ผลงานดานพลังงานทดแทน 3 ป (พ.ศ. 2557-2560 ... · 2018....

7
ผลงานด้านพลังงานทดแทน 3 ปี (พ.ศ. 2557-2560) (ไฟฟ้าแสงอาทิตย์) นโยบายสนับสนุนการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ 1. โครงการรับซื้อไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์แบบติดตั้งบนพื้นดินเดิม(ค้างท่อ) เป็นโครงการรับซื้อไฟฟ้าแบบติดตั้งบนดิน (กลุ่มที่ยื่นเสนอขอขายไฟฟ้าไว้เดิมที่ยังไม่ได้รับการพิจารณา ตอบรับชื้อไฟฟ้า ก่อน มิถุนายน 2553) อัตราการรับซื้อ กําลังผลิต (MWp) อัตรา adder เดิม อัตรา FiT ใหม่ อัตรา adder ระยะเวลา อัตรา FiT ระยะเวลา (บาท/หน่วย) สนับสนุน (บาท/หน่วย) สนับสนุน แบบติดตั้งบนพื้นดิน โซล่าฟาร์ม ≤ 90 MWp ปี 2551-2554 ปี 2554-2557 10 ปี 5.66 25 ปี 8 6.5 **กรณี COD หลัง 30 เมษายน 2559-30 มิถุนายน 2559 ให้ได้รับอัตรา FiT ลดลงเป็น 5.377 บาท/หน่วย สถานะ มีโครงการผูกพันกับภาครัฐ 165 โครงการ และได้เซ็นสัญญาซื้อขายไฟฟ้าเรียบร้อยแล้ว กําลังผลิต ติดตั้งรวม 969.1 MW 2. โครงการรับซื้อไฟฟ้าจากการผลิตไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์แบบติดตั้งบนหลังคา (Solar PV Rooftop) เป็นโครงการซื้อไฟฟ้าจากการผลิตไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์แบบติดตั้งบนหลังคา โดยมีเป้าหมาย 200 MWp อัตราการรับซื้อ กลุ่มประเภทอาคาร กําลังการผลิตติดตั้ง อัตรารับชื้อ (FiT) (บาท/หน่วย) ระยะเวลาสนับสนุน ระยะที1 ระยะที2 บ้านอยู่อาศัย ไม่เกิน 10 kWp 6.96 6.85 25 ปี อาคารธุรกิจขนาดเล็ก มากกว่า 10 ถึง 250 kWp 6.55 6.4 อาคารธุรกิจขนาดกลาง-ใหญ่/โรงงาน มากกว่า 250 ถึง 1,000 kWp 6.16 6.01 สถานะ ซื้อขายไฟฟ้าเรียบร้อยแล้วทั้งระยะ 1 และ 2 กําลังผลิตติดตั้งรวม 130.00 MW (มติคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติ ครั้งที่ 1/2560 (ครั้งที่ 11) วันที่ 17 กุมภาพันธ์ 2560)

Upload: others

Post on 04-Feb-2021

2 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

  • ผลงานด้านพลังงานทดแทน 3 ปี (พ.ศ. 2557-2560) (ไฟฟ้าแสงอาทิตย์)

    นโยบายสนับสนุนการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์

    1. โครงการรับซ้ือไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์แบบติดตั้งบนพ้ืนดินเดิม(ค้างท่อ) เป็นโครงการรับซ้ือไฟฟ้าแบบติดต้ังบนดิน (กลุ่มท่ียื่นเสนอขอขายไฟฟ้าไว้เดิมที่ยังไม่ได้รับการพิจารณา

    ตอบรับชื้อไฟฟ้า ก่อน มิถุนายน 2553)

    อัตราการรับซ้ือ

    กําลังผลิต (MWp) อัตรา adder เดิม อัตรา FiT ใหม่

    อัตรา adder ระยะเวลา อัตรา FiT ระยะเวลา (บาท/หน่วย) สนับสนุน (บาท/หน่วย) สนับสนุน

    แบบติดตั้งบนพื้นดิน โซล่าฟาร์ม

    ≤ 90 MWp ปี 2551-2554 ปี 2554-2557

    10 ปี 5.66 25 ปี 8 6.5

    **กรณี COD หลัง 30 เมษายน 2559-30 มิถุนายน 2559 ให้ได้รับอัตรา FiT ลดลงเป็น 5.377 บาท/หน่วย

    สถานะ มีโครงการผูกพันกับภาครัฐ 165 โครงการ และได้เซ็นสัญญาซ้ือขายไฟฟ้าเรียบร้อยแล้ว กําลังผลิตติดตั้งรวม 969.1 MW

    2. โครงการรับซ้ือไฟฟ้าจากการผลิตไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์แบบติดตั้งบนหลงัคา (Solar PV

    Rooftop) เป็นโครงการซ้ือไฟฟ้าจากการผลิตไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์แบบติดตั้งบนหลังคา โดยมีเป้าหมาย 200 MWp

    อัตราการรับซ้ือ

    กลุ่มประเภทอาคาร กําลังการผลิตติดต้ัง

    อัตรารับชื้อ (FiT) (บาท/หน่วย)

    ระยะเวลาสนับสนุน ระยะที่

    1 ระยะท่ี

    2 บ้านอยู่อาศัย ไม่เกิน 10 kWp 6.96 6.85

    25 ปี อาคารธุรกิจขนาดเล็ก มากกว่า 10 ถึง 250 kWp 6.55 6.4

    อาคารธุรกิจขนาดกลาง-ใหญ่/โรงงาน มากกว่า 250 ถึง 1,000 kWp 6.16 6.01 สถานะ ซ้ือขายไฟฟ้าเรียบร้อยแล้วทั้งระยะ 1 และ 2 กําลงัผลิตติดตั้งรวม 130.00 MW

    (มติคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติ ครั้งที่ 1/2560 (ครั้งที่ 11) วันที่ 17 กุมภาพันธ์ 2560)

  • 3. โครงการรับซ้ือไฟฟ้าโครงการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์แบบติดตั้งบนพ้ืนดินสําหรับหน่วยงานราชการและสหกรณ์ภาคการเกษตร

    โดยมีขนาดติดต้ังไม่เกิน 5 เมกะวัตต์ต่อแห่ง เป้าหมายรวม 800 MWp

    อัตราการรับซ้ือ

    ประเภทเชื้อเพลิง อัตราการรับชื้อไฟฟ้า (FiT)

    ระยะเวลาสนับสนุน (บาท/หน่วย) ระยะที่ 1 ระยะท่ี 2 (ปี)

    พลังงานแสงอาทิตย์แบบติดตั้งบนพื้นดิน 5.66 4.12 25

    สถานะ ระยะที่ 1 ได้รับใบอนุญาตครบและจ่ายไฟฟา้เข้าระบบตามกําหนด 55 ราย รวม 232.87 MWp ระยะที่ 2 กกพ. ดําเนินการจับสลากเป็นที่เรียบร้อยแล้ว เม่ือวันท่ี 26 มิ.ย. 2560 เป้าหมายรับซ้ือ 219 MWp แบ่งเป็นสหกรณ์ 119 MWp และส่วนราชการ 100 MWp โดยมีกําหนด SCOD วันท่ี 30 มิถุนายน 2561 และให้ยุติการรับซ้ือไฟฟ้าตามโครงการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์แบบติดตั้งบนพื้นดินสําหรับหน่วยงานราชการและสหกรณ์ภาคการเกษตรภายหลังจากการดําเนินการรับซ้ือไฟฟ้าสําหรับหน่วยงานราชการจํานวน 100 MWp และสหกรณ์ภาคการเกษตรจํานวน 119 MWp เสร็จสิ้นเรียบร้อยแล้ว (โดยอยู่ระหว่างดําเนินการทําสัญญา เพื่อ COD ต่อไป)

    4. โครงการส่งเสริมการติดต้ังโซลาร์รูฟอย่างเสรี 4.1 โครงการส่งเสริมการติดตั้งโซลาร์รูฟอย่างเสรี (นําร่อง)

    โครงการส่งเสริมการติดตั้งโซลาร์รูฟอย่างเสรี (นําร่อง) เป็นโครงการสนับสนุนการติดตั้งเซลล์แสงอาทิตย์บนหลังคา ที่เน้นให้เป็นการผลิตไฟฟ้าเพื่อใช้เองในเวลากลางวัน สําหรับบ้านและอาคาร โดยไฟฟ้าส่วนท่ีเหลือไหลเข้าระบบจําหน่ายของของการไฟฟ้าได้ (แต่ส่วนท่ีเหลือขายไม่ได้) โดยเป้าหมายกําลังการผลิตติดตั้งโครงการนําร่องฯ รวมท้ังสิ้น 100 เมกะวัตต์ (MWp) โดยแบ่งปริมาณการตามกลุ่มเป้าหมายและพื้นท่ีดังนี้

    พื้นที่ดําเนินการ กลุ่มเป้าหมาย (เมกะวัตต์)

    บ้าน อาคาร รวม

    การไฟฟา้นครหลวง 10 40 50

    การไฟฟา้ส่วนภูมิภาค 10 40 50

    จากเป้าหมาย 100 เมกะวัตต์ จํานวนผู้สมัครเข้าร่วมโครงการและผา่นการคัดเลือก 358 ราย รวม 32.75 MW สถานะ ณ วันที่ 5 พฤษภาคม 2560 สรุปมีผู้ท่ีได้รับใบขอแจ้งยกเว้นไม่ต้องขอรับใบอนุญาตจากสํานักงาน กกพ. แล้วจํานวน 184 ราย กําลังการผลิต 5,673.9 กิโลวัตต์ (5.67 เมกะวัตต์) เชื่อมต่อเข้าระบบโครงข่ายไฟฟา้แลว้รวม

  • 75 ราย กําลังการผลิตรวม 3,094.5 กิโลวัตต์ (3.09 เมกะวัตต์) และยังไม่ได้เชื่อมต่อเข้าระบบไฟฟ้ารวม 109 ราย ปริมาณรวม 2,579.4 กิโลวัตต์(รวม 2.58 เมกะวัตต์)

    4.2 โครงการส่งเสริมการติดตั้งโซลาร์รูฟอย่างเสรี (ขยายผล) อยู่ในข้ันตอนศึกษารายละเอียดความเหมาะสมภายใต้โครงการศึกษาวิเคราะห์โครงการนําร่องการ

    ส่งเสริมติดตั้งโซลาร์รูฟเสรี คาดวา่จะประกาศนโยบายส่งเสริมโซลาร์รูฟเสรีระยะขยายผลได้ปลายปี 2560

  • ผลงานด้านพลังงานทดแทน 3 ปี (พ.ศ. 2557-2560) (พลังงานหมุนเวยีน)

    1. ส่งเสริมการรับซ้ือไฟฟ้ารูปแบบ FiT ในการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียน ปัจจุบัน กระทรวงพลังงานได้มีการส่งเสริมให้มีการรับซ้ือไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียนในรูปแบบ FiT

    โดยมีการปรับเปลี่ยนจากการรับซ้ือไฟฟ้าแบบ Non-Firm เป็นแบบ Firm ซ่ึงมีเป้าหมายการรับซ้ือไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียน แบบ SPP Hybrid-Firm จํานวน 300 เมกะวัตต์ และ VSPP Semi-Firm จํานวน 269 เมกะวัตต์

    อัตรารับซ้ือไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียนในรูปแบบ FiT ในปัจจุบันมีดังนี้ 1. ขยะชุมชน (VSPP)

    2. ขยะอุตสาหกรรม (VSPP)

  • 3. ขยะชุมชน (SPP)

    4. SPP Hybrid-Firm

    5. VSPP Semi-Firm

  • 6. โครงการโรงไฟฟ้าประชารัฐ สําหรับพื้นท่ี 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้

    2. โครงการโรงไฟฟ้าประชารัฐ สําหรับพ้ืนที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต ้

    โครงการโรงไฟฟ้าประชารฐั สําหรับพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ วัตถุประสงค์ : 1. แก้ไขปัญหาพื้นที่ชายแดนใต้อย่างยั่งยืน เพื่อรองรับการจัดตั้ง “โครงการพาคนกลับบ้าน กอ.รมน. ภาค 4 ส่วนหน้า” และ โครงการรองรับมวลชน หมู่บ้านสันติสุข” 2. แก้ไขปัญหาความยากจนของประชาชนในพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนใต้ โดยการสร้างงาน เพิ่มรายได้ 3. ส่งเสริมการผลิตไฟฟ้าในรูปแบบกระจายศูนย์ ซ่ึงจะเป็นการสร้างความม่ันคงในการผลิตไฟฟ้าจาก เชื้อเพลิงในชุมชนอย่างยั่งยืน

    โรงไฟฟ้าชีวมวล รวม 12 เมกะวัตต์ โรงไฟฟ้าก๊าซชีวภาพ (พืชพลังงาน) รวม 30 เมกะวัตต์

    - กําหนดแผนงานการผลิตไฟฟ้าจากชีวมวลขนาดเล็กไว้ - ในพื้นที่ จ.นราธิวาส จ.ปัตตานี และ จ.ยะลา

  • 3 แห่ง ในพื้นท่ี อ.เมือง จ.นราธิวาส อ.แม่ลาน จ.ปัตตานี และ อ.บันนังสตา จ.ยะลา ขนาดกําลังการผลิตติดตั้งรวม 18 เมกะวัตต์ - ใช้เศษไม้ยางพาราเป็นเชื้อเพลิงหลัก

    - ใช้หญ้าเนเปียร์เป็นเชื้อเพลิงหลัก

    จัดสรร 10% ของกําไรสุทธิ กลับคืนให้แก่ชุมชนในพ้ืนที่

    3. การเปิดรับซ้ือไฟฟ้าจากขยะอุตสาหกรรมและขยะชุมชน

    3.1 การรับซ้ือไฟฟ้าพิเศษจากขยะอุตสาหกรรมในรูปแบบ Feed-in Tariff (FiT) สําหรับประกาศรับซ้ือไฟฟ้าพลังงานหมุนเวียนปี 2558-2562 เป้าหมาย 50 เมกะวัตต์

    ผลการดําเนินการ คือ ผู้ที่ผ่านการคัดเลือกและได้รับการพิจารณารับซ้ือฟ้า รวม 7 โครงการ รวมกําลังการผลิตติดตั้ง 37.43 เมกะวัตต์ และได้เซ็นสัญญาซ้ือขายไฟฟ้าเรียบร้อยแล้ว

    3.2 การจัดหาไฟฟ้าโครงการผลิตไฟฟ้าจากขยะชุมชน ในรูปแบบ Feed-in Tariff (FiT) พ.ศ. 2559 มีเป้าหมายรวม 14 โครงการ กําลังการผลิตติดต้ังรวม 77.9 เมกะวัตต์

    ผลการดําเนินการ คือเนื่องจากมีประกาศพระราชบัญญัติรักษาความสะอาดและความเป็นระเบียบเรียบร้อยของบ้านเมือง (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2560 ซ่ึงมีผลบังคับใช้เม่ือวันที่ 16 มกราคม 2560 ได้กําหนดให้มีการเพิ่มเติมความในหมวด 3/1 การจัดการสิ่งปฏิกูลและมูลฝอย โดยมาตรา 34/1 กําหนดให้เก็บ ขน และกําจัดสิ่งปฏิกูลและมูลฝอย ในเขตพื้นท่ีของราชการส่วนท้องถ่ินใด ให้เป็นหน้าท่ีและอํานาจของราชการส่วนท้องถ่ินนั้น แต่ไม่รวมถึงองค์การบริหารส่วนจังหวัด การมอบให้เอกชนดําเนินการหรือร่วมดําเนินการกับราชการส่วนท้องถ่ินต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่กระทรวงมหาดไทยกําหนด ซ่ึงเป็นข้อกําหนดท่ีเก่ียวข้องโดยตรงกับคุณสมบัติการเข้าร่วมโครงการฯ และปัจจุบันกระทรวงมหาดไทยยังมิได้มีการประกาศกําหนดหลักเกณฑ์ในเรื่องดังกล่าวเพื่อใช้บังคับแต่อย่างใด ในการประชุม กกพ. คร้ังที่ 7/2560 (ครั้งที่ 449) วันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2560 จึงมีมติให้เลื่อนกําหนดการในการจัดหาไฟฟ้าโครงการผลิตไฟฟ้าจากขยะชุมชนฯ ออกไปก่อน โดย กกพ. จะประกาศกําหนดการใหม่ให้ทราบภายหลัง