตอสิ่งแวดลอม พลังงานไฟฟาที่ลดลงคิดเทียบเทากับการลดผลกระทบตอสิ่งแวดลอมจากการปลอยกาซ C02 ไดประมาณ 43 ตันตอป ผลประหยัดพลังงานจากการดําเนินการโครงการอนุรักษพลังงาน โรงพยาบาลวิภาวดี ไดเริ่มโครงการอนุรักษพลังงานโดยเปนการดําเนินการทั้งในดานการบริหารจัดการซึ่งตองอาศัยความรวมมือ ความรูความเขาใจของเจาหนาที่ทุกฝายในโรงพยาบาล และการดําเนินการของฝายวิศวกรรมของโรงพยาบาลเพื่อปรับปรุงอุปกรณและจัดการใชงานอุปกรณใหเกิดประสิทธิภาพสูงสุด โดยมีตัวอยางการดําเนินการในดานตางๆ ดังน้ี การบริหารจัดการ

• ควบคุมการเปด-ปดและการใชงานอุปกรณตางๆ รวมถึงกําหนดการบํารุงรักษาที่ถูกตอง • การกําหนดแนวทางในการประหยัดพลังงานไฟฟาของ WARD ตางๆ • ปดสวิตชไฟทุกครั้งเม่ือเลิกใชงานและปดไฟสวนที่ไมจําเปนในการใหบริการ • การเขาตวรจเยี่ยมหองผูปวยทุกครั้ง ขอใหสํารวจการใชไฟฟา โดยชวยกันปดสวิตชในสวนที่ไม

จําเปนทั้งในเวลากลางวันและกลางคืน เชน ไฟระเบียง ไฟในหองน้ํา • งดใชอุปกรณ เชน เตาไมโครเวฟ หมอตมนํ้า ฯลฯ ในชวงเวลา 18.30 – 21.30 น. แตขึ้นอยูกับ

ความตองการของผูปวย • กรณีที่หองพักผูปวยวาง ใหดึงปลั๊กโทรทัศนออกทุกครั้ง • หม่ันเดินตรวจหองญาติผูปวย ถาไมมีผูใชหองก็ควรทําการปดไฟแสงสวาง • หองเก็บเครื่องมือควรทําการปดไฟและประตูทุกครั้งหลังจากการใชงาน • ฯลฯ

การดําเนินการดานเทคนิคของฝายวิศวกรรม • การปรับปรุงระบบไฟฟาแสงสวาง • การบริหารการใชหมอไอน้ํา • การใชอุปกรณปรับความเร็วรอบมอเตอรกับอุปกรณในระบบปรับอากาศ • ฯลฯ

บทสรุปและขอจํากัดในการดําเนินการ ในการดําเนนิโครงการอนุรักษพลังงานชวงแรก โรงพยาบาลพบขอจํากัดในการดําเนินการในดานตาง พอสมควร โดยสามารถสรุปขอจํากัดแนวทางแกไขไดดังน้ี

Page 29: Bay 42 Building Management System Rev1 - DEDE.GO.TH

เอกสารเผยแพร ภาคอาคารธุรกิจ หมวดที่ 4 : ระบบบริหารจัดการอาคาร (Building Management System)

ชุดการจัดแสดงที่ 42 : ระบบบริหารจัดการอาคาร (Building Management System) หนา 29 จาก 29

1. พนักงานบางสวนไมเขาใจในแนวทางปฎิบัติเพ่ือใหเกิดการอนุรักษพลังงาน และยังไมคุนเคยกับการปฎิบัติเพ่ือใหเกิดการอนุรักษพลังงาน แนวทางแกไขปญหาที่ไดดําเนินการไปแลว

• ประกาศนโยบายประหยัดพลังงานของโรงพยาบาลที่ชัดเจน • จัดฝกอบรมพนักงานอยางตอเน่ืองเพื่อสรางความเขาใจและจิตสํานึกในการ

อนุรักษพลังงาน • ใชพนักงานฝายชางเขาควบคุมการเปด-ปด อุปกรณในชวงแรกและกําหนดแนว

ทางการใชระบบควบคุมอัตโนมัติ เพ่ือควบคุมการทํางานของอุกรณในอนาคต 2. โรงพยาบาลมีบุคลากรจํากัดในการดําเนินงานอนุรักษพลังงานและไมมีเครื่องมือ

ตรวจวัดคาการใชพลังงานเพื่อกําหนดแนวทางที่เหมาะสมได แนวทางแกไขปญหาที่ไดดําเนินการไปแลว

• ใชนักศึกษาฝกงานชวยเก็บขอมูลและตรวจวัดการใชพลังงานโดยขอความชวยเหลือดานเครื่องมือในการตรวจวัดจากการไฟฟานครหลวง

3. โรงพยาบาลมีงบประมาณจํากัดในการลงทุนมาตรการอนุรักษพลังงาน แนวทางแกไขปญหาที่ไดดําเนินการไปแลว

• มุงเนนการประหยัดพลังงานโดยใชการจัดการซึ่งไมตองใชเงินลงทุนหรือใชเงินลงทุนต่ํากอนเปนอันดับแรก

ขอรับการสนบัสนุนดานการเงินจากหนวยงานราชการที่เกี่ยวของโดยที่ผานมาไดรับการสนับสนุนจากการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทยและปจจุบันอยูระหวางการขอรับการสนับสนนุผานกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงานในโครงการเงินทุนหมุนเวียนเพื่อการอนุรักษพลังงาน